The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Bangyay Channel, 2020-08-11 08:59:40

Sar2562

School



รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
(Self – Assessment Report : SAR)

ปการศกึ ษา ๒๕๖๒

ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

โรงเรียนอิสาณโกศลศึกษา
๒๗ ถนนอนวุ รรตน ตาํ บลในเมอื ง
อาํ เภอเมอื งบุรีรัมย จังหวดั บรุ รี ัมย ๓๑๐๐๐

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดบรุ ีรมั ย
สังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

กระทรวงศกึ ษาธิการ



คํานาํ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปการศึกษา ๒๕๖๒ ฉบับนี้ โรงเรยี นอิสาณโกศลศึกษา
ไดจ ัดทําขึ้นตามกฎกระทรวงวา ดว ย การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ ๓ ที่ระบุใหสถานศึกษาแตละแหง
จัดใหมรี ะบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาโดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ใหเปน ไปตามมาตรฐานการศึกษาแตล ะระดับและประเภทการศึกษาที่รฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกาํ หนดพรอมทั้งจัดทําแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาท่ีมุง คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
และดาํ เนินการตามแผนทีก่ ําหนดไวจดั ใหม กี ารประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดําเนินการเพื่อพฒั นาสถานศึกษาใหม คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาและจดั สง รายงานผลการ
ประเมนิ ตนเองใหแกหนว ยงานตน สังกัดหรือหนว ยงานทกี่ ํากบั ดูแลสถานศึกษาเปน ประจําทกุ ป

เอกสารรายงานประจาํ ปของสถานศึกษาฉบับน้ี ประกอบสวนสาํ คญั คือ สวนท่ี ๑ บทสรุปของ
ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา สวนที่ ๒ ขอมูลพืน้ ฐาน สวนที่ ๓ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา และภาคผนวก

โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา ขอขอบคณุ คณะกรรมการดาํ เนนิ งานและผูเกี่ยวขอ งทุกฝา ยท้งั ภายใน
และภายนอกโรงเรียนที่มีสว นรว มในการจดั ทาํ เอกสารรายงานฉบับน้ี และหวังวาเอกสารรายงานฉบบั นี้ จะเปน
ประโยชนต อการปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษาในปถ ดั ไป และเปน ฐานขอมูลในการกําหนดนโยบายการ
พัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาและหนว ยงานตนสงั กดั ตลอดจนเพื่อประโยชนใ นการรองรบั การ
ประเมินคณุ ภาพภายนอกจากสาํ นักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องคการมหาชน) ตอไป

โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา
เมษายน ๒๕๖๓





สารบญั

หนา

คาํ นาํ ๑
สารบญั
สวนที่ ๑ บทสรุปของผูบรหิ าร ๑

ตอนท่ี ๑ ขอมลู พื้นฐาน
ตอนที่ ๒ การนําเสนอผลการประเมนิ ตนเอง ๓

สวนที่ ๒ ขอ มูลพนื้ ฐาน ๓

๑. ขอ มูลทัว่ ไป ๑๐
๒. ขอมูลพนื้ ฐานแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา ๑๖
๓. ผลการดาํ เนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปของสถานศกึ ษา ๒๑
๔. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผเู รยี น ๒๒
๕. นวัตกรรม/แบบอยางท่ีดี (Innovation/Best Practice) ๒๖
๖. รางวัลทสี่ ถานศกึ ษาไดรับ ๒๖
๗. ดําเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ๒๖
๘. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ท่ผี า นมา
๙. หนว ยงานภายนอกทีโ่ รงเรียนเขา รวมเปนสมาชิก ๒๗

สว นท่ี ๓ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ๒๗
๓๑
๑. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน ๓๒
๒. สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๓๓
๓. จดุ เดน ๓๓
๔. จดุ ควรพฒั นา ๓๓
๕. แนวทางการพัฒนา ๓๓
๖. ความตอ งการชว ยเหลือ
๗. ความโดดเดนของสถานศกึ ษา (ถาม)ี ๓๔

ภาคผนวก

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน



สวนท่ี ๑
บทสรุปของผบู ริหาร

ตอนท่ี ๑. ขอมูลพ้ืนฐาน
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา รหสั ๑๑๓๑๑๐๐๐๕๘ ทอ่ี ยู วดั อสิ าณ เลขท่ี ๒๗ ถนนอนวุ รรตน ตําบลในเมอื ง

อําเภอเมืองบุรรี ัมย จงั หวดั บุรีรัมย รหัสไปรษณยี  ๓๑๐๐๐ สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน
ศึกษาธิการจงั หวัดบรุ รี ัมย โทรศัพท ๐๔๔-๑๑๐๗๓๘ Email [email protected] Website: http://isk.ac.th
ไดร บั อนญุ าตจัดตง้ั เมือ่ วนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ เปดสอนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ ๑ ถึงระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่
๖ จํานวนนักเรยี น ๒๖๙ คน จาํ นวนบคุ ลากรของโรงเรยี น ๒๒ คน

ตอนท่ี ๒. การนาํ เสนอผลประเมินตนเอง
ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

๑. มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ระดบั คณุ ภาพ
๒. หลกั ฐานสนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ

๒.๑ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผเู รียน
ระดบั คุณภาพ ดี
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศกึ ษา มีกระบวนการพฒั นาผเู รยี นดวยวธิ ีการที่หลากหลาย ทเ่ี นน ผเู รียนเปน
สาํ คญั ตามศักยภาพของผูเรียน สอดคลองกับมาตรฐานและตวั ชี้วดั ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ มกี ารออกแบบการจัดการเรยี นรูท่เี หมาะสมหลายรปู แบบเชน การระดมสมอง การใช
กระบวนการคดิ กระบวนการแกปญ หา นักเรียนเรียนรูดวยการปฏิบตั จิ ริง (Active Learning) เนนการอา นออก เขียน
ได พฒั นาครผู ูสอนใหใ ชส ือ่ เทคโนโลยี ระบบ Smart TV ปรบั แหลง เรียนรูภายในโรงเรยี น ครจู ดั ทําแผนการจัดการ
เรยี นรู ทุกกลมุ สาระ
๒.๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผูเรยี น
๑) ความสามารถในการอาน เขียน การสอื่ สาร และการคิดคาํ นวณตามเกณฑข องแตล ะระดับชนั้
นกั เรียนมรี ะดับคณุ ภาพปานกลาง รอ ยละ ๖๑.๓๔ ตา่ํ กวาคา เปาหมายคือ รอยละ ๖๕
๒) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะหคิดวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความ คิดเหน็ และ
แกป ญ หา นักเรียนมีระดับคณุ ภาพดี รอ ยละ ๗๑ สูงกวา คา เปาหมายคือ รอ ยละ ๖๕
๓) มีความสามารถในการสรา งนวัตกรรม นักเรยี นมีระดับคุณภาพยอดดี รอยละ ๖๘.๐๓ สงู กวาคา
เปาหมายคือ รอยละ ๖๕
๔) มคี วามสามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นักเรยี นมีระดบั คณุ ภาพ ดี รอ ยละ ๗๓
สงู กวา คาเปา หมายคือ รอยละ ๗๐
๕) มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา นักเรียนมรี ะดับคุณภาพ ดี รอ ยละ ๗๘.๑๓
สงู กวา คา เปาหมายคอื รอยละ ๘๐
๖) นกั เรียนมคี วามรูทกั ษะพน้ื ฐานและเจตคติที่ดีตองานอาชพี นักเรยี นมีระดับคุณภาพ ดเี ลศิ รอย
ละ .๘๕ สงู กวา คา เปา หมายคอื รอ ยละ ๘๐

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอิสาณโกศลศกึ ษา สงั กดั สํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน



๒.๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข องผูเรียน
๑) การมคี ุณลักษณะและคานิยมท่ดี ีตามที่สถานศึกษากําหนด โดยไมขดั กับกฎหมาย และ
วฒั นธรรมอันดขี องสงั คม นักเรียนมีระดับคุณภาพดี รอยละ ๗๒.๑๒ สงู กวา คา เปา หมาย รอ ยละ ๗๐
๒) ความภมู ใิ จในทอ งถิน่ และความเปน ไทย นกั เรยี นมรี ะดับคณุ ภาพดี รอยละ ๗๓.๒๓สงู
กวาคาเปา หมาย รอยละ ๗๐
๓) ยอมรับท่จี ะอยูร ว มกันบนความแตกตางและหลากหลาย นกั เรียนมีระดบั คณุ ภาพ ดี
รอ ยละ ๗๒.๔๙ สูงกวา คา เปา หมาย รอยละ ๗๐
๔) สขุ ภาวะทางรา งกาย และลกั ษณะจติ สังคม นกั เรียนมรี ะดับคุณภาพดีเลศิ รอยละ
๘๐.๓๐ สงู กวา คา เปาหมาย รอยละ ๗๐
ขอมูลหลักฐานเชิงประจักษ แผนการจดั การเรยี นรู บนั ทึกผลหลังสอน บันทกึ การยมื -คนื หนังสอื
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น สมุดบนั ทึกพฤตกิ รรม บนั ทกึ การอา น เอกสารประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค
สมรรถนะผเู รยี น นักเรยี นมีผลการประกวดแขงขันทางวิชาการ ของกลุมสาระการเรียนรูตางๆ ท้ังระดบั
จังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ
แนวทางการพัฒนา พัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทุกกลมุ สาระ

๒.๒ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ
โรงเรียนดาํ เนนิ การใหมี วสิ ยั ทัศน พนั ธกิจและเปาหมายสถานศกึ ษากําหนดชัดเจน มแี ผนพฒั นาคณุ ภาพการ
จัดการศึกษา แผนปฏบิ ัตปิ ระจําป ที่สอดคลอ งกบั ผลการจัดการศึกษา สภาพปญหา ความตอ งการพัฒนาและนโยบาย
มีการดาํ เนนิ งานพฒั นาทางวชิ าการทเ่ี นน การพฒั นาใหผูเ รียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรตู ามหลักสตู ร
สถานศกึ ษา มกี ารพฒั นาครแู ละบุคลากรโดยการจดั การอบรมใหม คี วามเชี่ยวชาญทางดานวิชาชีพ มี แบบบันทึกการ
อบรม สมั มนา จดั โครงการท่ีสง เสริม ใหผูเรยี นใฝรใู ฝเรยี นและการใชเทคโนโลยเี พ่อื การเรียนรู มกี จิ กรรมการเรียนรู
โดยใชร ปู แบบการสอน สะเต็มศึกษา เพ่ือนาํ ไปสูก ารสรางนวตั กรรม ปรับการเรยี นการสอนของครตู ามโครงการ
ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ดว ยระบบ Smart TV ปรบั แหลงเรียนรู ภายในโรงเรียน สภาพแวดลอมภมู ทิ ัศนต างๆ
ขอ มูลหลักฐานเชิงประจักษ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา หลกั สตู รสถานศกึ ษา ป ๒๕๖๒ แผนปฏบิ ัติการ
ประจาํ ป โครงสรางการบรหิ ารงาน คําส่งั ตา งๆ ขอ มลู ระบบ สารสนเทศ บันทึกการประชุม บันทึกผลการปฏิบัตงิ าน
รายงานการอบรม/สมั มนา/ประชุม
แนวทางการพัฒนา สง เสริมการใหม ีเทคโนโลยสี ารสนเทศแหงการเรียนรอู ยา งเปนระบบ

๒.๓ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนนผูเรียนเปน สําคญั
ระดบั คุณภาพ ดี
สงเสรมิ ใหค รจู ดั กระบวนการเรียนการสอนทเี่ นน ผเู รยี นเปนสําคญั โดยการดําเนนิ งานกิจกรรม อยา ง
หลากหลาย มีแผนการจดั การเรยี นรูทีส่ ามารถนาํ ไปใชไดจริง ครใู ชสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภมู ิ ปญ ญาทองถน่ิ และ
แหลง เรยี นรูที่เอ้ือตอการเรียนรู ประเมนิ ผเู รียนอยา งเปน ระบบ ดวยเครื่องมือทห่ี ลากหลาย ใหขอ มลู ยอ นกลับและ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการสง เสรมิ การศกึ ษาเอกชน



นาํ มาพัฒนา ครปู ระจําชนั้ ทําขอมูลนักเรยี นรายบคุ คล บันทกึ การเย่ยี มบานนักเรยี น มี แฟมทุนการศึกษานกั เรยี น มี
แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผเู รียน (ปพ.๕) จัดทาํ วิจัยในช้นั เรยี น นิเทศการสอน มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูและ
ใหขอ มูลปอ นกลับเพื่อปรบั ปรุง และพัฒนาการจัดการ เรยี นรู
ขอ มูลหลักฐานเชิงประจักษ แฟมขอมลู นักเรียนรายบุคคล แผนการจัดการเรียนรู บันทึกผลหลังสอน บันทึกการ
ตรวจเยยี่ มหองเรยี น/หองเรียนคณุ ภาพ บันทึกการใชสือ่ เทคโนโลยี บนั ทึกการเยีย่ มบาน คาํ ส่งั บันทึกรายงานการ
อบรม/สมั มนา/ประชุม/วิทยากร
แนวทางการพัฒนา สง เสริมการใหม ีชุมชนแหงการเรยี นรู PLC อยางเปน ระบบ

ลงนาม....................................................
(....................................................)
ผอู าํ นวยการโรงเรยี น

วนั ท่ี ๓๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กดั สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศกึ ษาเอกชน



