The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaeowlin promsri, 2020-03-03 03:52:29

หน้าปกโครงการ_merged_clone

หน้าปกโครงการ_merged

รายงานผลการปฏิบัติการ
แอนิเมช่นั เร่ืองการเตรยี มความพรอ้ มฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี

โดยใช้โปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6

เสนอ
นางสาวกนกพร รกั ษาเคน

จดั ทำโดย
นางสาวจิรภิญญา อดุ ม รหัสนกั เรียน 6022040004
นางสาวเกวลนิ พรมศรี รหัสนักเรียน 6022040024
นางสาวศริ ิลักษณ์ พงษ์สุข รหสั นกั เรยี น 602204005

ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ชน้ั ปที ี่ 3 กลมุ่ ท่ี 1
สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ

โครงการเล่มนี้เปน็ สว่ นหนึง่ ในวชิ าโครงการ รหัสวิชา (3204-8501)
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562
วิทยาลยั เทคนิคระยอง



กิตตกิ รรมประกาศ

การจัดทำโครงการแอนิเมชั่นเรื่อง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 น้ี สำเร็จลุล่วงไปได้อย่างดีด้วยคำเสนอแนะคร้ังน้ี
และแนะนำขอ้ คิดเห็นต่าง ๆ จึงใคร่ขอกราบพระคณุ เป็นอย่างสงู มา ณ โอกาสนี้

ขอขอบพระคุณอาจารย์ ศลิษา หนูเสมียน หัวหน้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจท่ีให้การสนับสนุน
ในการจดั ทำโครงการ

ขอขอบพระคุณอาจารย์ กนกพร รักษาเคน อาจารย์ประจำรายวิชา ที่ปรึกษาด้านวิชาการและ
สนับสนุนจัดทำโครงการเล่มน้ี ให้คำแนะนำความคิดในการจัดทำรูปเล่มเอกสารโครงการต่าง ๆ ของการ
ทำงานมาโดยตลอดจนประสบผลสำเรจ็ ลุล่วงตามวัตถปุ ระสงค์

ขอขอบพระคุณอาจารย์ ปรีชา คางงูเหลือม ครูท่ีปรึกษาโครงการร่วม ท่ีให้การสนับสนุนในการ
จัดทำโครงการ และช่วยให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการวางแผนการจัดโครงการ ให้คำแนะนำในทุก ๆ ด้านและให้
กำลังแกผ่ จู้ ดั ทำเสมอ

ช้ินงานและเล่มโครงงานผลโครงการนี้ สำเร็จลงได้ด้วยดีเพราะการปลูกฝังแนวความคิดการ
ทำงานท่ีมีคุณภาพ การมีคุณธรรมจริยธรรมท่ีดี การทำงานเป็นทีม ความอดทน ต่อหน้าที่
และความเสียสละ ที่สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ได้บ่มเพาะมาตลอดระยะเวลาของการศึกษาใน
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ผู้จัดทำขอขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง และขอมอบช้ินงาน
พรอ้ มเลม่ รายงานฉบับนีใ้ ห้เป็นสมบตั ิของสาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ เพ่อื นำไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไป

คณะผ้จู ัดทำ



ชือ่ โครงการ แอนิเมชนั่ เร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณว์ ิชาชพี

ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional CS6

ผจู้ ัดทำ นางสาวจริ ภญิ ญา อุดม รหสั นักเรียน 6022040004

นางสาวเกวลนิ พรมศรี รหสั นกั เรยี น 6022040024

นางสาวศิริลักษณ์ พงษ์สขุ รหสั นกั เรยี น 6022040053

ครผู ูส้ อนโครงการ นางสาวกนกพร รักษาเคน

ครูท่ีปรกึ ษาโครงการ นายปรีชา คางงเู หลอื ม

ปกี ารศึกษา 2562

บทคดั ยอ่

การจัดทำโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือการจัดทำโครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือสร้าง
ส่ือแอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
Professional CS6 เพ่ือเผยแพร่การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม
Adobe Flash Professional CS6 การศึกษาความพึงพอใจของผู้ชมส่ือแอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียม
ความพร้อมฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ด้วยโปรแกรม Adobe Flash

