สุนทรยี ศาสตร์ในพระบฎล้านนา
1.1 การเตรียมพ้ืน ได้แก่ ผืนผ้าท่ีนิยม คือ ผ้าฝูายสีขาวโดยทารอง
พื้นด้วยดินสอพองท่ีผสมด้วยกาวเม็ดมะขามหรือกาวหนังสัตว์ ซ่ึงชั้นรองพ้ืนและ
ช้ันสนี ต้ี ้องทาบางๆ เพอ่ื ให้สามารถมว้ นเกบ็ ได้ โดยสีไมแ่ ตกหรือกะเทาะง่าย
1.2 การเตรียมกาว สาหรับใช้ผสมกับสีฝุน โดยใช้ยางกระถินเทศ
ยางมะขวิด ยางมะเด่ือ ซ่งึ ช่างโบราณเรยี กน้ากาวท่ีใช้ผสมสีว่า น้ายา ดังน้ัน จึง
เรยี กสฝี ุนวา่ สนี ้ายา
1.3 การเตรียมสี คือสีฝุนท่ีใช้ ได้จากดิน แร่ หิน โลหะ นาไปบด
หรือเผาไฟให้สุก ตากแห้ง แล้วบดให้ละเอียด สีบางชนิดได้จากส่วนต่างๆ ของ
พืชและสัตว์ ต้องนาไปต้มหรือต่า คั้นเอาน้ามากรอง เกรอะให้แห้ง จากนั้นจึง
นาไปบดเป็นผงละเอียด ซึ่งสีท่ีใช้เขียนภาพในสมัยโบราณมีเพียงไม่กี่สี กล่าวคือ
สีดาได้จากเขม่า สีขาวจากฝุนขาว สีแดงจากดินแดง และสีเหลืองจากดินเหลือง
จนกระท่ังสมัยอยุธยาตอนปลายได้เร่ิมมีสีสดใสและมีจานวนสีมากข้ึน เช่น สี
เหลืองสด สเี ขยี วสด สแี ดงชาด เปน็ ตน้ ซ่ึงนาเขา้ มาจากเมืองจีน
2. ข้ันการเขียนภาพ เร่ิมจากการกาหนดเร่ืองหรือภาพท่ีจะเขียน ร่าง
ภาพลงบนกระดาษ แล้วนาไปขยายให้ใหญ่ลงบนผ้า สาหรับบางตัวภาพหรือบาง
ลวดลาย อาจใช้วิธีปรุภาพ หรือปรุลาย โดยการเจาะตามลายเส้นของตัวภาพ
หรือลาย ให้เป็นรูเล็กๆ แล้วใช้ลูกประคบท่ีห่อถ่านไม้ไว้ ตบลงตาม รอยปรุน้ัน
เรยี กวา่ ตบฝุน แลว้ จงึ เขียนสี ปดิ ทองและตัดเส้นในขัน้ ตอนสดุ ท้าย
รูปแบบของภาพพระบฏ ภาพและเร่ืองราวท่ีปรากฏในพระบฏมีหลาย
แบบแตกต่างกันไปตามยุคสมัย ความถนัดของช่าง และวัตถุประสงค์ในการสร้าง
เป็นตน้ ซ่งึ พอจะสรุปได้ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. พระพุทธเจ้าและพระอัครสาวก คือ พระสารีบุตรและพระโมคคัลลา
นะ
2. พระพุทธประวัติ ภาพพระพุทธประวัติท่ีนิยมนามาสร้างพระบฏน้ัน
มีท่ีมาจากเรื่องราวที่ปรากฏในคัมภีร์ปฐมสมโพธิกถา ต้ังแต่ตอนประสูติจนถึง
ปรินิพพาน ซึ่งมีทั้งหมด 29 ตอน ตัวอย่างภาพในพระพุทธประวัติท่ีเป็นท่ีนิยม
ในการทาภาพพระบฏ มีหลายตอน เช่น ภาพพระพุทธเจ้าพร้อมอัครสาวก
ทรงเครื่องทรงในซุ้ม ประทับยืน ส่วนล่างเป็นภาพพุทธประวัติตอนมารผจญ
(มารวิชัยปริวรรต) เป็นตอนที่ พระยามารยกกองทัพมาล้อมพระพุทธเจ้าไว้
พระองคท์ รงอ้างแมธ่ รณีเปน็ สักขพี ยานในการทรงบาเพ็ญบุญสั่งสมทศบารมี ทรง
เหยยี ดพระหตั ถ์เบื้องขวาชพ้ี ระดชั นีไปยังพน้ื ดนิ พระแม่ธรณีปรากฏกายออกมาใน
รูปของหญงิ สาว บิดน้าในมวยผมหล่ังเป็นประจักษ์พยาน จนน้าที่ออกมานั้นท่วม
มารท้งั หลายไปจนหมดส้นิ พระยามารจึงยอมแพ้
-97-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
3. พระพทุ ธเจ้า 5 พระองค์ พระพุทธเจ้า 5 พระองค์เป็นภาพท่ีนิยม