ตอนท่ี ๒
ขอมลู พ้ืนฐาน

๑. ขอ มูลทั่วไป

๑.๑ โรงเรยี นอสิ าณโกศลศกึ ษา รหัส ๑๑๓๑๑๐๐๐๕๘
ทอี่ ยู : วัดอสิ าณ เลขท่ี ๒๗ ตาํ บลในเมือง อาํ เภอเมอื งบุรีรัมย จงั หวัดบุรรี มั ย รหสั ไปรษณยี  ๓๑๐๐๐
สังกดั : สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน ศกึ ษาธิการจงั หวัดบรุ รี ัมย
โทรศพั ท : ๐๔๔-๑๑๗๐๗๘ E –mail [email protected] Website http//isk.ac.th
Fanpage: โรงเรียนอิสาณโกศลศกึ ษา-บรุ รี มั ย
เปดสอน : ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๑ ถึงระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ๖
ประวัตโิ ดยยอ
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา เปน โรงเรยี นประเภทการกศุ ลของวดั ในพระพุทธศาสนา ตง้ั อยูบ นที่ดนิ
ธรณสี งฆในบริเวณวดั อสิ าณ มเี นื้อที่ ๔ ไร – ตารางวา
ทศิ เหนือ จด ชุมชุมฝง ละสม
ทิศใต จด โรงเรยี นเทศบาล ๒
ทิศตะวันออก จด โรงเรยี นเทศบาล ๒
ทิศตะวันตก จด สวนสาธารณะเมอื งบรุ ีรัมย
จดั ตงั้ เม่ือวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ โดยมติคณะกรรมการวัด และชุมชนวัดอิสาณ เพอื่ ใหโ อกาส
ทางการศึกษาแกผ ูดอยโอกาสไดเ รยี นอยางเทาเทยี มในสงั คม ซ่ึงเปดทําการเรียนการสอนเม่ือปก ารศกึ ษา
๒๕๕๐ ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ถึงระดับชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๖ มี พระครูวชริ -ธรรมารม เจาอาวาสวัด
อิสาณเปน ผรู บั ใบอนญุ าต มีนายบุญถงึ ประเมินมงคลกลุ เปน ผูจ ัดการและผูอํานวยการ คนแรกตอมาเดือน
สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๕๔ มกี ารเปลย่ี นแปลงผูอาํ นวยการโรงเรียน โดย นายบญุ ถึง ประเมนิ มงคลกลุ ไดลาออกจาก
ผอู ํานวยการโรงเรยี นและแตงตั้งให นายบญุ รอด ไกแ กว เปนผอู ํานวยการโรงเรียนแทน ตัง้ แต วันที่ ๑ เดือน
ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เปนตน มา และปจจบุ นั ไดจ ัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑

ทตี่ ้ังโรงเรยี น

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน



ขอ มลู ผบู ริหาร

๑. ผูร ับใบอนญุ าต/ผจู ดั การ ชื่อ-สกลุ พระครูวชริ ธรรมารม
- วุฒิการศึกษาสงู สดุ น.ธ.เอก, ปรญิ ญาตรีพุทธศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ,

ปริญญาโท พธ.ม. (พทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตสุรินทร
- ดํารงตาํ แหนงตั้งแต พ.ศ.๒๕๕๐ จนถงึ ปจจุบัน

๒. ผูอ าํ นวยการ ชื่อ-สกลุ นายบุญรอด ไกแ กว
- วฒุ ิการศึกษา พ.กศ., พ.ม., กศ.บ., น.บ., กศ.ม.(ประสานมิตร), ประกาศนยี บัตรบรหิ าร

การศกึ ษา ม.ฟลอริดา USA ดาํ รงตาํ แหนงผูอํานวยการ ต้ังแต วันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๔ – ปจจุบัน

ลกั ษณะผูร ับใบอนญุ าต
 บคุ คลธรรมดา
 นิติบุคคล
 หา งหนุ สวนจาํ กดั /บริษทั
 มลู นธิ ใิ นพทุ ธศาสนา/การกศุ ลของวัด
 มลู นิธิในครสิ ตศาสนา
 มูลนธิ ิในศาสนาอสิ ลาม
 อนื่ ๆ (ระบุ).................................

ประเภทโรงเรียน
 ประเภทโรงเรยี นในระบบ
 สามัญศกึ ษา
 การกศุ ลของวัด
 การศึกษาพิเศษ
 การศึกษาสงเคราะห
 ในพระราชูปถมั ภ
 สามญั ปกติ
 อิสลามควบคูส ามัญ

การจัดการเรียนการสอน
 ปกติ (สามัญศึกษา)
 English Program ไดร บั อนุญาตเม่ือ...................................................

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สงั กัดสํานักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน



๑.๒ จาํ นวนหอ งเรยี น/ผูเรยี นจําแนกตามระดบั ที่เปดสอน

ระดับท่เี ปดสอน จาํ นวนหอ งเรียน จาํ นวนผเู รียน จาํ นวนผูเรยี นที่มี รวมจาํ นวน
ปกติ ความตองการ ผเู รียน

หองเรียนปกติ หองเรียน EP ชาย หญงิ พเิ ศษ

๒๖ ๒๕ ชาย หญิง
๒๔ ๒๗
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ๑๙ ๓๔
๖๙ ๘๖
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ ๒ ๕๑
๑๗ ๓๓ ๕๑
มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ๒ ๘ ๒๓ ๕๓
๑๑ ๒๐ ๑๕๕
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ ๒ ๒๑๔ ๓๒๔
๑๐๕ ๑๖๒
รวม ๖

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

มัธยมศกึ ษาปที่ ๔ ๒ ๕๐
๓๑
มัธยมศกึ ษาปที่ ๕ ๒ ๓๓
๒๖๙
มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๖ ๒ ๒๖๙

รวม ๖

รวมทั้งสนิ้ ๑๒

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กดั สํานักงานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน



๑.๓ จาํ นวนครูและบุคลากรทางการศึกษา

๑.๓.๑ สรุปจาํ นวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จาํ แนกวุฒิการศกึ ษาและประเภท/ตาํ แหนง

ประเภท/ตําแหนง จํานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา รวม
ต่ํากวา ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก

๑. ผูบริหารสถานศกึ ษา

- ผูรบั ใบอนุญาต - -๑ - ๑

- ผูจัดการ - -๑ - ๑

- ผอู ํานวยการ - -๑ - ๑

- รอง/ผอู าํ นวยการ - ๓- - ๓

รวม - ๓ ๓ ๖

๒. ผสู อนการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

ระดับมธั ยมศึกษา

- ครูบรรจุ - ๑๐ ๑ - ๑๐

- ครูตางชาติ - ---

รวม - ๑๐ ๑ ๑๑

๓. บุคลากรทางการศกึ ษา ๑ ๑- - ๒

- เจาหนาท่ี ๑ --- ๑

๔.อื่นๆ (ระบุ)... -- -

- แมบ าน ๑ --- ๑

- นักการ ๑ --- ๑

รวม ๔ ๑ ๐ ๕

รวมทง้ั ส้ิน ๔ ๑๔ ๔ ๒๒

สรุปอัตราสว น

ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
ระดับมธั ยมศกึ ษา
จาํ นวนผเู รยี นตอ ครู ๒๕ : ๑
จํานวนผเู รยี นตอหอ ง ๒๕ : ๑

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กดั สํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน



๑.๓.๒ สรปุ จาํ นวนครูผูส อน จาํ แนกตามระดบั และกลมุ สาระการเรยี นรู
กรณีที่ ๑ ครูสอนหลายระดบั ชน้ั ใหก รอกขอมูลในระดบั ทม่ี ีจาํ นวนชั่วโมงสอนมากทสี่ ุด

ระดบั /กลมุ สาระการเรียนรู จํานวนครผู ูสอน
มัธยมศึกษา
ภาษาไทย
คณิตศาสตร ตรงเอก ไมตรงเอก
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
สงั คมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ✔
สุขศึกษาและพลศกึ ษา
ศิลปะ ✔
การงานอาชีพ
ภาษาตางประเทศ ✔











๑.๓.๓ สรุปจํานวนครูผสู อนกิจกรรมพฒั นาผเู รียน จาํ นวนครผู สู อน
มัธยมศกึ ษา
กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
๖๙
 กิจกรรมนกั เรียน ๘๖
- ลูกเสอื -
- เนตรนารี -
- ยุวกาชาด ๙
- ผบู าํ เพ็ญประโยชน ๒๕๙
- รกั ษาดนิ แดน (ร.ด.)
- กิจกรรมชุมนุม ชมรม ๒๕๙
- อื่นๆ...ใหระบุ ๒๕๙

 กิจกรรมแนะแนว
 กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน



๑.๓.๔ สรปุ จาํ นวนครูและบคุ ลากรทางการลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผบู าํ เพญ็ ประโยชน

ลูกเสือ/เนตรนารี จํานวน จาํ นวนวฒุ ิทางลูกเสอื การจดั ตั้งกองลูกเสอื

/ยุวกาชาด/ผูบาํ เพ็ญประโยชน ผบู งั คับบัญชา มวี ุฒิ ไมม ีวุฒิ จดั ต้ัง ไมจ ดั ตง้ั

ลกู เสือ เนตรนารี สาํ รอง - --- -

ลูกเสือ เนตรนารี สามัญ - --- -

ลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุนใหญ ๑๕ ๑๕ ✔

ลกู เสอื เนตรนารี วสิ ามญั - --- -

ยุวกาชาด - --- -

ผูบาํ เพญ็ ประโยชน - --- -

รวม ๑๕ ๑๕

๑.๓.๕ สรุปจาํ นวนครทู ท่ี ําหนาที่คัดกรอง และนักเรียนที่มคี วามตองการจาํ เปน พเิ ศษ

(กรณโี รงเรยี นมีนกั เรยี นพเิ ศษเรียนรวม)

จาํ นวนครทู ่ที าํ หนา ทค่ี ดั กรอง จํานวนนักเรียนพิเศษ

เขารบั หนว ยงานท่ีเขา รับการ ครูทไี่ ดร บั การขนึ้ ทะเบียน ครูทไ่ี ดรับเงนิ ขนึ้ ไมข้นึ
เปนผคู ดั กรองของ เพ่มิ พิเศษ ท้ังหมด ทะเบียน ทะเบียน
การอบรม อบรม กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ค.ก.)

- -- -

- -- -

- -- -

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน



๒. ขอมูลพนื้ ฐานแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

ปรชั ญา การพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
วสิ ัยทศั น
พันธกิจ “วิชชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น ถงึ พรอมดวยความรูและความประพฤตดิ ี”

เปาหมาย “โรงเรยี นรากหญา ตัวอยา งสรา งโอกาส เรียนฟรี ดจี รงิ มีคุณภาพ”
ยุทธศาสตรหรอื กลยุทธ
๑. สรางเสริมความรู ความรกั ความอบอุน ความสุขใหนกั เรยี น
เอกลักษณ ๒. สรา งเสรมิ ใหโ รงเรียนเปน องคก รแหง การเรียนรู เปน โรงเรยี นราก
อตั ลกั ษณ หญามศี ักดิ์ศรีเปน ท่ีไวว างใจ
ของชุมชน
๓. สงเสริม สนับสนนุ ใหน กั เรียนทุกคนมีคุณภาพ แสวงหาความรูได
ดวยตนเองตลอดชีวิต มคี วามสามารถดานการคดิ วิเคราะห การใช
เทคโนโลยี และภมู ปิ ญญาทองถน่ิ
๔. จัดการศกึ ษาตามแนววถิ ีพทุ ธเพื่อใหผูเ รยี นมีความมั่นใจกลา คดิ
กลาแสดงออก มคี ณุ ธรรม จริยธรรม รักษว ฒั นธรรมไทย
๕. ประสานความรวมมือกับชมุ ชน องคก รภาครัฐและเอกชน และภาคี
เครอื ขายในการพัฒนาสถานศึกษา

เปนโรงเรยี นการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาช้ันนาํ แหงแรกของ
จังหวัดบุรีรัมย มคี ณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา ผูปกครอง ชุมชนและสงั คม
ใหก ารยอมรบั และสามารถจัดการศึกษาใหกบั เยาวชนและชมุ ชนไดอ ยาง
ทัว่ ถงึ

กลยุทธที่ ๑ พฒั นาคณุ ภาพผูเรยี นตามหลกั สูตรโรงเรียนและ
กระบวนการจัดการเรยี นรู

กลยทุ ธท ี่ ๒ พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การโรงเรียน และระบบประกนั
คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาใหมีประสิทธภิ าพ

กลยุทธที่ ๓ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหสามารถจดั การ
เรียนการสอนไดอยางมีคุณภาพ

กลยทุ ธท ่ี ๔ พฒั นาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ สอ่ื การเรยี นรู และ
แหลงเรยี นรูตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กลยุทธท่ี ๕ พัฒนาระบบภาคเี ครือขาย ทรัพยากรทางการศึกษา
และ การมสี ว นรว มทุกภาคสวน

“เรียนฟรี มีความรู คคู ุณธรรม”

“โรงเรยี นการกศุ ล ทกุ คนเรียนฟรี”

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการสงเสริมการศกึ ษาเอกชน

๓. ผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปข องสถานศกึ ษา

ยุทธศาสตรตามแผนฯ โครงการ เปาหมาย
ของโรงเรียน
คณุ ภาพ
ปรมิ าณ
(จาํ นวน)

ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

ยุทธศาสตร ท่ี ๑ ๑. โครงการTFE (Teams ๒๖๙ 1) รอยละของนกั เร
๒๖๙ ความสามารถในกา
พัฒนาคุณภาพผเู รยี น For Education) เพ่ือ เขียน การ สอื่ สาร
คดิ คาํ นวณตามเกณ
ตามหลกั สตู รโรงเรียน ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ แตละระดบั ชนั้