โดยมีวิธีดำเนินการโครงการน้ัน ผู้จัดทำจึงจัดทำแอนิเมช่ัน เร่ืองการเตรียมความพร้อมฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพโดยใช้โปรแกรม Adobe Flash Professional CS6 เพ่ือให้ความรู้ความเข้าใจ
แก่นักเรียนในการเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ได้ประเมินแบบสอบถาม
ความพึงพอใจโครงการแอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม
Adobe Flash Professional CS6 จำนวน 102 คน คือ นักเรยี นระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีที่
2 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ผลการสำรวจความพงึ พอใจของนักเรียน สถิติ
ท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าสถิติร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard deviation)

ผลของโครงการสำรวจความพึงพอใจจากแบบสอบถาม จำนวน 102 คน พบวา่ เพศชายคดิ เป็น
ร้อยละ 34.3 เพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 65.7 ของประชากรท้ังหมด จำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบ
ประเมินจำแนกอายุ จำนวน 102 คนพบวา่ อายุ 15-19 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 อายุ 20 ปีขึน้ ไป คิด
เป็นร้อยละ 0 ของประชากรท้ังหมด จำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกสถานะ จำนวน
102 คน พบวา่ นักเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 นักศึกษาคิดเป็นร้อยละ 0 ของประชากรท้งั หมด จำนวน
ร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกระดับการศึกษา จำนวน 102 คน พบว่าระดับ ปวช. คิดเป็น
ร้อยละ 100 ระดับ ปวส. คิดเป็นร้อยละ 0 ของประชากรทั้งหมด การวิเคราะห์ความพึงพอใจของ
กลมุ่ เปา้ หมาย พบว่าการทำแบบประเมนิ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก

สารบญั ค

บทคัดย่อ หนา้
กติ ตกิ รรมประกาศ ก
สารบญั ข
สารบัญต่อ ค
สารบญั ตาราง ง
สารบัญแผนภูมิ จ
สารบัญภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนำ ช

1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ 1
1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1
1.3 ขอบเขตของโครงการ 2
1.4 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั 2
1.5 คำจำกดั ความ 3
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้อง
2.1 แนวคดิ หลกั การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 4
2.2 แนวคิดและทฤษฎีการพฒั นานักเรยี น 5
2.3 แนวคิดเกย่ี วกบั การเตรยี มความพร้อมการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี 8
2.4 แนวคดิ และวิธกี ารออกแบบระบบ 12
2.5 โปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 13
บทท่ี 3 การดำเนินโครงการ
3.1 การศึกษาข้อมูลเบ้ืองตน้ 18
3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 18
3.3 ข้ันตอนการดำเนนิ การ 18
3.4 เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 21
3.5 ข้ันตอนการดำเนนิ การและเกบ็ รวบรวมข้อมูล 22
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์ 22
3.7 สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู 23

สารบญั (ตอ่ ) ง

บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงการ หนา้
4.1 ผลการดำเนนิ การ 25
33
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 34
5.1 สรุปอภิปรายผลโครงการ 35
5.2 ข้อเสนอแนะ

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบเสนอขออนมุ ัตโิ ครงการ
ภาคผนวก ข โครงการ
ภาคผนวก ค ภาพขั้นตอนการจดั ทำโครงกร
ภาคผนวก ง เครื่องมือการประเมนิ
ประวัตผิ ู้จดั ทำ



