สุนทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
บฏ73 ภาพพระบฏแบบญี่ปุน เป็นภาพพระโพธิสัตว์กวนอิม เป็นพระโพธิสัตว์
แห่งความเมตตามีแปดกร ประทับนั่งบนดอกบัว พระกรท้ังเจ็ดข้างของพระองค์
ถือไม้เท้าตรีศูล คันธนู และลูกศร วงล้อธรรมจักรและคุณลักษณะอ่ืน ๆ ซ่ึงมี
ความหมายเชิงสัญลักษณ์ รูปยืนถูกจัดเรียงไว้ด้านล่างของพระโพธิสัตว์กวนอิม
ซ่ึงแต่ละคนถือเคร่ืองบูชาต่าง ๆ สาหรับพระโพธิสัตว์เช่นข้าวสาเก เกี๊ยว ผ้าไหม
และส่งิ ของอ่ืน ๆ ในบรรดารปู เหล่านั้น คือ เทพไดโกกุ (Lucky God Daikoku)
ผู้เป็นอมตะถือค้อนนาโชคสีทองของเขาและยืนอยู่บนฟูอนข้าว มังกรมองไปทีเจ้า
แม่กวนอิมจากด้านล่างของตาแหน่งท่ีนั่งของพระองค์ พระโพธิสัตว์กวนอิมเป็นที่
รจู้ ักกนั ในนามพระโพธิสัตว์ผู้ปกปอู งแหง่ เทือกเขา ผู่โถวชาน (ภูเขาผู่โถว) ผู้เป็นท่ี
รักของทะเลใต้และผู้ปกปูองชาวประมง ด้วยเหตุน้ีบางครั้งเธอจึงแสดงภาพกาลัง
ข้ามทะเลขณะนั่งอยู่บนหัวของมังกร มังกรเป็นสัญลักษณ์เก่าแก่ที่แสดงถึงจิต
วิญญาณสตปิ ญ๎ ญาความแข็งแกรง่ และพลงั แห่งการเปล่ียนแปลงอนั ศักด์ิสทิ ธ์ิ74
ภาพพระบฏมกั แขวนอยู่ด้านหลังประติมากรรมทางพทุ ธศาสนากลางใน
พระอุโบสถ สิ่งน้ีมีข้ึนเพื่อปรับปรุงภาพประติมากรรมและสร้างบรรยากาศให้กับ
ภายใน ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ภาพพระบฏได้เส่ือมโทรมลง ไม่ได้รับความ
นิยม พระบฏถือเป็นงานฝีมือมากกว่างานศิลปะชั้นสูงดังน้ันพระภิกษุสามเณรที่
แสดงความสามารถจึงได้รับการฝึกฝนตามประเพณีโดยการวาดภาพบังคับต่าง ๆ
บางคร้ังมีเวิร์คช็อปอยู่ภายในบริเวณวัดและท่ีนี่จิตรกรได้แบ่งป๎นงานฝีมือของตน
กับลูกศษิ ย์ ในอดีตจิตรกรทางานด้วยค่านายหน้า แต่มีอาจารย์ที่มีความสามารถ
เพียงไม่กีค่ นท่หี ลงเหลอื อย่ปู ระเพณนี ้ีอาจสูญสิน้ ไปภายในสองสามชัว่ อายุคนตอ่ ไป
หลักฐานทางวรรณกรรมเก่ียวกับพระบฏท่ีเก่าแก่ท่ีสุดในสมัยสุโขทัย
ปรากฏในจารกึ หลกั ท่ี 106 ซงึ่ พบทว่ี ัดช้างล้อม หรือท่ีเรียกว่า จารึกวัดช้างล้อม
กล่าวถึงชีวประวัติของพระภิกษุชื่อว่าพนมไสคา ซึ่งเป็นสามีของแม่นมเทศ ผู้
ใกล้ชิดของสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไทย) ในจารึกมีการกล่าวถึง
การทาพระบฏไว้ ในปีพทุ ธศักราชที่ 1927 ซึ่งตรงกบั สมยั สโุ ขทัย ดงั น้ี
“ ศักราชแต่พระเจ้าเนียรพานได้ พันเก้าร้อยยี่สิบเจ็ด ในปีชวด เดือน 6
บวรณมี พุทธ พาร พนมไสดา เอาใจตง้ั สปรรธา หรรษาดิเรก อเนกไมตรี ศรี
สกั ยะ เพื่อจกั ใคร่ข้ามจากสงสาร เมือ เนียรพานท่ีม่ัน อันพรรณนาเถิงศิล เพียร
73 lraven, Boudewijn; Breuker, Remco E. (2007). Korea in the middle: Korean
studies and area studies : essays in honour of Boudewijn Walraven. CNWS
Publications. pp. 229–. ISBN 978-90-5789-153-3. Retrieved 30 December
2010.
74 https://www.zentnercollection.com/items/1402255/Japanese-Edo-Buddhist-
Scroll-Painting-Eight-Armed-Kannon
-47-
สุนทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
ประหญา ฯลฯ” นอกจากนั้นยังมีข้อความกล่าวถึงการสร้างพระบดจีนอุทิศแก่
สมเด็จพระมหาธรรมราชา และ ได้บอกถึงขนาดของพระบฏซึ่งมีขนาดสูง 7
เมตร ไวอ้ ย่างชัดเจนว่า “ พระบดอนั หนึ่ง ด้วยสูงได้ 14 ศอก กระทาให้บุญไป
แกส่ มเด็จมหาธรรมราชา ”75
จากหลักฐานดังกล่าวพระบฏนี้น่าจะมีอายุราวพุทธศักราช 1927 หรือ
ก่อนหน้านั้นเล็กนอ้ ย นับเป็นหลกั ฐานท่กี ล่าวถงึ พระบฏซ่ึงเก่าท่ีสุดในไทย แต่เป็น
ท่ีน่าเสียดายที่พระบฏทาจากผ้าจึงชารุดง่ายเป็นเหตุให้เหลือหลักฐานที่เป็นภาพ
พระบฏในสมัยสุโขทยั น้อยมาก
ในสมัยอยุธยามีหลักฐานทางวรรณกรรมที่กล่าวถึงพระบฏอีกชิ้นคือ
ตานานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ในช่วงปลายพุทธศตวรรษท่ี 22 ถึงกลาง
พุทธศตวรรษ ท่ี 23 มีตอนหน่ึงกล่าวไว้ว่ามีการทาพระบฏในประเทศพม่า เพ่ือ
ไปถวายพระบาทในเมืองลังกา แต่ในระหว่างทางเกิดป๎ญหาเรือสาเภาแตก
พระญาซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นเจ้าเมืองในขณะนั้นได้แต่งสาเภาใหม่ให้แก่ผขาวอริย
พงษเ์ พอ่ื ใหไ้ ด้ไปถึงจดุ หมาย แสดงให้เห็นว่าในสมัยน้ันมีการรู้จักทาพระบฏไว้เพ่ือ
ไปบูชารอยพระพุทธบาทที่ลังกา ซึ่งอาจเป็นความนิยมหรือการเห็นความสาคัญ
ของพระบฏของคนในสมยั น้ัน ในตานานเล่าว่า
“ คร้ังนั้น ยังมีผขาวอรยพงษ์ อยู่เมืองหงษาวดีกับคน 100 หนึ่ง พา
พระบตไปถวาย พระบาทในเมืองลงกา ต้องลมร้ายสาเภาแตกซัดขึ้นที่ปากพนัง
พระบตขึ้นท่ีปากพนัง ชาวปากน้า พาขึ้นมาถวาย ส่ังให้เอาพระบุตกางไว้ที่ท้อง
พระโรง แลผขาวอรยพงษ์กับคน 10 คน ซัดข้ึนปาก พูนเดินตามริมชเล มาถึง
ปากน้า พระยาน้อยาวปากน้าพาตัวมาเฝูา ผขาวเห็นพระบุตผขาวก็ร้องไห้
พระญาก็ถามผขาวๆก็เล่าความแต่ต้นแรกมาน้ัน และพระญาก็ให้แต่งสาเภาให้ผ
ขาวไปเมอื ง หงษาวดี ”76
ส่วนพระบฏในล้านนา มีหลักฐานเก่าแก่ท่ีสุด คือ ราวพุทธศตวรรษที่
21-22 คือ พระบฏในกรุพระเจดีย์วัดดอกเงิน และวัดเจดีย์สูง อาเภอฮอด
จงั หวัดเชียงใหม่ เปน็ รปู พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ลงจากสรรค์ชัน้ ดาวดึงส์
การสร้างพระบฏในคติต้ังเดิมมีจุดมุ่งหมายในการแขวนห้อยประดับไว้
ภายในศาสนสถาน เพอื่ การตกแต่งให้สวยงามและใชเ้ ปน็ สอ่ื ในการสั่งสอนหรือเล่า
เรือ่ งราวเกี่ยวกับพุทธศาสนาให้แก่พทุ ธศาสนกิ ชน เปน็ คตินิยมของพุทธศาสนิกชน
75 กรมศิลปากร, พระบฏและสมดุ ภาพไทย, (กรงุ เทพมหานคร : อมรินทร์การพมิ พ,์
2527), 25.
76 จารุณี อินเฉิดฉาย, พระบฏะพทุ ธศิลปบ์ นผืนผา้ , เขา้ ถึงเมอื่ 24 ธนั วาคม 2552.
เข้าถึงได้ http://www.muangbornjournal.com/modules.php?name=Section&op=vie...
-48-
สนุ ทรียศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
ท่ีต้องการสืบทอดพระพุทธศาสนา พร้อมกับการอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับ
รวมท้ังเพ่ือเป็นอานิสงส์หรือศิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว บนพื้นฐานของ
ความเช่ือที่ว่าเม่ือตายไปแล้วจะได้ข้ึนสวรรค์ และได้ไปเกิดในยุคของพระศรีอาริย
เมตไตรย ดังจะเห็นได้จากตรงส่วนล่างของผืนผ้าพระบฏท่ีมักปรากฏข้อความ
กล่าวถงึ ผู้สร้างและปีทสี่ รา้ ง หรือบางครั้งเขียนเป็นคติธรรมส่ังสอนให้ทาแต่ความ
ดี ละเวน้ ความชั่ว
ต่อมาความมุ่งหมายในการสร้างพระบฏในระยะหลังๆ เปลี่ยนไป
กล่าวคือ นอกจากจะสร้างถวายวัดเพ่ืออุทิศส่วนบุญกุศลแล้ว ยังสร้างไว้เพ่ือบูชา
สักการะภายในบ้านเรือน เมื่อมีผู้ต้องการพระบฏมากขึ้น จึงเร่ิมกลายเป็นงาน
พุทธศิลป์เชิงพาณิชย์ มีการซื้อการขาย เป็นเหตุผลหนึ่งท่ีทาให้บทบาทของพระ
บฏเปล่ยี นแปลงไป รวมท้ังรูปแบบ วัสดทุ ่ีใช้ และเร่ืองราวที่เขียน ตามความนิยม
และความต้องการของตลาด นับต้ังแต่พุทธศักราช 2471 เป็นต้นมา การทา
พระบฏเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก จากการเขียนภาพลงบนผืนผ้า เปล่ียนเป็น
การเขียนแล้วจัดพิมพ์ลงบนกระดาษขนาดเล็กแต่ยังคงเรียกว่าพระบฏอยู่เช่นเดิม
สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟาู กรมพระยานรศิ รานิวตั ตวิ งศ์ ทรงมลี ายพระหัตถ์กล่าวถึงเร่ืองน้ีไว้
ว่า
“กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ ทรงพระดาริทาพระบฏเล็กๆ ขาย ให้
พระวรรณวจิ ติ ร (ทอง) เขียนตวั อย่างเป็นปางมารประจญ แล้วส่งออกไปตีพิมพ์ที่
เมืองนอก คร้ันได้เข้ามาก็ส่งไปจาหน่ายตามร้าน เป็นที่ต้องตาต้องใจคนมาก
ขายดี เล่าลือจนทราบถึงพระกรรณ (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
ตรัสถามถึงลักษณะพระบฏนั้น ฉันจึงไปซ้ือมาถวายแผ่นหน่ึง ก็พอพระราชหฤทัย
ต่อมา กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจเห็นว่าขายดีมีกาไรมาก จึงทรงจัดให้ช่างเขียน
ข้ึนหลายแบบ ส่งออกไปทาเข้ามาอีก แล้วคนอ่ืนก็สั่งทาเข้ามาขายด้วย ต่างคิด
ค้นหาแบบเก่าใหม่ ท่ีหวังว่าคนจะชอบ ส่งไปเป็นตัวอย่าง เป็นการแย่งขายแย่ง
ประโยชนก์ ันตามเคย พระบฏต่างๆ จงึ มีทอยๆ กนั เขา้ มามาก...”77
รปู แบบทางศิลปะของพระบฏ
รูปแบบทางงานศิลปะในเอเชียตะวันออก งานศิลปะประเภทนี้
ประเทศจีนมีความโดดเด่นในเร่ืองภาพเขียนภูมิทัศน์ ซ่ึงเป็นผลงานท่ียิ่งใหญ่ที่สุด
77 น. ณ ปากนา้ , นามแฝง. ถาม-ตอบเรื่องศิลปะไทย. (กรุงเทพมหานคร : เจริญวิทย์การ
พิมพ,์ 2528). อ้างถงึ หนงั สอื พระราชวจิ ารณ์ เทียบลทั ธพิ ระพุทธศาสนาฝุายหนิ ยานกับ
มหายาน พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทรงพระราชนิพนธ์ พิมพ์ทโ่ี รงพิมพ์
โสภณ พิพรรธนากร, พ.ศ. 2471
-49-
สุนทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
ของวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์การวาดภาพ และภาพม้วนบรรยายของประเทศ
ญ่ปี ุน ซง่ึ พฒั นาศกั ยภาพในการเลา่ เร่ืองของการวาดภาพ
การเขียนภาพประเภทนี้นับเป็นหน่ึงในเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ทางด้านศิลปะของทวีปเอเชีย ไม่ว่าจะเป็น จีน ญี่ปุน หรือ อินเดีย หลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์การเขียนภาพชนิดนี้ มีตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ค้นพบ
เริ่มต้นท่ีประเทศจีน เร่ืองราวในภาพถ้าเป็นประเทศจีนจะเน้นเร่ืองวิถีชีวิต ญ่ีปุน
จะเน้นเร่ืองประวัติศาสตร์การปกครอง ส่วนอินเดียจะเป็นเร่ืองความเช่ือทาง
ศาสนา
ภาพเขยี นแบบม้วนน้ี ใช้วิธีการเปิดจากด้านขวาไปด้านซ้าย และดูภาพ
บนโต๊ะ โดยเลื่อนมือบนแนวนอน (มากิโมโน) ใช้ภาพในรูปแบบการบรรยาย
หรอื ใช้ภาพบรรยายเร่อื งราว ช่วงเวลาท่ีรุ่งเรื่องท่ีสุดในราว คริสต์ศตวรรษท่ี 10
และ 11 ศิลปินท่ีมีชื่อเสียงในยุคนั้น คือ ซู เต๋านิง (Xu Daoning) และ ฟาน
กวน (Fan Kuan) กล่าวกันว่า ผู้ชมจะกลายเป็นนักเดินทางในภาพวาดเหล่าน้ี
ภาพเหลา่ นจี้ ะมอมประสบการณ์ให้แก่ผ้ชู มย้อนอดีตผ่านกาลเวลา มีการแสดงภาพ
ถนนหรอื เสน้ ทาง และบอ่ ยครั้ง ท่ีดูเหมือนจะดงึ ดูดสายตาของผู้ชมให้เข้าไปอยู่ใน
งานเขียนนน้ั เลยทเี ดียว
ภาพเขียนแบบนี้ ควรชมครั้งละไม่เกินความยาว 2 ฟุต หรือมิเช่นน้ัน
จิตวิญญาณของงานศิลปะจะถูกละเมิด – ในการน้ีเพื่อไม่ให้คนเสพงานศิลปะเสพ
เร็วจนเกินไปและจบเร็วเกินไป หรืออีกนัยหนึ่งคือ ค่อยๆเสพศิลป์และพินิจแบบมี
สติ ป๎ญหาเดียวที่ศิลปินพบก็คือ ความต้องการสร้างมุมมองในภาพหลากหลาย
เนือ่ งจาก จนิ ตนาการของผูเ้ สพงานศิลปะนัน้ ไม่อยู่น่ิง
พระบฏในดินแดนล้านนา มีความพิเศษตรงท่ีไม่ได้มีอยู่แต่เพียงใน
วรรณกรรม หรอื ตานาน แต่ปรากฏหลักฐานเป็นพระบฏโบราณให้ได้ศึกษา ดังที่
ศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี ได้กล่าวถึงพระบฏท่ีนับว่าเก่าแก่ที่สุดที่พบใน
ประเทศไทยว่า ได้มาจากการสารวจทางโบราณคดีเหนือเขื่อนภูมิพล เม่ือปี พ.ศ.
2503 ในกรุพระเจดีย์วัดดอกเงิน ตาบลฮอด อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่78
และในต่อมามีการค้นพบพระบฏเพิ่มเติมท่ีวัดเจดีย์สูง อาเภอฮอดเช่นกัน79 ดังได้
กล่าวแล้วว่าพระบฏทาจากผ้าซึ่งเป็นวัสดุท่ีชารุดเสียหายได้ง่าย เว้นแต่ว่าจะเก็บ
รักษาไว้อย่างดีมากๆ จึงทาให้พบภาพที่มีอายุยาวนานจานวนน้อยมาก นับว่ายัง
โชคดีท่ีการสารวจในคร้ังน้ันทาให้พบ โบราณศิลปวัตถุของล้านนาจานวนมาก
78 ศลิ ป พรี ะศร,ี สมบตั ศิ ลิ ปะจากเขื่อนภมู ิพล , กรุงเทพมหานคร: กรมศลิ ปากร, 2515),
33-39.
79 สนั ติ เลก็ สุขมุ , ศลิ ปะเชยี งแสน(ศิลปะล้านนา)และศลิ ปะสโุ ขทยั , (กรงุ เทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, 2534), 88.
-50-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
โดยพระบฏทพ่ี บเปน็ ภาพเขยี นขนาดใหญ่ที่พับและม้วนเก็บไว้ในหม้อดินเผา ทาให้
ยงั คงหลงเหลือภาพพระบฏโบราณใหท้ าการศกึ ษาได้ ท้ังน้ีเพราะความแห้งของกรุ
และการบรรจุภาพเขียนต้ังขึ้นตรงในหม้อดิน จึงช่วยให้สามารถเก็บรักษาพระบฏ
ให้คงสภาพดีกว่าการเกบ็ ไว้ในสถานท่ีอน่ื ๆ80
พระบฏวดั ดอกเงิน อาเภอฮอด จงั หวัดเชียงใหม่
(พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ หอศลิ ป์)
80 ศิลป พรี ะศร,ี สมบตั ศิ ลิ ปะจากเข่ือนภูมิพล, (กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร, 2515),
34.
-51-
สุนทรียศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
พระบฏกรุวัดเจดีย์สงู อาเภอฮอด จงั หวัดเชยี งใหม่
(พพิ ิธภัณฑ์สถานแหง่ ชาติเชยี งใหม)่
ลกั ษณะของภาพพระบฏในกรุพระเจดีย์วัดดอกเงิน มีขนาดกว้าง 177
เซนติเ มตร ยาวห รื อสูง 338 .5 เซน ติเมต ร ป๎จ จุบันเ ก็บ รัก ษาไ ว้ ที่
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ หอศลิ ป์ ถนนเจา้ ฟาู จ.กรุงเทพมหานคร81 (ภาพที่ 1)
มลี ักษณะการเขยี นภาพแบบพหุรงค์ที่เก่าแก่ท่ีสุดเท่าที่มีการค้นพบมา ซึ่งนอกจาก
จะใชส้ ีดินเหลอื ง แดง ดา และขาว ที่ใช้กันตามปกติแล้ว ยังมีการใช้สีเขียวและสี
น้าเงินแท้ผสมกับสีอื่นเพ่ือให้เกิดความหลากหลาย และกลมกลืนกันของภาพด้วย
รวมทั้งมีการปิดทองเฉพาะที่ภาพพระพุทธองค์ ลงไปบนบริเวณสีแดง ซึ่งช่วยขับ
81 พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ หอศลิ ป,์ นําชม พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ หอศิลป,์
(กรุงเทพมหานคร: ศักด์โิ สภาการพมิ พ์, 2542), 97.
-52-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
ให้ทองสุกใสยิ่งขึ้น แต่เนื่องจากภาพถูกทบกันตรงกลาง จึงทาให้ตรงกลางภาพ
เสยี หายค่อนข้างมาก82
ภาพพระบฏดังกล่าวเป็นเรื่องราวพุทธประวัติตอนท่ีพระพุทธองค์เสด็จ
ลงมาจากสวรรค์ช้ันดาวดึงส์หลังจากเทศนาโปรดพระพุทธมารดา ตรงกลางเป็น
ภาพพระพุทธองค์ขนาดใหญ่ เป็นการเน้นความสาคัญในฐานะประธานของภาพ
แสดงอิริยาบถลีลาย่างก้าวลงจากบันไดสวรรค์ มีภาพดอกไม้สวรรค์หลากหลาย
ชนิด พร้อมท้ังมีภาพฉากหลังเป็นเพชรนิลจินดาโปรยปรายอยู่ท่ัวไป ภาพดอกไม้
ในพระบฏมีอิทธิพลของศิลปะจีน ด้านข้างของภาพพระพุทธองค์ ขนาบข้างด้วย
ภาพขั้นบันไดซ่ึงมีพ้ืนที่เล็กกว่าเป็นทางลงของพระพรหม พระอินทร์และเหล่า
วิทยาธรซ่ึงมีขนาดเล็กลงตามลาดับ พื้นที่ถัดไปด้านข้างท่ีเหลือขนาบอยู่เป็นภาพ
เทวดาช้ันรองเหาะตามในขบวนเสด็จ ภาพส่วนบนเป็นสี่เหล่ียมผืนผ้าแนวนอน
เป็นภาพสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ ท่ีพระพุทธองค์เสด็จลงมาหลังเทศนาโปรดพระพุทธ
มารดา มีพระเจดีย์จุฬามณี เทวดาท่ีมานมัสการ รวมท้ังภาพปราสาทไพชยนต์
ของพระอินทร์ประกอบอยู่ในภาพด้วย พ้ืนท่ีสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวนอนด้านล่างของ
ภาพคอื บุคคลชั้นสงู รวมท้ังพระสงฆ์ พระสาวกท่ีหน้าประตูเมืองสังกัสสะที่รอการ
เสด็จกลับลงมาของพระพุทธองค์ นับเป็นองค์ประกอบที่พิเศษของภาพพระบฏ
ดังกลา่ ว
จะเห็นไดว้ ่า ภาพดังกลา่ วเปน็ ตอนหนง่ึ ในพทุ ธประวัติ หรอื ปฐมสมโพธิ
ในตอนทเี่ รียกว่า เทศนาปริวรรต กล่าวคือ เป็นตอนที่พระพุทธเจ้าเสด็จสู่สวรรค์
ช้ันดาวดึงส์เพื่อโปรดพุทธมารดา แล้วเสด็จกลับสู่โลกมนุษย์ ลักษณะการสร้าง
งานศิลปกรรม มักจะแสดงภาพตอนที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงบันไดจากสวรรค์ชั้น
ดาวดึงส์ ปลายบันได คือสังกัสสะนคร83 บันไดในภาพมี 3 อัน กล่าวคือ
พระพุทธเจ้าเสด็จโดยใช้บันไดแก้ว เป็นบันไดที่อยู่ตรงกลาง พระอินทร์เสด็จโดย
ใช้บันไดทองท่ีอยู่ด้านขวาของพระพุทธเจ้า และพระพรหมเสด็จโดยใช้บันไดเงินที่
อยู่ด้านซ้ายและถือฉัตรกางกั้นถวายแด่พระพุทธองค์ โดยมีเหล่าเทวดาตามมาส่ง
เสด็จด้วย เรียกอีกอย่างว่าเป็นพระพุทธประวัติตอนเปิดโลก เป็นตอนที่เสด็จจาก
ดาวดึงส์สู่มนุษยโลกและทรงบันดาลให้เทพ มนุษย์และสัตว์เดียรฉาน สัตว์นรก
ทง้ั หลาย ไดม้ องเห็นซึ่งกันและกัน84
82 ศลิ ป พีระศร,ี สมบตั ศิ ิลปะจากเขื่อนภมู ิพล, 38.