และกระบวนการ ทางการเรียน 2) รอยละของนกั เร
ความสามารถในกา
จัดการเรยี นรู วิเคราะห คดิ วจิ าร
อภิปรายแลกเปลยี่ น
๒. โครงการวนั คิดเห็นและแกปญห

ภาษาไทย 3) รอ ยละของนกั เร
ความสามารถในกา
๓. กิจกรรมสัปดาหว นั เทคโนโลยี สารสนเ
วทิ ยาศาสตร การส่อื สาร

๔. สงเสริมผูเรียน ใหมี ๒๖๙ 4) รอยละของนกั เร
จิตสาธารณะ อนุรักษ ความกาวหนา ทางก
สง่ิ แวดลอ ม ตามหลักสตู ร

๒๖๙

รายงานผ

๑๐

ผลสําเร็จ *** ***
สอดคลองกบั สอดคลองกบั ตัวชี้วดั
ปริมาณ คุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ยุทธศาสตร สช. ประเดน็ การติดตาม
(รอ ยละ) ของสถานศกึ ษา
ประเมนิ ผลของ
กระทรวงศึกษาธิการ

รียนทม่ี ี ๗๐ มาตรฐานท่1ี ยุทธศาสตรท ี่1 ตัวช้ีวัดที่ 2
ารอาน ๗๐ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 3
และการ ๗๐ ตวั ชี้วัดท่ี 6
ณฑข อง ๗๐ ตัวชี้วัดท่ี 7
ตวั ชี้วดั ที่ 8
รียนทม่ี ี ตวั ชว้ี ัดท่ี 9
ารคดิ
รณญาณ
ยนความ
หา
รยี นทีม่ ี
ารใช
เทศ และ

รยี นที่มี
การเรียน

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

ยุทธศาสตรตามแผนฯ โครงการ เปาหมาย
ของโรงเรียน
คุณภาพ
ปริมาณ
(จํานวน)

ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

ยุทธศาสตร ที่ ๑ ๑ ๕. โครงคายพทุ ธบุตร ๒๖๙ ๑) มีคณุ ลกั ษณะอัน
พฒั นาคุณภาพผเู รยี น
ตามหลักสูตรโรงเรียน ๖. โครงการวนิ ัยและ ประสงค ๘ ประกา

และกระบวนการ ประชาธิปไตยใน ขัดกบั กฎหมายและ
จดั การเรยี นรู
โรงเรยี น วัฒนธรรมอันดีของ

๒๖๙ ๒) ความภูมิใจในท

๗. โครงการปอ งกัน และความเปน
และแกไขปญ หายา
เสพตดิ ภายใน ๒๖๙ ๓) ยอมรบั ทีจ่ ะอยรู
สถานศกึ ษา ความ แตกตา งและ
หลากหลาย

๒๖๙ ๔) สุขภาวะทางราง

๘.โครงการ อกศ. ฟุต ลกั ษณะจิต สงั คม

ซอลคพั

รายงานผ

๑๑

ผลสาํ เร็จ *** ***
สอดคลอ งกับ สอดคลอ งกบั ตัวชว้ี ดั
ปริมาณ คณุ ภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร สช. ประเด็นการติดตาม
(รอยละ) ของสถานศกึ ษา
ประเมนิ ผลของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

นพงึ ๗๐ มาตรฐานท๑่ี .๒ ยุทธศาสตรท ่ี ๑ ตวั ชี้วัดท่ี ๒
าร โดยไม ๗๐ ตวั ช้วี ดั ท่ี ๓
ะ ตัวช้วี ดั ที่ ๖
งสงั คม ตัวชี้วดั ที่ ๘

ทองถิ่น

รว มกันบน ๗๐
ะความ

งกาย และ ๗๐

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน

ยทุ ธศาสตรตามแผนฯ โครงการ เปาหมาย
ของโรงเรียน
คณุ ภาพ
ปริมาณ
(จํานวน)

ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ยุทธศาสตร ที่ ๒ ๑. การจดั ระบบ ๑. โรงเรยี นมเี ปา หม
วสิ ยั ทศั น และพนั ธ
พัฒนาระบบบรหิ าร บรหิ ารและ ชัดเจน

จัดการโรงเรยี น สารสนเทศทีพ่ รอ มใช ๒. มกี ารพัฒนามาต
การศกึ ษา
และระบบประกัน งาน
๓. มีการจดั ทาํ แผน
คุณภาพภายใน ๒. การพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษา

สถานศึกษาใหม ี มาตรฐานการศึกษา ๔. การกาํ กบั ตดิ ตา
ประสิทธภิ าพ ประเมินผลการบรหิ
ของสถานศึกษา การจัดการศึกษา

๓. การจัดทำ

แผนพัฒนาคณุ ภาพ

การศึกษา

๔. ดําเนินงาน

แผนพัฒนาการศึกษา

ของสถานศึกษาทีม่ งุ

คณุ ภาพการศกึ ษาของ

สถานศกึ ษา

รายงานผ

๑๒

ผลสาํ เร็จ *** ***
สอดคลองกับ สอดคลองกับตัวชว้ี ดั
ปริมาณ คณุ ภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ยุทธศาสตร สช. ประเดน็ การติดตาม
(รอยละ) ของสถานศกึ ษา
ประเมนิ ผลของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

มาย มี มาตรฐานท๑่ี .๒ ยุทธศาสตรท ่ี ๑ ตัวชวี้ ดั ที่ ๒
ธกิจ ที่ ตัวชว้ี ัดท่ี ๓
ตวั ชี้วดั ท่ี ๖
ตรฐาน มี ตัวชว้ี ดั ที่ ๘

นพัฒนา มี

าม มี
หารและ

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กัดสาํ นักงานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

ยทุ ธศาสตรตามแผนฯ โครงการ เปาหมาย
ของโรงเรียน
คุณภาพ
ปริมาณ
(จํานวน)

ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

ยุทธศาสตร ท่ี ๓ ๑ พัฒนาบุคลากรครู บุคลากรครมู คี วามส
ในการผลติ สอ่ื การเ
พัฒนาครแู ละ และผลติ ส่ือการเรยี น สอนออนไลน

บุคลากรทางการ การสอน รอ ยละของครทู ่ี ผ
ประชมุ สมั มนา ฝก
ศึกษาใหสามารถ ศกึ ษาดงู านอยางนอ
เรยี นละ ๑ คร้ัง
จัดการเรยี นการ ๒. ประชมุ สัมมนา
สอนไดอยา งมี ฝก อบรม
คณุ ภาพ
ศกึ ษาดูงาน

และนิเทศแบบ

กลั ยาณมิตร

๓. สงเสรมิ สนบั สนนุ รอยละของครูทจ่ี ดั ก
ใหค รจู ัดการเรยี นรไู ด การสอนโดยเนน ผเู
อยางมีคณุ ภาพ สาํ คัญ

รายงานผ

๑๓

ผลสาํ เร็จ *** ***
สอดคลอ งกบั สอดคลองกับตัวชีว้ ดั
ปริมาณ คุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร สช. ประเด็นการติดตาม
(รอยละ) ของสถานศึกษา
ประเมนิ ผลของ
กระทรวงศึกษาธิการ

สามารถ มี มาตรฐานที่ ๓ ยุทธศาสตรท ี่ ๓ -
เรยี นการ

ผานการ มี
กอบรม
อย ภาค

การเรยี น มี
เรยี นเปน

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

ยทุ ธศาสตรตามแผนฯ โครงการ เปาหมาย
ของโรงเรียน
คณุ ภาพ
ปริมาณ
(จํานวน)

ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

ยทุ ธศาสตร ท่ี ๔ ๑. จดั หา Hardware โรงเรียนมี Hardwa
สาํ หรับการบรหิ ารจ
พัฒนาระบบ และSoftware เพยี งพอกบั ความต

เทคโนโลยี สาํ หรบั การบรหิ าร โรงเรียนมีภูมทิ ศั นท
สวยงาม นา อยนู าเร
สารสนเทศ สอื่ การ จัดการและการจัดการ ความปลอดภยั และ
การจดั กิจกรรมการ
เรยี นรู และแหลง เรียนรูใหกบั ผเู รยี น สอนตามปรชั ญาขอ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
เรยี นรตู ามปรัชญา ๒. ปรบั ปรงุ ดแู ลและ เปนประชาคมอาเซ
ของเศรษฐกิจ
พฒั นาภูมทิ ศั นของ
พอเพียง
โรงเรียนใหร ม รื่น

สวยงาม นาอยนู า

เรยี นมีความปลอดภัย

และเอ้ือตอ การจัด

กจิ กรรมการเรยี นการ

สอน

รายงานผ

๑๔

ผลสาํ เร็จ *** ***
สอดคลอ งกบั สอดคลอ งกบั ตัวชีว้ ดั
ปรมิ าณ คุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ยุทธศาสตร สช. ประเดน็ การติดตาม
(รอ ยละ) ของสถานศึกษา
ประเมินผลของ
กระทรวงศึกษาธิการ

are มี มาตรฐานท๑ี่ .๒ ยุทธศาสตรท ี่ ๕ -
จดั
ตอ งการ

ทรี่ มรื่น มี
รยี นมี
ะเออ้ื ตอ
รเรยี นการ
อง
และความ
ซยี น

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา สงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน

ยุทธศาสตรตามแผนฯ โครงการ เปาหมาย
ของโรงเรียน
คณุ ภาพ
ปรมิ าณ
(จํานวน)

ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

ยทุ ธศาสตร ที่ ๕ ๑. โครงการเย่ียมบาน ๑. ไดพบปะผูปกคร

พัฒนาระบบภาคี นักเรียน นักเรียนแลกเปลยี่ น

เครอื ขา ย เพือ่ นาํ มาพฒั นารว

ทรัพยากรทางการ ๒. แหเทียนเขาพรรษา ๒. ไดร ว มกบั ชมุ ชน
ศกึ ษา และ การมี ประจาํ ป
สวนรวมทกุ ภาค หนองปรือ สงนักเร

รว มเดินขบวนและร
สว น แขง ขนั ฟอนราํ ในกจิ

เทยี นเขา พรรษา

๓.ผาปา เพอ่ื การศึกษา ๓. ไดร ว มกับตัวแท

ผปู กครองและนักเร

ผาปาเพอ่ื การศกึ ษา

สนับการการจดั การ

ของโรงเรยี น

*** ยุทธศาสตรข องสาํ นักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล

ยุทธศาสตรท ่ี 2 การปฏิรูประบบทรพั ยากรเพื่อการศึกษาเอกชน

ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรางประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

ยุทธศาสตรท ่ี 4 การสงเสรมิ การมีสว นรว มในการจัดและสนบั สนนุ การศกึ ษาเอกชน

ยุทธศาสตรท ี่ 5 การสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบเพื่อสรา งสังคมแหงการเรยี นรู

ยุทธศาสตรท ี่ 6 การพัฒนาการศึกษาเอกชนในพื้นท่จี ังหวัดชายแดนภาคใต

ยุทธศาสตรท ่ี 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสงเสริมการศึกษาเอกชน

*** ตวั ชว้ี ัดประเดน็ การติดตามประเมินผลของกระทรวงศึกษาธิการ ปรากฏอยูห นา 17 ขอ 7

รายงานผ

๑๕

ผลสาํ เร็จ *** ***
สอดคลอ งกับ สอดคลอ งกบั ตัวช้วี ดั
ปริมาณ คุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร สช. ประเดน็ การติดตาม
(รอยละ) ของสถานศึกษา
ประเมินผลของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

รอง มี มาตรฐานที่ ๑.๒ ยุทธศาสตรท ่ี ๔ -
นปญ หา มี
วมกัน
นบาน มี
รยี นเขา
รว ม
จกรรมแห

ทนชมุ ชน
รยี นจัด
า เพอ่ื
รศึกษา

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กดั สํานกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

๑๖

๔. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผเู รียน
ระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

๔.๑ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET)

๑) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓

คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบ (O-NET) *** *** ***
ระดบั
จาํ นวน จํานวน ประเทศ 2560 2561 2562 ผลตาง รอ ยละของ แปลผล
นักเรยี น นักเรียน ป 2562 (1) (2) (3)
วิชา ท้งั หมด ทเ่ี ขา สอบ คะแนน คะแนน พัฒนาการเทยี บกับ

เฉลย่ี เฉล่ยี รอยละ 3

(4) (5) (6)

ภาษาไทย ๕๓ ๔๖ ๕๕.๑๔ ๔๑.๔๔ ๔๓.๐๗ ๔๕.๐๐ ๑.๙๓ ๔.๔๘ มีพัฒนาการ

ภาษาอังกฤษ ๕๓ ๔๖ ๓๓.๒๕ ๒๔.๖๙ ๒๕.๓๘ ๒๖.๔๓ ๑.๐๕ ๔.๑๔ มีพัฒนาการ

คณติ ศาสตร ๕๓ ๔๖ ๒๖.๗๓ ๑๘.๓๑ ๒๔.๐๐ ๒๑.๓๐ -๒.๗๐ -๑๑.๒๕ ไมมพี ัฒนาการ

วิทยาศาสตร ๕๓ ๔๖ ๓๐.๐๗ ๒๘.๕๐ ๒๙.๐๕ ๒๘.๘๓ -๐.๒๒ -๐.๗๖ ไมม ีพัฒนาการ

*** (4) = (3) – (2) กรณที ี่มีผลตา งคะแนนเฉลย่ี (4) ตดิ ลบ ใหใสเ ครอื่ งหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 รอยละของคะแนนเฉล่ยี (5) ใหใสเ คร่ืองหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีคา รอยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ตัง้ แต 3.00 ขึน้ ไป แปลผลวา “มีพัฒนาการ”