เขียนท้ังในพระบฏ และบนฝาผนัง มักเขียนไว้ช่วงบนของผืนผ้า ประกอบด้วย
อดีตพระพุทธเจ้า 3 พระองค์ คือ พระพุทธกกุสันธะ พระพุทธโกนาคมน์ และ
พระพุทธกัสสปะ รวมท้ังพระพุทธเจ้าองค์ป๎จจุบัน คือพระสมณโคดม และ
พระพุทธเจา้ ในอนาคต คอื พระศรีอาริยเมตไตรย
4. พระมาลัย เป็นภาพเล่าเร่ืองในวรรณกรรมพุทธศาสนา คือ พระ
มาลยั คาหลวง ท่สี าคัญในสมัยอยุธยาตอนปลาย เนอื้ หาเนน้ สอนให้ทาความดีจะ
ไดข้ ้ึนสวรรค์ และผู้ทีท่ าความชวั่ ตอ้ งตกนรก
5. ทศชาตชิ าดก อีกเรือ่ งราวหน่ึงที่นิยมนามาวาดเป็นภาพจิตรกรรมก็
คือเรื่องราวของพุทธเจ้าเมื่อคร้ังยังเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ในอดีตชาติ ใน
แต่ละชาติมีบทบาทท่ีแตกต่างกันไป ตั้งแต่มีสติป๎ญญาน้อยจนถึงสติป๎ญญาลึกซ้ึง
ทรงบาเพ็ญบารมีอย่างหยาบไปจนถึงละเอียดประณีต จนพระชาติสุดท้ายที่ตรัสรู้
เปน็ สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ตามคมั ภีร์ชาดกไดเ้ ล่าถึงชีวิตของพระโพธิสัตว์ใน
อดตี ชาติ วา่ มีถึง 547 พระชาติ
6. เวสสันดรชาดก เวสสันดรชาดกเป็นเร่ืองท่ีนิยมกันมากเพราะถือว่า
เปน็ พระชาตทิ ่ยี ง่ิ ใหญ่ เรยี กว่า มหาชาติ เพราะเป็นพระชาติ ท่ีทรงบาเพ็ญบารมี
ครบทั้ง 10 ประการ คือ เนกขัม (ความอดทน) วิริยะ เมตตา อธิษฐาน
ปญ๎ ญา ศลี ขนั ติ อเุ บกขา สัจจะ และ ทาน โดยเฉพาะการบาเพ็ญทานบารมีซ่ึง
เปน็ จุดเด่นของพระชาติน้ี โดยมีฉากประจาพระชาตทิ ั้งหมด 13 กณั ฑ์
8. ภาพอสุภะ 10 ภาพพระบฏที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับอสุภะ คือ ความ
ไม่งามของร่างกายที่กลายเป็นซากศพ มักพบในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา
เหตุผลหน่ึงน่าจะเป็นเพราะต้องการใช้เป็นสื่อในการเตือนสติพุทธศาสนิกชนไม่ให้
ลุ่มหลงในความงามของร่างกาย นอกจากน้ันยังเป็นมรณสติให้แก่ผู้พบเห็นให้ได้
ตระหนกั ถงึ ความจรงิ ของสงั ขารว่า ไมเ่ ทยี่ ง มีเกิด มีดับ ไม่ควรประมาท เม่ือยัง
มชี ีวติ อยคู่ วรสร้างแต่ความดี เป็นต้น ภาพที่ปรากฏมักเป็นภาพพระสงฆ์พิจารณา
ซากศพในสภาพต่างๆ ซึ่ง มอี ยู่ 10 ประการ
การลอกลายและสร้างสรรค์พระบฏร่วมสมัยครั้งน้ี โดยพระนิสิตสาขา
พุทธศิลปกรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
จานวน 22 ภาพ เพื่อนาไปติดต้ังภายในพิพิธภัณฑ์ศิลปะชุมชน วัดท่าข้าม
อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นงานจิตรกรรมแขวนฝาผนัง เน้นให้มี
บรรยากาศและอารมณท์ างสนุ ทรียภาพ และนาไปใช้ในการประกอบพิธีกรรมทาง
ศาสนาตอ่ ไป
-98-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎล้านนา
บรรณานกุ รม
-99-
สนุ ทรียศาสตร์ในพระบฎล้านนา
กรมศลิ ปากร. พระบฏและสมุดภาพไทย. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์การพิมพ์,
2527.