83 สนั ติ เลก็ สุขมุ , ศิลปะภาคเหนือ: หรภิ ญู ชัย – ล้านนา, (กรุงเทพมหานคร: ฟิสกิ ส์ เซน็
เตอร,์ 2549), 160,
84 วรรณิภา ณ สงขลา, จิตรกรรมไทยประเพณ,ี ชุดที่ 001 เลม่ ท่ี 2 วรรณกรรม
(กรงุ เทพมหานคร: อมรินทรพ์ ร้นิ ต้ิงกรพุ๊ , 2534),10.
-53-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
ลักษณะของภาพพระพุทธเจ้าในพระอิริยาบถยืน พระกรทั้งสองแนบ
พระวรกาย แบบปางเปิดโลก เป็นประธานของภาพ ด้านข้างภาพพระพุทธเจ้า
เป็นภาพพระภิกษุขนาดท่ีเล็กกว่ายืนประคองอัญชลี ซ่ึงภาพพระภิกษุทางฝ่๎งขวา
ค่อนข้างสมบูรณ์กว่า เนื่องจากข้างซ้ายชารุดเป็นจานวนมาก พระภิกษุท้ังสอง
องค์น่าจะหมายถึงพระโมคัลลานะ และพระสารีบุตร ภาพด้านบนซ้ายของ
พระพุทธเจ้าเป็นภาพพระอาทิตย์ซึ่งชารุดมากเช่นกัน ส่วนด้านขวาเห็นลางๆเป็น
ภาพกระต่ายในดวงจันทร์ ที่โคจรระดับเหนือยอดเขายุคันธร ซ่ึงเป็นหน่ึงในเขา
สัตบริภัณฑ์ ต้ังอยู่ต่ากว่าเขาพระสุเมรุ ตรงยอดเขาพระสุเมรุคือสวรรค์ช้ัน
ดาวดึงส์ท่ีสถิตของพระอินทร์ ความงดงามของภาพคือท่ีฉากหลังมีภาพดอกไม้
สวรรค์โปรยปรายลงมาอยา่ งอ่อนช้อย
ดังน้ัน จากหลักฐานทางวรรณกรรมทั้งสองดังกล่าวข้างต้น อาจสรุป
ได้ว่า พระบฏน่าจะมีมาตั้งแต่สมัย สุโขทัยและอยุธยาเป็นอย่างน้อย เพียงแต่ไม่
ปรากฏหลักฐานทีเ่ ปน็ ภาพพระบฏโดยตรงทชี่ ดั เจนที่สามารถ นามาศกึ ษาได้
เทคนคิ ทางจิตรกรรมของภาพพระบฏ
เทคนิคทางจิตรกรรมการเขียนภาพแบบพหุรงค์ รวมท้ังมีการปิดทอง
เฉพาะที่ภาพพระพุทธองค์ เน่ืองจากภาพพระบฏมีความหลากหลายวิจิตรบรรจง
มากขึ้นตามยุคสมัย ภาพพระบฏท่ีพบที่กรุเจดีย์วัดดอกเงิน อ.ฮอด จ.เชียงใหม่
โดยเฉพาะตอนเทศนาปริวรรตหรือตอนที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้น
ดาวดึงส์ ซ่ึงมีรูปแบบในแนวเดียวกันกับศิลปะสุโขทัย ศิลปะลังกา และศิลปะจีน
พระบฏท่ีค้นพบในสมัยสุโขทัยและล้านนามีความสัมพันธ์กันทางด้านศิลปะ นิยม
สร้างงานจิตรกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับเรื่องราวดังกล่าว จนถึงสมัยอยุธยางาน
จิตรกรรมของอยุธยามีความรุ่งเรืองมากข้ึน เรื่องราวที่ปรากฏในงานจิตรกรรม
เรม่ิ มคี วามหลากหลายมากขึน้ ทั้งจิตรกรรมฝาผนัง และงานจิตรกรรมแขนงอื่นๆ
ท่ีเป็นงานวิจิตรศิลป์ เช่น ตู้พระธรรม งานแกะสลักไม้ เป็นต้น จนกระทั่งสมัย
รัตนโกสินทร์งานจิตรกรรมต่างๆ ได้พัฒนาและสืบทอดรูปแบบมาจาก อยุธยา
เร่ืองราวเกี่ยวกับเทศนาปริวรรตยังคงปรากฏอยู่ และเกิดความหลากหลายใน
เรื่องราวและหน้าท่ีการใช้งาน หรือแม้แต่ในภาพเรื่องราวเดียวกันก็มีรายละเอียด
และการวางองค์ประกอบต่างกัน มีการวางรูปแบบของภาพไว้หลากหลาย
ดังเช่นท่ีปรากฏในผลการศึกษาของจารุณี อินเฉิดฉาย85 ท่ีทาการศึกษาขึ้นในปี
85 จารุณี อนิ เฉดิ ฉายและขวัญจติ เลิศศิร,ิ พระบฏ, (กรงุ เทพมหานคร: กรมศิลปากร,
2545. พิมพใ์ นงาน นทิ รรศการพเิ ศษเนอ่ื งในวันอนรุ ักษม์ รดกไทย พุทธศกั ราช 2545 ณ
พพิ ธิ ภัณฑสถาน แหง่ ชาติ หอศิลป เมษายน 2545), 22.
-54-
สนุ ทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
2545 จากการรวบรวมนามาจัดนิทรรศการพิเศษจานวน 100 ภาพ และได้
แบง่ รปู แบบของพระบฏเป็น 5 รูปแบบ มีภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนอยู่พระองค์
เดียว และภาพพระพุทธเจ้ายืนประทับขนาบด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เป็นต้น
ดังเช่ น ภ าพพ ระพุท ธเจ้ าปร ะทับ ยืนอยู่ พระ องค์ เดียว ซึ่ง จัดแ สดง ท่ี
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ ทาเป็นผืนผ้าขนาดยาวเขียนภาพลงเต็มทั้งผืน
เป็นภาพที่เน้นองค์พระพุทธเจ้าประทับยืนยกพระหัตถ์ขวาซ่ึงได้แก่ปางห้ามญาติ
ตามพระพุทธประวัติตอนระงับวิวาทระหว่างพระประยูรญาติเรื่องแย่งน้าทากสิกร
รม มักประกอบไปด้วยภาพบุคคลแต่งกายทรงเครื่องอย่างกษัตริย์ ซึ่งน่าจะ
หมายถึงพระญาติฝุายศากยวงศ์และโกลิยวงศ์ ไม่พบพระพุทธเจ้าปางที่ยกพระ
หัตถ์ซ้ายซึ่งเป็นปางพระพุทธรูปห้ามแก่นจันทร์ ซึ่งมีความเป็นมาว่า เม่ือครั้งที่
พระพุทธเจ้าทรงเสด็จจาพรรษา ณ สวรรค์ช้ันดาวดึงส์ ตานานกล่าวว่า พระ
เจ้าปเสนทิโกศล กษัตริย์แห่งนครสาวัตถีทรงราลึกถึงพระพุทธองค์มาก จึงส่ังให้
ช่างหลวงทาพระพุทธรูปลักษณะคล้ายองค์พระพุทธเจ้าด้วยไม้แก่จันทร์หอมอย่าง
ดี
องค์ประกอบของภาพมีรายละเอียดประดับน้อย ในกลุ่มภาพนี้
พระพุทธเจ้าจะมีพระวรกายขนาดใหญ่ ซึ่งอาจเป็นเพราะต้องการสื่อให้เห็นถึง
ความสาคัญโดดเด่น หรือเป็นเร่ืองของการตีความ ตามท่ีเชื่อว่าพระพุทธเจ้ามี
ขนาดพระวรกายที่ใหญ่ ดังที่ปรากฏในเอกสารคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์ของ
ล้านนาที่รวบรวมขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ อีกท้ังในปฐมสมโพธิกถาก็มีการ
กล่าวถึงในเร่ืองดังกล่าวน้ี ซึ่งรูปแบบนี้เป็นแนวเดียวกันกับการสร้างพระพุทธรูป
แต่เปล่ียนรูปแบบเป็นการสร้างภาพพระบฏแทน ส่วนการที่ทาเป็นรูปแนวยาวก็
เพ่อื ใหเ้ หมาะสมสาหรบั การแขวน
นอกจากน้ัน พระบฏกลุ่มนี้บางภาพมีการประดับลายดอกไม้ร่วง หรือ
พระพุทธเจ้าประทับยืนบนซุ้มเรือนแก้ว บางภาพมีการจัดองค์ประกอบด้วยเส้น
สินเธาว์ บางภาพเร่ิมมีการเขียนภาพก้อนเมฆแบบเหมือนจริงข้ึนมา ด้านบนของ
ภาพสว่ นทีเ่ หนือซมุ้ เรือนแกว้ หรอื เส้นสนิ เธาว์ มักเป็นภาพฤาษี นักสิทธ์ิหรือเทวดา
เหาะประนมมือถือดอกบัว ซ่ึงบางภาพรูปบุคคลท่ีเหาะนั้นก็อาจแต่งกายมีเคร่ือง
ทรงนอ้ ย บางภาพมเี ครือ่ งทรงมาก
ภาพเขียนในกลุ่มดังกล่าวน้ี สมเด็จฯเจ้าฟูากรมพระยานริศรานุวัดติ
วงศ์ ทรงวินิจฉัยว่า น่าจะเป็นตอนที่พระองค์ทรงเดินออกจากเมืองเวสาลี ทรง
หยุดและหันพระพักตร์ทอดพระเนตร เมืองเวสาลีเป็นครั้งสุดท้าย86 ขณะที่บาง
86 จารณุ ี อนิ เฉิดฉายและขวญั จติ เลศิ ศริ ,ิ พระบฏ, (กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร,
2545. พิมพใ์ นงาน นิทรรศการพิเศษเนอ่ื งในวนั อนุรักษ์มรดกไทย พุทธศักราช 2545 ณ
พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ หอศลิ ป เมษายน 2545), หน้า 37.
-55-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
ท่านสันนิษฐานว่าอาจจะหมายถึงตอนอัครสาวกบรรพชาปริวรรต ท่ีกล่าวถึง
เหตุการณ์ตอนท่ีพระโมคคัลลานะและพระสาลีบุตรบรรพชาและได้รับการแต่งตั้ง
ให้เป็นพระอัครสาวกซ้ายขวา87
นอกจากน้นั ยังมี ภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนพระองค์เดียว หรือ ภาพ
พระพุทธเจ้า ประทับยืนพร้อมอัครสาวกทั้ง 2 องค์ โดยมีส่วนล่างเป็นเร่ืองของ
พุทธประวัติ โดยเฉพาะตามคัมภีร์ปฐมสมโภช หรือพุทธประวัติท่ีปรากฏอยู่ใน
คัมภีร์พระปฐมสมโพธิกถา สันนิษฐานกันว่าแต่งขึ้นใน สมัยพระยาลิไท พุทธ
ศตวรรษที่ 19 หรืออาจแต่งท่ีเชียงใหม่ในราวพุทธศตวรรษท่ี 21 หรือแต่งใน
สมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาก็ได้ ส่วนคมั ภีร์ปฐมสมโพธิ ทสี่ มเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส
ทรงนิพนธ์ เมื่อ พ.ศ. 2387 มีท้ังหมด 29 ปริเฉท (ตอน) เริ่มตั้งแต่ปริเฉกท่ี
1 (วิวาหมงคลปริวัตต์) และเรียงลาดับ เรื่อยไปจนถึงปริเฉทสุดท้ายที่ 29
(อันตรธานปริวรรต) เน้ือหาเป็นเรื่องราวชีวิตท่ีมุ่งม่ันบาเพ็ญบารมีต่อเนื่องกันมา
เป็นเวลาหลายภพชาติของพระพุทธเจ้า จนสามารถบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็น
พระพุทธเจ้า จากนั้นก็ได้เผยแพร่ส่ิงที่ตรัสรู้แก่คนท่ัวไป จนกระทั่งถึงปรินิพพาน
สว่ นเร่ืองราวปาฏิหาริยท์ ม่ี กั แทรกในเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ นั้น กล่าวกันว่าอาจเป็นการ
แต่งเติมขน้ึ ภายหลัง เมอื่ ผู้คนเร่มิ ศรทั ธาต่อพระพุทธองค์อย่างแรงกล้า และอยาก
สรรเสริญพระพทุ ธคณุ อันยิง่ ใหญข่ องพระพทุ ธเจ้า
พระบฏที่ได้จากการสารวจและรวบรวมนามาจัดแสดงในนิทรรศการ
พิเศษของกรมศิลปากร มีจานวนกว่า 900 ช้ิน มีรูปแบบท่ีแตกต่างกันไป และ
สามารถจาแนกตามลักษณะได้ 5 แบบ ดังนี้88
แบบที่หนึ่ง เป็นผืนผ้าขนาดยาว เขียนภาพลงเต็มท้ังผืน เป็นภาพ
พระพุทธเจ้าประทับยืน หรือ ภาพพระพุทธเจ้า ประทับยืนพร้อมด้วยพระอัคร
สาวกซา้ ย-ขวา
แบบทส่ี อง เปน็ ผืนผา้ ขนาดยาว แบ่งภาพออกเป็น 2 ส่วน คือ ภาพ
พระพุทธเจ้าประทับยืน หรือพระพุทธเจ้า ประทับยืนภายในซุ้ม พร้อมด้วยพระ
อัครสาวกซ้าย-ขวา ด้านล่างหรือบางท่ีเขียนไว้ด้านบน เป็นภาพ เล่าเร่ืองในพระ
พุทธประวตั ิ หรือ พระมาลัย หรือทศชาติ
87 วรรณิภา ณ สงขลา, จติ รกรรมไทยประเพณ,ี ชุดที่ 001 เล่มที่ 2 วรรณกรรม
(กรงุ เทพมหานคร: อมรนิ ทรพ์ ร้ินติ้งกรัพ, 2534), หนา้ 10.
88 จารุณี อินเฉดิ ฉาย และ ขวัญจติ เลิศศิริ. พระบฏ : หนงั สือประกอบนทิ รรศการพเิ ศษ
เนอื่ งในวนั อนรุ ักษ์มรดกไทยพุทธศักราช 2545 ณ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ หอศิลปะ.
สานกั งานโบราณคดีและพิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร กระทรวงศึกษาธกิ าร. พิมพ์
ครั้งแรก. 2545. หนา้ 22.
-56-
สนุ ทรียศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
แบบที่สาม เป็นผืนผ้าขนาดยาว แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ตรง
กลางเป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนพร้อมด้วย พระอัครสาวกซ้าย-ขวา ช่วงบน
และช่วงล่างเป็นภาพเล่าเร่ืองในพระพุทธประวัติ พระมาลัย หรือ ทศชาติ หรือ
ภาพเล่าเร่ืองอื่นๆ โดยที่ช่วงบนนั้น นิยมภาพเกี่ยวกับสวรรค์ดาวดึงส์ เช่น พระ
พทุ ธ ประวตั ิตอนเสด็จโปรดพุทธมารดา หรือ พระมาลัยไปนมัสการพระจุฬามณี
บนสวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์
แบบที่สี่ เป็นผืนผ้าขนาดยาว เขียนภาพเล่าเร่ืองพระพุทธประวัติ
พระมาลัย ทศชาติชาดก เวสสันดรชาดก รอยพระพุทธบาท ฯลฯ เตม็ ทัง้ ผนื
แบบท่ีห้า เป็นผืนผ้าขนาด 5ox70 เซนติเมตร หรือ 5ox50
เซนติเมตรโดยประมาณ เขียนภาพเล่าเรื่อง เป็นตอนๆ เช่น พระพุทธประวัติ
ตอนพระอินทร์ตีตพิณสามสาย ภูริทัตตชาดก แต่ส่วนใหญ่ เขียนเล่าเรื่อง
เวสสันดรชาดก ในแต่ละตอนหรือกัณฑ์ จบลงในแต่ละผืน มีทั้งหมด 13 ผืน
เรียกว่า ผ้าพระเวส
ตัวอย่างภาพในพระพุทธประวัติที่เป็นที่นิยมในการทาภาพพระบฏ ใน
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนหน่ึง คือ ภาพพระพุทธเจ้าพร้อมอัครสาวกทรงเครื่องทรง
ในซมุ้ ประทบั ยนื ส่วนล่างเป็นภาพพุทธประวัติตอนมารผจญ (มารวิชัยปริวรรต)
เป็นตอนที่ พระยามารยกกองทัพมาล้อมพระพุทธเจ้าไว้ พระองค์ทรงอ้างแม่ธรณี
เปน็ สกั ขีพยานในการทรงบาเพ็ญบญุ ส่ังสมทศบารมี ทรงเหยียดพระหัตถ์เบื้องขวา
ช้ีพระดชั นไี ปยังพ้นื ดนิ
อีกเรื่องราวหนึ่งที่นิยมนามาวาดเป็นภาพจิตรกรรมก็คือเร่ืองราวของ
พุทธเจ้าเม่ือครั้งยังเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ในอดีตชาติ ในแต่ละชาติมี
บทบาทท่แี ตกตา่ งกันไป ตั้งแต่มสี ตปิ ญ๎ ญาน้อยจนถึงสติป๎ญญาลึกซึ้ง ทรงบาเพ็ญ
บารมีอย่างหยาบไปจนถึงละเอียดประณีต จนพระชาติสุดท้ายท่ีตรัสรู้เป็นสมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตามคัมภีร์ชาดกได้เล่าถึงชีวิตของพระโพธิสัตว์ในอดีตชาติ
ว่ามีถึง 547 พระชาติ แบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ คือ เสวยพระชาติเป็นมนุษย์
เสวยพระชาติเป็นเทวดา เสวยพระชาติเป็นสัตว์ และเสวยพระชาติเป็นยักษ์89
และท่ีสาคัญคือ ในมหานิบาตชาดกมีอยู่ 10 เร่ือง ท่ีเรียกว่า “ทศชาติชาดก”
หรือที่เรียกกันว่า “พระ เจ้าสิบชาติ” ซึ่งได้รับการยกย่องเป็นพระชาติท้ัง 10
ชาตสิ ดุ ทา้ ยของพระโพธสิ ตั ว์ ก่อนท่ีจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยเฉพาะ
89 สมชาติ มณโี ชต,ิ จติ รกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : O.S. Printing House ,2529),
หน้า 70.