มคี า รอ ยละของคะแนนเฉลีย่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา “มพี ัฒนาการแตไมถ ึงรอยละ

3”

มีคารอ ยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ตดิ ลบ แปลผลวา “ไมม ีพัฒนาการ”

กราฟเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET)
ปก ารศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๒ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓

๕๐.๐๐

๔๐.๐๐

๓๐.๐๐

๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐ ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร
ภาษาไทย

ป ๒๕๖๐ ป ๒๕๖๑ ป ๒๕๖๒

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา สังกัดสํานกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน

๑๗

๒) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๖

คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบ (O-NET) *** *** ***
ระดับ
จาํ นวน จํานวน ประเทศ ผลตา ง รอยละของ แปลผล
นกั เรียน นกั เรียน ป 2562
วิชา ทั้งหมด ท่เี ขา สอบ 2560 2561 2562 คะแนน คะแนน พัฒนาการเทียบกับ
๔๒.๒๑ (1) (2) (3)
ภาษาไทย ๓๓ ๒๙ ๒๙.๒๐ เฉลยี่ เฉล่ยี รอยละ 3
ภาษาอังกฤษ ๓๓ ๒๙ ๒๕.๔๑
คณิตศาสตร ๓๓ ๒๙ ๒๙.๒๐ (4) (5) (6)
วทิ ยาศาสตร ๓๓ ๒๙
สังคมศึกษา ๓๙.๓๔ ๒๙.๓๐ ๓๒.๑๙ ๒.๘๙ ๙.๘๖ มพี ัฒนาการ
ศาสนาและ ๒๑.๓๐ ๒๑.๐๑ ๒๒.๒๐
วัฒนธรรม ๑๕.๗๑ ๑๘.๖๙ ๑๕.๑๗ ๑.๑๙ ๕.๖๖ มพี ัฒนาการ
๒๔.๖๕ ๒๔.๗๘ ๒๓.๔๗
-๓.๕๒ -๑๘.๘๓ ไมมพี ฒั นาการ

-๑.๓๑ -๕.๒๙ ไมมพี ัฒนาการ

มีพฒั นาการแตไ ม

๓๓ ๒๙ ๓๕.๗๐ ๒๙.๗๗ ๒๗.๗๘ ๒๓.๔๗ ๐.๒๑ ๐.๗๑ ถึงรอยละ ๓

*** (4) = (3) – (2) กรณที ีม่ ผี ลตา งคะแนนเฉลยี่ (4) ตดิ ลบ ใหใสเ คร่อื งหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 รอยละของคะแนนเฉลีย่ (5) ใหใสเ ครอ่ื งหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มคี า รอยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ต้ังแต 3.00 ข้ึนไป แปลผลวา “มพี ัฒนาการ”

มคี า รอ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา “มพี ัฒนาการแตไมถ ึงรอ ยละ

3”

มคี า รอ ยละของคะแนนเฉลีย่ (5) ตดิ ลบ แปลผลวา “ไมม ีพฒั นาการ”

กราฟเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET)
ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๐-๒๕๖๒ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ ๖

๕๐.๐๐

๔๐.๐๐

๓๐.๐๐

๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐ สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร
ภาษาไทย

ป ๒๕๖๐ ป ๒๕๖๑ ป ๒๕๖๒

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กดั สํานกั งานคณะกรรมการสงเสริมการศกึ ษาเอกชน

๑๘

๔.๒ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

ระดับผลการเรยี น (ภาคเรียนที่ ๒)

ม.๑ ม.๒ ม.๓
จาํ นวน
กลุมสาระ จาํ นวน จาํ นวน นกั เรียนท่มี ี
การเรยี นร/ู รายวชิ า ผลระดับ
จํานวน นกั เรียนท่ี รอยละ จํานวน นักเรียนทมี่ ี รอ ยละ จาํ นวน ๓ ขน้ึ ไป รอ ยละ
ภาษาไทย นกั เรียน มีผลระดบั นักเรียน ผลระดับ นกั เรยี น
คณติ ศาสตร ๖ ๑๑
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๓ ขึ้นไป ๓ ขึ้นไป ๕๑
สังคมศกึ ษา ศาสนา ฯ ๒๗ ๒๓
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๕๑ ๓ ๖ ๕๑ ๒๖ ๕๑ ๕๓ ๑๐๐
ประวัตศิ าสตร ๑๒ ๓๘
ศลิ ปะ ๕๑ ๑๖ ๓๑ ๕๑ ๘ ๑๖ ๕๓ ๒๖
การงานอาชพี ๕๓ ๑๙
ภาษาตา งประเทศ ๕๑ ๖ ๑๒ ๕๑ ๑๕ ๒๙ ๕๓ ๒๐ ๔๒
๗๙
๕๑ ๒๕ ๔๙ ๕๑ ๑๒ ๒๔ ๕๓ ๑๔

๕๑ ๒๖ ๕๑ ๕๑ ๒๕ ๔๙ ๕๓ ๑๐

๕๑ ๓๗ ๗๓ ๕๑ ๑๑ ๒๒ ๕๓ ๒๒

๕๑ ๑๑ ๒๒ ๕๑ ๑๑ ๒๒ ๕๓ ๔๒

๕๑ ๗ ๑๔ ๕๑ ๔ ๘ ๕๓

๕๑ ๓๑ ๖๑ ๕๑ ๒๑ ๔๑ ๕๓

ผลการเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ ๑ ทมี่ ผี ลการเรียนต้งั แต ๓ ขนั้ ไป

๘๐ ๗๓
๗๐ ๖๑
๖๐ ๔๙ ๕๑
๕๐
๔๐ ๓๗
๓๐ ๓๑ ๒๕ ๓๑
๒๐ ๒๖ ๒๒
๑๐ จาํ นวนนกั เรยี น
๑๖ ๖ ๑๒ ๑๑ ๑๔ ผลการเรยี น 3 ขนึ ไป
๓๖ ๗ รอ้ ยละ



ในภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๒ ผลการเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑ นักเรียนท่ีมผี ลการเรียนตง้ั แต
๓.๐๐ ขนึ้ ไป มากทสี่ ุดคอื รายวิชาประวัติศาสตร คดิ เปน รอ ยละ ๗๒.๕๕ รองลงมาคือ รายวิชา
ภาษาองั กฤษ คิดเปนรอยละ ๖๐.๗๘

ผลการเรียนตง้ั แต ๓.๐๐ ขน้ึ ไป นอยที่สุด คอื ภาษาไทย คิดเปน รอ ยละ ๕.๘๘

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกดั สํานักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน

๑๙

ผลการเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ท่ีมีผลการเรียนตงั้ แต ๓ ขั้นไป

๖๐ ๕๑ ๔๙
๕๐ ๔๑
๔๐
๓๐ ๒๖ ๒๙ ๒๔ ๒๕ ๒๒ ๒๒ ๒๑
๒๐ ๑๖ ๑๕
๑๐ ๘ ๑๒ ๑๑ ๑๑ ๔๘ จาํ นวนนกั เรียน
ผลการเรียน 3 ขนึ ไป
๐ รอ้ ยละ

ในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๒ ผลการเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๒ นักเรียนทมี่ ผี ลการเรยี นตั้งแต
๓.๐๐ ขึน้ ไป มากที่สุดคือ รายวชิ าภาษาไทย คดิ เปนรอยละ ๕๐.๙๘ รองลงมาคือ รายวิชาสขุ ศึกษา
และพลศึกษา คดิ เปน รอยละ ๔๙.๐๒

ผลการเรียนต้งั แต ๓.๐๐ ข้ึนไป นอ ยทสี่ ุด คือ การงานอาชพี คดิ เปนรอ ยละ ๗.๘๔

ผลการเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๓ ที่มผี ลการเรียนตงั้ แต ๓ ข้ันไป

๑๒๐ ๗๙.๒๕

๑๐๐.๐๐

๑๐๐
๘๐

๖๐ ๕๐.๙๔ ๕๓ ๔๑.๕๑ ๔๒
๔๐ ๒๒
๒๐ ๒๗ ๒๒.๖๔ ๓๗.๗๔ ๒๖.๔๒ ๑๘.๘๗ จาํ นวนนกั เรียน
๑๒ ๒๐ ๑๔ ๑๐ ผลการเรยี น 3 ขนึ ไป
๖๑๑.๓๒ รอ้ ยละ



ในภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๒ ผลการเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓ นักเรียนที่มผี ลการเรียนตั้งแต
๓.๐๐ ขน้ึ ไป มากทสี่ ุดคอื รายวิชาสังคมศกึ ษา คิดเปน รอยละ ๑๐๐ รองลงมาคือ รายวชิ า
ภาษาองั กฤษ คิดเปนรอ ยละ ๗๙.๒๕

ผลการเรยี นตงั้ แต ๓.๐๐ ขน้ึ ไป นอ ยที่สุด คอื ภาษาไทย คิดเปน รอ ยละ ๑๑.๓๒

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สงั กัดสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

๒๐

๔.๓ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ระดบั ผลการเรยี น (ภาคเรียนที่ ๒)

ม.๔ ม.๕ ม.๖
จํานวน
กลุม สาระ จาํ นวน จํานวน นักเรียนทม่ี ี
ผลระดบั
การเรยี นร/ู รายวชิ า จาํ นวน นกั เรยี นที่ รอ ยละ จาํ นวน นักเรยี นท่มี ี รอ ยละ จาํ นวน ๓ ขึ้นไป รอยละ
นกั เรียน มีผลระดบั นักเรียน ผลระดบั นักเรียน
๓ ๙
๓ ขึ้นไป ๓ ข้นึ ไป ๐
๑๐ ๓๐
ภาษาไทย ๕๐ ๒ ๔ ๓๑ ๓ ๑๐ ๓๓ ๑๑ ๓๓
๒๕ ๗๖
คณติ ศาสตร ๕๐ ๒ ๔ ๓๑ ๑ ๓ ๓๓ ๐
๑๔ ๔๒
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕๐ ๖ ๑๒ ๓๑ ๑๑ ๓๕ ๓๓ ๑๘ ๕๕
๑๔ ๔๒
สงั คมศึกษา ศาสนา ฯ ๕๐ ๓ ๖ ๓๑ ๑๘ ๕๘ ๓๓

สุขศึกษาและพลศึกษา ๕๐ ๑๐ ๒๐ ๓๑ ๑๑ ๓๕ ๓๓

ประวัตศิ าสตร ๕๐ ๐ ๓๑ ๐ ๓๓

ศิลปะ ๕๐ ๑๓ ๒๖ ๓๑ ๗ ๒๓ ๓๓

การงานอาชพี ๕๐ ๑๔ ๒๘ ๓๑ ๐ ๓๓

ภาษาตา งประเทศ ๕๐ ๑๐ ๒๐ ๓๑ ๗ ๒๓ ๓๓

ผลการเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๔ ที่มผี ลการเรียนตัง้ แต ๓ ข้นั ไป

๖๐

๕๐

๔๐ ๒๖ ๒๘
๑๓ ๑๔
๓๐ ๒๐ ๒๐
๒๐ ๖ ๑๒ ๓ ๖ ๑๐ ๑๐
๑๐ ๒๔ ๒๔ จาํ นวนนกั เรยี น
๐ จาํ นวนนกั เรียนทีมีผลระดบั 3 ขนึ ไป
๐ รอ้ ยละ

ในภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๒ ผลการเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๔ นกั เรียนทีม่ ีผลการเรยี นตงั้ แต
๓.๐๐ ขึน้ ไป มากทส่ี ดุ คือ รายวชิ าการงานอาชพี คดิ เปน รอยละ ๒๘ รองลงมาคือ รายวชิ าศิลปะ
คดิ เปนรอ ยละ ๒๕

ผลการเรยี นตง้ั แต ๓.๐๐ ข้นึ ไป นอ ยที่สุด คือ ภาษาไทย และ คณติ ศาสตร คิดเปน รอ ยละ ๔

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

๒๑

ผลการเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๕ ท่มี ีผลการเรยี นตงั้ แต ๓ ขน้ั ไป

๗๐ ๕๘
๖๐
๕๐
๔๐ ๓๕ ๓๕

๓๐ ๓๑๐ ๑ ๓ ๑๑ ๑๘ ๑๑ ๒๓ ๒๓
๒๐
๑๐ ๗ ๐๗ จาํ นวนนกั เรียน
จาํ นวนนกั เรยี นทีมีผลระดบั 3 ขนึ ไป


รอ้ ยละ

ในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๒ ผลการเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๕ นกั เรียนท่ีมีผลการเรยี นตงั้ แต
๓.๐๐ ขึ้นไป มากท่สี ุดคือ รายวชิ าสงั คมศึกษา คดิ เปน รอยละ ๕๘ รองลงมาคือ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร
และสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา คิดเปนรอ ยละ ๓๕

ผลการเรียนตงั้ แต ๓.๐๐ ขึ้นไป นอยทสี่ ดุ คอื การงานอาชพี คิดเปนรอยละ ๐

ผลการเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที่ ๖ ทม่ี ผี ลการเรียนต้งั แต ๓ ขัน้ ไป

๘๐ ๗๖

๖๐ ๓๐ ๓๓ ๒๕ ๕๕
๐ ๑๐ ๑๑ ๔๒ ๔๒ จาํ นวนนกั เรยี น
๔๐ ๑๔ ๑๘ ๑๔ จาํ นวนนกั เรียนทีมผี ลระดบั 3 ขนึ ไป
๒๐ ๓ ๙