กรมศิลปากร. มหาชาติคาํ หลวง. พิมพ์คร้ังที่ 66. กรงุ เทพมหานคร :
คลังวทิ ยา, 2516.
กรี ติ บญุ เจือ. ปรัชญาศลิ ปะ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานิช, 2525.
กาจร สุนพงษ์ศรี. สนุ ทรยี ศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพ์แหง่
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั , 2556.
จรญู โกมทุ รตั นานนท์. สนุ ทรียศาสตรก์ รกี -ยุคฟืน้ ฟู. กรุงเทพมหานคร,
สานักพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.
จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชหตั ถเลขาเร่อื งเสด็จ
ประพาสแหลมมลายู เม่อื รตั นโกสินทรศก 108, 109,117, ฉบับท่ี
2. ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้พมิ พ์พระราชทานในงานพระศพสมเดจ็
พระเจ้าน้องนางเธอเจา้ ฟูามาสินนี พดาราศริ ภิ าพรรณวดี
กรมขนุ ศรีสัชนาลยั สรุ กญั ญา ณ พระเมรุท้องสนามหลวง พ.ศ. 2464
พระนคร : โรงพิมพไ์ ท, 2468.
จารณุ ี วงศล์ ะคร. ปรัชญาเบ้ืองตน้ . เชียงใหม:่ คณะมนุษยศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่, 2550.
จารุณี อนิ เฉิดฉาย. พระบฏะพทุ ธศลิ ป์บนผืนผา้ . เข้าถงึ เม่อื 24 ธันวาคม
2552. เขา้ ถงึ ได้ http://www.muangbornjournal.com/
modules.php?name=Section&op=vie...
จารณุ ี อินเฉิดฉาย และขวัญจติ เลิศศิริ. พระบฏ. กรงุ เทพมหานคร:
กรมศิลปากร, 2545. พมิ พใ์ นงาน นิทรรศการพเิ ศษเนอื่ งในวันอนรุ กั ษ์
มรดกไทย พทุ ธศกั ราช 2545 ณ พพิ ธิ ภัณฑสถาน แห่งชาติ หอศิลป
เมษายน 2545.
ฉตั รชยั ศภุ ระกาญจน์. “ผ้าพระบฏเมอื งนคร”. สารนครศรีธรรมราช. (ปที ่ี 26,
ฉบบั ท่ี 4 เมษายน 2539): 39-40.
ธนติ อยู่โพธ์ิ. ตํานานเทศนม์ หาชาติ. สานักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรีพมิ พแ์ จก
ในงานทอดผา้ พระกฐินพระราชทาน ณ วัดมหรรณพาราม
กรุงเทพมหานคร 29 ตุลาคม 2524.
น. ณ ปากน้า, นามแฝง. ถาม-ตอบเรอ่ื งศลิ ปะไทย. กรงุ เทพมหานคร :
เจริญวิทยก์ ารพิมพ์, 2528. อา้ งถึงหนังสือพระราชวจิ ารณ์ เทยี บลัทธิ
พระพุทธศาสนาฝุายหนิ ยานกับมหายาน พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้
เจา้ อย่หู ัว ทรงพระราชนพิ นธ์ พมิ พ์ที่โรงพิมพ์โสภณ พิพรรธนากร,
พ.ศ. 2471.
-100-
สนุ ทรยี ศาสตร์ในพระบฎลา้ นนา
บณุ ย์ นลิ เกษ. สุนทรยี ศาสตร์เบือ้ งต้น. เชียงใหม่: โครงการตารา คณะ
มนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่, 2523.