-57-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎล้านนา
พระชาติสุดท้ายที่เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรน้ันได้รับการยกย่องว่าเป็นพระ
ชาติทสี่ าคญั ทส่ี ุด จึงได้ ช่อื วา่ “มหาชาต”ิ ทศชาติดังกลา่ ว ไดแ้ ก่90
1. เตมียชาดก เสวยพระชาติเป็นพระเตมีย์ บาเพ็ญเนกขัมมบารมี
โดยมีฉากประจา พระชาติ คือ ภาพตอนพระเตมีย์ยกรถ หมายถึงการยืนยัน
ความเข้มแข็งท่ีจะประกาศอิสรภาพและ เป็นสัญลักษณ์แสดงการบรรลุจุดหมายท่ี
อดทนมาท้ังหมด
2. มหาชนกชาดก เสวยพระชาติเป็นพระมหาชนก บาเพ็ญวิริยบารมี
โดยมีฉากเรือแตก ฝูงปลาพากันกัดกินผู้คนซึ่งมักวาดเป็นคนหลากหลายเช้ือชาติ
ตามธรรมดาของคนท่ีทาการค้าทางทะเล พระมหาชนกกาลังแหวกว่ายอยู่กลาง
มหาสมุทร มีนางเมขลา ลอยอยู่ใกล้ๆ หรือไม่ก็เป็นภาพนางเมขลากาลังอุ้มพระ
มหาชนก ลอยอยเู่ หนอื นา้ ”
3. สุวรรณสามชาดก เสวยพระชาติเป็นสุวรรณสาม บาเพ็ญเมตตา
บารมี ฉากประจาพระชาติ คือ ภาพสุวรรณสาม ผู้มีเมตตาจนสัตว์เล็กสัตว์น้อย
ท้งั หลายในปุาพากนั เดินติดสอยห้อยตาม โดยเฉพาะภาพฝูงกวางอยู่กับคนในงาน
จิตรกรรม ซงึ่ ในท่ีนีค้ ือสุวรรณสามนน่ั เอง
4. เนมิราชชาดก เสวยพระชาติเป็นพระเนมิราช บาเพ็ญอธิษฐาน
บารมี ถา้ เปน็ งานชิ้นเล็กๆ เช่น สมุดข่อย ฉากประจาพระชาติก็มักจะวาดเป็นรูป
พระเนมีทรงรถ แต่ถ้าเป็น จิตรกรรมฝาผนัง จะแสดงออกเป็นภาพพระเนมีทรง
รถหรือไมก่ ก็ าลังแสดงธรรมเทศนาอยู่บนสวรรค์ โดยมีรปู นรกอยู่ด้านลา่ ง
5. มโหสถชาดก เสวยพระชาติเป็นพระมโหสถ บาเพ็ญป๎ญญาบารมี
โดยมีฉากประจา พระชาติ คือ ฉากการประลองธรรมยุทธ แสดงป๎ญญานุภาพ
ประชนั ป๎ญญา หรอื ไมก่ เ็ ป็นฉากพระมโหสถห้ามทัพ
6. ภูริทัตชาดก เสวยพระชาติเป็นพระภูริทัต บาเพ็ญศีลบารมี ภาพท่ี
นยิ มวาด คือ พระภูรทิ ัตในร่างของนาคที่ขดอยูร่ อบจอมปลวก
7. จันทกุมารชาดก เสวยพระชาติเป็นพระจันทกุมาร บาเพ็ญขันติ
บารมี โดยมฉี ากประจาพระชาติคอื ฉากการบชู ายนั ต์
8. พรหมนารทชาดก เสวยพระชาติเป็นพระนารท บาเพ็ญอุเบกขา
บารมี นิยมวากพระนารทในเคร่ืองทรงเทวดา แบกถาดแบกคนโทหรือบางภาพ
แบกทอง
9. วิธุรบัณฑิตชาดก เสวยพระชาติเป็นพระวิธุรบัณฑิต บาเพ็ญสัจ
บารมี มักเป็นภาพพระวิธูรเกาะหางม้าห้อยไปในอากาศเป็นหลัก อีกภาพที่มักจะ
90 อู่ทอง ประศาสนว์ นิ จิ ฉัย, ท่องทศชาติผ่านจติ รกรรม: เตชสุเนม, (กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พ์กรงุ เทพ, 2548)
-58-
สุนทรยี ศาสตร์ในพระบฎล้านนา
เหน็ คือภาพท่ีพนนั สกา และบางครั้งทาเป็นรูปปุณณกยักษ์กาลังจับพระวิฑูรยกข้ึน
เหนือศรี ษะเตรยี มจะฟาดกบั ภูเขา
10. พระเวสสนั ดรชาดก เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร บาเพ็ญทาน
บารมี โดยมฉี าก ประจาพระชาตทิ งั้ หมด 13 กณั ฑ์ กล่าวคอื
(1) กัณฑ์ทศพร คือ ภาพตอนท่ีพระอินทร์ได้ประทานพร 10
ประการ แก่พระนางสิรมิ หามายา
(2) กัณฑ์หิมพานต์ ฉากพระเวสสันดรบริจาคส่ิงของกับช้างป๎จจัย
นาเคนทรซ์ ่งึ เป็นชา้ งคบู่ ารมขี องพระองค์
(3) กัณฑ์ทานกัณฑ์ คือภาพตอนพระเวสสันดรบาเพ็ญทานคร้ังใหญ่
คือสัตสดกมหาทาน ได้แก่ ช้าง ม้า รถ ทาสชาย ทาสหญิง โคนม และนาง
สนม อย่างละ 700 อานสิ งค์
(4) กัณฑ์วนปเวสน์ คือภาพตอนพระเวสสันดร พระนางมัทรี เจ้า
หญงิ กณั หา และเจ้าชายชาลี ท้ังสี่ พระองค์ทรงบาเพ็ญตนอยู่ในเขาวงกต ปุาหิม
พานต์
(5) กัณฑช์ ชู ก ภาพชูชกกบั นางอมติ ดา
(6) กัณฑ์จลุ พน ภาพชชู กถูกสนุ ขั ทีพ่ รานเจตบตุ รเล้ียงไว้ไล่กัดข้ึนคบไม้
เมอื่ ไปถึงปากทางเข้าปุาท่พี ระเวสสนั ดรอยู่
(7) กัณฑ์มหาพน ภาพชูชกฟ๎งพระอัจจุตฤาษีบรรยายเส้นทางในปุา
ใหญ่
(8) กัณฑ์กุมาร คือภาพตอนท่ีเจ้าหญิงกัณหา และเจ้าชายชาลีหนีไป
ซ่อนอยู่ใต้ใบบัว พระเวสสันดรเรียกพระโอรสธิดากัณหาชาลีได้ฟ๎งก็ข้ึนมาหมอบ
อยู่แทบพระบาท
(9) กัณฑ์มัทรี คือภาพเทพบุตรสามองค์จาแลงกายเป็น ราชสีห์ เสือ
โคร่งและเสือเหลืองไปขวางทางพระนางมัทรีไว้จนกว่าจะเย็น และให้คอยพิทักษ์
รักษาไม่ใหพ้ ระนางเป็นอันตรายจากสตั ว์ใดใด
(10) กัณฑ์สักกบรรพ คือภาพตอนท่ีพระเวสสันดร ยกนางมัทรีให้
พราหมณ์ ซึ่งก็คือ พระอินทร์จาแลงมา ทรงจับพระกรพระนางมัทรี ไว้ด้วยพระ
หัตถ์ขา้ งหนึ่ง อีกขา้ งทรงจับนา้ เตา้ หลง่ั น้าลงบนมอื ของพราหมณ์
(11) กัณฑ์มหาราช ชูชกพาเจ้าหญิงกัณหาและเจ้าชายชาลีเดินทางไป
ในปุา พอถึงกลางคืนก็ผูกสองราชกุมารทั้งสองไว้ใต้ต้นไม้ใหญ่ ตัวชูชกปืนข้ึนไป
นอนบนคาคบไม้เพื่อใหพ้ น้ จากสตั ว์ปุา และทกุ คืนมเี ทพบตุ รเทพธดิ าแปลงกายเป็น
พระเวสสนั ดรและพระนางมทั รีมาแก้มัดและดูแลทัง้ สองพระองค์
(12) กัณฑ์ฉกษัตริย์ คือตอนท่ีพระเจ้าสัญชัยและพระนางผุสดี พระ
ราชบิดาและพระราชมารดาของพระเวสสันดรพร้อมข้าราชบริพาร เสด็จพาพระ
-59-
สุนทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
กมุ ารกณั หาชาลีไปหาพระเวสสนั ดรและพระนางมัทรที ่ีบรรณศาลาเพ่ือทูลเชิญพระ
เวสสนั ดรใหเ้ สด็จกลบั ครองราชดังเดมิ
(13) กัณฑ์นครกัณฑ์ ภาพขบวนเสด็จพระเวสสันดรกลับกรุงเชตุดร
เฉลมิ ฉลองการเสด็จกลบั พระนครของพระเวสสนั ดร
ตัวอย่างของการนาเร่ืองราวของทศชาติชาดกมาวาดในภาพพระบฏ
มักปรากฏให้เห็นในลักษณะภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนพร้อมอัครสาวกท้ัง 2
องค์ ส่วนล่างเป็นเร่ืองของทศชาติ หรือบางครั้งเป็นภาพพระพุทธเจ้าทรงเครื่อง
ประทบั ยนื พร้อมอัครสาวก ภายในเรือนธาตุ ส่วนคร่ึงล่างของภาพเป็นชาดกตอน
สุวรรณสาม ว่าด้วยการบาเพญ็ เมตตาบารมี เป็นตน้
พระบฏทเี่ ปน็ ผืนผา้ มที ัง้ แนวตงั้ และแนวนอน ส่วนทีเ่ ปน็ แนวตั้ง มีต้ังแต่
ขนาดประมาณ 50 x 70 เซนติเมตร หรือ 50 x 50 เซนติเมตร นิยมเขียน
เป็นภาพเลา่ เรือ่ งตงั้ แตพ่ ุทธประวัติ และชาดกต่างๆ ซงึ่ สว่ นใหญ่นิยมวาดเรื่องพระ
เวสสันดรชาดกในแต่ละกัณฑ์จบลงในแต่ละผืน รวมทั้งหมด 13 ผืน เรียกว่าผ้า
พระเวส บางทีก็เป็นภาพแนวนอนซ่ึงในบางภูพื้นที่มีการนามาวาดเป็น
ภาพต่อเน่ืองกันยาวๆ ประดับตกแต่งด้วยลูกป๎ด ซ่ึงพบในเกือบทุกภาคของ
ประเทศไทย ในภาคใต้พบพระบฏแบบนี้ในประเพณีแห่ผ้าขึ้นพระธาตุ ในภาค
กลางและภาคเหนือ พบในงานบุญเทศน์มหาชาติ และ ในภาคอีสานงานบุญผะ
เหวด
นอกจากน้ี พระบฏบางผืนที่เป็นแนวตั้งแต่มีขนาดสูงมาก อาจเป็น
เพราะเนื้อหาของภาพทาให้มีความจาเป็นในการสร้างภาพให้เป็นรูปแบบดังกล่าว
เช่นภาพอดีตพระพุทธเจ้า 27 พระองค์ และพระอริยสาวก มีขนาด 89.5 x
558.5 เซนตเิ มตร
วิธีการเขียนภาพพระบฏโบราณ กรรมวิธีการเขียนภาพพระบฏ ใช้ผ้า
ฝาู ยสขี าวทารองพนื้ ด้วยดินสอพองท่ีผสมกาวเม็ดมะขามหรือกาวหนังสัตว์โดยรอง
พ้ืนเพียงบางๆ เพ่ือให้ภาพสามารถม้วนเก็บได้และสีจะไม่แตกหรือกะเทาะง่าย
จากนั้นเขยี นระบายดว้ ยสีนา้ ยา หมายถงึ การเอาสีฝุนที่ได้จากแร่ดิน หินโลหะ ไป
บดเผาไฟให้สุกตากแห้งจนได้ผงละเอียดแล้วนามาผสมกับกาวท่ีได้จากยางกระถิน
เทศ ยางมะขวิด ยางมะเด่ือ วิธีการเขียนภาพอาจใช้วิธีปรุ เรียกว่าปรุภาพหรือ
ปรุลาย โดยเจาะตามลายเส้นของตัวภาพหรือลายให้เป็นรูเล็กๆ แล้วใช้ลูกประคบ
ที่ห่อถ่านไม้ไว้ตบลงตามรอยปรุนั้น เรียกตบฝุน จากนั้นจึงลงมือเขียนสี ปิดทอง
และตดั เสน้ เป็นขนั้ ตอนสุดท้าย
-60-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
บทท่ี 4
การลอกลายพระบฎกบั ศลิ ปะรว่ มสมัย
-61-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
ภาพพระบฏกบั สังคมและวัฒนธรรมไทย นอกจากความงามที่ปรากฏอยู่
ในผืนผ้าพระบฏแล้ว พระบฏยังมีบทบาทและมีอิทธิพลต่อสังคมและ
วัฒนธรรมไทยทุกภาค พระบฏล้านนาผืนท่ีมีอายุเก่าแก่ท่ีสุด และมี
ขนาดใหญ่มากท่ีสุดชิ้นหนึ่งในประเทศไทย คือ “พระบฏแดง” รูปพระพุทธเจ้า
เสด็จลงจากสรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีขนาดกว้าง 158 เซนติเมตร สูง (ยาว) 220
เซนติเมตร มีอายุสมัยอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 21-2 พระบฏผืนนี้ได้จากวัด
เจดีย์สูง อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อคร้ังมีโครงการสารวจโบราณคดี
ภาคเหนือที่เมืองเก่าฮอด ปี พ.ศ. 2503 ในช่วงท่ีเกิดน้าท่วมคร้ังใหญ่ที่อาเภอ
ฮอดและดอยเต่า อนั เน่ืองมาจากการสรา้ งเขอ่ื นภูมิพล ทาให้นักโบราณคดีนาเก็บ
มารักษาไว้ทพ่ี พิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ เชียงใหม่
ความมงุ่ หมายของการสรา้ งพระบฏในอดีตน้ัน อันท่ีจริงมีวัตถุประสงค์
ใกล้เคยี งกับการเขยี นภาพจติ รกรรมฝาผนัง คอื
1. เพ่อื ตกแตง่ อาคารศาสนสถานให้สวยงาม
2. เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวในพระพุทธศาสนาผ่านงานศิลปะ และนา
เนื้อหานัน้ มาส่ังสอนแกพ่ ทุ ธศาสนกิ ชน แตต่ อ่ มาความตอ้ งการของพุทธศาสนิกชน
มีมากกว่านั้น คือนอกจากจะต้องการสืบทอดอายุพุทธศาสนาแล้ว ยังประสงค์จะ
อุทศิ บุญกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว ข้อสาคัญเพื่อเป็นอานิสงส์แก่ตนเอง
และครอบครวั กล่าวคอื การสรา้ งพระบฏด้วยรปู พระพุทธเจ้าถอื ว่ามีอานิสงส์สูงสุด
เทยี บเทา่ กับการสร้างพระพทุ ธรูป
โดยปกติการประดับอาคารศาสนสถานด้วยผ้าเขียนภาพต่าง ๆ น้ัน
เปน็ คตินิยมเนือ่ งในพุทธศาสนาลัทธิมหายานจากประเทศอินเดียตอนเหนือ ซึ่งส่ง
อิทธิพลไปยังดินแดนต่าง ๆ เช่นจีนและญี่ปุนมาก่อนแล้ว ดังพบหลักฐานการ
เขียนภาพบนผืนผ้าและนาไปประดับตามศาสนสถานต้ังแต่พุทธศตวรรษท่ี 12
(สมยั ราชวงศ์สุยและราชวงศ์ถัง) ส่วนใหญ่เป็นภาพพระพุทธเจ้าศรีศากยมุนี หรือ
พระโพธสิ ตั วแ์ วดลอ้ มดว้ ยพระสาวก
ในจารึกสุโขทัย หลักท่ี 106 (จารึกวัดช้างล้อม) กล่าวถึงพนมไสดา
ผู้เล่ือมใสในพุทธศาสนา ได้สร้างถาวรวัตถุต่างๆ ไว้เป็นอันมาก และในปี
พทุ ธศกั ราช 1827
“…จึงมาต้ังกระทาหอพระปีฎกธรรมสังวร ใจบูชาพระอภิธรรมกับด้วย
พระบดจีนมาไว้ ได้ปลูกท้ังพระศรีม(หาโ)พธิ อันเป็นจอมบุญจอมศรียอ…พระบด
-62-
สุนทรียศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
อันหน่ึง ด้วยสูงได้ 14 ศอกกระทาให้บุญไปแก่สมเด็จมหาธรรมราชา กระทา
พระหนิ อันหน่ึง ใหบ้ ุญไปแก่มหาเทวี…”
ความแตกตา่ งระหว่างการเขียนภาพจิตรกรรมบนฝาผนังถาวร กับการ
เขียนภาพพระบฏก็คือ ภาพพระบฏสามารถเคล่ือนย้ายสถานท่ีได้ อันเป็นกรรมวิธี
ที่สนองรับต่อพิธีกรรมที่ต้องมีขบวนแห่การกระเพื่อมไหวตามแรงลมของผืนผ้าสี
แดงเพลงิ ทาใหเ้ กิดพลังและความรู้สกึ มากย่ิงข้นึ ขณะประกอบพธิ ี
คุณค่าทางสุนทรียะเชงิ ปรชั ญาท่ีมีต่อวัฒนธรรม
อิทธิพลพระบฏในภาคเหนือ พระบฏล้านนามีช่ือเสียงมากขึ้นจากจุด
กาเนิดของงานท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั พิธกี รรมเล้ียงดง หรอื เลี้ยง “ผปี ุูแสะย่าแสะ” ผู้เป็นผี
บรรพบุรุษของชาวลัวะ ซ่ึงแต่เดิมเป็นเผ่าพันธ์ุท่ีกินเนื้อคนหรือเนื้อสัตว์ แต่ต่อมา
เมือ่ หนั มาเข้ารีตนับถือศาสนาพุทธแล้ว ได้มีปณิธานท่ีจะไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ยกเว้น
พิธีเซ่นสังเวยเน้ือควายสดให้แก่ผีบรรพบุรุษปีละหนึ่งคร้ัง ภายในเดือน 8 เหนือ
หรือเดอื นพฤษภาคม งานดังกล่าวชาวลัวะจะใช้ภาพพระบฏเขียนภาพพระพุทธรูป
ขนาดใหญ่ห่มจีวรสีแดง ในปางเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ท่ามกลางพระ
อัครสาวกซ้าย-ขวา คือพระโมคคัลลานะกับพระสารีบุตร มาป๎กแสดงเขตการ
ประกอบพิธีกรรม โดยถือว่าพระบฏที่มีพระพุทธรูปสีแดงขนาดใหญ่น้ีมีค่าเท่ากับ
พระพุทธรูปองค์หน่ึงตามลักษณะของมหาบุรุษ 32 ประการ ใช้เป็นรูปเคารพ
แทนพุทธองคใ์ นกรณีทม่ี ีการประกอบศาสนพิธีกลางแจ้ง เป็นสัญลักษณ์แสดงการ
ต่อสู้ระหว่างพระพุทธเจ้ากับผู้อยู่นอกศาสนา เป็นนัยว่าหลังจากชาวลัวะสมาทาน
รับเอาพระพุทธศาสนาแล้ว ก็ได้นาเอาไปผนวกกับความเชื่อด้ังเดิมในพิธีไหว้ผีปูุ
แสะย่าแสะ ด้วยการเพ่ิมเนื้อหาว่า พระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรดและขอให้ยักษ์ท้ัง
สองตนลดการฆ่าสัตว์ ตรัสถึงบาปโทษในการฆ่าสัตว์ ซ่ึงยักษ์ท้ังสองก็เชื่อฟ๎งและ
ปฏิบัติตาม เป็นประเพณีจนถึงป๎จจุบันว่างานเล้ียงผีต้องมีภาพวาดพระบฏ
พระพุทธเจา้ ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์มาอยู่รว่ มในพิธีกรรมดว้ ยเสมอ
ตุงค่าวธรรมพระเวสสันดร กาลเวลาผ่านไป คตินิยมการทาพระบฏสี
แดงของชาวลวั ะคอ่ ยๆ เลอื นหายไป เมอ่ื เขา้ สูย่ คุ ฟ้ืนฟูล้านนา ตั้งแต่พุทธศตวรรษ
ที่ 24-25 ร่วมสมัยกับกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เกิดความนิยมใหม่ในการสร้าง
“ตุงค่าวธรรม” หรือจิตรกรรมพระบฏที่เขียนเร่ืองเวสสันดรเป็นชุดๆ หลายผืน
พบมากในกลุ่มชาติพันธุ์ไทล้ือ ไทยอง-ไทใหญ่ โดยเฉลี่ยตุงค่าวธรรมแต่ละผืน
กว้างประมาณ 80-100 เซนติเมตร ยาวประมาณ 140-160 เซนติเมตร ทา
เปน็ ชุดจานวน 23- 28 ผืน ถูกสอดร้อยด้วยไม้นามาแขวนภายในพระวิหาร ซ่ึง
มักทาผนังเรียบไม่มีภาพจิตรกรรมฝาผนังใดๆ ยาวตลอดทั้ง 2 ฝ่๎งของพระวิหาร
ในระหวา่ งพิธีตง้ั ธรรมหลวงหรือเทศนม์ หาชาติชาดก 13 กัณฑ์
-63-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
ในงานประเพณีย่ีเป็ง เดือนพฤศจิกายน ขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ยัง
ปฏิบัติสืบจวบป๎จจุบันแต่ไม่มีการแขวนพระบฏในระหว่างพิธีการเทศน์มหาชาติอีก
แล้ว เนื่องจากพระวิหารของวัดแต่ละแห่งได้รับการบูรณะให้ใหญ่โตโอ่โถงข้ึนและ
หลายแห่งได้วาดจิตรกรรมพระเวสสันดรชาดกทั้ง 13 กัณฑ์ไว้ท่ีผนังโดยรอบแล้ว
ภาพพระบฏของวัดหลายแห่งจึงถูกเก็บรักษา ณ กุฏิเจ้าอาวาส บางแห่งนาเก็บ
รักษาหรือจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ของวัด เวสสันดรเป็นเรื่องราวของการสั่งสม
บารมีของพระโพธิสัตว์ในชาติสุดท้ายที่บาเพ็ญทานบารมีก่อนท่ีจะจุติเป็น
พระพุทธเจ้า โดยเป็นชาดกเร่ืองสุดท้ายท่ีปรากฏในนิบาตชาดก ในคัมภีร์ขุททก
นกิ ายชาดก อรรถกถาชาดก ของพุทธศาสนานิกายเถรวาท และในพุทธศตวรรษ
ท่ี 21 พระสิริมังคลาจารย์ ยังได้รจนาเร่ืองเวสสันตรทีปนี ขึ้นในล้านนาอีกด้วย
และยังปรากฏเวสสันดรชาดกสานวนท้องถ่ินในคัมภีร์ใบลานสืบเน่ืองต่อมาทั่วไป
ในล้านนา
จิตรกรรมภาพพระบฏที่เขียนเป็นชุดรวม 20-30ผืน เป็นภาพเล่าเร่ือง
เวสสนั ดรชาดก ครบท้ัง 13 กัณฑ์ ประกอบด้วยกัณฑ์ทุติมาลัย กัณฑ์ปฐมมาลัย
กณั ฑ์ทศพร กัณฑห์ มิ พานต์ ทานกณั ฑ์ กณั ฑ์วนประเวศน์ กณั ฑช์ ูชก กัณฑ์จุลพน
กัณฑ์มหาพน กณั ฑก์ ุมารบรรพ์ กัณฑ์มัทรี กัณฑ์สักกบรรพ์ กณั ฑ์มหาราช กัณฑ์
ฉกษัตริย์ และนครกัณฑ์ โดยมิได้เล่าเรื่องราวต่อเน่ืองกันเป็นผืนเดียว แต่แบ่ง
ออกเป็นตอนย่อย แยกเขียน แต่ละผืนมีรูปแบบในการจัดองค์ประกอบของภาพท่ี
เขียนลงบนกรอบช่องสี่เหลียม ท่ีมีลาย “กรวยเชิง” หรือ “กรุยเชิง” ห้อยลงมา
ในด้านล่างของภาพ และมอี กั ษรธมั มล์ ้านนาเขียนกากับเน้ือเรื่องในจิตรกรรม ทา
ให้เราสามารถนามาเรียบเรียงลาดับเหตกุ ารณ์แต่ละตอนอย่างต่อเนือ่ ง
การออกแบบ หรือจัดวางองค์ประกอบภาพที่มีลายกรวยเชิงตอนล่าง
เชน่ น้ี สอดคล้องกับที่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังท่ีสร้างโดยกลุ่มช่างไทใหญ่ที่พบ
ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ เช่น จิตรกรรมในวิหารวัดบวกครกหลวง อาเภอสัน
กาแพง วัดทา่ ข้าม อาเภอแม่แตง และวัดปุาแดด อาเภอแม่แจ่ม ซึ่งล้วนแต่สร้าง
ขน้ึ ในชว่ งต้นพุทธศตวรรษที่ 25 โดยทั้งหมดนเ้ี ขียนภาพบนผนังภายในกรอบช่อง
ส่ีเหล่ยี ม มีการทาลายกรวยเชงิ ดา้ นลา่ ง อีกท้ังรูปทรงรูปร่างของการเขียนพื้นดิน
ทิวเขา ท้องฟูา เป็นลายเส้นคดโค้งคล้ายลอนลูกคล่ืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
ระบายด้วยสีฝุนแบบบางเบาซ่ึงเน้นการใช้คู่สีหลัก คือ สีน้าเงิน (ฟูา) กับแดง
(ส้ม) บนพ้ืนขาว ท้ังหมดนี้ล้วนเป็นรูปแบบท่ีคล้ายคลึงกันอย่างย่ิงระหว่างภาพ
พระบฏวดั ต่างๆ กับจิตรกรรมฝาผนงั สกลุ ชา่ งไทใหญ่
มีข้อน่าสังเกตว่า การปรากฏเร่ืองพระมาลัยที่ได้เสด็จไปนรกและ
สวรรค์แล้วได้พบพระศรีอาริยเมตไตรยด้วยนั้น สามารถตั้งข้อสังเกตว่า น่าจะ
เกี่ยวข้องกับคติและความเช่ือท่ีว่า หากได้ฟ๎งเวสสันดรชาดกครบ 13 กัณฑ์ในวัน
-64-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
เดียว ยอ่ มไดพ้ บพระศรีอารยิ เมตไตรย ตามความปรากฏบนจารึกที่ตัวพระบฏเอง
ซึ่งคงจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับหน้าที่การใช้งานของพระบฏเร่ืองเวสสันดรในอดีตท่ี
มักจะแขวนภาพพระบฏประกอบในพิธกี รรมการเทศน์มหาชาติ
การตดิ ต้งั ภาพพระบฏ หรือภาพตุงค่าวธรรมน้ี มีลักษณะคล้ายกับงาน
จิตรกรรมฝาผนังชั่วคราว จะแขวนเรียงรายโดยรอบภายในหรือภายนอกพระ
วิหาร ถือเป็นการเน้นให้การเทศน์มีบรรยากาศและอารมณ์ครบถ้วนสมบูรณ์
ยิ่งขนึ้ ตลอดจนเป็นการเสริมสร้างให้พ้ืนท่ีประกอบพิธีมีความหมายเฉพาะ โดยมี
ภาพเป็นตัวกาหนดส่วนหน่ึง และเมื่อเสร็จพิธีต้ังธรรมหลวงแล้ว ผ้าเหล่านี้จะถูก
ม้วนเก็บ ไม่มีการนามาดูหรือติดประดับในท่ีใดๆ อีกท้ังสิ้น ภาพพระบฏตุงค่าว
ธรรมนี้จึงนับว่าเป็นวัตถุจัดแสดงอันเนื่องในพิธีกรรมตั้งธรรมหลวงอย่างแท้จริง
แต่ภายหลงั ไดค้ ลี่คลายมาเปน็ ภาพวาดหรือภาพพิมพ์ของบริษัท ส.ธรรมภักดี ขาย
สาหรับตกแตง่ วดั ไปทั่วประเทศไทย
สมัยก่อนการฟ๎งเทศนม์ หาชาตซิ ่งึ มีทง้ั หมด 13 กัณฑ์ ต้องใช้เวลาสวด
และฟง๎ กันหลายคืน และเชื่อว่าถ้าผู้ใดได้ฟ๎งเทศน์ครบทุกกัณฑ์จะมีอานิสงส์ผลบุญ
นาพาให้ไปเกิดในยุคพระศรีอาริยเมตไตรย แต่ป๎จจุบันได้ตัดทอนให้เหลือเพียง
หน่ึงวนั หนงึ่ คนื
คณุ คา่ ของภาพพระบฏ ทาให้เราศึกษาถึงการแต่งกายของชาวบ้านเช่น
พรานปุานาทาง จะมีการสักหมึกดา (สับหมึก) ตามต้นขาดังท่ีเรียกว่า “ลาวพุง
ดา” ซึ่งพบทั่วไปในสังคมชาวบ้าน ที่น่าสนใจคือขบวนแถวของไพล่พลทหารเดิน
เท้าด้านหนา้ มีการแสดงภาพขุนนางสยามทีแ่ ตง่ กายด้วยเส้อื ราชปะแตนกับผ้าโจง
กระเบน สวมหมวกทรงพ่หู ้อยกลุม่ หน่ึง กับอีกกลุ่มสวมเส้ือแขนยาว กางเกงแบบ
ตะวันตก สวมหมวกแบน ถือปืนยาว ซ่ึงน่าจะเก่ียวข้องกับรูปแบบเครื่องแต่งกาย
ของฝรัง่ หรือขา้ ราชการทม่ี าจากสยามในช่วงรัชกาลท่ี 5
ในด้านการแต่งกายของตัวภาพ ตัวละคร ในกลุ่มบุคคลช้ันสูงทั้งตัว
พระ ตัวนาง เช่น พระเวสสันดร และพระนางมัทรี สวมอาภรณ์ชุด “มหาลดา”
คือคล้องสังวาลไขว้ ที่บ่ามีอินทร์ธนู ภูษามีลายลอนลูกคลื่น (ผ้าลุนตะยาอาฉิก)
พร้อมชฎาทรงสูง คล้ายคลึงกับภาพบุคคลช้ันสูงท่ีพบในจิตรกรรมเร่ืองสังข์ทอง
ภายในวหิ ารลายคาวัดพระสิงห์เชน่ เดียวกนั
ในขณะเดียวกัน แบบของอาคารเรือนยอดทรงปราสาทท่ีพบพระบฏ
เหล่านี้ ก็มีความละม้ายกับสถาป๎ตยกรรมแบบพม่า-ไทใหญ่ (ทรงพญาธาตุ- Pya
Thatหรอื “เป๊ยี ะด๊ัด”) แสดงให้เหน็ วา่ ช่างเขียนคุน้ เคยกบั สถาป๎ตยกรรมแบบศิลปะ
พมา่ สมยั เมืองมัณฑะเลเปน็ อยา่ งดี ซง่ึ รปู แบบสถาปต๎ ยกรรมพม่าเช่นนั้นก็เป็นสิ่งท่ี
พบเห็นได้แพรห่ ลายในล้านนา ในชว่ งที่ชาวพมา่ ได้เข้ามาทาการสัมปทานปุาไม้สัก
ในล้านนา และได้สร้างวัดแบบศิลปะพม่ามากมายในล้านนาที่มีทั้งอาคารทรง
-65-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
ปราสาท และเจดีย์แบบศิลปะพม่า สามารถเปรียบเทียบได้กับสถาป๎ตยกรรมใน
จิตรกรรมฝาผนังเรื่องสังข์ทองภายในวหิ ารลายคา วัดพระสิงห์ เมอื งเชียงใหม่
จิตรกรรมบนผืนผ้าหรือพระบฏถือเป็นหลักฐานสาคัญ แสดงให้เห็นถึง
ความสัมพนั ธ์ ความสืบเนื่อง และพัฒนาการของจิตรกรรมล้านนา ระหว่างเมือง
ต่างๆ อย่างกว้างขวาง มีความเชื่อมโยงทั้งกับจิตรกรรมสกุลช่างไทใหญ่ ซ่ึง
สัมพันธ์กับศิลปะพม่าที่พบในเชียงใหม่-ลาพูน-ลาปาง ขณะเดียวกันยังเป็นบันทึก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ สังคมล้านนาในอดีต ท้ังด้านสถาป๎ตยกรรม การ
แต่งกาย พีธีกรรม การดารงชีวิต และความเปล่ียนแปลงสมัยใหม่ที่มาจาก
ตะวนั ตกสง่ ผา่ นกรงุ รตั นโกสินทร์หรือสยามอันมีผลกระทบต่อล้านนา
พระบฏกบั งานบุญประเพณใี นทอ้ งถ่นิ บทบาทของพระบทยังคงมีอยู่ใน
ประเพณีที่สาคัญของชาวพุทธในประเทศไทย แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ เท่าที่
รวบรวมได้ มีดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ประเพณีการแหผ่ า้ ขึ้นธาตุ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ในตานานพระ
บรมธาตุนครศรีธรรมราช กล่าวถึงการบูชาพระบรมธาตุด้วยผ้าพระบฏ ซึ่งมีมา
ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา และในสมัยรัชกาลที่ 2 ของกรุงรัตนโกสินทร์ มี
หลักฐานเล่าถึงการแห่ผ้าพระบฏในวันวิสาขบูชา ข้ึน 15 ค่าเดือน 6 ต่อมาใน
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมี พระราชประสงค์ให้
พุทธศาสนิกชนจัดพิธีในวันสาคัญทางพุทธศาสนาเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งวัน คือ วัน
มาฆบูชา ขนึ้ 15 ค่าเดือน 3 ประเพณีการแหผ่ ้าข้ึนธาตุในนครศรีธรรมราชราช
จึงมี 2 วันคือ วันวิสาขบูชา และ วันมาฆบูชา และบางครั้งก็มีการจัดในวาระ
พิเศษ เช่น ในตอนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
เสด็จประพาสแหลมมลายู พ.ศ. 2554 ทรงแห่พระบฏนมัสการพระบรมธาตุ
นครศรีธรรมราชด้วยเช่นกนั 91
ลักษณะผ้าพระบฏของเมืองนครศรีธรรมราชเป็นผ้าสีขาวผืนยาว
ระยะแรกนิยมเขียนภาพ พระพุทธเจ้าในพระอิริยาบถต่างๆ ตามแนวนอน ต่อมา
เริ่มมีเรื่องพระพุทธประวัติ มีการประดับตกแต่งด้วยแถบผ้าสีและลูกป๎ดสีต่างๆ
และถ้าผ้าพระบฏมีความยาวไม่พอกับจานวนคนในขบวนแห่ ก็จะใช้วิธีนาผ้าขาว
หรือผา้ สีแดง สีเหลือง มาผูกต่อ ในปี พ.ศ. 2530 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
91 จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ, พระราชหัตถเลขาเร่ืองเสด็จประพาส
แหลมมลายู เมือ่ รัตนโกสนิ ทรศก 108, 109,117, ฉบับท่ี 2, ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ
ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟูามาสินีนพดาราศิริภา
พรรณวดี กรมขุนศรีสชั นาลัยสุรกญั ญา ณ พระเมรทุ ้องสนามหลวง พ.ศ. 2464 (พระนคร
: โรงพิมพไ์ ท, 2468), หนา้ 212.