รอ้ ยละ

ในภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๒ ผลการเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๖ นกั เรยี นที่มีผลการเรียนตัง้ แต
๓.๐๐ ขึน้ ไป มากท่สี ุดคอื รายวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา คิดเปนรอยละ ๘๖ รองลงมาคือ รายวชิ า
การงานอาชพี คิดเปนรอ ยละ ๕๕

ผลการเรียนตง้ั แต ๓.๐๐ ขึ้นไป นอ ยท่สี ุด คอื คณติ ศาสตร คดิ เปน รอยละ ๐

๕. นวตั กรรม/แบบอยางทด่ี ี (Innovation /Best Practice )

ช่ือ นวัตกรรม/แบบอยา งทด่ี ี มาตรฐานดา น ระดบั การศึกษา
การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
๑. Isan Model คุณภาพผูเรียน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

๒๒

๖. ผลงานท่ีสถานศึกษาไดร บั ในรอบปก ารศึกษา ๒๕๖๒
๖.๑ ปก ารศกึ ษาปจ จบุ ัน

ประเภท ระดับรางวัล/ช่ือรางวลั ที่ไดรับ หนวยงานทม่ี อบ
รางวัล
โรงเรยี น สถานศึกษานํารองการพัฒนาแนวทางหรือรูปแบบการ
ผบู รหิ าร จัดการเรียนรูเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพทางการศึกษา สํานกั งานปลดั กระทรวง
ระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน ( O-NET ) ศกึ ษาธิการ
นายบุญรอด ไกแกว
รางวลั ผูบรหิ ารดเี ดน ของกลุมโรงเรียนการกศุ ล สช
นายบวั ทอง อดิดรัมย ของวัดในพระพทุ ธศาสนา
นางวาสนา ตณั ฑส ุระ โลร างวัล “ครเู อกชนดเี ดน ” กระทรวงศึกษาธกิ าร
(Private Teacher Award)
นายชาตรี จะรอนรัมย สอนนกั เรยี นไดร บั รางวลั เหรยี ญทองแดง สพม.๓๒
การแขงขัน : เรยี งรอยถอยความ(การเขียน (บรุ รี ัมย ๑)
เรียงความ) ม.๑-ม.๓
สอนนักเรียนไดร บั รางวลั เหรียญเงนิ สพม.๓๒
การแขง ขนั : เรยี งรอ ยถอยความ(การเขียน (บรุ ีรมั ย ๑)
เรยี งความ) ม.๔-ม.๖
โลร างวัล “ครูเอกชนดีเดน” กระทรวงศกึ ษาธิการ
(Private Teacher Award)
รางวลั ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาดีเดน โรงเรยี นเอกชน สช
จังหวัดบรุ รี ัมย
สอนนักเรยี นรางวลั ชนะเลศิ อันดบั ๒ ม.ราชภัฎบรุ ีรมั ย
การแขงขนั : การพดู ทางวทิ ยาศาสตร งาน
สปั ดาหว นั วิทยาศาสตร ประจําป ๖๒ สพม.๓๒
สอนนกั เรียนไดร ับรางวลั เหรียญเงิน (บุรรี ัมย ๑)
การแขง ขนั การแสดงทางวทิ ยาศาสตร (Science
Show) ม.๔-ม.๖ สพม.๓๒
สอนนกั เรียนไดรับรางวลั เหรียญเงนิ (บุรีรัมย ๑)
การแขง ขนั การแสดงทางวิทยาศาสตร (Science
Show) ม.๑-ม.๓

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน

๒๓

ผลงานดีเดน (ตอ )

ประเภท ระดบั รางวลั /ชื่อรางวัลท่ีไดรับ หนว ยงานที่
ครู มอบรางวลั

นางเกษร ขุมทอง รางวลั ครูดีเดน สช

นางสาวปยรนนั ท ตะอาจ รางวลั ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาดีเดน กระทรวงศึกษาธิการ

ครูผสู อนนักเรยี นระดับเหรยี ญทอง อันดบั ๑

ระดบั ภาค จงั หวดั อุดรธานี สช
การแขงขนั : การแขงขนั เรียงรอยถอยความ

(เขยี นเรียงความ) ชว งชัน้ ม.๔-ม.๖

ครผู สู อนนกั เรียนรางวลั เหรียญทองแดง สพม.๓๒

การแขง ขัน :การแขงขนั คดั ลายมือสอื่ (บรุ รี มั ย ๑)

ภาษาไทย ม.1-ม.3

รางวัลครผู สู อนดเี ดน ของกลุม โรงเรยี นการ สช
กุศลของวัดในพระพุทธศาสนา

รางวัลครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาดีเดน กระทรวงศึกษาธิการ
สอนนักเรียนไดรบั รางวลั เหรียญทอง อันดบั ท่ี
๔ ระดับประเทศ จ.ศรีษะเกษ สพฐ

การแขงขนั : เพลงไทยลูกทุงระดับ ม.ตน ๑-๓

สอนนกั เรยี นไดร บั รางวัล เหรยี ญทอง อนั ดบั ที่ สช
๓ ระดับภาค จงั หวัดอดุ รธานี

การแขงขัน : เพลงไทยลูกทุงระดับ ม.ตน ๑-๓

สอนนกั เรียนไดรับรางวัลเหรยี ญทอง สพม.๓๒

การแขงขนั : ขบั รอ งเพลงไทยลกู ทงุ ประเภท (บรุ รี มั ย ๑)

ชาย ม.๑-ม.๓

สอนนกั เรียนไดร ับรางวัลเหรยี ญเงนิ สพม.๓๒

การแขงขัน: ขับรองเพลงไทยลกู ทุง ประเภท (บุรีรมั ย ๑)

ชาย ม.๔-ม.๖

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน

๒๔

ผลงานดเี ดน (ตอ )

ประเภท ระดับรางวลั /ชื่อรางวลั ท่ไี ดร ับ หนว ยงานท่ี
มอบรางวัล
นางนภาพรรณ สอนบุญชู รางวลั ครดู เี ดน
นางพมิ พชนก แพนแกว รางวัลครแู ละบุคลากรทางการศึกษาดีเดน กระทรวงศึกษาธิการ
นายอาํ นาจณรงค สาระศรี สอนนกั เรยี นไดรับรางวลั เหรียญเงิน สพม.๓๒
นางสาวกติ ตยิ วดี วรรธนะโกเมศ การแขง ขนั การแสดงทางวทิ ยาศาสตร (บรุ ีรมั ย ๑)
นายทองสว น งามปญญา (Science Show) ม.1-ม.3
นักเรยี น รางวัลครูดเี ดน สช
นางสาวอารยี า อาญาเมือง สอนนกั เรยี นไดรับรางวลั เหรยี ญเงนิ การแขง ขนั สพม.๓๒
ตอบปญ หาสุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.๑-ม.๓ (บุรีรมั ย ๑)
นายอรรถพล คามวาสี สอนนักเรียนไดรบั รางวลั เหรียญทอง สพม.๓๒
การแขงขนั : สรางสรรคภาพดวยการปะตดิ (บรุ รี ัมย ๑)
ม.๑-ม.๓
รางวลั ครูดเี ดน สช
รางวัลครูและบุคลากรทางการศึกษาดีเดน กระทรวงศึกษาธิการ
รางวลั ครูดีเดน
รางวลั ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาดีเดน สช
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รางวลั : ชนะเลศิ เหรยี ญทอง อนั ดบั ที่ ๑
ระดับชาติ จงั หวัดอดุ รธานี สช
การแขงขัน : การแขง ขันเรยี งรอยถอยความ
(เขียนเรยี งความ) ชว งชน้ั ม.๔-ม.๖ สพฐ
รางวลั : ระดับเหรียญทอง อันดบั ท่ี ๔
ระดบั ชาติ จงั หวดั ศรีษะเกษ. สช
การแขง ขนั : เพลงไทยลกู ทงุ ระดบั ม.ตน ๑-๓
รางวลั : ระดับเหรยี ญทอง อันดบั ที่ ๓ สพม.๓๒
ระดบั ชาติ จังหวัดอุดรธานี (บรุ รี มั ย ๑)
การแขง ขัน : เพลงไทยลกู ทุงระดบั ม.ตน ๑-๓
รางวลั : ชนะเลศิ เหรียญทอง อนั ดบั ๑
การแขงขนั : เพลงไทยลกู ทงุ ระดับ ม.ตน ๑-๓

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน

๒๕

ผลงานดเี ดน (ตอ )

ประเภท ระดับรางวลั /ชื่อรางวัลทีไ่ ดร ับ หนว ยงานที่
มอบรางวลั
เดก็ หญิง นฤมล โนจันทร รางวลั : ระดับเหรยี ญทองแดง สพม.๓๒
การแขง ขนั : เรียงรอ ยถอยความ(การเขยี น (บรุ รี มั ย ๑)
นายพีรพัฒน ชาํ นิมาศ เรยี งความ) ม.๑-ม.๓
นายวชิ าญ สุวรรณภมู ิ สพม.๓๒
นางสาวสายทอง ขุนนาม รางวัล : ระดบั เหรยี ญเงนิ (บุรรี มั ย ๑)
เด็กหญงิ นรศิ รา สุขสงวน การแขง ขัน: การแสดงทางวิทยาศาสตร
เด็กหญิงวิภาดา ทะเรงิ รัมย (Science Show) ม.๔-ม.๖ สพม.๓๒
(บุรีรัมย ๑)
นางสาวฐาปนี ชาํ นาญจนั ทร รางวลั : ระดบั เหรียญทอง
การแขง ขนั : สรา งสรรคภ าพดวยการปะติด สพม.๓๒
นายอนันตสทิ ธิ์ นราชรมั ย ม.๑-ม.๓ (บุรีรมั ย ๑)

เดก็ หญิงนภาพร ประเสริฐสวสั ด์ิ รางวัล : ระดบั เหรียญเงนิ สพม.๓๒
การแขง ขนั : เรียงรอ ยถอยความ(การเขียน (บรุ ีรมั ย ๑)
นางสาวฐานดิ า กิรัมย เรยี งความ) ม.๔-ม.๖
สพม.๓๒
รางวัล : ระดบั เหรียญเงิน (บรุ รี ัมย ๑)
การแขง ขนั ขับรองเพลงไทยลูกทุง
ประเภทชาย ม.๔-ม.๖ ม.ราชภัฎบรุ รี มั ย

รางวัล : ระดับเหรยี ญทองแดง
การแขงขนั คัดลายมือสื่อภาษาไทย ม.๑-ม.๓

รางวลั : รองชนะเลศิ อันดบั อันดับท่ี ๒
การแขง ขนั : การแขง ขนั การพดู ทาง
วิทยาศาสตร

๖.๒ ปการศึกษาทผ่ี านมา (ยอนหลังไมเกิน ๓ ป)

ช่ือรางวลั ป พ.ศ..... หนวยงาน หมายเหตุ
ทไ่ี ดร บั รางวัล ที่มอบรางวลั
๑. โรงเรียนรางวัลพระราชทาน -
๒. นกั เรียนรางวลั พระราชทาน - - -
๓. โรงเรยี นมาตรฐานสูสากล (มาตรฐาน สช.) - - -
๔. โรงเรยี นคุณธรรม (ระดบั สช. ระดับกระทรวง) -
๕. โรงเรียนเศรษฐกจิ พอเพียง - - -

- -

- -

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน

๒๖

. ๗. ดาํ เนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ (ปรบั ตามนโยบายแตละป)

ประเดน็ ตัวชว้ี ดั มี ไมมี

๑. การปลกู ฝงความมรี ะเบยี บวินยั ทัศนคติที่ถูกตองผา นกระบวนการลกู เสือ เนตรนารี √

ยุวกาชาด

๒. การจัดการเรยี นรูเพื่อสรา งทกั ษะพืน้ ฐานทเี่ ชอ่ื มโยงสูก ารสรา งอาชพี และการมีงานทํา √

๓. การจดั การเรยี นการสอนที่สงเสรมิ การคดิ วิเคราะหดวยวิธีการ Active Learning √

๔. การจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื ฝก ทกั ษะการคดิ แบบมีเหตุผลและเปน ขน้ั ตอน (Coding) √

๕. การพฒั นาครใู หมีความชาํ นาญในการจัดการเรียนรภู าษาองั กฤษและภาษาคอมพิวเตอร( Coding) √

๖. การจดั การเรยี นรดู วย STEM Education √

๖.๑ สถานศกึ ษามีการจดั การเรยี นการสอนแบบ STEM Education √
๖.๒ สถานศกึ ษามีนวัตกรรมจากการเรียนรตู ามแนวทาง STEM Education √

๗. การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อใชใ นการส่อื สารและเพิ่มทักษะสาํ หรับใชใ นการประกอบอาชีพ √

๘. การจัดการเรยี นรูภาษาตางประเทศ (ภาษาท่ีสาม) √

๙. การสง เสรมิ ทกั ษะการอาน เขยี นภาษาไทยเพื่อใชเปน เคร่ืองมอื ในการเรยี นรภู าษาอ่นื √

๑๐. การใชด ิจทิ ัลแพลตฟอรม เพ่อื การเรียนรูห รอื สรางอาชีพ √

๘. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ทผี่ านมา ระดบั ผลการประเมิน
ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน
รอบการประเมนิ
-
รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549 – 2553) พอใช
รอบท่ี 3 (พ.ศ. 2554 – 2558)
รอบที่ 4 (พ.ศ. 2559 – 2563) -