ปยิ ะแสง จันทรวงศไ์ พศาล. “ประวตั ศิ าสตรท์ งั กา”. วารสาร วจิ ิตรศลิ ป์. (ปที ี่ 6
ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2558): 74 -75.
พระมหารังสันต์ กิตตฺ ปิ ํฺโญ (ใจหาญ). การศกึ ษาวเิ คราะห์สุนทรยี ศาสตร์ใน
พทุ ธปรชั ญาเถรวาท. วทิ ยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑติ
วทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, 2553.
พ่วง มนี อก. สนุ ทรยี ศาสตร์.กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2536.
พชิ ิต อัคนิจ. วรรณกรรมไทยสมัยกรุงสโุ ขทัย-กรุงศรีอยุธยา.
กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พร้ินต้งิ เฮาส์, 2536.
พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ หอศลิ ป์. นําชม พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศลิ ป์.
กรุงเทพมหานคร: ศกั ดโิ์ สภาการพมิ พ์, 2542.
ไพฑูรย์ พฒั นใ์ หญ่ยงิ . สุนทรียศาสตร์ : แนวความคิด ทฤษฎแี ละการพัฒนา.
กรุงเทพมหานคร :เสมาธรรม. 2541.
ภัทรพร สิริกาญจน. บทบาทของเหตุผลในงานเขียนของคา้ นท์. วิทยานพิ นธ์
อักษรศาสตร์ มหาบณั ฑิต จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, 2550.
มยั ตะติยะ. สนุ ทรยี ภาพทางทัศนศิลป์. กรงุ เทพมหานคร : วาดศิลป์, 2547.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิยสถาน พ.ศ.2552.
กรงุ เทพมหานคร: อกั ษรเจริญทัศน .
ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พุทธศักราช 2525.
พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด.
2539.
ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานกุ รมศัพทศ์ ิลปะ อังกฤษ-ไทย. กรงุ เทพมหานคร:
ราชบัณฑิตยสถาน, 2530.
วรรณภิ า ณ สงขลา. จิตรกรรมไทยประเพณี. ชุดที่ 001 เล่มที่ 2
วรรณกรรม. กรุงเทพมหานคร: อมรนิ ทร์พริน้ ตง้ิ กรุ๊พ, 2534.
วรรณภิ า ณ สงขลา, เรียบเรยี ง. จติ รกรรมไทยประเพณชี ุดท่ี 001 เลม่ ท่ี 1
พ.ศ 2533 จิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากดั 2533.
วรี ยุทธ เกิดในมงคล. การส่อื ความหมายของงานทัศนศลิ ป์. วทิ ยานิพนธ์ (อ.ม.)
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2544.
ศิลป พีระศรี. สมบัตศิ ลิ ปะจากเขือ่ นภมู ิพล. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร,
2515.
ศลิ ปากร, กรม. เมืองเชยี งแสน. จดั พิมพ์เนอ่ื งในวโรกาสสมเด็จพระเทพ
-101-
สุนทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ พระราชดาเนินทรงเปดิ
พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติเชียงแสน จงั หวัดเชยี งราย. กรุงเทพมหานคร :
บรษิ ัท กราฟคิ ฟอรแ์ มท (ไทยแลนด์) จากดั , 2539.
สถติ วงศ์สวรรค์. ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: รวมสาส์น, 2540.
สมเกียรติ ตง้ั นโม. ศกึ ษาเปรียบเทียบแนวคิดสุนทรียศาสตรใ์ นพทุ ธศาสนากับ
ปรัชญาของเพลโต. บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหิดล, 2547.
สมเกียรติ ต้งั นโม : แปล. Arthur C. Danto, เขียน. เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์.
คณะวิจติ รศลิ ป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “Aesthetics” Microsoft®
Encarta. Multimedia / Encyclopedia 1994 (CD-ROM).เรียบเรียง
เม่ือวนั ที่ 15-25/10/38.
สมชาติ มณโี ชติ. จติ รกรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : O.S. Printing House ,
2529.
สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส. ปฐมสมโพธกิ ถา. รัฐบาลใน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช จัดพมิ พ์ทูลเกล้าฯ
ถวายสนองพระมหากรณุ าธคิ ณุ ในมหามงคลเฉลมิ พระเกยี รติ
พระบรมราชสมภพ ครบ 200 ปี พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
วนั องั คาร ท่ี 31 มนี าคม พทุ ธศกั ราช 2530. กรุงเทพมหานคร :
บริษัท วิคตอรี เพาเวอรพ์ อยท์ จากัด, พ.ศ. 2530.
สงิ ห์ทน คาซาว. ปรชั ญา. เชียงใหม่: คณะมนษุ ยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,
2519.
สันติ เลก็ สุขมุ . ศิลปะเชียงแสน(ศิลปะล้านนา) และศลิ ปะสโุ ขทัย.
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2534.
สันติ เลก็ สุขุม. ศิลปะภาคเหนอื : หริภูญชยั – ลา้ นนา. กรุงเทพมหานคร:
ฟสิ ิกส์ เซ็นเตอร์, 2549.
อิสระ ตรีปญ๎ ญา. สุนทรยี ศาสตร์ในงานจติ รกรรมแบบเซน. วิทยานพิ นธ์
ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต. สาขาวิชาปรัชญาบณั ฑติ วทิ ยาลยั :
มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่, 2551.
อารี สทุ ธิพันธ์. ประสบการณ์สนุ ทรยี ะ. กรุงเทพมหานคร: ตน้ ออ้ , 2533.
อู่ทอง ประศาสน์วินจิ ฉัย. ทอ่ งทศชาตผิ ่านจิตรกรรม: เตชสุเนม.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงเทพ, 2548)
Hospers, J.. Meaning and Truth in the Arts. Chapel Hill: University
of North Carolina Press.,1946.
Francis J. Kovach. Philosophy of Beauty. Oklahoma: The University
of Oklahoma Press, 1974.
-102-
สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นพระบฎลา้ นนา
Gaut, Berys Nigel and Dominic.Lopes. The Routledge Companion to
Aesthetics. London: Routledge, 2001.
Gordon Graham. Philosophy of the Arts An introduction to
Aesthetics. New York: Routledge, 2005.
https://www.zentnercollection.com/items/1402255/Japanese-Edo-
Buddhist-Scroll-Painting-Eight-Armed-Kannon
Jonathan Rée and J. O. Urmson. The concise encyclopedia of
western philosophy. London: Routledge, 1975.
Munro, Thomas. “Oriental Traditions in Aesthetics”. The Journal of
Aesthetics and Art Criticism, (vol. 24, no. 1, 1965): pp. 3–6.
Nigel Wilson. Encyclopedia of Ancient Greece. New York :
Rouledge, 2010.
Paul Guyer. Values of Beauty: Historical Essays in Aesthetics,
(2008). Mind, 117 (468): pp. 1079 – 1081.
Paul Shorey. Plato The Republic. Massachusetts: Harvard University
Press, 1937.
lraven, Boudewijn; Breuker, Remco E. (2007). Korea in the middle:
Korean studies and area studies : essays in honour of
Boudewijn Walraven. CNWS Publications. pp. 229–. ISBN
978-90-5789-153-3. Retrieved 30 December 2010.
Rictor Norton. Gay History and Literature: Johann Joachim
Winckelmann [Online]
Available:http://rictornorton.co.uk/winckelm.htm, Accessed
[February 1,2560].
Online Etymology Dictionary, aesthetic, [Online] Available on:
http://www.etymonline.com/index.php?term=aesthetic, Accessed
[February 1, 2017].
Stolnitz, J.. “On the Origins of ‘Aesthetic Disinterestedness’”. Journal
of Aesthetics and Art Criticism, (20 1961): pp.131–144.
Sydney Penner. On Being Able to Know Contingent Moral Truths.
The Yale Philosophy Review An Undergraduate Publication,
Issue I, 2005.
The Editors of Encyclopaedia Britannica. Scroll painting : Available
on https://www.britannica.com/art/scroll-painting
-103-
© ลิ ข สิ ท ธิ : ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม ห า จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ร า ช วิ ท ย า ลั ย วิ ท ย า เ ข ต เ ชี ย ง ใ ห ม่
ต . สุ เ ท พ อ . เ มื อ ง จ . เ ชี ย ง ใ ห ม่ 5 0 2 0 0 โ ท ร . 0 5 3 - 2 7 8 9 6 7