-66-
สนุ ทรียศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทาน ผ้าพระบฏให้แก่จังหวัดนครศรีธรรมราช
ในประเพณีการแห่ผ้าข้ึนธาตุ วันมาฆบูชา มีลักษณะเป็นผ้าสีขาวยาว 30 เมตร
เขียน ด้วยสีน้าและสีน้ามัน มีเนื้อหาเก่ียวกับพระพุทธประวัติเรียงกันไปใน
แนวนอน รวมทั้งสนิ้ 30 ภาพ92
2. งานบุญเทศน์มหาชาติ งานบุญเทศน์มหาชาติ เป็นประเพณีท่ี
สาคัญในพุทธศาสนามาต้ังแต่สมัยสุโขทัย93 เป็นวันท่ีพุทธศาสนิกชนทาบุญฟ๎ง
เทศน์มหาชาติ เรยี กอกี อยา่ งว่า เทศนค์ าถาพนั เพราะแต่เดิมแต่งด้วยคาถาภาษา
บาลีจานวนพันคาถา เป็นเน้ือหาเกี่ยวกับพระเวสสันดรชาดก โดยมีความเชื่อว่า
หากฟ๎งจนจบครบทั้ง 13 กัณฑ์ ได้ในวันเดียวจะได้อานิสงส์มาก สาหรับเทศ
มหาชาติฉบับภาษาไทยที่มีความเก่าแก่ที่สุด คือ มหาชาติคาหลวง ซ่ึงแต่งขึ้นใน
สมัยพระเจ้าบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 2025 แต่เหลือตกทอดมาถึงสมัย
รตั นโกสินทร์ เพียง 5 กณั ฑ์ คือ หิมพานต์ ทานกัณฑ์ จุลพน มัทรี สักกบรรพ
และ ฉกษัตริย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2358 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัย รชั กาลท่ี 2 โปรดฯ ให้แต่งเติมจนครบท้งั 13 กณั ฑ์94
งานบุญเทศน์มหาชาติ จะจัดขึ้นภายในอาคารท่ีกว้างขวางและโล่ง
เชน่ ศาลาการเปรยี ญ เพอ่ื รองรับพุทธศาสนิกชนท่ีมาร่วมงานเป็นจานวนมาก มี
การตกแต่งสถานท่ีจาลองให้เป็นเหมือนสภาพปุาบริเวณเขาวงกตที่พระเวสสันดร
พักอยู่ แล้วประดับด้วยผ้าพระบฏหรือผ้าพระเวส ทั้ง 13 ผืน ตามจานวนกัณฑ์
เทศ 13 กัณฑ์ ดังนั้น งานบุญเทศน์มหาชาติจึงมีชื่อเรียกว่า งานบุญพระเวส
หรือ งานบุญผะเหวด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป๎จจุบันวัดบางแห่งยังคง
รักษาระเบียบประเพณีไว้เป็นอย่างดี และเก็บรักษาผ้าพระเวสไว้เป็นสมบัติสาคัญ
ของวัด บางพื้นที่มีการให้ยืมระหว่างวัดในละแวกเดียวกันเพื่อให้งานเทศน์
มหาชาตขิ องวัดนัน้ ๆ ครบถ้วนและสมบรู ณ์
3. งานบุญผะเหวดในภาคอีสาน ดังได้กล่าวแล้วข้างต้นว่า คาว่า ผะ
เหวด เป็นการออกเสียงตามสาเนียงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเพ้ียนมาจากคา
ว่า พระเวส ในภาษากลาง งานบุญผะเหวด ก็คือ งานบุญพระเวสหรือเทศน์
มหาชาติ นน่ั เอง แต่ต่างกนั ทใี่ นภาคอีสานนัน้ จะจัดข้นึ เป็น ประจาในวันขึ้น 15
92 ฉัตรชัย ศุภระกาญจน์, “ผ้าพระบฏเมืองนคร”, สารนครศรีธรรมราช. ปีที่ 26, ฉบับที่
4 (เมษายน), 2539, หน้า 39-40.
93 ธนิต อยู่โพธ์ิ, ตํานานเทศน์มหาชาติ, สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีพิมพ์แจกในงาน
ทอดผ้าพระกฐินพระราชทาน ณ วดั มหรรณพาราม กรงุ เทพมหานคร 29 ตุลาคม 2524,
หน้า 5-7)
94 กรมศิลปากร, มหาชาตคิ ําหลวง, พมิ พ์ครงั้ ที่ 66, (กรุงเทพมหานคร : คลังวทิ ยา,
2516), หนา้ 3-5.
-67-
สุนทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
ค่าเดอื น 4 ถอื เป็นประเพณีท่ีย่ิงใหญ่ เป็นหน่ึงในฮีต 12 โดยมีความเชื่อว่าหาก
ได้ฟ๎งเทศน์บุญผะเหวดครบท้ัง 13 กัณฑ์ในวันเดียว และจัดพิธีเคร่ืองบูชาได้
ถกู ตอ้ ง อานิสงส์ก็คือจะได้ไปเกดิ ในยุคของพระศรีอารยิเมตไตรย
ผ้าผะเหวดในแถบตะวันออกเฉียงเหนือ มีทั้งที่เขียนบนผืนผ้าขนาดเล็ก
เลา่ เร่ืองให้จบในแต่ละกัณฑ์ต่อผืน และมีทั้งเขียนภาพต่อเน่ืองกันไปตามแนวนอน
เป็นผืนเดียว ต้ังแต่กัณฑ์แรก คือ ทศพร จนจบกัณฑ์ท่ี 13 คือ นครกัณฑ์
ตัวอย่างเช่น ผ้าผะเหวด ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี มีความกว้าง
40 เซนตเิ มตร และยาวถึง 3,520 เซนตเิ มตร เปน็ ตน้
4. ตุงพระบฏล้านนา ในคติของล้านนานิยมสร้างตุง หรือ ธง
ประดับในงานเทศกาลและงานพิธีต่างๆ ทั้งงานมงคลและงานอวมงคล โดยมี
วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายหลายประการ เช่น เพื่อเป็นพุทธบูชา สร้างกุศลให้
ตนเองและอุทิศส่วนกศุ ลให้แกผ่ ้ทู ีล่ ว่ งลับไปแลว้ เพอื่ เป็นการเฉลิมฉลองในงานบุญ
หรือที่เรียกว่า “งานปอยหลวง” ฉลองศาสนสถาน ศาสนวัตถุในวัด หรืออาคาร
สาธารณประโยชน์ต่างๆ ตลอดจนเพ่ือเป็นการสะเดาะเคราะห์ ต่ออายุ สืบชะตา
และเพื่อใช้ในพิธีกรรมและเทศกาลอื่นๆ เช่น พิธีสวดพระพุทธมนต์ การตั้งธรรม
หลวง ประเพณีสงกรานต์ และ ประเพณีเกี่ยวกับคนตาย เป็นต้น ตุงมีรูปแบบท่ี
หลากหลายตามความหลากหลายของการใช้งาน วัสดุที่ใช้ทาตุงท่ีสาคัญ ได้แก่
กระดาษ ผ้า ไม้ เหล็ก แผ่นเงิน แผ่นทอง ตะกั่ว เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีช่ือ
เรยี กแตกต่างกนั ไป เชน่ 95
(1) เรียกชื่อตามวัสดุท่ีใช้ทา เช่น ตุงตอง (ตุงทอง) ตุงเงินตุงคา ตุง
เหล็ก ฯลฯ ส่วนพระบฏ หรือ ตุงพระบฏ ทาจากผ้าผืนใหญ่ เขียนภาพเกี่ยวกับ
พระพุทธประวัติ ใช้ถวายทานเป็นพุทธบูชา ส่วนใหญ่นิยมใช้แขวนไว้หลังพระ
ประธานในวิหาร ศาลา หรืออุโบสถ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา สร้างกุศลให้ตนเอง
และอุทิศสว่ นกุศลให้แก่ผทู้ ีล่ ่วงลบั ไปแลว้
(2) เรียกชอื่ ตามวิธกี ารทา เช่น ตุงข้าวเปลือก ตุงข้าวสาร ตุงดิน ตุง
ทราย ตุงค่าคิง (ตุงท่ีขนาดความยาวเท่ากับความสูงของผู้ทาหรือผู้อุทิศ) ตุงไชย
ตงุ เปิง้ (ตงุ ประจาปเี กดิ ) ฯลฯ
(3) เรียกช่ือตามรูปร่าง เช่น ตุงช่อหรือตุงร้อยแปด ตุงช่อช้าง ตุง
ราว ตุงช่อนาทาน ตุงตะขาบ ตุง จระเข้ ตุงสิบสองราศี ตุงรูปคน ตุงสามหาง
ตงุ ใย (ตุงรปู ใยแมงมมุ ) เป็นต้น
95 ศลิ ปากร, กรม, เมอื งเชยี งแสน, จดั พมิ พเ์ นือ่ งในวโรกาสสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ พระราชดาเนนิ ทรงเปิดพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติเชียงแสน จังหวดั
เชียงราย, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท กราฟิคฟอรแ์ มท (ไทยแลนด์) จากดั ), 2539. หน้า
114-115.
-68-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
การลอกลายรูปแบบพระบฎโบราณในการนาํ มาสร้างสรรคศ์ ิลปะร่วมสมัย
1. การลอกลายภาพพระบฏ
วิธีการสร้างพระบฏ การเขียนพระบฏนั้นมีข้ันตอนเดียวกันกับการ
เขียนจติ รกรรมไทยประเพณที ่วั ๆ ไป ดังนี้
1. ขั้นเตรียมการ หมายถึง การเตรียมความพร้อมทุกอย่างท่ี
เก่ยี วขอ้ ง กลา่ วคือ
1.1 การเตรียมพื้น ได้แก่ ผืนผ้าที่นิยม คือ ผ้าฝูายสีขาวโดยทา
รองพ้ืนด้วยดินสอพองท่ีผสมด้วยกาวเม็ดมะขามหรือกาวหนังสัตว์ ซ่ึงช้ันรองพ้ืน
และชัน้ สนี ต้ี ้องทาบางๆ เพ่อื ให้สามารถม้วนเกบ็ ได้ โดยสีไม่แตกหรอื กะเทาะงา่ ย
1.2 การเตรียมกาว สาหรับใช้ผสมกับสีฝุน โดยใช้ยางกระถินเทศ
ยางมะขวิด ยางมะเดือ่ ซ่ึงช่างโบราณเรียกนา้ กาวท่ีใช้ผสมสีว่า น้ายา ดังนั้น จึง
เรียกสีฝนุ วา่ สนี ้ายา
1.3 การเตรียมสี คือสีฝุนที่ใช้ ได้จากดิน แร่ หิน โลหะ นาไป
บดหรือเผาไฟให้สุก ตากแห้ง แล้วบดให้ละเอียด สีบางชนิดได้จากส่วนต่างๆ
ของพืชและสัตว์ ต้องนาไปต้มหรือต่า คั้นเอาน้ามากรอง เกรอะให้แห้ง จากน้ัน
จึงนาไปบดเป็นผงละเอียด ซ่ึงสีที่ใช้เขียนภาพในสมัยโบราณมีเพียงไม่กี่สี
กล่าวคือ สีดาได้จากเขม่า สีขาวจากฝุนขาว สีแดงจากดินแดง และสีเหลืองจาก
ดินเหลือง จนกระทั่งสมัยอยุธยาตอนปลายได้เริ่มมีสีสดใสและมีจานวนสีมากขึ้น
เช่น สีเหลืองสด สีเขียวสด สีแดงชาด เป็นต้น ซ่ึงนาเข้ามาจากเมืองจีน จึง
กลา่ วไดว้ า่ ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ จงึ มสี ีฝุนใช้อย่างหลากหลาย เช่น
สีเหลือง มี 4 ประเภท คือ สีดินเหลืองจากดิน สีรงค์จากยางไม้
รงค์ สีเหลืองหรดาลจากแร่หรดาล และ สีเหลืองจากตะกั่ว
สีแดง มีสีดินแดง สีแดงชาด สีแดงลิ้นจ่ี สีแดงเสนหรือสีแดงลูก
พิกลุ (สีแดงเสอื เหลือง)
สขี าว จากดนิ ขาว ปูนขาว และออกไซด์ของตะก่วั
สีน้าเงิน ซ่ึงสมัยโบราณเรียก สีคราม มี 2 ชนิด คือ ได้จากพืช
และจากแร่
-69-
สุนทรียศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
สีเขียว แต่เดิมได้จากการนาเอาสีครามผสมกับสีเหลือง ต่อมาจึง
เร่ิมมีสีสาเร็จรูปมาจากต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นสีเขียวต้ังแชจากเมืองจีน สีเขียว
ชินสีจากตะวันตก และสีเขียวจากหินขี้นกการเวก96
กล่าวกันว่าในสมัยรัชกาลที่ 5 สีฝุนเริ่มหายาก จึงหันไปนิยมใช้สี
ผสมกันมากข้ึน ดังท่ีสมเด็จฯ เจ้าฟูากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงมีพระ
วนิ ิจฉยั ในหนังสอื กราบทลู ไวต้ อนหน่งึ ว่า
“อน่ึง ข้าพระพุทธเจ้า มีความวิตกด้วยสีน้ายา เพราะเหตุว่าที่มี
ขายในทอ้ งตลาดทกุ วันนี้ มีแต่สีปลอม คือ เอาดินเหลืองมาย้อมสีสรรค์ขาย เม่ือ
ละลายจะได้สีสรรค์ลอยอยู่บนน้า ส่วนดินเหลืองนอนอยู่กัน เม่ือจะทา ต้องกวน
อยู่ไม่หยุดได้ แลเมื่อเขียนแล้ว ล่วงเดือนหน่ึง ไม่ใคร่มีอะไรติดอยู่ ความวิตกอัน
นี้ เกดิ ข้นึ แก่การทจ่ี ะเขยี นพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร เกรงด้วยเกล้าฯ ว่าจะ ไม่
มีน้ายาใช้ ให้ของอยู่ทนนานสมพระราชประสงค์ จึงได้คิดจะหาสีมาจากเมืองจีน
จึงสืบสวนได้จีนช่างเขียนคนหนึ่งซ่ึงพูดเข้าใจความประสงค์กันได้ เป็นสีอย่างท่ี
หน่ึง มีมากพอท่ีจะเขียนพระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตรได้สัก 2 หลัง ถ้าหากผู้ซึ่ง
จะโปรดเกล้าฯ ให้เปน็ แม่กองในการเขียนพระบทนี้ ไม่มีน้ายาจะใช้แล้ว ให้มารับ
ที่ขา้ พระพุทธเจ้ากไ็ ด้” 97
2. ขน้ั การเขียนภาพ เร่ิมจากการกาหนดเร่อื งหรอื ภาพที่จะเขียน ร่าง
ภาพลงบนกระดาษ แล้วนาไปขยายให้ใหญ่ลงบนผ้า สาหรับบางตัวภาพหรือบาง
ลวดลาย อาจใช้วิธีปรุภาพ หรือปรุลาย โดยการเจาะตามลายเส้นของตัวภาพ
หรือลาย ให้เป็นรูเล็กๆ แล้วใช้ลูกประคบท่ีห่อถ่านไม้ไว้ ตบลงตาม รอยปรุนั้น
เรียกวา่ ตบฝุน แล้วจึงเขียนสี ปิดทองและตดั เสน้ ในขน้ั ตอนสุดท้าย
จดุ สังเกตประการหน่ึงกค็ อื การเขียนพระบฏในสมัยรัชกาลที่ 5 ส่วน
ใหญ่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ถ่ายแบบหรือคัดลอกภาพจาก
ภาพเขียนที่ฝีมือดีในพระอุโบสถวัดสุวรรณาราม ภาพที่นิยม เช่น เนมิราชชาดก
หรอื เวสสันดรชาดก ซึ่งสมเด็จฯ เจ้าฟูากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงชมว่า
เปน็ งานเขยี นทง่ี ามมาก ดงั ที่ทรงตรสั ไว้ว่า
“แตส่ ว่ นเรือ่ งเนมยี ไ์ ด้แบบที่วดั สุวรรณ มอื ครูทองอยู่งามอย่างยิ่ง เล่น
กนกมากจริงๆ ถ้าตกแต่ช่างท่ีไม่สู้จะแขง ละไม่ไหว ข้าพระพุทธเจ้าพยายามท่ีจะ
ตัดแต่ตัดไม่ออก ต้องเอาท้ังห้อง เพราะฉะนั้น ทาให้ภาพเล็กไปสักหน่อย แล
96 วรรณิภา ณ สงขลา, เรยี บเรยี ง. จิตรกรรมไทยประเพณชี ดุ ท่ี 001 เล่มที่ 1 พ.ศ
2533 จิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด 2533), หนา้ 59-61.
97 วรรณนภิ า ณ สงขลา, เรอ่ื งเดมิ , หนา้ 59-61.