๙. หนว ยงานภายนอกที่โรงเรยี นเขารวมเปน สมาชิก
 สมาคมคณะกรรมการประสานและสงเสริมการศกึ ษาเอกชน
 สมาคมสหพันธโรงเรียนเอกชนแหง ประเทศไทย
 สมาคมครูสถานศกึ ษาเอกชนแหง ประเทศไทย
 สมาคมประถมศกึ ษาเอกชนแหงประเทศไทย
 สมาคมอนบุ าลศึกษาแหง ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภฯ
 สมาคมสภาการศึกษาคาทอลิกแหง ประเทศไทย
 สมาคมครูโรงเรยี นเอกชนคาทอลิกแหงประเทศไทย
 สมาคมโรงเรียนสอนภาษาจีน
 สมาคมโรงเรยี นนานาชาติแหงประเทศ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน

๒๗

ตอนที่ ๓

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

๑. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน

ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู รียน

การปฏบิ ัตงิ าน เปาหมาย จํานวน จาํ นวน *** ผลการ
ปฏบิ ตั ิ ไมป ฏบิ ตั ิ (รอ ยละ) ผเู รยี น ผเู รียนผา น ผลการ ประเมิน
ทงั้ หมด เกณฑท่ี ประเมิน คุณภาพท่ี
ประเดน็ พจิ ารณา (คน) โรงเรียน (รอ ยละ)
กําหนด ได
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
(คน)
1 มีความสามารถในการอาน การเขยี น
การสือ่ สาร และการคิดคาํ นวณ ๖๕ ๒๖๙ ๑๖๐ ๕๙.๔๘ ปานกลาง

1.1 รอยละของผเู รยี นมีทักษะในการอา นในแต √ ๑๒๐ ๔๔.๖๑
ละระดบั ช้ันตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด

1.2 รอยละของผูเ รยี นมที ักษะในการเขยี นในแต √ ๑๕๒ ๕๖.๕๑
ละระดบั ชน้ั ตามเกณฑทสี่ ถานศึกษากาํ หนด

1.3 รอยละของผูเรยี นมที ักษะในการสือ่ สารในแต √ ๒๐๖ ๗๖.๕๘
ละระดบั ชน้ั ตามเกณฑท่สี ถานศกึ ษากําหนด

1.4 รอ ยละของผูเรยี นมที ักษะในการคิดคาํ นวณ √ ๑๕๐ ๕๕.๗๖
ในแตละดบั ชั้นตามเกณฑทสี่ ถานศกึ ษากําหนด

2 มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยา งมี ๖๕ ๒๖๙ ๑๙๑ ๗๑.๐๐ ดี
วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น
และแกป ญหา

2.1 รอยละของผเู รียนมีความสามารถในการคิด √ ๑๕๐ ๕๕.๗๖
จาํ แนกแยกแยะ ใครค รวญ ไตรต รองอยา ง
รอบคอบโดยใชเหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ

2.2 รอยละของผูเรยี นมีการอภปิ รายแลกเปล่ียน √ ๑๖๑ ๕๙.๘๕
ความคดิ เหน็

2.3 รอยละของผูเรยี นมีการแกปญ หาอยา งมี √ ๑๑๑ ๔๑.๒๖
เหตผุ ล

3 มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม ๖๕ ๒๖๙ ๑๘๓ ๖๘.๐๓ ดี

3.1 รอยละของผูเ รยี นมคี วามสามารถในการ √ ๑๔ ๕.๒๐
รวบรวมความรไู ดท้งั ตวั เองและการทาํ งานเปน
ทมี

3.2 รอ ยละของผูเรยี นสามารถเชอ่ื มโยงองค

ความรแู ละประสบการณม าใชใ นการสรา งสรรค √ ๑๒ ๔.๔๖
สิ่งใหม ๆ อาจเปน แนวความคิด โครงการ

โครงงาน ชิน้ งาน ผลผลิต

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน

๒๘

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเ รยี น (ตอ)

ประเดน็ พจิ ารณา การปฏบิ ตั งิ าน เปา หมาย จาํ นวน จาํ นวน *** ผลการ
ปฏิบตั ิ ไมปฏบิ ัติ (รอ ยละ) ผเู รียน ผูเ รียนผา น ผลการ ประเมิน
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ทง้ั หมด เกณฑที่ ประเมิน คณุ ภาพที่
4 มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ √ (คน) โรงเรยี น (รอยละ)
√ กําหนด ได
และการสื่อสาร ๗๒.๘๖
√ (คน) ๖๗.๒๙ ดี
4.1 รอยละของผเู รยี นมีความสามารถในการใช √
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร √ ๗๐ ๒๖๙ ๑๙๖ ๕๘.๗๔ ดี
4.2 รอยละของผเู รยี นมคี วามสามารถในการนาํ ๑๘๑
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อพัฒนา √ ๗๗.๗๐ ดเี ลศิ
ตนเองและสังคมในดา นการเรยี นรู การส่อื สาร √ ๑๕๘ ๙๒.๙๔
การทํางานอยางสรางสรรค และมีคณุ ธรรม ๘๙.๙๖ ดี
5 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู ร √ ๗๐ ๒๖๙ 209 ๗๐.๖๓
สถานศกึ ษา √ ๘๐ ๒๖๙ ๒๕๐ ๘๕.๑๓ ดี
5.1 รอ ยละของผูเรยี นบรรลกุ ารเรียนรูตาม ๒๔๒ ๗๘.๐๗
หลกั สตู รสถานศกึ ษา √ ๑๙๐ ๘๒.๑๖
5.2 รอ ยละของผูเรียนมีความกา วหนาในการ √ ๒๒๙
เรยี นรูต ามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดมิ ๒๑๐ ๗๒.๔๙
5.3 รอ ยละของผเู รยี นมคี วามกาวหนาในผลการ ๒๒๑ ๖๓.๒๐
ทดสอบระดบั ชาติ หรอื ผลการทดสอบอื่น ๆ
6 มคี วามรูทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตองาน ๗๐ ๒๖๙ ๑๙๕ ๗๐.๖๓
อาชีพ ๑๗๐ ๗๓.๒๓
6.1 รอยละของผูเรยี นมีความรู ทกั ษะพน้ื ฐานและ ๗๐.๖๓
เจตคติที่ดีในการศกึ ษาตอ ๑๙๐ ๖๕.๐๖
6.2 รอยละของผูเ รียนมีความรู ทักษะพ้นื ฐานและ
เจตคตทิ ี่ดีในการจดั การ การทํางานหรอื งานอาชพี ๗๑ ๒๖๙ ๑๙๗
คุณสมบัตอิ นั พึงประสงค ๑๙๐
1 การมีคุณลักษณะและคานยิ มท่ดี ีตามที่ ๑๗๕
สถานศึกษากําหนด
1.1 รอยละของผูเรียนมพี ฤติกรรมเปนผูท่ีมี
คุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกตกิ า
1.2 รอยละของผูเรยี นมคี า นยิ มและจติ สาํ นึก
ตามทสี่ ถานศึกษากําหนด โดยไมข ัดกับกฎหมาย
และวัฒนธรรมอนั ดขี องสงั คม
2 ความภูมใิ จในทอ งถ่ินและความเปน ไทย

2.1 รอยละของผเู รยี นมคี วามภมู ิใจในทองถน่ิ
เห็นคุณคาของความเปนไทย
2.2 รอ ยละของผเู รียนมีสวนรว มในการอนุรกั ษ
วฒั นธรรมและประเพณีไทยรวมทง้ั ภมู ปิ ญ ญาไทย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกัดสํานกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

๒๙

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเรียน (ตอ)

การปฏบิ ัตงิ าน เปา หมาย จํานวน จํานวน *** ผลการ
ปฏิบตั ิ ไมป ฏบิ ตั ิ (รอยละ) ผูเ รียน ผูเ รยี นผา น ผลการ ประเมิน
ทง้ั หมด เกณฑท ่ี ประเมิน คณุ ภาพที่
ประเดน็ พิจารณา ๗๐ (คน) โรงเรียน (รอยละ)
กาํ หนด ได
๗๐ ๗๒.๔๙
(คน) ดี
๙๓.๖๘
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน √ ๒๖๙ ๑๙๕ ๘๐.๓๐ ดีเลศิ
√ ๘๑.๗๘
3 การยอมรบั ทจี่ ะอยรู ว มกันบนความแตกตา งและ ๒๕๒
√ ๒๖๙ ๒๑๖ ๙๒.๙๔
หลากหลาย √
๒๒๐
- รอยละของผูเรยี นยอมรบั และอยูรว มกันบน
ความแตกตา งระหวา งบคุ คลในดา นเพศ วัย เช้อื ๒๕๐
ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี

4 สุขภาวะทางรางกายและจิตสงั คม

4.1 รอ ยละของผเู รียนมกี ารรักษาสุขภาพกาย
สุขภาพจิต อารมณแ ละสงั คม และแสดงออกอยาง
เหมาะสมในแตละชวงวัย
4.2 รอยละของผเู รียนสามารถอยูร ว มกบั คนอ่นื
อยางมีความสขุ เขาใจผูอ่ืน ไมม คี วามขัดแยงกับ
ผูอืน่

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพท่ีได = กาํ ลงั พฒั นา
รอ ยละ 00.00 – 49.99 = ปานกลาง
รอ ยละ 50.00 – 59.99 = ดี
รอยละ 60.00 – 74.99 = ดเี ลิศ
รอ ยละ 75.00 – 89.99 = ยอดเย่ยี ม
รอยละ 90.00 – 100

กระบวนการพัฒนาทส่ี งผลตอ ระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี ๑
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา มีกระบวนการพฒั นาผูเ รียนดวยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย ทเ่ี นน ผูเ รียนเปน
สาํ คัญ ตามศักยภาพของผเู รยี น สอดคลอ งกับมาตรฐานและตัวชี้วดั ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั
พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มีการออกแบบการจดั การเรยี นรทู เี่ หมาะสมหลายรปู แบบเชน การระดมสมอง การ
ใช กระบวนการคดิ กระบวนการแกป ญหา นักเรยี นเรยี นรูดว ยการปฏิบัติจริง (Active Learning) เนน การอาน
ออก เขยี นได พฒั นาครผู สู อนใหใชส อ่ื เทคโนโลยี ระบบ Smart TV ปรับแหลง เรยี นรูภ ายในโรงเรยี น ครูจดั ทาํ
แผนการจัดการเรียนรู ทกุ กลุม สาระ มีการบันทึกผลหลังสอน เพ่ือนํามาพัฒนาผูเ รียน วัดผลประเมนิ ผลแบบ
บรู ณาการ ใชกระบวนการ PLC ในการรว มกนั แกปญหา ครเู นน คาํ ถามเพ่ือสงเสริมการคดิ สงเสรมิ สนับสนนุ
ใหผเู รยี นบรรลุตามเปาหมาย ทีว่ า “การจดั การศกึ ษาตองเปนไปเพือ่ พฒั นาคนไทยใหเปนมนษุ ยทสี่ มบูรณท งั้
รางกาย จติ ใจ สตปิ ญญา ความรู และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดาํ รงชีวิต สามารถอยูรว มกบั
ผอู ืน่ ไดอ ยา งมีความสุข” ซึ่งสอดรับกับ จดุ มุงหมายของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ มุงเนน ใหนกั เรยี นมีความสามารถใน การอา น การเขยี น การสอ่ื สาร เพ่อื สงเสริมนสิ ยั รกั การอา น

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สังกัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน

๓๐

สงเสริมการคดิ คํานวณ การมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ตาม เกณฑ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห คดิ อยา ง
มวี จิ ารณญาณ มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม สง เสริม การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ การส่อื สารและการ
มคี วามรูทักษะพืน้ ฐานเจตคติท่ีดีตองานอาชีพสง เสริมงานอาชพี

ดานคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข องผเู รียนมงุ เนนใหผ เู รยี นมีคณุ ลกั ษณะ และคานยิ ม ๑๒ ประการ
โดยนาํ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคม า เปน เกณฑใ นการประเมิน เพือ่ ใหนักเรยี นมเี จตคติในการเปน พลเมืองท่ีดี
และมีสุขภาวะทางรางกายและสังคม มคี วามภมู ิใจในทองถนิ่ และความเปน ไทย ยอมรบั ในการอยูร วมกนั บน
ความแตกตา งและหลากหลาย

ผลการพัฒนา
ผูเ รียนมีความสามารถในการอาน การเขยี น การส่อื สารคิดคาํ นวณ การคิดประเภทตางๆ การสรา ง
นวัตกรรม และสามารถใชเ ทคโนโลยี การสื่อสารเพอื่ พัฒนาตนเอง มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรูต ามหลกั สตู ร มี
เจต คติท่ีดีตอวิชาชพี และมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท ่ีเปนคานิยมตามทีส่ ถานศึกษากาํ หนด มีความภมู ิใจใน
ทองถิน่ และความเปน ไทย ยอมรบั ความแตกตางของบุคคล รวมทั้งมสี ขุ ภาวะที่ดีทัง้ ทางรางกายและจิตใจ มี
ผลดาํ เนนิ งาน เชิงประจักษ สงผลใหผ ลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานท่ี ๑ อยใู นระดับ ดี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

๓๑

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ตั งิ าน *** ผลการประเมิน
1 มีเปา หมายวสิ ยั ทัศนแ ละพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษา คาเปาหมาย คุณภาพท่ีได
ปฏบิ ตั ิ ไม ยอดเย่ียม
ปฏิบตั ิ ๕
ดีเลศิ
กาํ หนดชดั เจน ๕
ดเี ลศิ
1.1 กําหนดเปา หมายท่สี อดคลอ งกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา √ ๕
ความตอ งการของชุมชน ทอ งถิน่ วตั ถปุ ระสงคของแผนการ
ศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตนสังกดั √

1.2 กําหนดวิสยั ทัศน และพนั ธกิจ ทสี่ อดคลอง เชื่อมโยง √
กับเปา หมาย แผนยทุ ธศาสตรช าติ แผนการศกึ ษาแหงชาติ √
นโยบายของรฐั บาลและตน สังกัด

1.3 กําหนดเปา หมาย วสิ ยั ทัศน และพันธกิจ ทันตอ
การเปลย่ี นแปลงของสงั คม

1.4 นาํ เปาหมาย วิสยั ทศั น และพันธกจิ ผา นความเหน็ ชอบ
จากคณะกรรมการบริหารโรงเรียน

1.5 นาํ เปาหมาย วสิ ัยทัศน และพันธกจิ ของโรงเรยี นเผยแพร
ตอ สาธารณชน

2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา

2.1 มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาอยางเปน √
ระบบ

2.2 มกี ารนําแผนไปปฏิบัติ ตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลและ √
ปรบั ปรงุ พัฒนางานอยา งตอ เนอ่ื ง

2.3 มกี ารบรหิ ารอตั รากําลัง ทรพั ยากรทางการศกึ ษาจดั ระบบ
ดแู ลชวยเหลอื นกั เรยี น และระบบการนิเทศภายใน

2.4 สถานศกึ ษามีการนาํ ขอ มลู มาใชในการพฒั นาสถานศึกษา

2.5 สถานศึกษาใหบุคลากรและผูทีเกย่ี วขอ งทกุ ฝา ยมสี ว นรวม √
ในการวางแผน ปรบั ปรุง พัฒนา และรว มรับผดิ ชอบตอ ผลการ
จดั การศกึ ษา √

3 ดําเนินงานพัฒนาวิชาการทเี่ นน คณุ ภาพผเู รยี นรอบดาน √
ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทุกกลมุ เปาหมาย √

3.1 บริหารจัดการเก่ียวกับงานวิชาการ ในดานการพัฒนา
หลกั สูตรสถานศกึ ษา

3.2 บริหารจัดการเกยี่ วกับงานวชิ าการ ในดานการพัฒนา
หลักสตู รตามความตอ งการของผเู รยี น ทีส่ อดคลองกบั บริบท
ของสถานศึกษา ชมุ ชน และทองถิ่น

3.3 บรหิ ารจดั การเกย่ี วกับกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรที่เนน
คณุ ภาพผูเรียนรอบดานเช่ือมโยงวิถีชวี ิตจริง

3.4 กาํ หนดหลกั สูตรสถานศกึ ษาครอบคลุมการจดั การเรียน
การสอนทกุ กลมุ เปา หมาย

3.5 สถานศึกษามกี ารปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สูตรใหท นั ตอ
การเปลยี่ นแปลงของสังคม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สงั กดั สํานักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน

๓๒

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ (ตอ )

ประเด็นพิจารณา การปฏิบัตงิ าน *** ผลการประเมนิ
4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ คา เปาหมาย คณุ ภาพที่ได
ปฏิบตั ิ ไม
ปฏิบตั ิ ๕ ดีเลิศ

4.1 สงเสริม สนับสนนุ พฒั นาครู บุคลากร ใหม ีความ √ ๕ ดเี ลศิ
เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๕ ดีเลิศ
4.2 จัดใหมชี ุมชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ √

4.3 นาํ ชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชีพเขามาใชใ นการพัฒนา √
งานและการเรียนรูของผูเรยี น

4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ัติงานของครู √
บุคลากร ท่มี ผี ลตอ การเรยี นรูของผเู รียน

4.5 ถอดบทเรยี นเพื่อสรางนวัตกรรมหรือวิธีการทีเ่ ปน √
แบบอยา งที่ดีที่สงผลตอ การเรยี นรูข องผเู รียน

5 จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ อือ้ ตอการ
จดั การเรียนรูอยา งมคี ณุ ภาพ

5.1 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายในหองเรียน ที่เอ้ือ √
ตอการเรียนรู และคาํ นงึ ถึงความปลอดภยั

5.2 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายนอกหองเรยี น ท่ี √
เอ้ือตอ การเรียนรู และคาํ นึงถงึ ความปลอดภัย

5.3 จัดสภาพแวดลอมทสี่ ง เสรมิ ใหผูเรยี นเกดิ การเรียนรู √
เปนรายบุคคล และเปนกลมุ

5.4 จัดสภาพแวดลอมทางสังคม ทเ่ี อื้อตอการจัดการ √
เรียนรู และมีความปลอดภัย

5.5 จดั ใหผ เู รียนไดใ ชประโยชนจากการจดั สภาพแวดลอม √
ตามศักยภาพของผเู รียน

6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ

การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู

6.1 ไดศ กึ ษาความตอ งการเทคโนโลยีสารสนเทศ √
ทเ่ี หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื บรหิ ารจัดการและ √
การจัดการเรยี นรทู ีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

6.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ บรหิ ารจัดการ

√และการจัดการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

6.4 ใหบ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื ใชใ นการบริการ √
จดั การและการจดั การเรียนรทู ่ีเหมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา

6.5 ตดิ ตามผลการใชบรกิ ารระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ √
ของสถานศกึ ษาเพ่อื ใชใ นการบรกิ ารจัดการและการจัดการ
เรียนรทู ีเ่ หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศกึ ษา สงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

๓๓

กระบวนการพัฒนาทส่ี ง ผลตอระดับคณุ ภาพของมาตรฐานท่ี ๒
โรงเรียนอิสาณโกศลศึกษา ไดด ําเนินการวเิ คราะหสภาพปญ หา จากผลการจดั การศกึ ษาท่ีผา นมา
วเิ คราะหแ นวการจดั การศึกษา มาใชใ นการบริหารจดั การ โดยใหท กุ ฝายมีสวนรว ม กําหนดเปาหมาย ปรบั
วสิ ยั ทัศนและพนั ธกจิ ตลอดจนกลยทุ ธ ในการดาํ เนนิ การพัฒนาวิชาการทเี่ นนคณุ ภาพผูเรยี นรอบดา น เชือ่ มโยง
กับชวี ิตจริง ดําเนนิ งาน พัฒนาครแู ละบุคลากรใหมีความเชยี่ วชาญทางดา นวิชาชพี ตามความตองการของครู
ปรับภมู ิทัศนพ ัฒนาแหลง เรียนรูอ ยางหลากหลาย จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคม ท่เี อื้อตอการ
จัดการเรียนรอู ยา งมคี ณุ ภาพ และ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ติดต้ังระบบ Smart TV เพื่อใชในการบรหิ าร
จัดการและการจัดการเรียนรูใ หม ีความ ทันสมัย เหมาะสมกับปจ จุบัน โดยดําเนนิ การผา นโครงการ TFE
ยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน โครงการการพฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรูที่เนน ผูเ รียนเปนสําคญั
โครงการการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา สรปุ ผลดาํ เนินงานดงั น้ี

๑. ทางโรงเรียนกําหนดเปา หมายที่สอดคลองกบั บริบทของสถานศกึ ษา ความตองการของชมุ ชน
ทอ งถ่ิน วัตถปุ ระสงคข องแผนการศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตนสงั กดั รวมทง้ั กาํ หนดวสิ ยั ทัศน และ
พันธกจิ ท่ีสอดคลอ ง เชื่อมโยง กับเปา หมาย แผนยุทธศาสตรช าติ แผนการศกึ ษาแหงชาติ นโยบายของรฐั บาล
และตน สงั กัดโดยทางโรงเรยี นเผยแพรต อ สารธารณะ

๒. ทางโรงเรยี นมีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา มีการพฒั นาและปรบั ปรุงอยางเปน
ระบบ มกี ารนําแผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรงุ พัฒนางานอยา งตอเน่ือง มีการนาํ
ทรัพยากรมาใช อยา งมปี ระสิทธภิ าพ และมงุ เนน ใหบ คุ ลากรและผทู ่ีเกี่ยวของทกุ ฝา ยมสี วนรว มในการวางแผน
ปรับปรุงพฒั นาและรวมรบั ผดิ ชอบตอ ผลการจัดการศึกษา

๓. ทางโรงเรียนดําเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ีเนน คุณภาพผูเรยี นรอบดา นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและ
ทกุ กลุมเปา หมายพัฒนาหลักสตู รและปรบั ปรุงใหส อดรับกับการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม

๔. ทางโรงเรยี นสงเสรมิ การพัฒนาครแู ละบุคลากรใหม ีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ ใหค รูและบุคลกร
น้นั มกี ารพัฒนาตนเองอยตู ลอดเวลาเพื่อมีสง เสริม ใหมคี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ มีการประเมินตามสภาพ
จริง การนําเทคโนโลยมี าใชใ นกาเรยี นการสอน รวมทง้ั ถอดบทเรียนเพ่ือสรางนวตั กรรมหรือวธิ กี ารท่เี ปน
แบบอยา งทีด่ ีทีส่ งผลตอการเรยี นรูข องผูเรียน

๕. ทางโรงเรียนจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ ออ้ื ตอ การจัดการเรียนรูอยา งมคี ุณภาพ
โดย มีการจัดการเรียนรทู ั้งภายในและภายนอกหองเรียนใหมีบรรยากาศเหมาะแกการเรียนรู ปลอดภัย รวมท้ัง
สง เสริมกจิ กรรมรายบุคคลและรายกลุม ทาํ ใหผ ูเรยี นยอมรบั ความเหน็ ตางได

๖. ทางโรงเรียนมจี ัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนุน ไดศ กึ ษาความตองการเทคโนโลยี
สารสนเทศ ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษารวมทั้งมกี ารตดิ ตามผลการใชบ รกิ ารระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ ของสถานศกึ ษาเพ่ือใชในการบริการจัดการและการจดั การเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา

สง ผลให สถานศึกษามีสอ่ื และแหลงเรยี นรทู ่มี คี ุณภาพ มีผลดําเนินงานเชิงประจักษ สงผลใหผ ลการ
ประเมนิ คุณภาพ มาตรฐานท่ี ๒ อยูใ นระดับ ดเี ลิศ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สงั กัดสาํ นักงานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน

๓๔

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน ผูเรยี นเปนสําคัญ

ประเด็นพจิ ารณา การปฏบิ ตั งิ าน จาํ นวน จํานวนครู *** ผลการ
เปาหมาย ครู ผานเกณฑท ี่ ผลการประเมิน ประเมิน
1 จดั การเรียนรผู านกระบวนการคดิ และ คุณภาพทไ่ี ด
ปฏบิ ตั ิจริง และสามารถนําไป ปฏบิ ตั ิ ไม (รอยละ) ทัง้ หมด โรงเรียน (รอยละ)
ประยกุ ตใชในชีวิตได ปฏบิ ตั ิ (คน) กําหนด(คน) ดี
๖๖.๖๗
๗๐ ๑๕ ๑๐ ดี
๖๖.๖๗
1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรตู ามมาตรฐานการ √ ๗๐ ๑๕ ๑๐ ดเี ลิศ
เรียนรู ตัวช้ีวัดของหลักสตู รสถานศกึ ษาท่ี ๗๐ ๑๕ ๙๓.๓๓
เนนใหผเู รยี นไดเรียนรู โดยผา นกระบวนการ √ ๑๔ ๓๓.๓๓
คิดและปฏิบตั จิ รงิ √ ๕
๑๐๐.๐๐
1.2 มแี ผนการจัดการเรยี นรูท ี่สามารถนําไป √ ๑๕ ๑๐๐.๐๐
จดั กจิ กรรมไดจ รงิ √ ๑๕ ๗๓.๓๓
๑๑ ๖๐.๐๐
1.3 มรี ปู แบบการจดั การเรยี นรเู ฉพาะ √ ๙ ๕๓.๓๓
สาํ หรบั ผูทม่ี ีความจําเปน และตองการความ √ ๘ ๑๐๐.๐๐
ชว ยเหลือพิเศษ √ ๑๕ ๘๐.๐๐
๑๒ ๑๐๐.๐๐
1.4 ฝกทักษะใหผเู รียนไดแ สดงออก แสดง ๑๕
ความคดิ เหน็ สรปุ องคค วามรู และนําเสนอ ๖๖.๖๗
ผลงาน ๑๐

1.5 สามารถจดั กิจกรรมการเรยี นรใู หผเู รียน
สามารถนําไปประยกุ ตใ ชในชีวิตประจาํ วันได

2 ใชสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง
เรยี นรูท เ่ี อื้อตอ การเรยี นรู

1.1 ใชส ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศในการ
จดั การเรียนรู

1.2 ใชแหลงเรยี นรู และภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ ใน
การจดั การเรียนรู

1.3 สรางโอกาสใหผ เู รยี นไดแ สวงหาความรู
ดวยตนเองจากสือ่ ทีห่ ลากหลาย

3 มีการบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก

3.1 ผสู อนมีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียน √
โดยเนน การมีปฏิสมั พันธเชิงบวก √

3.2 ผสู อนมกี ารบริหารจดั การช้ันเรยี น
ใหเ ดก็ รกั ครู ครรู ักเดก็ และเด็กรกั เดก็
เดก็ รักที่จะเรยี นรู สามารถเรยี นรรู ว มกนั
อยา งมคี วามสุข

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศึกษา สังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน

๓๕

ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ัตงิ าน เปาหมาย จาํ นวน จาํ นวนครู *** ผลการ
ปฏิบตั ิ ไม (รอยละ) ครู ผานเกณฑท ี่ ผลการประเมิน ประเมิน
คุณภาพ
ปฏบิ ตั ิ ทั้งหมด โรงเรียน (รอยละ)
(คน) กําหนด(คน) ที่ได