-70-
สุนทรียศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
ขา้ งล่างจะเขยี นพระเวสสันดอน ตอนเรยี ก 2 กุมารขึ้น จากสระน้ัน ทีแรกก็ลฤก
ได้ทันทีว่า พระเวสสันดอนเรียก 2 กุมารมีงามหนักหนา ที่วัดสุวรรณ คลอง
บางกอกน้อย..”98
เมื่อเลือกภาพท่ีต้องการได้แล้ว การถ่ายแบบหรือคัดลอกตามแบบ
นาไปเขียนลงบนผืนผ้าน้ัน กล่าวได้ว่ามีรายละเอียดมากมาย ที่ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ
ด้านน้ีเท่านั้นจงึ จะสามารถทาไดด้ ี และประณีตบรรจง ดังตัวอย่างข้ันตอนท่ีท่าน
ไดอ้ ธิบายไว้วา่
“จงรับกระดานพระบฏขนาดกว้าง 2 ศอก ยาว 5 ศอก มาตีกรอบ
กว้าง 6 น้ิวลง 3 ด้าน คือ ด้านบนแลข้าง แล้ววัดแต่ใต้กรอบบนลงมา 2
ศอก 9 นิ้ว ตีกรอบชวางสกัดกลางลง ขนาดอย่างเดียวกัน ท่ีเขียนภาพจะได้
แยกกันออกเปนสองช่อง แลในกรอบนั้นจงผูกลายประจุล ตามแต่จะเห็นงาม
กรอบด้านล่างต้องยักลายเป็นซ่องหนังสือ มีขนาดกว้าง 4 ฤา 5 นิ้ว พอท่ีจะ
เขียน หนงั สอื ไดส้ องบรรทัดอย่างตวั เขอื่ งๆ”
“ท่ีช่องบนเขียนรูปพระพุทธเจ้าปางเม่ือเหลียวหลังส่ังเมืองเวสาลี จง
เขียนเส้นร่างตาม แบบซ่ึงส่งมาด้วยนี้ ถ่ายขยายให้ใหญ่ข้ึน 5 เท่า การลงสีนั้น
องค์พระเจา้ ใชส้ เี หลอื งออ่ น พระสาวกใช้สีขาวตดั อยา่ งโบราณ คือใช้ค้ิวดา หนวด
ดา จวี รใชช้ าดเติมลงใหจ้ ัด แลว้ ตดั ด้วยดินแดง เกลื่อนเข้าข้างลึก แล้วเอาเหลือง
โฉบตามกลีบผ้าตรงท่ีสูงเส้นเล็กๆ บางๆ อย่างทาลายฉลุ รัศมี พระเจ้านั้นใช้ 5
สี คือพ้ืนทาแดงชาด เส้นขอบรัศมี 5 ชั้น 5 สี ในเส้นหงษชาดใหญ่ถัดออกไป
เส้น ขาวใสเล็ก ถัดออกไปเส้นเขียวแก่ใหญ่ ถัดออกไปเส้นเหลืองเล็ก ที่นี้ทิ้งให้
หางวางเส้นทองเล็กอีกเส้นหน่ึง ให้สีพ้ืนผนังหลังเขาคั่นอยู่ในระหว่างเส้นเหลือง
กับทอง เป็นลวดใหญ่อีกลวดหนึ่งด้วย ถ้าแลเห็นไม่ขึ้นดี เอาเส้นดาเข้าช่วยตัด
ด้วย ในระหว่างน้ันก็ได้กระบวรเขียนซ้อนสีอย่างว่าน้ี เส้นทองซ่ึงเป็นเส้นนอก
ที่สุดต้องอยู่เสมอเส้นร่าง ส่วนรัศมีพระสาวกใช้สามสี คือ พื้นแดง เส้นในหงษ
ชาดใหญ่ เสน้ นอกขาวใสเล็ก ถา้ แลเหน็ ไม่ขึน้ เอาคาตัดนอกเสียอีกก็ได้ ท่ีเป็นรูป
บัวฐานอยู่ในแบบน้ัน คือ ฐานซุ้มประตูเมืองเวสาลี ใช้สมอครามเจือเขม่า จะ
ทาลายฤาไม่น้ัน ตามแต่จะเห็นดี ถ้าทาลายต้องเป็นฉลุลายปูน พ้ืนต่อไป
เบ้ืองหลังพระเจ้านั้น คือ กาแพงเมือง ทาสีมอครามเจือเขม่า อย่างเดียวกับ
ประตูฤาแก่กว่าหน่อยก็ดี ข้างหลังพระสาวกน้ันมีเสากรอบประตูอยู่ระวังอย่าทา
มอเลยไป ตอ้ งสอดสีดนิ แดง พื้นถนนทพี่ ระเดินอยู่ทาสีดินแดง พ้ืนลานน่ากาแพง
ทาหญ้า ฤาวา่ จะซา้ ทาตน้ ไม้ ดอกแซมเข้าด้วยก็ได้ แต่ระวังอย่าให้รกอย่าให้ใหญ่
ให้สอดไปพอเหมาะกบั ชอ่ งว่าง อย่างประหนึ่ง วา่ ทาลาย”
98 น ณ. ปากน้า, เร่ืองเดิม. หนา้ 215.
-71-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
“ทชี่ ่องล่างเขียนเร่อื งพระเนมยี ์ราช จงไปถ่ายอย่างฝีมือครูทองอยู่ ซ่ึง
เขียนไว้ในพระ อุโบสถวัดสุวรรณาราม คลองบางกอกน้อย ถ่ายเอาทั้งห้อง แต่
ลดขนาดเขยี นให้เลก็ ลงสามสอง (คือเหมือนหนึง่ ว่า ภาพต้นอย่างสูง 12 นิ้ว ลด
เขียนแค่ 5 น้ิว) ท่ีว่าถ่ายท้ังห้องน้ัน หมายความ เอาเพียงเท่าที่เขียนไว้เดิม
เท่าน้ัน ท่ีพอกปูนแก้บานแผละเดิม ห้องกว้างออกมาอีกข้างละ 5 นิ้ว และเขียน
ต่อเติมไว้ยังไม่แล้วน้ัน ไม่หมายให้ถ่ายด้วยดอก อย่าหลงไปคิดเข้า ด้วยจะลง
กระดานไม่ ได้ "99
2. รูปแบบของภาพพระบฏ
ภาพและเรอ่ื งราวทป่ี รากฏในพระบฏมหี ลายแบบแตกต่างกันไปตามยุค
สมัย ความถนัดของช่าง และวัตถุประสงค์ในการสร้าง เป็นต้น ซ่ึงพอจะสรุปได้
ดงั ตอ่ ไปนี้
1. พระพุทธเจ้าและพระอัครสาวก ในระยะเร่ิมแรกของการเขียนภาพ
บนผนื ผ้า โดยมากเป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนพระองค์เดียว ยกพระหัตถ์ขวา
ต่อมา เขียนเป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนภายในซุ้ม ขนาบข้างด้วยพระอัคร
สาวก 2 องค์ คอื พระโมคคัลลานะ พระอัครสาวกเบื้องซ้าย เป็นพระเอตทัคคะ
หรือผู้เป็นเลิศทางมีฤทธิ์ และพระสารีบุตร พระอัครสาวกเบื้องขวา เป็นพระ
เอตทคั คะ หรือ ผเู้ ป็นเลิศทางป๎ญญา ซง่ึ สมเด็จฯ เจ้าฟูากรมพระยานริศรานุวัดติ
วงศ์ ทรงวินิจฉัยว่าเป็นตอนท่ีพระองค์ทรงเดินออกจากเมืองเวสาลี ทรงหยุดแล้ว
หันพระพักตร์ทอดพระเนตรเมืองเวสาลีเป็นครั้งสุดท้าย และเหนือซุ้มเรือนแก้ว
หรือเส้นกรอบสินเทาขึ้นไปที่มุมซ้ายและขวามักมีภาพฤาษีนักสิทธิ์หรือเทวดาเหาะ
ประนมมอื ถอื ดอกบัว
2. พระพุทธประวัติ ภาพพระพุทธประวัติท่ีนิยมนามาสร้างพระบฏนั้น
มีท่ีมาจากเร่ืองราวท่ีปรากฏในคัมภีร์ปฐมสมโพธิกถา ตั้งแต่ตอนประสูติจนถึง
ปรนิ ิพพาน ซ่ึงมที ้งั หมด 29 ตอน ในที่นขี้ อสรุปเปน็ ตอนๆ โดยย่อดงั ต่อไปน้ี100
99 น ณ. ปากนา้ , อา้ งแล้ว. หนา้ 215-217.
100 ดูรายละเอียดใน ปฐมสมโพธกิ ถา พระนพิ นธ์ในสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมา
นชุ ติ ชิโนรส. รฐั บาลในพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช จดั พมิ พ์ทลู เกล้าฯ
ถวายสนองพระมหากรณุ าธคิ ณุ ในมหามงคลเฉลมิ พระเกยี รติ พระบรมราชสมภพ ครบ
200 ปี พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกล้าเจ้าอยหู่ วั วันองั คาร ท่ี 31 มีนาคม พุทธศกั ราช
253o, (กรงุ เทพมหานคร : บริษทั วคิ ตอรี เพาเวอรพ์ อยท์ จากดั ), พ.ศ. 2530.
-72-
สุนทรยี ศาสตร์ในพระบฎล้านนา
(1) วิวาหมงคลปริวรรต คือเร่ืองราวในตอนอภิเษกพระเจ้าสุทโธทนะ
และนางสริ ิมหามายา พระราชบิดาและพระราชมารดาของเจา้ ชายสิทธัตถะ
(2) ดุสิตปริวรรต คือตอนเทพทั้งหลายทูลเชิญสันดุสิตเทวราช ให้ลง
ไปจุตใิ นพระครรภ์ของพระนางสริ มิ หามายา
(3) คัพภานิกขมนปริวรรต ตอนพระนางสิริมหามายาทรงสุบินนิมิต
ว่า มีชา้ งเผือกหรือเศวตหัตถี กระทาประทักษิณพระนางแล้ว เหมือนดุจเข้าไปใน
อุทรแห่งพระนาง
(4) ลักขณปริคคาหกปริวรรต ตอนกาฬเทวิลดาบสถวายพยากรณ์ว่า
สทิ ธตั ถราชกุมารจะได้ตรัสรเู้ ป็นพระพุทธเจา้
(5) ราชาภิเษกปริวรรต มีเหตุการณ์สาคัญหลายตอน ได้แก่ ตอน
พระเจ้าสุทโธทนะทรงทาพระราชพิธีแรกนาขวัญ เจ้าชายสิทธัตถะโดยเสด็จ และ
ประทับใต้ร่มไม้หว้า ถึงแม้เวลาตะวันคล้อยไปแต่ร่มไม้หว้าไม่ได้เคล่ือนไป คง
ปรากฏบังร่มเงาเหนือองค์ราชกุมาร ต่อมาเม่ือมี พระชนม์ได้ 16 พรรษา พระ
อินทร์ โปรดให้เนรมิตปราสาทและอุทยานถวาย และได้ทรงแสดง ศิลปะศาสตร์
ทรงพระมหาธนูอันบุรุษ 1,000 คนจึงจะยกได้ แต่พระองค์ทรงยกซ่ึงคันธนูน้ัน
ดังสตรี ยกไม้กงดีดฝูาย และทรงแผลงพระมหาธนูนถูกเส้นขนหางจามรีในที่ไกล
1 โยชน์ได้ จนกระท่ังถึงตอนที่พระราชบิดาได้ทรงให้ราชาภิเษกข้ึนเสวยพระราช
สมบตั ิ มีพระนางพิมพาเป็นพระอคั รมเหสี
(6) มหาภินิขมนปริวรรต คือ ตอนเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์หรือ
เสด็จออกบรรพชา มีภาพสาคัญ คือ ตอนเสด็จประพาสอุทยาน ทรงพบเทวทูต
ท้ัง 4 คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ จึงทรงเสด็จออกบรรพชา
ประทบั บนม้ากณั ฐกะ มีนายฉนั นะตามเสดจ็ มพี ระพรหมอญั เชญิ เคร่ืองบริขาร
(7) ทุกรกิริยาปริวรรต ตอนพระโพธิสัตว์ประทับ ณ อุรุเวลประเทศ
มีพระป๎ญจวัคคีย์ เฝูาปรนนิบัติ พระองค์ตั้งพระทัยกระทาทุกรกิริยาให้ถึงท่ีสุด
จนพระวรกายเหลือแต่หนังหุ้มพระอัฐิ แต่พระสติตั้งม่ัน และมีพระอินทร์ทรงพิณ
ทิพย์ 3 สาย ให้ทรงสดับแล้ว จึงทรงพิจารณาเห็นทางสายกลางหรือ
มัชฌมิ าปฏปิ ทา
(8) พุทธบูชาปริวรรต ตอนนางสุชาดาถวายข้าวมธุปายาส ทรงลอย
ถาดทองสวู่ ิมานกาฬนาคราช และทรงรับหญ้าคา 8 กา จากโสตถยิ พราหมณ์
(9) มารวิชัยปริวรรต ตอนตรัสรู้ ทรงชนะพระยาวัสวดีมารด้วยพระ
ทศบารมี
(10) อภิสัมโพธิปริวรรต พระพุทธเจ้าทรงพิจารณาธรรม และมีเทพ
ทั้งหมื่นจักรวาล ยักษ์ คนธรรพ์ ครุฑ นาค กินนร กินรี ทั้งหลาย มาถวาย
สกั การบชู าพระพทุ ธเจา้
-73-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
(11) โพธิสัพพัญญปริวรรต ตอนทรงประทับเสวยวิมุตติสุข ณ สัต
ตมหาสถาน
(12) พรหมชั เฌสนปริวรรต ตอนท้าวสหัมบดีมหาพรหมทูลอาราธนา
พระพทุ ธเจ้า ให้ โปรดประทานพระสหธรรมแกอ่ เนกนกิ รสตั ว์
(13) ธัมมจักกปริวรรต ตอนพระพุทธเจ้าประทานปฐมเทศนาโปรด
พระปญ๎ จวัคคีย์
(14) ยศบรรพชาปริวรรต ตอนพระพุทธเจ้าตรัสพระสัทธธรรมโปรด
พระยศและ จนได้บรรลุพระอรหัตมรรคผลญาณ
(15) อุรุเวลคมนปริวรรต ตอนพระพุทธเจ้าโปรดชฎิลสามพ่ีน้อง
พร้อมบริวารรวม 1,000 คน
(16) อัครสาวกบรรพชาปริวรรต คือตอนท่ีพระโมคคัลลานะและพระ
สารบี ตุ รบรรพชาเปน็ พระภิกษแุ ละไดเ้ ปน็ อคั รสาวกซา้ ยขวาของพระพุทธเจา้
(17) กบิลวัตถุคมนปริวรรต ตอนพระพุทธเจ้าเสด็จโปรดสักยราช
พระประยรู ญาติ ณ กรุงกบลิ พัสดุ
(18) พมิ พาพลิ าปปริวรรต ตอนโปรดพระนางพมิ พาและพระราหุล
(19) สักยบรรพชาปริวรรต ตอนพระราหุลบรรพชา อนาถบิณฑิก
เศรษฐี ถวายเชตะวนั มหาวหิ าร
(20) เมตไตยพยากรณปริวรรต คือตอนพระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์
กาลพระเมตไตรย์โพธิสัตว์
(21) พุทธปิตนุ พิ พานปริวรรต ตอนพระเจา้ สทุ โธทนะนพิ พาน
(22) ยมกปาฏิหาริยปริวรรต ตอนทรงกระทายมกปาฏิหาริย์ปราบ
เหลา่ เดยี รถีย์
(23) เทศนาปริวรรต ตอนพระพุทธเจ้าเสด็จสู่สวรรค์ช้ันดาวดึงส์เพ่ือ
โปรดพระพุทธมารดา
(24) เทโวโรหนปริวรรต ตอนเสด็จจากดาวดึงส์สู่มนุษยโลกและทรง
บันดาลให้เทพ มนุษย์และสัตว์เดียรฉาน สัตว์นรกท้ังปวง ซ่ึงปรารถนาพุทธภูมิ
นัน้ สามารถมองเห็นกันได้
(25) อัครสาวกนิพพานปริวรรต พระสารีบุตรนิพพาน ณ เชตวนา
ราม บ้านนาลันทคาม
(26) มหานิพพานสูตรปริวรรต คือตอนพระพุทธเจ้าประชวรและ
ปรินพิ พานใต้ต้นรงั คู่ ณ เมอื งกสุ ินารา
(27) ธาตุวิภัชนปริวรรต ตอนมหากัสสปะเถระเดินทางมาถวาย
สักการะพระบรมศพ และมีพระเพลิงทิพย์บังเกิดข้ึนเอง และเมื่อถวายพระเพลิง
แล้วกษัตริย์ท้ังหลายต่างพากันมาขอพระบรมสารีริกธาตุ โทณพราหมณ์จึงแบ่ง
-74-
สนุ ทรียศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
พระบรมสารีริกธาตุ ให้ทุกฝุายได้อัญเชิญไปประดิษฐานเป็นท่ีสักการบูชา ณ
นครตา่ งๆ
(28) มารพันธปริวรรต ตอนพระอุปคุตเถรปราบพระยาวัสวดีมาร
เพ่ือให้พระวหิ ารและ พระสถปู อนั ประดิษฐานพระบรมสารรี ิกธาตุปลอดภัย
(29) อนั ตรธานปรวิ รรต คือตอนที่กล่าวถึงพระพุทธเจ้าเมื่อครั้งดารง
พระชนม์ชพี อยู่ ได้ ตรัสสอนสาวกว่าเมื่อพระพุทธเจ้าล่วงลับไป จะเกิดอันตรธาน
หรือ ความเส่อื มสญู 5 ประการ
ตัวอย่างภาพในพระพุทธประวัติท่ีเป็นท่ีนิยมในการทาภาพพระบฏ มี
หลายตอน เช่น ภาพพระพุทธเจ้าพร้อมอัครสาวกทรงเครื่องทรงในซุ้ม ประทับ
ยืน ส่วนล่างเป็นภาพพุทธประวัติตอนมารผจญ (มารวิชัยปริวรรต) เป็นตอนท่ี
พระยามารยกกองทัพมาล้อมพระพุทธเจ้าไว้ พระองค์ทรงอ้างแม่ธรณีเป็นสักขี
พยานในการทรงบาเพ็ญบุญส่ังสมทศบารมี ทรงเหยียดพระหัตถ์เบ้ืองขวาช้ีพระ
ดชั นีไปยงั พื้นดิน พระแม่ธรณปี รากฏกายออกมาในรูปของหญิงสาว บิดน้าในมวย
ผมหลั่งเป็นประจักษ์พยาน จนน้าที่ออกมาน้ันท่วมมารท้ังหลายไปจนหมดสิ้น
พระยามารจึงยอมแพ้
นอกจากน้ันยังมี มหาภินิขมนปริวรรต หรือ ตอนเสด็จออกบรรพชา
พุทธบูชาปริวรรต คือ ตอนท่ีพระพุทธเจ้าทรงรับถาดข้าวมธุปายาสจากนาง
สุชาดา แล้วเสด็จไปประทับน่ังบริเวณริมฝ๎่งแม่น้าเนรัญชรา ทรงลอยถาด
อธิษฐาน ถาดทองลอยทวนกระแสน้าขึ้นไป จากน้ันตกลงสู่วิมานพญากาฬ
นาคราช กระทบกับถาดทองของพระสัพพัญํูท้ัง 3 ในอดีต เสด็จดาเนินไปสู่
สถานโพธิ์พฤกษ์ มีขบวนพระพรหม พระอินทร์ เหล่าเทพยดา คนธรรพ์ พร้อม
ด้วยเคร่ืองสักการะ แวดล้อมด้วยเหล่านางฟูาบริวารไปส่ง ระหว่างทางทรงรับ
หญ้าคา 4 กาจากโสถิยพราหมณ์ รวมทั้ง อภิสัมโพธิปริวรรต ตอนตรัสรู้ มี
เหล่าเทพมาชุมนุมธัมมจักกปริวรรต คือตอนท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา
โปรดป๎ญจวัคคีย์ ทั้ง 5 คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ
พระมหานามะ และ พระอัสสชิ ณ ปุาอิสิปตนมฤคทายวัน ยมกปาฏิหาริย
ปริวรรต ตอน ทรงกระทายมกปาฏิหาริย์ปราบเหล่าเดียรถีย์ เนรมิตพระองค์ใน
อากัปกิริยาท่าทางต่างๆ และแสดงอิทธิฤทธ์ิ จนกระท่ังเหล่าเดียรถีย์ยอมแพ้
เทศนาปริวรรต ตอนเสด็จโปรดพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เทโวโรหน
ปริวรรต ตอนเสด็จลงจากสวรรค์ดาวดึงส์ พระอินทร์เนรมิตบันไดทิพย์ท้ังสาม
คือ บันได แก้วตรงกลางสาหรับเป็นทางเสด็จของพระพุทธเจ้า บันไดทอง
ด้านขวาเป็นที่ลงของเทวดา และบันไดเงินด้านซ้ายสาหรับพระพรหม บันไดทิพย์
ท้ังสามทอดลงมาจากยอดเขาพระสิเนรุบนสวรรค์ดาวดึงส์ ลงสู่พ้ืนโลกท่ีเมือง
-75-
สุนทรยี ศาสตร์ในพระบฎล้านนา
สงั กสั สนคร ในครั้งนั้นพระพุทธเจ้าทรงเปิดโลกให้เทพ มนุษย์ และสัตว์เดียรฉาน
สัตวน์ รกทง้ั ปวง สามารถมองเห็นซึ่งกันและกัน
3. พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ พระพุทธเจ้า 5 พระองค์เป็นภาพที่
นิยมเขียนทั้งในพระบฏ และบนฝาผนัง มักเขียนไว้ช่วงบนของผืนผ้า
ประกอบด้วย อดีตพระพุทธเจ้า 3 พระองค์ คือ พระพุทธกกุสันธะ พระพุทธโก
นาคมน์ และ พระพุทธกัสสปะ รวมท้ังพระพุทธเจ้าองค์ป๎จจุบัน คือพระสมณโค
ดม และพระพุทธเจ้าในอนาคต คือ พระศรีอาริยเมตไตรย ซ่ึงในนิทานเรื่องพระ
ยากาเผือก101 กล่าวถึง พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ว่าเคยเกิดจากไข่กาเผือก 5
ฟองที่ พลัดพรากกันไป แล้วมีไก่ นาค เต่า โค และ สิงห์ เก็บไปฟ๎ก โดย
พระกกุสันธะ เกิดจากไข่ท่ีไก่นาไปฟ๎ก พระโกนาคมน์ เกิดจากไข่ท่ีนาคนาไปฟ๎ก
พระกสั สปะเกดิ จากไขท่ เ่ี ตา่ นาไปฟ๎ก พระสมณโคดมเกิดจากไข่ท่ีโคนาไปฟ๎ก ส่วน
พระศรีอารยิ เมตไตรยเกิดจากไขท่ ่ีสงิ หน์ าไปฟ๎ก
4. พระมาลัย เป็นภาพเล่าเร่ืองในวรรณกรรมพุทธศาสนา คือ พระ
มาลยั คาหลวง102 ท่ีสาคัญในสมัยอยุธยาตอนปลาย เนื้อหาเน้นสอนให้ทาความดี
จะได้ข้นึ สวรรค์ และผทู้ ่ีทาความชั่วต้องตกนรก ผ่านเร่ืองราวเก่ียวกับพระอรหันต์
รปู หนง่ึ คอื พระมาลัย ซ่ึงเป็นพระเถระรปู หนึ่ง อาศัยอยู่ ณ โรหชนบทในลังกา
มีความเล่ือมใสคาสอนของพระพุทธเจ้า ปฏิบัติธรรม รักษาศีลสละกิเลส จน
สาเร็จเป็นพระอรหันต์ ต้องการท่ีจะไปโปรดสัตว์ในนรก และ เทวดาบนสวรรค์
เม่ือได้ไปในนรก สัตว์นรกได้ฝากให้พระมาลัยไปบอกญาติพี่น้องของตน ให้ช่วย
ทาบุญทาทานอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้พวกตน เพ่ือท่ีพวกตนจะได้พ้นทุกข์
หลังจากท่พี ระมาลัยกลบั จากนรกแลว้ ได้ไปบอกให้ญาติๆ ทาบุญอุทิศส่วนกุศลไป
ให้ และด้วยบุญกุศลน้ันจึงช่วยบันดาลให้สัตว์นรกเหล่านั้นไปเกิดในสวรรค์ เม่ือ
พระมาลัยเข้าฌานเหาะไปยังสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ เห็นสัตว์นรกเหล่าน้ันได้ไปเสวย
ทิพย์สมบัติบนสวรรค์แล้ว จึงได้กลับมาบอกญาติพ่ีน้อง คนท้ังหลายจึงเล่ือมใส
พระพุทธศาสนา ทาบุญอทุ ิศกศุ ลให้แก่บรรดาญาตมิ ติ รไมไ่ ดข้ าด
วันหน่ึง พระมาลัยได้บิณฑบาตในหมู่บ้าน มีชายเข็ญใจนาดอกบัว 4
ตอกมาถวายพร้อมกับ อธิษฐานให้พ้นทุกข์ในภายภาคหน้า พระมาลัยรับดอกบัว
และอนุโมทนา ให้พรตามที่ชายผู้น้ันขอ และนาดอกบัว 4 ดอกนั้นไปบูชาพระ
ธาตจุ ฬุ ามณีบนสวรรค์ พบพระอินทรแ์ ละพระศรีอาริยเมตไตรย ในโอกาสน้ีพระ
ศรอี าริยเมตไตรยไดไ้ ต่ถามพระมาลัยถึงความเป็นอยู่ของมนุษย์ว่าหม่ันทาบุญ ทา
101 วรรณิภา ณ สงขลา, เรียบเรียง. จิตรกรรมไทยประเพณี ชดุ ท่ี 001 เลม่ ท่ี 3
วรรณกรรม. (กรุงเทพมหานคร : อมรนิ ทร์พริ้นต้งิ กรุป๊ จากัด 2534. หน้า 25
102 พชิ ติ อคั นิจ, วรรณกรรมไทยสมัยกรงุ สุโขทยั -กรงุ ศรีอยุธยา. (กรงุ เทพมหานคร :
โอ.เอส. พรนิ้ ต้ิงเฮาส์, 2536), หนา้ 333.
-76-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎล้านนา
ทาน รักษาศีล และการอธิษฐานหลังทาบุญหรือไม่อย่างไร พระมาลัยตอบว่า
มนุษยท์ าบุญกศุ ลหวังพ้นวัฏสงสาร และได้พบพระศรอี าริยเมตไตรย ในอนาคต
พระศรอี าริยเมตไตรยได้ฝากให้พระมาลัยกลับไปบอกมนุษย์บนโลกว่า
หากต้องการพบพระองค์ ก็ให้บูชามหาชาติตลอดเวลาและให้จบภายในวันเดียว
แตถ่ ้าใครทาบาปมากจะไม่ทนั ยุคของพระองค์ บาปน้ันได้แก่ การทาร้ายพระภิกษุ
ทาใหพ้ ระภกิ ษแุ ละพระภิกษุณแี ตกความสามัคคีกัน ทาลายวัดวาอาราม พระเจดีย์
พระวิหาร ตน้ โพธิ์ รวมทง้ั ผ้ตู ระหนีไ่ ม่ทาบุญ ในยุคของพระศรีอาริยเมตไตรยน้ัน
โลกมนุษย์จะมีแต่ความสุขสงบ ไม่มีการเบียดเบียนกัน เป็นต้น เมื่อกล่าวกับพระ
มาลัยแล้ว พระศรีอาริยเมตไตรย ทรงนาดอกบัว 4 ดอกนั้น ไปบูชาพระธาตุ
จุฬามณี และเสด็จกลับสวรรค์ชั้นดุสิต ส่วนพระมาลัยหลังจากกลับลงมายังโลก
มนุษย์ ได้เล่าเร่ืองพระศรีอาริยเมตไตรยให้ชาวโลกฟ๎ง และเทศนาสั่งสอนให้กลัว
บาป หมน่ั ทาบุญกศุ ล แล้วจะได้พบกบั พระศรีอารยิ เมตไตรย ส่วนชายเข็ญใจน้ัน
เม่อื ตายไปไดไ้ ปเกดิ เปน็ เทพบตุ รบนสวรรค์”
พระมาลยั ในภาพเขียน เป็นพระสงฆ์ถือตาลป๎ตรใบลาน สะพายบาตร
ห่มจีวรสีแดง มกั อยู่ทา่ เหาะ หรือ กาลังนั่งกางแขนช้ีน้ิวไปด้านใดด้านหนึ่ง หรือ
กาลงั น่ังสนทนาธรรมกบั พระอนิ ทร์ และพระอาริยเมตไตรย เป็นต้น
5. ทศชาติชาดก อีกเรื่องราวหน่ึงท่ีนิยมนามาวาดเป็นภาพจิตรกรรม
ก็คอื เรอื่ งราวของพุทธเจา้ เมือ่ ครงั้ ยงั เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ในอดีตชาติ ใน
แต่ละชาติมีบทบาทท่ีแตกต่างกันไป ต้ังแต่มีสติป๎ญญาน้อยจนถึงสติป๎ญญาลึกซึ้ง
ทรงบาเพ็ญบารมีอย่างหยาบไปจนถึงละเอียดประณีต จนพระชาติสุดท้ายท่ีตรัสรู้
เปน็ สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ตามคมั ภรี ช์ าดกได้เล่าถงึ ชวี ิตของพระโพธิสัตว์ใน
อดีตชาติ ว่ามีถึง 547 พระชาติ แบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ คือ เสวยพระชาติ
เปน็ มนุษย์ เสวยพระชาตเิ ปน็ เทวดา เสวยพระชาติเป็นสัตว์ และเสวยพระชาติเป็น
ยักษ์103 และที่สาคัญคือ ในมหานิบาตชาดกมีอยู่ 10 เร่ือง ท่ีเรียกว่า “ทศชาติ
ชาดก” หรือที่เรียกกันว่า “พระ เจ้าสิบชาติ” ซ่ึงได้รับการยกย่องเป็นพระชาติท้ัง
10 ชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ ก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
โดยเฉพาะพระชาติสุดท้ายทเ่ี สวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรนั้นได้รับการยกย่องว่า
เป็นพระชาตทิ ่สี าคญั ทีส่ ดุ จงึ ได้ ชอื่ วา่ “มหาชาติ” ทศชาติดงั กล่าว ไดแ้ ก่104
103 สมชาติ มณีโชต,ิ จิตรกรรมไทย, (กรงุ เทพมหานคร : 0.S. Printing House ,2529),
70.
104 อทู่ อง ประศาสนว์ นิ จิ ฉัย, ทอ่ งทศชาติผ่านจิตรกรรม: เตช สเุ นม, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
กรุงเทพ, 2548)
-77-
สนุ ทรียศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
(1) เตมียชาดก เสวยพระชาติเป็นพระเตมีย์ บาเพ็ญเนกขัมมบารมี
โดยมฉี ากประจาพระชาติ คอื ภาพตอนพระเตมีย์ยกรถ หมายถึงการยืนยันความ
เข้มแข็งท่ีจะประกาศอิสรภาพและ เป็นสัญลักษณ์แสดงการบรรลุจุดหมายท่ีอดทน
มาทง้ั หมด
(2) มหาชนกชาดก เสวยพระชาติเป็นพระมหาชนก บาเพ็ญวิริยบารมี
โดยมีฉากเรือแตก ฝูงปลาพากันกัดกินผู้คนซ่ึงมักวาดเป็นคนหลากหลายเช้ือชาติ
ตามธรรมดาของคนที่ทาการค้าทางทะเล พระมหาชนกกาลังแหวกว่ายอยู่กลาง
มหาสมุทร มีนางเมขลา ลอยอยู่ใกล้ๆ หรือไม่ก็เป็นภาพนางเมขลากาลังอุ้มพระ
มหาชนก ลอยอยู่เหนือนา้ ”
(3) สุวรรณสามชาดก เสวยพระชาติเป็นสุวรรณสาม บาเพ็ญเมตตา
บารมี ฉากประจาพระชาติ คือ ภาพสุวรรณสาม ผู้มีเมตตาจนสัตว์เล็กสัตว์น้อย
ท้ังหลายในปุาพากนั เดนิ ติดสอยห้อยตาม โดยเฉพาะภาพฝูงกวางอยู่กับคนในงาน
จติ รกรรม ซงึ่ ในที่น้ีคือสวุ รรณสามนนั่ เอง
(4) เนมิราชชาดก เสวยพระชาติเป็นพระเนมิราช บาเพ็ญอธิษฐาน
บารมี ถ้าเปน็ งานช้ินเล็กๆ เช่น สมุดข่อย ฉากประจาพระชาติก็มักจะวาดเป็นรูป
พระเนมีทรงรถ แต่ถ้าเป็น จิตรกรรมฝาผนัง จะแสดงออกเป็นภาพพระเนมีทรง
รถหรอื ไมก่ ก็ าลงั แสดงธรรมเทศนาอยบู่ นสวรรค์ โดยมรี ปู นรกอยดู่ า้ นล่าง
(5) มโหสถชาดก เสวยพระชาติเป็นพระมโหสถ บาเพ็ญป๎ญญาบารมี
โดยมีฉากประจา พระชาติ คือ ฉากการประลองธรรมยุทธ แสดงป๎ญญานุภาพ
ประชันป๎ญญา หรอื ไม่กเ็ ป็นฉากพระมโหสถห้ามทพั
(6) ภูริทัตชาดก เสวยพระชาติเป็นพระภูริทัต บาเพ็ญศีลบารมี ภาพ
ที่นิยมวาด คอื พระภรู ทิ ัตในรา่ งของนาคท่ีขดอยรู่ อบจอมปลวก
(7) จันทกุมารชาดก เสวยพระชาติเป็นพระจันทกุมาร บาเพ็ญขันติ
บารมี โดยมีฉากประจาพระชาติคือ ฉากการบชู ายันต์
(8) พรหมนารทชาดก เสวยพระชาติเป็นพระนารท บาเพ็ญอุเบกขา
บารมี นิยมวาดพระนารทในเคร่ืองทรงเทวดา แบกถาดแบกคนโทหรือบางภาพ
แบกทอง
(9) วิธุรบัณฑิตชาดก เสวยพระชาติเป็นพระวิธุรบัณฑิต บาเพ็ญสัจ
บารมี มักเป็นภาพพระวิธูรเกาะหางม้าห้อยไปในอากาศเป็นหลัก อีกภาพที่มักจะ
เหน็ คอื ภาพที่พนนั สกา และบางครั้งทาเป็นรูปปุณณกยักษ์กาลังจับพระวิฑูรยกขึ้น
เหนอื ศรี ษะเตรียมจะฟาดกบั ภูเขา
(10) เวสสันดรชาดก ว่าด้วยเรื่องการบาเพ็ญทานบารมีของพระ
เวสสันดร ทรงถูกขับไล่ออกจากเมืองเน่ืองจากได้ถวายช้างคู่บ้านคู่เมืองแก่
พราหมณ์ชาวเมืองอื่น เป็นเหตุให้พระองค์ พร้อมท้ังพระนางมัททรี เจ้าหญิงกัน
-78-
สุนทรยี ศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
หา และเจ้าชายชาลี ออกเดินปุา เพือ่ บวชเป็นดาบสอยู่ในปุาหิมพานต์ ทรงทุ่มเท
ให้ทาน โดยได้ประทานพระนางมัทรีให้แก่พราหมณ์ที่เป็นพระอินทร์แปลงตัวมา
และประทานเจ้าหญิงกัณหา และเจ้าชายชาลีให้แก่พราหมณ์ชูชก และสุดท้าย
ภายหลงั ได้กลบั คืนเมอื งตามเดิม
ตัวอย่างของการนาเร่ืองราวของทศชาติชาดกมาวาดในภาพพระบฏ
มักปรากฏให้เห็นในลักษณะภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนพร้อมอัครสาวกทั้ง 2
องค์ ส่วนล่างเป็นเรื่องของทศชาติ หรือบางครั้งเป็นภาพพระพุทธเจ้าทรงเคร่ือง
ประทับยนื พรอ้ มอคั รสาวก ภายในเรือนธาตุ ส่วนคร่ึงล่างของภาพเป็นชาดกตอน
สุวรรณสาม วา่ ด้วยการบาเพญ็ เมตตาบารมี เปน็ ต้น
6. เวสสันดรชาดก เวสสนั ดรชาดกเป็นเรื่องท่ีนิยมกันมากเพราะถือว่า
เป็นพระชาติท่ียิ่งใหญ่ เรยี กวา่ มหาชาติ เพราะเป็นพระชาติ ท่ีทรงบาเพ็ญบารมี
ครบทั้ง 10 ประการ คือ เนกขัม (ความอดทน) วิริยะ เมตตา อธิษฐาน
ป๎ญญา ศีล ขันติ อุเบกขา สัจจะ และ ทาน โดยเฉพาะการบาเพ็ญทานบารมีซ่ึง
เป็นจุดเด่นของพระชาตนิ ้ี โดยมีฉากประจาพระชาติทงั้ หมด 13 กัณฑ์ กล่าวคือ
(1) กัณฑ์ทศพร คือ ภาพตอนท่ีพระอินทร์ได้ประทานพร 10
ประการ แก่พระนางสริ มิ หามายา
(2) กัณฑ์หิมพานต์ ฉากพระเวสสันดรบริจาคสิ่งของกับช้างป๎จจัย
นาเคนทร์ซึ่งเป็นชา้ งคูบ่ ารมีของพระองค์
(3) กัณฑ์ทานกัณฑ์ คือภาพตอนพระเวสสันดรบาเพ็ญทานคร้ังใหญ่
คือสัตสดกมหาทาน ได้แก่ ช้าง ม้า รถ ทาสชาย ทาสหญิง โคนม และนาง
สนม อยา่ งละ 700 อานสิ งค์
(4) กัณฑ์วนปเวสน์ คือภาพตอนพระเวสสันดร พระนางมัทรี เจ้า
หญงิ กัณหา และเจา้ ชายชาลี ท้ังสี่ พระองค์ทรงบาเพ็ญตนอยู่ในเขาวงกต ปุาหิม
พานต์
(5) กณั ฑช์ ชู ก ภาพชูชกกับนางอมิตดา
(6) กัณฑ์จุลพน ภาพชูชกถูกสุนัขที่พรานเจตบุตรเลี้ยงไว้ไล่กัดขึ้นคบ
ไม้ เม่อื ไปถงึ ปากทางเข้าปาุ ที่พระเวสสนั ดรอยู่
(7) กัณฑ์มหาพน ภาพชูชกฟ๎งพระอัจจุตฤาษีบรรยายเส้นทางในปุา
ใหญ่
(8) กัณฑ์กุมาร คือภาพตอนที่เจ้าหญิงกัณหา และเจ้าชายชาลีหนีไป
ซ่อนอยู่ใต้ใบบัว พระเวสสันดรเรียกพระโอรสธิดากัณหาชาลีได้ฟ๎งก็ข้ึนมาหมอบ
อยแู่ ทบพระบาท
-79-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
(9) กัณฑ์มัทรี คือภาพเทพบุตรสามองค์จาแลงกายเป็น ราชสีห์ เสือ
โคร่งและเสือเหลืองไปขวางทางพระนางมัทรีไว้จนกว่าจะเย็น และให้คอยพิทักษ์
รักษาไม่ให้พระนางเป็นอันตรายจากสตั วใ์ ดใด
(10) กัณฑ์สักกบรรพ คือภาพตอนที่พระเวสสันดร ยกนางมัทรีให้
พราหมณ์ ซึ่งก็คือ พระอินทร์จาแลงมา ทรงจับพระกรพระนางมัทรี ไว้ด้วยพระ
หัตถ์ข้างหนงึ่ อีกขา้ งทรงจบั น้าเตา้ หล่ังน้าลงบนมือของพราหมณ์
(11) กัณฑ์มหาราช ชูชกพาเจา้ หญิงกัณหาและเจ้าชายชาลีเดินทางไป
ในปุา พอถึงกลางคืนก็ผูกสองราชกุมารทั้งสองไว้ใต้ต้นไม้ใหญ่ ตัวชูชกปืนข้ึนไป
นอนบนคาคบไม้เพื่อใหพ้ ้นจากสตั วป์ าุ และทกุ คนื มีเทพบตุ รเทพธดิ าแปลงกายเป็น
พระเวสสันดรและพระนางมทั รีมาแกม้ ัดและดูแลทง้ั สองพระองค์
(12) กัณฑ์ฉกษัตริย์ คือตอนท่ีพระเจ้าสัญชัยและพระนางผุสดี พระ
ราชบิดาและพระราชมารดาของพระเวสสันดรพร้อมข้าราชบริพาร เสด็จพาพระ
กมุ ารกณั หาชาลไี ปหาพระเวสสันดรและพระนางมทั รีท่ีบรรณศาลาเพ่ือทูลเชิญพระ
เวสสันดรใหเ้ สดจ็ กลับครองราชดงั เดิม
(13) กัณฑ์นครกัณฑ์ ภาพขบวนเสด็จพระเวสสันดรกลับกรุงเชตุดร
เฉลิมฉลองการเสด็จกลับพระนครของพระเวสสนั ดร
7. พระเจดีย์จุฬามณี พระเจดีย์จุฬามณี เป็นพระเจดีย์แก้วสีเขียว
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของนครดาวดึงส์ มีกาแพงทองล้อมรอบ ประดับ
ธงปฎาก และธงชัย ชุมสายประดับแก้ว เงิน ทอง สีต่างๆ เป็นท่ีบรรจุพระเกศา
(เส้นผม) พระเวฏฐนพัสตร์ (ผ้าโพกศีรษะ) พระทักษิณทันตทาฒธาตุ (เข้ียวซ่ีบน
ซ้ายขวา) และ พระรากขวัญเบ้ืองบน หรือกระดูกไหปลาร้าบนของพระพุทธเจ้า
105 พระอินทร์เป็นผู้สร้างพระธาตุจุฬามณีองค์นี้เพื่อให้เป็นที่สักการะของบรรดา
เทพบนสวรรค์ และพระอินทร์ก็จะเสด็จไปนมัสการพร้อมหมู่เทวดาและนางฟูา
บริวาร นาข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน เคร่ืองหอม มาบูชาพระเจดีย์อยู่เสมอ
ขณะเดียวกัน พระศรีอาริยเมตไตรยจะเสด็จมาจากสวรรค์ช้ันดุสิต พร้อมบริวาร
แสนโกฏิในขบวนพยุหยาตรา เคร่ืองสูง ตอกไม้ธูปเทียนแห่มานมัสการพระธาตุ
ในวนั ขนึ้ 8 คา่ และ 14 คา่ 106
8. ภาพอสุภะ 10 ภาพพระบฏที่มีเร่ืองราวเก่ียวกับอสุภะ คือ ความ
ไม่งามของร่างกายท่ีกลายเป็นซากศพ มักพบในสมัยรัชกาลท่ี 5 เป็นต้นมา
เหตุผลหน่ึงน่าจะเป็นเพราะต้องการใช้เป็นส่ือในการเตือนสติพุทธศาสนิกชนไม่ให้
ลุ่มหลงในความงามของร่างกาย นอกจากน้ันยังเป็นมรณสติให้แก่ผู้พบเห็นให้ได้
105 กรมพระปรมานชุ ิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจา้ , เรอ่ื งเดมิ . หนา้ 65, 261.
106 พิชติ อัคนิจ. เร่อื งเดิม. หน้า 335
-80-
สุนทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
ตระหนกั ถึงความจริงของสงั ขารว่า ไม่เทีย่ ง มีเกิด มีดับ ไม่ควรประมาท เม่ือยัง
มชี ีวิตอยูค่ วรสร้างแต่ความดี เป็นต้น ภาพที่ปรากฏมักเป็นภาพพระสงฆ์พิจารณา
ซากศพในสภาพต่างๆ ซ่งึ มีอยู่ 10 ประการ ไดแ้ ก่107
1. อุทธมุ าตกิ ะ คือ ซากศพทีพ่ ุพองเหมือนสบู ลมเขา้ ไป
2. วินลี กะ คือ ซากศพทม่ี สี ีเขยี วคล้า เพราะช้าเลือดชา้ หนอง
3. วิปุพพกะ คือ ชากศพท่ีมีน้าหนองไหลออกจากทวารทั้ง 9 หรือ
ช่องตามร่างกายท้ัง 9 ช่อง ได้แก่ ตา 2 หู 2 จมูก 2 ปาก 1 ทวารหนัก 1
ทวารเบา 1
4. วจิ ฉิททกะ คอื ซากศพทีอ่ วยั วะขาดออกจากกันเป็น 2 ทอ่ น
5. วิกขายติ กะ คือ ซากศพท่ีมีสตั ว์ เช่น สนุ ัข เปน็ ต้น มากดั กนิ
6. วิกขิตตกะ คือ ซากศพที่อวัยวะต่างๆ เรี่ยรายกระจัดกระจายเป็น
หลายทอ่ น
7. หตวกิ ขติ ตกะ คือ ซากศพทถี่ ูกสับฟน๎ ช้นิ สว่ นกระจดั กระจาย
8. โลหติ กะ คอื ซากศพทีม่ ีเลอื ดไหลออกมาจากส่วนต่างๆ
9. ปุฬุวกะ 1 คือ ซากศพทม่ี หี นอนมาซอนไช กัดกิน
10. อฏั ฐิกะ คือ ซากศพทค่ี งเหลือแตก่ ระดูก
การอนุรักษพ์ ระบฏ
ขวัญจิต เลิศศิริ นายช่างศิลปกรรม 5 ส่วนวิทยาศาสตร์เพ่ือการ
อนุรักษ์ กล่าวถึงการอนุรักษ์ว่า สภาพการชารุด การทาพระบฏ ประกอบด้วย
วัสดุหลายชนดิ ทง้ั ทีเ่ ป็นอนิ ทรียวัตถุ และอนินทรียวัตถุ ที่เป็นหลักๆ คือ ผ้าฝูาย
วัสดุรองรับภาพที่ได้จากเส้นใยธรรมชาติชั้นรองพื้นประกอบด้วยดินสอพองและ
กาวเม็ดมะขาม หรือกาวหนังสัตว์ สีที่ใช้เขียนประกอบด้วยรงควัตถุที่ทามาจาก
ธรรมชาติ และที่ได้จากการสังเคราะห์ กาวที่ใช้เป็นตัวประสานส่วนใหญ่ สีฝุนจะ
ผสมด้วยกาวกระถนิ จากสว่ นประกอบท่ีหลากหลายนเ้ี องทาให้พระบฏ เกิดป๎ญหา
ข้ึนจากหลายๆ ป๎ญหาพร้อม กัน จะแยกสาเหตุได้ 2 หมวดใหญ่ๆ คือ สาเหตุ
จากภายใน และ สาเหตุจากภายนอก
1. สาเหตุจากภายใน หมายถึง กระบวนการชารุดเส่ือมสภาพของ
ศลิ ปวัตถุ ซ่งึ เกิดจากตัวของศิลปวัตถุ เอง เช่น วัตถุดิบท่ีนามาใช้ หรือ สารเคมี
บางชนิดท่ีใช้ในขบวนการผลิต สีและกาวที่ใช้มีความเป็นกรด ซ่ึงการชารุด
เสื่อมสภาพจะเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และชารุดเร็วขึ้นเมื่อเกิดปฏิกิริยากับ
สง่ิ แวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
107 วรรณิภา ณ สงขลา, เร่อื งเดิม. หนา้ 100 - 111.