4 ตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยา งเปน ๖๕ ๑๕ ๑๑ ๗๓.๓๓ ดี
ระบบ และนําผลมาพัฒนาผเู รียน

4.1 มกี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพการ √ ๑๐ ๖๖.๖๗
จัดการเรียนรอู ยางเปน ระบบ

4.2 มขี ัน้ ตอนโดยใชเครอ่ื งมือและวิธกี ารวัดและ √ ๑๔ ๙๓.๓๓
ประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกบั เปา หมายในการ
จัดการเรยี นรู

4.3 เปด โอกาสใหผ ูเรยี นและผูม ีสวนเกย่ี วของมี ๗ ๔๖.๖๗

√สวนรวมในการวดั และประเมินผล

4.4 ใหขอมลู ยอ นกลบั แกผเู รยี นเพือ่ นาํ ไปใชใน ๑๒ ๘๐.๐๐

√การพฒั นาการเรยี นรู

5 มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรูแ ละใหข อ มลู

สะทอ นกลบั เพื่อพัฒนาปรับปรุงการ ๖๕ ๑๕ ๑๐ ๖๖.๖๗ ดี

จัดการเรยี นรู

5.1 และผมู ีสว นเก่ียวของรว มกันแลกเปล่ยี น √ ๑๓ ๘๖.๖๗
ความรแู ละประสบการณในการจัดการเรยี นรู

5.2 นําขอมูลปอนกลับไปใชในการปรับปรุงและ ๑๐ ๖๖.๖๗

√พฒั นาการจัดการเรยี นรขู องตนเอง

หมายเหตุ กรอกขอ มูลเฉพาะแถบสขี าว 100 x จํานวนครูผานเกณฑท ี่โรงเรียนกาํ หนด
วิธีคาํ นวณ จาํ นวนครูทั้งหมด

*** ผลการประเมนิ (รอยละ) = กําลงั พัฒนา
ปานกลาง
แปลผลการประเมินคุณภาพทีไ่ ด = ดี
รอยละ 00.00 – 49.99 = ดีเลิศ
รอ ยละ 50.00 – 59.99 = ยอดเย่ยี ม
รอ ยละ 60.00 – 74.99 =
รอยละ 75.00 – 89.99 =
รอ ยละ 90.00 – 100

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา สังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

๓๖

กระบวนการพฒั นาทสี่ ง ผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี ๒
โรงเรยี นอิสาณโกศลศึกษาสง เสรมิ ใหครจู ัดกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนนผูเรียน เปนสําคัญ โดยการ
ดําเนนิ งาน/กิจกรรมอยางหลากหลาย ไดแก งานหลกั สูตรมีการประชุมปฏบิ ัติการ ปรบั หลกั สตู ร สถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ชวี้ ัดฯกลุมสาระท่มี กี ารปรับเปลีย่ น ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา ขัน้
พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สงเสรมิ ใหค รจู ัดการเรยี นการสอนเนน การปฏบิ ตั ิ (Active learning) สง เสรมิ การ
จดั การเรียนการสอนรูปแบบการพัฒนาครูตามแนวคดิ ชุมชนแหงการเรียนรู ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา ให
ผเู รียน ผา นกระบวนการคิด ปฏิบตั ิจรงิ เพอ่ื นําไปสกู ารเรียนรูท ี่ลึกซ้ึงและคงทน ใหน กั เรียนมสี วนรวม ครูรูจัก
ผูเ รียนเปน รายบคุ คล ดาํ เนินการตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และนําผลมาพฒั นาผเู รียน
รวมทัง้ รวมกนั แลกเปล่ยี นเรยี นรู และนาํ ผลท่ไี ดมาปรับปรุงการจัดการเรียนรู ครูมแี ผนการจัดการเรียนรูที่
สามารถนําไปใชจัดกจิ กรรมไดจรงิ ครูใชส ือ่ และแหลงเรียนรู มีการบริหารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก เพอื่ ใหเ ด็ก
รกั การเรยี นรแู ละเรยี นรู รวมกันอยางมคี วามสุข รว มแลกเปลย่ี นเรียนรูและนําขอมูลมารวมพัฒนาปรบั ปรงุ การ
จดั การเรยี นรู ผลติ นวัตกรรม ประกอบแผนการจัดการเรยี นรู อีกท้ังปรบั โครงสรางรายวชิ า กําหนดคณุ ลักษณะ
อนั พงึ ประสงคท่ีสอดคลองกบั หนว ยการเรยี นรู จดั การเรยี นการสอนทีเ่ นนทกั ษะการคิด ครทู าํ งานวิจัยในชั้น
เรยี นอยา งนอยปการศึกษาละ ๑ เร่อื ง
ผลการพัฒนา
จากการดาํ เนินงาน/โครงการ/กจิ กรรมอยา งหลากหลาย ครมู กี ระบวนการจดั การเรียนการสอนทีใ่ ห
ผูเรยี น มีสว นรวม ดว ยการปฏบิ ตั จิ รงิ ครูวเิ คราะหผ เู รียนรายบุคคล นําขอมูลมาใชวางแผนการจดั การเรียนรู
เพือ่ พฒั นา ศักยภาพของผูเรยี น ออกแบบการเรยี นรูท่ตี อบสนองความแตกตา งระหวา งบุคคล มกี ารวัด
ประเมนิ ผลเพ่ือการ พฒั นา เปนแบบอยา งที่ดี จัดการเรยี นการสอนไดอยางเต็มความรู ความสามารถ ครูมี
การศกึ ษางานวจิ ยั และเพ่ิมพูนความรูใ หแ กตนเองดวยการเขา รับการอบรม สัมมนา อยเู สมอ มผี ลดําเนินงาน
เชงิ ประจักษ สงผลใหผลการ ประเมนิ คุณภาพมาตรฐานท่ี ๓ อยูในระดบั ดี
ขอ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ ทสี่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง
- หลักสูตรสถานศกึ ษา
- ระเบียบวา ดว ยการวัดผล ประเมนิ ผลผูเ รียน
- แผนจัดการเรียนรู
- บันทกึ การนเิ ทศ/บันทกึ การประชุม
- เครอื่ งมอื ประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู
- บรรยากาศหองเรยี น มุมสื่อ มุมผลงานนักเรียน
- บันทึกการประเมินผลการเรียนรู
- แบบ ปพ.ตาง ๆ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา สงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน

๓๑

๒. สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

มาตรฐาน มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี คณุ ภาพของนักเรยี น ดี
๑ ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผูเรียน
๑. มคี วามสามารถในการอา น การเขยี น การส่อื สาร และการคดิ คํานวณ ปานกลาง

๒. มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห คดิ อยา งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ น ดี

ความคดิ เห็นและแกปญ หา ดี
ดี
๓. มีความสามารถในการสรา งนวตั กรรม ดี
ดี
๔. มคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร
ดี
๕. มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดี
ดี
๖. มีความรูท กั ษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี ตี อ งานอาชพี ดเี ลิศ

คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคของผเู รียน ดเี ลิศ
ดีเยยี่ ม
๑. การมคี ณุ ลักษณะและคา นยิ มทดี่ ตี ามทส่ี ถานศึกษากาํ หนด ดเี ลศิ
ดเี ลศิ
๒. ความภมู ิใจในทอ งถ่ินและความเปน ไทย
ดีเลศิ
๓. การยอมรับทีจ่ ะอยรู ว มกนั บนความแตกตางและหลากหลาย ดเี ลศิ
ดเี ลศิ
๔. สุขภาวะทางรางกายและจติ สงั คม
ดี
มาตรฐานที่ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดี

๒ ๑. มเี ปาหมายวสิ ัยทัศนแ ละพันธกิจทสี่ ถานศึกษากาํ หนดชัดเจน ดี
ดีเลิศ
๒. มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ดี
ดี
๓. ดําเนินงานพัฒนาวิชาการทเี่ นนคุณภาพผูเรยี นรอบดา นตามหลกั สูตรสถานศึกษา

และทกุ กลมุ เปา หมาย

๔. พฒั นาครูและบคุ ลากรใหมคี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชพี

๕. จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อ้อื ตอ การจดั การเรียนรูอยา งมีคณุ ภาพ

๖. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจดั การและการจดั การ

เรยี นรู

มาตรฐานที่ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นนผเู รยี นเปนสําคัญ

๓ ๑. จัดการเรยี นรูผา นกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใน

ชีวติ ได

๒. ใชส อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรียนรูทเ่ี ออ้ื ตอ การเรียนรู

๓. มีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก

๔. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเรียนอยา งเปนระบบ และนําผลมาพัฒนาผูเรยี น

๕. มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรแู ละใหข อมลู สะทอ นกลบั เพ่อื พฒั นาปรับปรุงการจดั การ

เรียนรู

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

๓๒

๓. จดุ เดน
ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

คณุ ภาพของผเู รียน
๑. ผูเรียนมีความสามารถในการอาน การเขียนสามารถสอ่ื สารไดทุกคน สามารถใชเทคโนโลยใี นการแสวงหา
ความรไู ดอยา งเหมาะสม ผูเรียนอา นออกเขียนได มีสุขภาพรา งกายแข็งแรง มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค
ตามท่ีกาํ หนด
๒. ผูเรียนสามารถเปนแบบอยางที่ดีในสังคมมีคุณลักษณะท่ีดีเปนผูนําผูตามท่ีดีมีความเสียสละ เพอ่ื สว นรวม
เขารวมกิจกรรมวนั สําคัญของชาติรวมกับชมุ ชน
๓. ดานสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ มีพัฒนาการทางกาย มีสมรรถภาพทางกายสมวยั และ หา งไกลสิ่งเสพติด

กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๑. โรงเรียนมีเปนหมาย วิสัยทัศนและพันธกิจทีส่ ถานศกึ ษากําหนดอยา งชัดเจน
๒. โรงเรียนมรี ะบบการบรหิ ารและการจัดการคุณภาพการศึกษา สงผลตอมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
๓. มีการนิเทศภายใน กาํ กบั และติดตาม ซึงเป็นหวั ใจในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
๔. มกี ารพัฒนาครูและบคุ ลากรใหม คี วามรคู วามสามารถอยา งตอเนื่อง
๕. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เอ้ือตอการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปน สาํ คัญ
๑. ครูมคี วามตงั้ ใจ มงุ ม่ันในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเรยี นรูโดยการคิด ได ปฏิบัตจิ ริง
๒. ครมู ีการใชวิธกี ารจัดการเรียนการสอน โดยใชประโยชนจากแหลง เรียนรทู ่ีหลากหลายทั้งในและนอก
หองเรียน
๓. ครูใหน ักเรยี นแสวงหาความรูจากสื่อเทคโนโลยดี วยตนเองอยา งตอเนอื่ ง
๔. นกั เรียนมีสว นรวมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดลอ มที่เออื้ ตอ การเรียนรู
๕. การวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปการศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษา สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน

๓๓

๔. จดุ ควรพฒั นา
๑. การวเิ คราะหผ ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและกาํ หนดคา เปาหมายเปนฐานขอมูล นํามาพัฒนาเพือ่

ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทุกกลุมสาระ และ การยกระดับผลการประเมินระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
๒ ความสามารถในการจัดการเรยี นรูทางเทคโนโลยีของครูและบคุ คลากรทุกคน
๓. สง เสรมิ สื่อเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ผา นระบบ Smart TV มีสว นรวมในการจัดกิจกรรมใหนักเรยี นได

เรียนรู
๔. พัฒนาระบบภาคเี ครือขา ย ทรัพยากรทางการศกึ ษา และ การมีสวนรวมทุกภาคสวน สรางคามเชอื่ ม่ัน

และเชื่อใจผูปกครองนกั เรียน

๕. สงเสริมความถนัด สรางอาชีพ ใหนักเรยี น พานักเรียนไปแหลง เรียนรู

๕. แนวทางการพัฒนา
โรงเรียนอสิ าณโกศลศึกษาจะเพ่ิมโครงการในแผนปฏิบัติงานประจาํ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ เพ่อื พัฒนาผูเรยี น

ระบบการบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรูทเ่ี นนผูเรียนเปนสําคัญ ดังนคี้ ือ
แผนปฏบิ ัติการที่ ๑ โครงการ TFE (Teams For Education) เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
แผนปฏิบัตกิ ารท่ี ๒ โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยเี พือ่ สนับสนนุ และขับเคลื่อนคุณภาพการจัด

การศกึ ษา
แผนปฏบิ ัตกิ ารท่ี ๓ โครงการพัฒนาบคุ ลากรสูครูมอื อาชีพ
แผนปฏบิ ัติการที่ ๔ โครงการสถานศึกษาแหง การเรียนรู

๖. ความตอ งการชว ยเหลือ
๑. ดา นงบประมาณ เพ่ือนํามาปรับปรงุ อาคารเรียนที่ชาํ รดุ ทรุดโทรม
๒. มีความตองการใหหนว ยงานท่ีเก่ียวของ ไดเขา มาตรวจเยี่ยม อยา งตอเนื่อง
๓. สนบั สนุนสอื่ internet ความเรว็ สงู ทเี่ พียงพอสาํ หรับรองรับการเรียนออนไลนพรอ มท้ังอุปกรณที่

ทันสมัย เชน Internet, Smart TV ฯ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR ) ปก ารศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรยี นอสิ าณโกศลศกึ ษา สังกัดสํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน


Click to View FlipBook Version