-81-
สนุ ทรียศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
2. สาเหตุจากภายนอก หมายถึง กระบวนการชารุดเส่ือมสภาพของ
ศลิ ปวัตถุทเ่ี กดิ จากการกระทาของส่ิงแวดล้อมอันได้แก่ มนุษย์ อุณหภูมิ ความชื้น
แสงสว่าง ฝุนละออง สัตว์ กา๊ ซ จลุ ินทรีย์ ฯลฯ
2.1 มนุษย์ตัวการสาคัญท่ีก่อให้เกิดความชารุดเสียหายแก่พระบฏอาจ
เกิดจากการขาดความระมัดระวัง หรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น การหยิบจับ
โดยไม่ระวัง อาจก่อให้เกิดการฉีกขาด การเช็ด ถู ป๎ดฝุน โดยวิธีที่ไม่ถูก ต้อง
อาจทาให้เกิดคราบเป้ือน หรือการหลุดร่อนของสี การใช้วัสดุท่ีไม่มีความ
ปลอดภยั ในการบรรจหุ ีบห่อ เช่น การ ใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อศิลปวัตถุ กรด
จากหมึกและกระดาษ สร้างความเสียหายให้แก่พระบฏได้ การเข้ากรอบที่ ผิดวิธี
และใช้วัสดุที่ไม่มีคุณภาพ ก็สร้างความเสียหายให้แก่พระบฏได้เช่นกัน ที่พบบ่อย
มากคือ การเข้ากรอบโดยการ ใช้ไม้อัด หรือ กระดาษอัดผนึกด้านหลังของภาพ
ซึ่งวัสตุดังกล่าวมีคุณภาพํต่า และสะสมความเป็นกรดไว้ได้ดี เม่ือนา มาผนึกปิด
หลังภาพนานวันเข้า กรดก็จะเคลื่อนตัวมายังตัวภาพ อันเป็นผลให้ภาพเปล่ียนสี
และเกิดจุดสีน้าตาลบนภาพ ผ้าและสีจะเกิดการกรอบ และเปราะง่ายขึ้น เกิดเช้ือ
ราข้ึนบนภาพได้ง่าย เพราะวัสดุดังกล่าวอมความช้ืนได้ดี สาเหตุ สาคัญจาก
มนุษย์อีกประการหน่ึงในหลายๆ ข้อ คือการพยายามท่ีจะทาการซ่อมแซมโดย
ปราศจากความร้แู ละความเข้าใจ การใชว้ สั ดตุ ่างๆ ทีก่ ่อให้เกิดความเสียหายให้กับ
พระบฏอย่างถาวร การจัดเก็บและการนาภาพออกจัดแสดงที่ไม่ถูกต้อง อีกทั้ง
มนุษย์ ยังเป็นตัวการสาคัญท่ีทาให้เกิดป๎ญหามลพิษของสิ่งแวดล้อม ก๊าซพิษ ฝุน
ละออง โรงงานอุตสาหกรรม ขยะ ป๎ญหาต่างๆเหล่าน้ี มีผลต่อกระบวนการเกิด
ชารดุ เสียหายแกศ่ ลิ ปวัตถุด้วยท้ังสน้ิ
2.2 อุณหภูมิและความช้ืน สภาพอุณหภูมิของประเทศไทยเหมาะสม
อยา่ งย่งิ ทจ่ี ะเอื้ออานวยให้เกดิ ปญ๎ หาการชารุดเสื่อมสภาพของศิลปวัตถุท่ีมีความไว
ต่อสภาพแวดล้อม พระบฏประกอบด้วยวัสดุหลายๆ ชนิดท่ีเป็น อินทรียวัตถุ จึง
พบป๎ญหาน้ีมาก เน่ืองจากประเทศไทยมีอากาศร้อน ช้ืน อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา มีผลทาให้ ศิลปวัตถุประเภทจิตรกรรม เกิดการขยายตัวและหดตัว
ตลอดเวลา ในอุณหภูมิท่ีสูง ภาพจะสูญเสียความชื้นทาให้เกิด การเปราะและ
แตกหักได้งา่ ย ในอุณหภูมิท่ีตํ่าและมีความช้ืนสูง จะสร้างความเสียหายให้กับพระ
บฏอย่างมาก เพราะ จะเป็นสาเหตุให้ภาพเกิดเช้ือราและแบคทีเรียต่างๆ จะ
เจริญเติบโตได้ดี รวมทั้งแมลงหลายชนิด จะชอบมาอาศัยอยู่ และทาลาย
ศิลปวัตถุได้อย่างมากในบริเวณที่มีความช้ืนสูงหากบรรยากาศรอบๆมีความชื้นสูง
ศิลปวตั ถุประเภทจิตรกรรม ท่ีประกอบด้วยอินทรียวัตถุ จะเกิดการพองตัว ทาให้
ชั้นรองพน้ื และชัน้ สีเกิดการหลุดร่อนออกจากผ้าทใี่ ชเ้ ขียนภาพ
-82-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
2.3 แสงสว่างและความร้อน แสงไม่ว่าจะเป็นแสงจากดวงอาทิตย์
หรอื แสงจากหลอดไฟ มผี ลกบั การชารดุ เส่ือมสภาพของจิตรกรรมท้ังสิ้น แต่แสง
ก็มีความจาเป็นในการจัดแสดง เพราะผู้ชมต้องการดูรายละเอียด ของภาพให้
ชัดเจน จิตรกรรมที่ถูกแสงนานๆ จะทาให้สีซีดจางไปจากเดิม สีและเน้ือวัตถุรอง
พน้ื จะขาดความแข็งแรง กรอบ เปราะ เป็นความเสียหายท่ียากแก่การซ่อมแซม
ให้ดีตั้งเดิม ความเสียหายที่เกิดขึ้นจะมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่ กับชนิดของแสง
ปริมาณความเขม้ ของแสง ระยะเวลาที่ภาพที่ได้รับแสง ทิศทางของแสงที่ส่องตรง
มายังภาพในการจัดแสดง ควรใช้แสงไฟฟูาแทนแสงจากดวงอาทิตย์ เน่ืองจากใน
แสงอาทติ ยม์ ปี รมิ าณความเข้ม ของรังสีอุลตร้าไวโอเลต ซึ่งเป็นรังสีที่ทาอันตราย
แก่วัตถุมากท่ีสุด แสงท่ีเหมาะสมกับห้องจัดแสดง ควรเป็นแสงจาก หลอดไฟฟูา
ทั้งสเตน ซึ่งมีปริมาณรังสีอุลตร้าไวโอเลตน้อยที่สุด และควรติดตั้งให้ระยะห่าง
จากศิลปวตั ถุ เน่ืองจาก ต้องการลดปริมาณความร้อนจากหลอดไฟ เพราะความ
ร้อนจะมผี ลกบั การเปล่ยี นแปลงบนวตั ถมุ าก ในหอ้ งจัดแสดง ควรติดต้ังระบบปิด-
เปิดไฟอตั โนมตั ิ ควรปดิ ไฟเม่ือไม่มีผู้ชม นอกจากแสงท่ีใช้ในการจัดแสดงดังกล่าว
แล้ว แสงอีกประเภทหนึ่งท่ีควรระมัดระวัง คือ แสงจากการ ถ่ายภาพ แสงไฟ
กล้องจากแฟลช เป็นแสงท่ีให้ความร้อน จิตรกรรมไม่ควรถูกถ่ายภาพบ่อยครั้ง
และครั้งละนานๆ เพราะจะทาใหภ้ าพสีซดี จาง เกดิ การแตกรานของสีได้
2.4 แมลงและสัตว์อื่นๆ แมลงที่สร้างความเสียหายให้ภาพเขียน มีท้ัง
ประเภทกัดกินทาลาย และมา อาศัยอยู่ สร้างความสกปรกเสียหาย ย่ิงบริเวณท่ี
อับชื้น สกปรก แมลงจะแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว แมลงท่ีพบได้บ่อย และสร้าง
ป๎ญหาให้กับภาพเขียน คือ ปลวก แมลงสาบ แมลงสามง่าม มอด ฯลฯ
โดยเฉพาะปลวก เปน็ อนั ตรายมาก เน่ืองจากกัดกินและทาลายอย่างรวดเร็ว การ
ชารุดท่ีเกิดจากปลวกเป็นการชารุด ที่ยากต่อการซ่อมแซมให้ดีดังเดิมได้ และดิน
จากรังปลวก ก็สร้างคราบสกปรกท้ิงไว้บนภาพอีกด้วย สัตว์อ่ืนๆ ท่ีพบได้บ่อย
คือ หนู นก ค้างคาว หนูมักจะ กัดแทะผ้า ทาให้ขาดทะลุเป็นรูโหว่ รวมทั้ง
ขับถ่ายของเสีย ทาให้เปรอะเปื้อน มีกล่ินเหม็นและมูลจากนกและค้างคาว ก็เป็น
ปจ๎ จัยหนงึ่ ท่ีจะทาใหภ้ าพเสอ่ื มสภาพได้เร็วย่ิงข้ึน
2.5 ก๊าซต่างๆ ในบรรยากาศ ก๊าซมีอยู่ท่ัวไปในบรรยากาศ และมี
บทบาทสาคัญท่ีทาให้เกิดการชารุด ได้บนภาพเขียน เพราะก๊าซต่างๆ น้ี เมื่อทา
ปฏิกิริยากบั นา้ จะเปน็ กรด ซง่ึ กรดจะทาให้อินทรียวัตถุเปื่อย เปราะ ขาด ความ
แข็งแรง และเส่ือมสภาพไปในที่สุด ก๊าซต่างๆ ที่ทาให้เกิดความเสียหายต่อวัตถุ
เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ในโตรเจนไดออกไซด์
ไฮโดรเจน ออกซิเจน โอโซน ก๊าซบางชนิดทาให้สีท่ีเขียนภาพ เกิดการเปล่ียนสี
หมองคล้า และเกิดคราบต่า เช่น ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เมื่อทาปฏิกิริยากับน้า
-83-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎล้านนา
จะได้กรดกามะถัน ทาให้ภาพเขียนที่ เขียนด้วยสีขาวท่ีทามาจากออกไซด์ของ
ตะก่ัว กลายเป็นสีหมองคล้า ต้องเช็ดออกโดยการใช้สารเคมี แต่ไม่สามารถ
แกป้ ๎ญหาได้อย่างถาวร เมื่อเวลาผ่านไประยะหนึ่ง กจ็ ะเกดิ ป๎ญหาขน้ึ อีก
2.6 ฝุนละออง เป็นสาเหตุที่ทาให้ภาพเขียนเสื่อมสภาพได้ท้ังโดยตรง
และโดยทางอ้อม คือ สร้างคราบ สกปรกขึ้นบนภาพ และฝุนละออง ยังเป็นตัว
นาพาความช้ืน เขม่า เชื้อรา และแบคทีเรีย มายังภาพ ทาให้ภาพเกิด การ
เปลี่ยนแปลง ทาลายความแข็งแรงของเส้นใยผ้า และวัสดุรองพื้น ให้เกิดการ
ชารุดอยา่ งรวดเร็ว
ข้ันตอนการการอนุรักษ์พระบฏ การบันทึกภาพก่อนทาการอนุรักษ์
ลงทะเบียนประวตั ิ และบันทึกสภาพป๎ญหาการชารุดของพระบฏ ตรวจสอบสภาพ
และวิเคราะห์สาเหตุของการชารุดเส่ือมสภาพ ศึกษาวิธีการ คัดเลือกวัสดุ และ
เคมภี ัณฑ์ที่เหมาะสม เพื่อแกป้ ๎ญหาท่ีเกดิ ข้ึน
1. ข้อคานึงในการคัดเลือกวัสดุท่ีเหมาะสม + วัสดุที่ใช้ไม่ควรแข็ง
เกินไป หรือเปราะเกินไป ท้ังในระยะสั้นและในอนาคต + วัสดุที่ใช้ไม่ควรดูด
ความชื้น (Hygroscope) หรือเพ่ิมความช้ืนข้ึนบนช้ินงาน + วัสดุที่ใช้ไม่ควรเพ่ิม
น้าหนักอย่างมากให้แก่ศิลปวัตถุ + วัสดุที่ใช้ไม่ควรเกิดการเปลี่ยนสีในอนาคต +
วัสดุท่ีใช้ไม่ควรเป็นเงาวาวบนศิลปวัตถุ + กาวที่ใช้ในการอนุรักษ์ ควรคัดเลือกที่
มีคุณภาพ ไม่เกิดการเส่ือมสภาพก่อนหรือในระหว่าง 50-900 ปีใน
สภาพแวดล้อมปรกติ + วัสดุที่ใช้ไม่ควรมีความเป็นกรด-ด่างมากเกินไป และไม่
เกิดปฏิกิริยาทางเคมี + วัสดุที่ใช้ไม่ควรมีพิษ (Toxicity) และเป็นอันตรายต่อ
ศิลปวัตถุและผู้ปฏิบัติงาน วัสดุท่ีใช้ไม่ควรมีผลต่อขนาดของศิลปวัตถุ ไม่ว่าจะ
เพ่มิ ขน้ึ หรือลดลงอยา่ งถาวร
2. ดาเนินการอนรุ กั ษ์ ตามสภาพป๎ญหาทีเ่ กดิ ข้ึน ข้ันตอนการทาความ
สะอาด + การทาความสะอาดแห้ง (Dry Clean) โดยการใช้แปรงขนอ่อนป๎ดฝุน
ออก โดยปด๎ จากกง่ึ กลางออกดา้ นขา้ งทศิ ทางเดยี วกนั อาจใช้ลูกยางเปุาลมช่วยไล่
ฝนุ ละอองออกไป ในกรณีพระบฏชิ้นที่ มขี นาดใหญแ่ ละสภาพค่อนข้างดี สีไม่แตก
ราน ผ้าไม่เป่ือยหรือมีรอยฉีกขาด อาจใช้เคร่ืองดูดฝุน ช่วยดูดฝุนออก ท้ังน้ี
ต้องหุ้มปลายหัวดูดด้วยผ้าสาลูบางๆ เพื่อลดความแรงของหัวดูด ไม่ให้ทา
อันตรายต่อภาพได้ในระหว่างการดูดฝุน ปลายของท่ีดูดฝุนควรวางบนกระดาษ
แข็งไร้กรด (Photo board) ท่ีเจาะช่องตรงกลางให้พอดีกับปลายดูดฝุน เพ่ือ
ไม่ให้เคร่ืองดูดฝุนดึงรั้งผ้าขึ้นไป ซ่ึง หากสีไม่แข็งแรงพอ จะทาให้เกิดการแตก
รานได้ ในการทาความสะอาดแห้ง ควรท้าทั้ง 2 ด้าน ยกเว้นในกรณีท่ีสภาพสีมี
การแตกรานอยู่แล้ว ห้ามทาการป๎ดฝุนใดๆ ท่ีด้านหน้า ให้ทาเฉพาะ ด้านหลัง
เทา่ น้ัน ในการจับพลิกกลับด้านของภาพ ควรใช้กระดาษแข็งรองภาพ ประกบท้ัง
-84-
สนุ ทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
ดา้ น หน้าและด้านหลัง ทาการพลิกกลับด้านอย่างระมัดระวัง เพราะภาพอาจฉีก
ขาดได้
3. การทาความสะอาดเปียก (Wet clean) ในการทาความสะอาด
เปียก คือ การเช็ด หรือซับ ทาความสะอาดคราบสกปรก และกาจัดรอยเป้ือน
ดว้ ยนา้ กลนั่ หรอื สารเคมีใดๆ ตามสภาพป๎ญหาท่ี เกิดขึ้นแล้วแต่กรณี ในขั้นตอนนี้
ตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวังอยา่ งมากเน่ืองจากนา้ หรือสารเคมีใดๆ อาจทาอันตรายแก่
ภาพได้ เน่ืองจาก พระบฏส่วนใหญ่ เขียนด้วยสีฝุน ซ่ึงมีความเปราะบางมาก
และละลายได้ดีโดยน้าในการซับส่ิงสกปรก เช่น ฝุนโดยทั่วไปจะใช้น้ากล่ันผสมเอ
ทธลิ แอลกอฮอล์ อัตราส่วน 1:1ใช้สาลีพันปลายชุบหมาดๆ นามาซับบนภาพโดย
การกล้ิงซบั ฝุนบนภาพอยา่ งเบามือ หา้ มทาการเชด็ แรงๆ หรือถูไปมา เปล่ียนสาลี
บ่อยๆ ในกรณีภาพที่ชั้นสีแตกราน ไม่แข็งแรง จะใช้วิธีขับผ่านกระดาษสาบางๆ
หรือกระดาษซับ โดยวางกระดาษสาบนภาพ ใช้ฟองน้าชุบน้า กลั่นที่ผสมกับเอ
ทธิลแอลกอฮอล์ ซับบนกระดาษซับ ฝุนละอองเล็กๆ และคราบสกปรกบนภาพ
จะติดออกมากับกระดาษซับ ในการใช้น้ากล่ัน ต้องผสมกับเอทธิลแอลกอฮอล์ทุก
ครง้ั เน่ืองจาก แอลกอฮอล์ จะช่วยให้น้าระเหยออกจากภาพอย่างรวดเร็ว ไม่ให้
ทั้งความชื้นไว้ในภาพสาหรับคราบสกปรกอ่ืน เช่น เขม่า น้ามัน หมึก สิ่ง
แปลกปลอมอื่นๆ ท่ีต้องใช้สารเคมี ต้องทาการทดลองก่อนปฏิบัติการทุกคร้ัง
อาจลองใช้สารเคมีทดลองเช็ดในจุดเล็กๆ ของภาพ เช่น มุมใดมุมหนึ่งของภาพ
เล็กๆ ซับด้วยกระดาษซับ และสังเกตการเปล่ียนแปลง ท้ังนี้ ต้องอาศัย ทักษะ
และความชานาญในการปฏิบัติการตัวอย่างสารเคมีที่ใช้ในการทาความสะอาด
คราบสกปรก เช่น คราบน้า ใช้น้าเท่านั้นในการทาความสะอาดคราบน้า คราบ
เลือด Hydrogen peroxide ผสม ammonium และนามาเจือจางในน้า 596
คราบกาวที่ทาจากสัตว์หรือกาวแปูง ใช้น้าอุ่น คราบกาวจากเทปกาว
Toluene/Hexane คราบไขมันสัตว์หรือน้ามัน Toluene / Hexane/ Petrol
white คราบดนิ โคลนนา้ ผสมแอมโมเนยี 2%
4. ข้ันตอนการซ่อมแซมเสริมความม่ันคง การผนึกช้ันสีท่ีชารุด หลุด
กะเทาะแตกรานกลับเข้าที่เดิมทาได้โดยการใช้กาวเมทธิล เซลลูโลส (Methyl
Cellulose) ซ่ึงกาวดังกล่าว เป็นกาวสังเคราะห์ที่มีคุณภาพดี คุณสมบัติบางใส
ไมเ่ ปล่ียนสี ไม่เกิดการหด-ขยายตัวเม่ือแห้ง มีแรงยึดเหนี่ยวประสานได้ดี ไม่เป็น
อาหารของแมลงและจุลชีพ การใช้กาวเมทธิลเซลลูโลสในการผนึกช้ันสี จะใช้
ละลายในน้าอุ่น ความร้อนประมาณ 50 องศาเซลเซียส คนผงกาวให้ละลาย
อัตราส่วนกาว 9 กรัมต่อน้าอุ่น 5oo ml. โดยทากาวบนช้ันสี รอสักครู่พอ
หมาดๆ ใช้ลูกประคบผลึกสีลง เบาๆ โดยผ่านกระดาษสาอย่างบาง รองใต้ลูก
-85-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
ประคบที่ใช้ผ้าฝูายดบิ สขี าวห้มุ ดว้ ยสาลี ประคบสใี หแ้ นบกลับท่ีเดิม ค่อยๆ ทาจาก
มุมใดมุมหนึง่ ของภาพไล่ไปจนทวั่ ภาพให้สมา่ เสมอ และระมัดระวงั เปน็ พเิ ศษ
5. เย็บท่แี ขวน หรอื เขา้ กรอบภาพ ตามวิธีการอนุรกั ษ์ดงั กล่าวไว้แล้ว
5. เย็บเสริมผ้าเพ่ือช่วยพยุงน้าหนักในกรณีพระบฏท่ีมีขนาดใหญ่ และ
มีนา้ หนักมาก และ สภาพของผ้าขาดความแข็งแรงจาเปน็ ตอ้ งเย็บเสริมผ้าผืนใหญ่
เข้าช่วยในการพยุงรับน้าหนัก เพราะพระบฏส่วนใหญ่จัดแสดงในลักษณะใส่ไม้
แขวนลงมา ในการใช้ผ้าทีจ่ ะเย็บน้ี จะตอ้ ง เลอื กผ้าให้กลมกลืนกับภาพ ส่วนใหญ่
จะใชส้ คี รมี ผา้ ฝูายดบิ ไม่ฟอก หรือลินิน นาผ้ามาตัด ตามขนาดที่ต้องการ ก่อน
ใช้ให้นาไปแช่น้า และชักหลายๆ น้า เพ่ือล้างแปูงในผ้าออก ตาก ให้แห้ง
จากน้ัน นาไปรดี ให้เรียบ และเย็บสอยด้วยด้ายสีที่กลมกลืนกัน หรือใช้เส้นโยของ
ผ้าแก้วสีเดียวกัน ดึงออกมาเย็บแทนด้าย ซึ่งจะมีความกลมกลืนกันมาก ในการ
เย็บนี้ จะ ต้องใช้เจ้าหน้าท่ีที่มีทักษะพอสมควร เพราะถ้าไม่มีทักษะ เวลาเย็บ
เสรจ็ แลว้ นาภาพไปแขวน จะเกิดการดงึ ร้งั ภาพ ทาใหภ้ าพยบั ยน่ ได้
7. การซ่อมแซมสีท่ีชารุด ภาพท่ีทาการอนุรักษ์แล้วจะทาการซ่อมแซม
สีน้อยมาก เพราะ ต้องการรักษาสภาพสีให้คงเดิมมากท่ีสุด หากจาเป็นต้องซ่อม
จะซ่อมเพียงบริเวณส่วนท่ีเสริม กระดาษเข้าไปใหม่ โดยทาสีให้กลมกลืนกับท้ัง
ภาพ จะไม่ทาการเติมสีในบริเวณท่ีเป็นของ เดิมแต่อย่างใด สีที่ใช้จะเป็นสีน้าวิน
เซอร์ แอนด์ นิวตัน ซ่ึงเป็นสีคุณภาพดี ไม่เกิดการเปล่ียนสี สามารถลบออกได้
กรณีต้องการแก้ไขใหม่ในภายหลัง โดยไม่สร้างความเสียหายให้แก่ภาพ ทาการ
บันทึกภาพหลังการอนุรักษ์ เพ่ือเป็นหลักฐานเปรียบเทียบ ทารายงานปฏิบัติการ
อนรุ กั ษ์
การจดั แสดงพระบฏ มขี ้นั ตอน ดังนี้
1. ภาพขนาดเล็ก หากมีการใส่กรอบปิดกระจก ควรทาการเมาท์
กระดาษ เจาะเป็นช่อง window เพ่ือปูองกันไม่ให้ภาพแนบติดกระจก เนื่องจาก
กาวหรือสี อาจติดกับกระจก สร้างความเสียหายให้แก่ภาพได้ กระดาษ ท่ีใช้
ควรเป็นกระดาษแข็งไร้กรด (Photo board acid free) อาจหุ้มด้วยผ้าไหม
หรือ ผ้าฝูายเพื่อความกลมกลนื สวยงาม ก่อนนามาใช้ ควรซกั ผา้ ใหส้ ะอาดก่อน
2. ในการปิดผนึกด้านหลังของภาพ ควรใช้กระดาษแข็ง (Photo
board) ปิดด้านหลังแทนการใช้ไม้อัด แผ่นเรียบ หรือกระดาษอัด เน่ืองจากวัสดุ
เหล่าน้ีมีความเป็นกรดสูง เมื่อนามาปิดด้านหลังของภาพ นานวันเข้า กรด จะ
เคล่ือนตัวเข้ามาในเนื้อภาพ สร้างความเสียหายให้กับภาพอย่างมาก คือ จะเกิด
จดุ สีน้าตาลข้นึ บนภาพ เส้นใยของ ผา้ และสจี ะเปราะ และชารุดไดเ้ ร็วข้นึ
3. ในการแขวนพระบฏ ไม่ควรแขวนภาพติดกับผนังโดยตรง ควรมี
วสั ดุก้ันระหวา่ งผนงั และภาพอาจ จะหนุนดา้ นหลังกรอบท้ัง 4 ด้านก็ได้ ทั้งน้ีเพ่ือ
-86-
สุนทรียศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
ปูองกันความช้ืนจากผนังผ่านมายังภาพ และการติดตั้งพระบฏ จะต้อง มีวัสดุ
อุปกรณท์ ี่แขง็ แรงพอที่จะรบั น้าหนักของภาพไดด้ ี
4. ในการจัดแสดงพระบฏ ควรต้องควบคุมแสงสว่างให้น้อยท่ีสุด ควร
หลีกเล่ียงการใช้ไฟส่องโดยตรง ไปยังภาพ อาจใช้แผ่นกรองรังสีอุลตร้าไวโอเลต
และใหแ้ สงทต่ี กกระทบพระบฏมีความเขม้ ของแสงนอ้ ยทีส่ ุด ควรระวังไม่ให้ภาพถูก
แสงนานเกดิ ไป
5. ห้องจัดแสดงพระบฏ ควรควบคุมความชื้นให้อยู่ระหว่าง 50-65
% และอณุ หภูมริ ะหว่าง 18 25 องศาเซลเซียส
6. ควรหม่นั ตรวจดู และทาความสะอาดภาพ และบริเวณห้องจัดแสดง
ใหส้ ะอาดสม่าเสมอ ไมค่ วร นาอาหารเข้ามารบั ประทานในหอ้ งจัดแสดง
การเกบ็ รักษาพระบฏในคลงั มขี ั้นตอน ดังนี้
1. ไม่ควรเก็บพระบฏ ในห้องท่ีอับช้ืนมาก เพราะจะทาให้เกิดป๎ญหา
เน่อื งจากจลุ ินทรยี ์และแมลง
2. การเก็บภาพ ควรทาแผงท่ีสามารถเล่ือนได้บนรางสาหรับแขวน
ภาพ เม่ือต้องการเก็บหรือต้องการ ดู ก็สามารถเล่ือนแผงออกมาดูได้ด้วยความ
สะดวกและเป็นระเบยี บ
3. ไมค่ วรเก็บภาพในลักษณะวางซ้อนกัน หากมีความจาเป็นต้องมีวัสดุ
ปอู งกนั ภาพในแตล่ ะชั้น
4. ไม่ควรเก็บพระบฏในลักษณะม้วน เพราะจะทาให้ใยผ้าและสี
แตกร้าวได้ ควรเก็บในลักษณะแขวน คลี่ออก และควรมีผ้าดิบสีขาวปิดคลุม
ด้านหน้า เพ่อื ปอู งกันฝนุ ละออง
5. ภาพขนาดเล็ก ควรเก็บในลักษณะแผ่ราบโดยใส่กล่องกระดาษท่ีมี
ฝาปิด ใชก้ ระดาษ (acid free paper) หอ่ หรือคั่นภาพไว้
6. ในห้องเกบ็ พระบฏ หากไมม่ เี ครอื่ งควบคมุ ความชื้น ควรจะเป็นห้อง
ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก และ มีความปลอดภัย น้าฝนไม่ร่ัว และไม่ร้อนมาก
เกนิ ไป
7. หมัน่ ทาความสะอาดห้องคลงั เก็บพระบฏอยเู่ สมอ
8. หมั่นตรวจสอบสภาพพระบฏอยู่เสมอ หากพบป๎ญหาใดๆ ท่ีเกิด
ข้ึนกับภาพ เช่น มีรา แมลง หรือ หนูกัดกินภาพ ภาพฉีกขาดชารุด ต้องรีบ
ปรกึ ษานักอนรุ ักษ์ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการอนุรักษ์ภาพ ไม่ควร แก้ไข
ป๎ญหาดว้ ยตนเอง เพราะอาจทาให้เกดิ ความเสยี หายแกพ่ ระบฏมากย่งิ ขน้ึ
ผลงานการลอกลายและสร้างสรรค์พระบฏร่วมสมัยของพระนิสิตสาขา
พุทธศลิ ปกรรม มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่
-87-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
ชดุ ภาพพระบฏ (ชดุ ที่ 1)
ภาพ 1 พระบฏ แสงแหง่ ธรรม (มนตรี ยโสภา)
ภาพ 2 พระบฏ ไม่มชี อ่ื (ศศนิ ันท์ กองแกว้ )
ภาพ 3 พระบฏ พระปางถวายเนตร (พระณฐั ชานนท์ อาร)ี
ภาพ 4 พระบฎ พระเจ้าเลียบโลก (พระเจตนส์ ฤษฎิ์ เจานาสโุ ภ)
-88-
สนุ ทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
ชดุ ภาพพระบฏ (ชุดที่ 2)
ภาพ 5 พระบฏ ปางเปิดโลก (กาธร กระจา่ งกิจใจชุ่ม)
ภาพ 6 พระบฏ พทุ ธดาเนนิ (พระแสงแก้ว มณีเพชร)
ภาพ 7 พระบฏ พระบฎ (พระผล คูเวยี งหวาย)
ภาพ 8 พระบฏ บาเพ็ญทุกรกริ ยิ า (พระอง่ั เพ่ อทุ คฺโค)
ชดุ ภาพพระบฏ (ชุดท่ี 3)
-89-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
ภาพ 9 พระบฏ ตอบแทนบญุ คุณ (พทั ธกานต์ ก้อคอื )
ภาพ 10 พระบฏ พระสารบี ุตร (ชรินทร์ อนิ ตา)
ภาพ 11 พระบฏ คดั ลอกพระบฏ (ยี่ ดวงต๊ิบ)
ภาพ 12 พระบฏ อดีตพุทธ (มนฑกานต์ อลุ มานน)์
ชุดภาพพระบฏ (ชดุ ท่ี 4)
ภาพ 13 พระบฏ พระเจ้าห้าพระองค์ (พระจารัส พินจิ กจิ )
ภาพ 14 พระบฏ ถวายพระพร (คันฉัตร เทพวงค์)
ภาพ 15 พระบฏ ประสตู ิ ตรัสรู้ ปรินพิ พาน (พระศตวตั จกขฺ โุ ก)
-90-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
ชดุ ภาพพระบฏ (ชุดที่ 5)
ภาพ 16 พระบฏ พุทธานุภาพ (ปญ๎ ญดา ไชยรังศรี)
ภาพ 17 พระบฏ สญั ลักษณ์ในความศรัทธา (พริ ยิ ะพงษ์ เขตฝ่๎น)
ภาพ 18 พระบฏ สญั ลักษณ์แหง่ พุทธ (คาแกว้ สุวิมล)
ชดุ ภาพพระบฏ (ชดุ ที่ 6)
ภาพ 19 พระบฏ ปางราพึง (ไพรวลั ย์ จนั ทรก์ า)
ภาพ 20 พระบฏ ชีวิต (ธที ัต แซ่ว่าง)
ภาพ 21 พระบฏ ปางนะมาร (ฟานน่ี ปวรศิ า อลุ มานน์)
-91-
สนุ ทรียศาสตรใ์ นพระบฎล้านนา
บทที่ 5
บทสรปุ
-92-
สุนทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
ติความเชื่อพระบฏเป็นผลมาจากความศรัทธาของพุทธศาสนิกชนใน
การสร้างรูปเคารพแทนองคพ์ ระพุทธเจ้า มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นพุทธา
คนุสติและการกราบไหว้บูชา โดยใช้ผ้าผืนเป็นวัสดุในการสร้างสรรค์
ภาพวาดจิตรกรรม พระบฏ คือ ผืนผ้าขนาดยาวที่เขียนภาพ
พระพุทธเจ้า และเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธประวัติ หรือทศชาติชาดกต่างๆ ใช้
แขวนหรือห้อยไว้ภายในอโุ บสถ วิหาร หรือศาลาการเปรียญ มีขนาดแตกต่างกัน
ไปตามคตแิ ละความนิยมในแตล่ ะยคุ สมัย
ประวัติความเป็นมาเก่าแก่ตั้งแต่สมัยหลังพุทธกาล เม่ือปรากฏมีการ
สร้างเคารพองค์ศาสดา เป็นศิลปกรรมที่แพร่หลายอยู่ในหลายวัฒนธรรม อาทิ
อินเดีย จีน ธิเบต ญ่ีปุน เกาหลี และไทย ภาพม้วนที่เก่าแก่ท่ีสุดในตอนน้ี คือ
ภาพม้วนของจีน ชนชาติจีน ถือได้ว่าเป็นผู้นาในการเขียนภาพบรรยาย มีอายุ
เก่าแก่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 และภาพเขียนแบบนี้ยังเอาไว้ใช้สอน
ศีลธรรมในพระพุทธศาสนาอีกด้วย ภาพเขียนแบบน้ีได้รับการพัฒนามาจนถึงขีด
อยู่ในช่วง คริสต์วรรษที่ 7 ธิเบต เรียกว่า “ทังกา” หรือ จิตรกรรมทังกา
(Thangka painting) ตรงกับความหมายในภาษา ไทยว่า “พระบฏ” คาว่า “ทัง
กา” อน่ึง นักวิชาการฝุายจีนมีความเช่ือกันว่า รูปแบบการวาดภาพทังกาซ่ึงเป็น
ภาพวาดบนผ้าไหมและใช้การม้วนแขวนเพื่อประดับและสามารถนาพาไปยังที่ต่าง
ๆ ได้โดยสะดวกนั้น มาจากอิทธิพลของการการวาดภาพจิตรกรรมจีนประเพณี
(Traditional Chinese painting) ซงึ่ มกี ารวาดในลักษณะดังกล่าวมาต้ังแต่ ปลาย
ราชวงศ์ฮ่ันถึงราชวงศ์จ้ิน และรุ่งเรืองในสมัยราชวงศ์ถัง ทาให้ศัพท์คาว่า ทังกา
สาหรับชาวจีนแล้ว ใช้ออกเสียงเรียกกันว่า “ถังข่าแปลความหมาย ตามรูปศัพท์
คือ “แผ่นภาพแบบสมยั ถงั ”
ในญป่ี ุน เรยี กวา่ ภาพอิมากิโมโนะ มีความใกล้เคียงความร่วมสมัยกับ
จีนมากท่ีสุด กล่าวคือ อยู่ในคริสต์ศตวรรษ ท่ี 12 – 13 ภาพอิมากิโมโนะ
เป็นภาพม้วนแนวนอนยาว ประเพณีการวาดภาพน้ีเรียกว่า Yamato-e หรือ
ภาพวาดญ่ีปุนเพื่อให้แตกต่างจากงานญ่ีปุนในลักษณะจีน ส่วนภาพพระบฏแบบ
เกาหลี เรียกว่า Taenghwa แปลว่า ภาพแขวน เป็นลักษณะเฉพาะของภาพพุทธ
วจิ ติ รศลิ ปแ์ บบเกาหลี (Korean Buddhist Visual Arts)
ป ร ะ เ พ ณี ก า ร ว า ด ภ า พ พ ร ะ บ ฏ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ม ร ด ก ท า ง
พระพุทธศาสนาท่ีมาถึงคาบสมุทรเกาหลีในยุคสามก๊ก ภาพวาดท่ีเก่าแก่ที่สุดท่ี
ยังคงมีชีวิตอยู่ ย้อนกลับไป ศตวรรษท่ี 13 ในช่วงปลาย ของราชวงศ์โครยอ
ประเพณีการวาดภาพพระบฏในยุคแรกเป็นไปตามบรรทัดฐานของประเพณีเอเชีย
กลางและจีนในเรอื่ งการสร้างแบบจาลองและการใชล้ ายฉลุ ภาพพระบฏในยุคแรก
ส่วนใหญ่วาดบนผ้าแพรไหมโดยใช้สีจากแร่ธรรมชาติ ภาพพระบฏท่ีรับความนิยม
-93-
สุนทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
มากในยุคน้ัน คือ ภาพแดนสุขาวดี (Pure Land Buddhism) และภาพ พระอว
โลกิเตศวร
ภาพพระบฏมักแขวนอยูด่ ้านหลังประตมิ ากรรมทางพุทธศาสนากลางใน
พระอุโบสถ ส่ิงนี้มีขึ้นเพ่ือปรับปรุงภาพประติมากรรมและสร้างบรรยากาศให้กับ
ภายใน ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ภาพพระบฏได้เสื่อมโทรมลง ไม่ได้รับความ
นิยม พระบฏถือเป็นงานฝีมือมากกว่างานศิลปะชั้นสูงดังนั้นพระภิกษุสามเณรท่ี
แสดงความสามารถจึงได้รับการฝึกฝนตามประเพณีโดยการวาดภาพบังคับต่าง ๆ
บางครั้งมีเวิร์คช็อปอยู่ภายในบริเวณวัดและที่นี่จิตรกรได้แบ่งป๎นงานฝีมือของตน
กบั ลกู ศิษย์ ในอดีตจิตรกรทางานด้วยค่านายหน้า แต่มีอาจารย์ท่ีมีความสามารถ
เพียงไม่กีค่ นทห่ี ลงเหลอื อย่ปู ระเพณนี อ้ี าจสญู ส้ินไปภายในสองสามช่ัวอายุคนต่อไป
จากหลักฐานดังกล่าวพระบฏน้ีน่าจะมีอายุราวพุทธศักราช 1927 หรือก่อนหน้า
นั้นเล็กน้อย นับเป็นหลักฐานที่กล่าวถึงพระบฏซึ่งเก่าที่สุดในไทย แต่เป็นที่น่า
เสียดายทพี่ ระบฏทาจากผา้ จงึ ชารุดง่ายเป็นเหตุให้เหลือหลักฐานที่เป็นภาพพระบฏ
ในสมยั สุโขทยั นอ้ ยมาก
รูปแบบทางงานศิลปะในเอเชียตะวันออก งานศิลปะประเภทน้ี
ประเทศจีนมีความโดดเด่นในเร่ืองภาพเขียนภูมิทัศน์ ซึ่งเป็นผลงานท่ียิ่งใหญ่ที่สุด
ของวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์การวาดภาพ และภาพม้วนบรรยายของประเทศ
ญี่ปุน ซ่ึงพัฒนาศักยภาพในการเล่าเรื่องของการวาดภาพ การเขียนภาพประเภท
นี้นับเป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมทางด้านศิลปะของทวีปเอเชีย ไม่ว่าจะ
เปน็ จีน ญปี่ ุน หรอื อินเดีย หลักฐานทางประวัติศาสตร์การเขียนภาพชนิดนี้ มี
ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ค้นพบเริ่มต้นที่ประเทศจีน เร่ืองราวในภาพถ้าเป็น
ประเทศจีนจะเน้นเร่ืองวิถีชีวิต ญี่ปุนจะเน้นเร่ืองประวัติศาสตร์การปกครอง ส่วน
อนิ เดยี จะเป็นเรื่องความเชอ่ื ทางศาสนา
พระบฏในดินแดนล้านนา มีความพิเศษตรงที่ไม่ได้มีอยู่แต่เพียงใน
วรรณกรรม หรือตานาน แต่ปรากฏหลักฐานเป็นพระบฏโบราณให้ได้ศึกษา ดังท่ี
ศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี ได้กล่าวถึงพระบฏที่นับว่าเก่าแก่ท่ีสุดท่ีพบใน
ประเทศไทยว่า ได้มาจากการสารวจทางโบราณคดีเหนือเขื่อนภูมิพล เมื่อปี พ.ศ.
2503 ในกรุพระเจดีย์วัดดอกเงิน ตาบลฮอด อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่
และในต่อมามีการค้นพบพระบฏเพ่ิมเติมที่วัดเจดีย์สูง อาเภอฮอดเช่นกัน ดังได้
กล่าวแล้วว่าพระบฏทาจากผ้าซึ่งเป็นวัสดุท่ีชารุดเสียหายได้ง่าย เว้นแต่ว่าจะเก็บ
รักษาไว้อย่างดีมากๆ จึงทาให้พบภาพท่ีมีอายุยาวนานจานวนน้อยมาก นับว่ายัง
โชคดีท่ีการสารวจในคร้ังนั้นทาให้พบ โบราณศิลปวัตถุของล้านนาจานวนมาก
โดยพระบฏทีพ่ บเป็นภาพเขยี นขนาดใหญ่ที่พับและม้วนเก็บไว้ในหม้อดินเผา ทาให้
ยงั คงหลงเหลือภาพพระบฏโบราณให้ทาการศึกษาได้ ทง้ั นี้เพราะความแห้งของกรุ
-94-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
และการบรรจุภาพเขียนตั้งขึ้นตรงในหม้อดิน จึงช่วยให้สามารถเก็บรักษาพระบฏ
ให้คงสภาพดกี วา่ การเก็บไวใ้ นสถานทอ่ี น่ื ๆ
เทคนิคทางจิตรกรรมของภาพพระบฏ เป็นการเขียนภาพแบบพหุรงค์
รวมทั้งมีการปิดทองเฉพาะท่ีภาพพระพุทธองค์ เน่ืองจากภาพพระบฏมีความ
หลากหลายวิจิตรบรรจงมากข้ึนตามยุคสมัย ภาพพระบฏที่พบที่กรุเจดีย์วัดดอก
เงิน อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ โดยเฉพาะตอนเทศนาปริวรรตหรือตอนที่พระพุทธเจ้า
เสดจ็ ลงจากสวรรคช์ นั้ ดาวดึงส์ ซึง่ มีรูปแบบในแนวเดียวกนั กบั ศิลปะสุโขทัย ศิลปะ
ลังกา และศิลปะจีน พระบฏท่ีค้นพบในสมัยสุโขทัยและล้านนามีความสัมพันธ์กัน
ทางด้านศิลปะ นิยมสร้างงานจิตรกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับเร่ืองราวดังกล่าว จนถึง
สมยั อยุธยางานจิตรกรรมของอยุธยามีความรุ่งเรืองมากข้ึน เรื่องราวที่ปรากฏใน
งานจิตรกรรมเริ่มมีความหลากหลายมากขึ้น ท้ังจิตรกรรมฝาผนัง และงาน
จิตรกรรมแขนงอืน่ ๆ ท่เี ป็นงานวิจิตรศลิ ป์ เชน่ ตพู้ ระธรรม งานแกะสลักไม้ เป็น
ต้น จนกระทงั่ สมยั รัตนโกสนิ ทรง์ านจิตรกรรมตา่ งๆ ไดพ้ ฒั นาและสบื ทอดรูปแบบ
มาจาก อยุธยา เรื่องราวเก่ียวกับเทศนาปริวรรตยังคงปรากฏอยู่ และเกิดความ
หลากหลายในเรื่องราวและหนา้ ทีก่ ารใช้งาน หรือแม้แต่ในภาพเรื่องราวเดียวกันก็
มีรายละเอียดและการวางองค์ประกอบต่างกัน มีการวางรูปแบบของภาพไว้
หลากหลาย ตัวอย่างของการนาเรื่องราวของทศชาติชาดกมาวาดในภาพพระบฏ
มักปรากฏให้เห็นในลักษณะภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนพร้อมอัครสาวกท้ัง 2
องค์ ส่วนล่างเป็นเรื่องของทศชาติ หรือบางคร้ังเป็นภาพพระพุทธเจ้าทรงเครื่อง
ประทบั ยืนพร้อมอคั รสาวก ภายในเรือนธาตุ ส่วนครึ่งล่างของภาพเป็นชาดกตอน
สวุ รรณสาม วา่ ด้วยการบาเพ็ญเมตตาบารมี เปน็ ตน้
วิธีการเขียนภาพพระบฏโบราณ กรรมวิธีการเขียนภาพพระบฏ ใช้ผ้า
ฝาู ยสขี าวทารองพ้ืนด้วยดินสอพองท่ีผสมกาวเม็ดมะขามหรือกาวหนังสัตว์โดยรอง
พื้นเพียงบางๆ เพื่อให้ภาพสามารถม้วนเก็บได้และสีจะไม่แตกหรือกะเทาะง่าย
จากนน้ั เขียนระบายด้วยสีน้ายา หมายถึงการเอาสีฝุนท่ีได้จากแร่ดิน หินโลหะ ไป
บดเผาไฟให้สุกตากแห้งจนได้ผงละเอียดแล้วนามาผสมกับกาวท่ีได้จากยางกระถิน
เทศ ยางมะขวิด ยางมะเด่ือ วิธีการเขียนภาพอาจใช้วิธีปรุ เรียกว่าปรุภาพหรือ
ปรลุ าย โดยเจาะตามลายเส้นของตัวภาพหรือลายให้เป็นรูเล็กๆ แล้วใช้ลูกประคบ
ท่ีห่อถ่านไม้ไว้ตบลงตามรอยปรุน้ัน เรียกตบฝุน จากน้ันจึงลงมือเขียนสี ปิดทอง
และตดั เส้นเป็นข้ันตอนสดุ ท้าย
คณุ คา่ ทางสุนทรยี ะเชงิ ปรชั ญาของภาพพระบฎท่มี ตี อ่ สังคมและวัฒนธรรม
คุณค่าทางสุนทรียะเชิงปรัชญาที่มีต่อสังคม ภาพพระบฏกับสังคมและ
วัฒนธรรมไทย นอกจากความงามที่ปรากฏอยู่ในผืนผ้าพระบฏแล้ว พระบฏยังมี
-95-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
บทบาทและมีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทยทุกภาค พระบฏล้านนาผืนท่ีมี
อายุเก่าแก่ท่ีสุด และมีขนาดใหญ่มากที่สุดช้ินหน่ึงในประเทศไทย คือ “พระบฏ
แดง” รูปพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสรรค์ช้ันดาวดึงส์ ความมุ่งหมายของการสร้าง
พระบฏในอดตี นัน้ อันที่จริงมีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกับการเขียนภาพจิตรกรรมฝา
ผนงั คือ 1. เพื่อตกแต่งอาคารศาสนสถานให้สวยงาม 2. เพ่ือถ่ายทอดเร่ืองราว
ในพระพุทธศาสนาผ่านงานศิลปะ และนาเนื้อหาน้ันมาส่ังสอนแก่พุทธศาสนิกชน
แต่ต่อมาความต้องการของพุทธศาสนิกชนมีมากกว่าน้ัน คือนอกจากจะต้องการ
สืบทอดอายุพุทธศาสนาแล้ว ยังประสงค์จะอุทิศบุญกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ
ไปแลว้ ข้อสาคัญเพื่อเป็นอานิสงส์แก่ตนเองและครอบครัว กล่าวคือการสร้างพระ
บฏด้วยรปู พระพทุ ธเจ้าถอื วา่ มีอานสิ งส์สงู สดุ เทยี บเท่ากับการสร้างพระพุทธรปู
คุณค่าทางสุนทรียะเชิงปรัชญาท่ีมีต่อวัฒนธรรม อิทธิพลพระบฏใน
ภาคเหนือ พระบฏล้านนามีช่ือเสียงมากข้ึนจากจุดกาเนิดของงานท่ีเก่ียวข้องกับ
พิธีกรรมเลี้ยงดง หรือเลี้ยง “ผีปูุแสะย่าแสะ” ตุงค่าวธรรมพระเวสสันดร
กาลเวลาผ่านไป คตินิยมการทาพระบฏสีแดงของชาวลัวะค่อยๆ เลือนหายไป
เม่ือเข้าสู่ยุคฟ้ืนฟูล้านนา ต้ังแต่พุทธศตวรรษที่ 24-25 ร่วมสมัยกับกรุง
รัตนโกสินทร์ตอนต้น เกิดความนิยมใหม่ในการสร้าง “ตุงค่าวธรรม” หรือ
จิตรกรรมพระบฏที่เขียนเรื่องเวสสันดรเป็นชุดๆ หลายผืน พบมากในกลุ่มชาติ
พันธุ์ไทล้ือ ไทยอง-ไทใหญ่ โดยเฉลี่ยตุงค่าวธรรม ในงานประเพณีย่ีเป็ง เดือน
พฤศจิกายน ขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ยังปฏิบัติสืบจวบป๎จจุบัน แต่ไม่มีการแขวน
พระบฏในระหว่างพิธีการเทศน์มหาชาติอีกแล้ว เนื่องจากพระวิหารของวัดแต่ละ
แห่งได้รับการบูรณะให้ใหญ่โตโอ่โถงขึ้นและหลายแห่งได้วาดจิตรกรรมพระ
เวสสันดรชาดกทั้ง 13 กัณฑ์ไว้ที่ผนังโดยรอบแล้ว ภาพพระบฏของวัดหลายแห่ง
จงึ ถูกเกบ็ รกั ษา ณ กฏุ เิ จา้ อาวาส บางแห่งนาเก็บรักษาหรือจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์
ของวัด ป๎จจุบันพระบฏปรากฎงานบุญประเพณีในท้องถิ่น บทบาทของพระบท
ยังคงมีอยูใ่ นประเพณีท่ีสาคัญของชาวพุทธในประเทศไทย แตกต่างกันไปในแต่ละ
พืน้ ท่ี เท่าท่ีรวบรวมได้ เช่น ประเพณีการแห่ผ้าข้ึนธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช
งานบญุ เทศน์มหาชาติ งานบุญผะเหวดในภาคอสี าน ตุงพระบฏล้านนา
การลอกลายรปู แบบพระบฎโบราณในการนาํ มาสร้างสรรค์ศิลปะรว่ มสมยั
การลอกลายรูปแบบพระบฎโบราณในการนามาสร้างสรรค์ศิลปะร่วม
สมัย วิธีการสร้างพระบฏ การเขียนพระบฏน้ันมีขั้นตอนเดียวกันกับการเขียน
จิตรกรรมไทยประเพณที วั่ ๆ ไป ดงั น้ี
1. ขั้นเตรียมการ หมายถึง การเตรยี มความพร้อมทุกอย่างท่ีเก่ียวข้อง
กล่าวคือ
-96-