สารบัญตาราง หน้า
12
ตารางที่ 25
2-1 แสดงสญั ลักษณผ์ งั งานต่างทีจ่ ะนำมาใช้ในการแสดงระบบการทำงาน 26
4-1 แสดงขอ้ มลู ของผตู้ อบแบบประเมินจำแนกตามเพศ 26
4-2 แสดงข้อมลู จำแนกอายุของผู้ตอบแบบประเมิน 27
4-3 แสดงข้อมูลสถานะของผูต้ อบแบบประเมิน 28
4-4 แสดงขอ้ มูลระดบั การศึกษาของผ้ตู อบแบบประเมนิ
4-5 แสดงความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีเขา้ รว่ มโครงการแอนเิ มชั่นเร่อื ง 29
การเตรียมควาพรอ้ มฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ ดว้ ยโปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6 30
4-6 แสดงความพงึ พอใจของนักเรยี นทเี่ ขา้ ร่วมโครงการแอนเิ มชัน่ เร่ือง
การเตรียมควาพรอ้ มฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash 31
Professional Cs6
4-7 แสดงความพึงพอใจของนักเรียนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการแอนิเมช่ันเร่อื ง
การเตรยี มควาพร้อมฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6
4.8 แสดงการสรปุ ความพงึ พอใจของนักเรยี นที่เขา้ ร่วมโครงการแอนิเมชน่ั เร่อื ง
การเตรียมควาพรอ้ มฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6



สารบญั แผนภมู ิ หน้า
25
แผนภูมทิ ี่ 26
4.1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบประเมิน 27
4.2 แสดงระดบั อายขุ องผตู้ อบแบบประเมิน 27
4.3 แสดงสถานะของผู้ตอบแบบประเมนิ 28
4.4 แสดงสถานะของผู้ตอบแบบประเมนิ 29
4.5 แสดงความพึงพอใจ ดา้ นเน้อื หาสาระ 30
4.6 แสดงความพึงพอใจ ด้านการออกแบบและการดำเนินเร่อื งแอนิเมช่นั 32
4.7 แสดงความพึงพอใจ ด้านผลสมั ฤทธ์ใิ นการเขา้ ร่วมโครงการ
4.8 แสดงผลประเมนิ ความพึงพอใจ



สารบญั ภาพ หน้า
7
ภาพที่ 8
2.1 แสดงวงจรการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ 14
2.2 แสดงรูปแบบการเรยี นการรู้เชงิ ประสบการณ์ 14
2.3 แสดงสญั ลกั ษณ์โปรแกรม Adobe flash Professional cs6 15
2.4 แสดงรนั โปรแกรมเลือก try 15
2.5 แสดงอา่ นข้อตกลงและกดยอมรับขอ้ ตกลงในการใชง้ านโปรแกรม 16
2.6 แสดงกด Install เพ่ือเรม่ิ ติดต้ัง 16
2.7 แสดงโปรแกรมกำลังติดต้งั 17
2.8 แสดงลงโปรแกรมเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้
2.9 แสดงเข้าดหู นา้ โปรแกรม
ข.1 แสดงหน้าหลกั
ข.2 แสดงการเตรียมความพร้อมฝึกงาน
ข.3 แสดงขั้นตอน
ข.4 แสดงขัน้ ตอนที่ 1
ข.5 แสดงข้ันตอนที่ 1 เลือกสาขาวิขา
ข.6 แสดงขั้นตอนท่ี 1 ศูนยฝ์ ึกประสบการณ์
ข.7 แสดงขนั้ ตอนท่ี 1 เอกสารขอฝึกงาน
ข.8 แสดงขั้นตอนที่ 1 เอกสารขอฝกึ
ข.9 แสดงขั้นตอนท่ี 1 หนงั สือตอบรบั
ข.10 แสดงขัน้ ตอนท่ี 1 ศนู ย์ฝึกประสบการณ์
ข.11 แสดงขั้นตอนที่ 2 ลงทะเบียน
ข.12 แสดงขน้ั ตอนท่ี 3 การปฐมนเิ ทศ
ข.13 แสดงข้ันตอนท่ี 4 ศนู ยฝ์ ึกประสบการณ์ในหน่วยงาน
ข.14 แสดงข้ันตอนที่ 5 การประเมินผล
ค.1 แสดงสร้างชิ้นงานสือ่ แอนิเมชนั่
ค.2 แสดงช้นิ งาน
ค.3 แสดงเผยแพรโ่ ครงงาน
ค.4 แสดงประเมินความพงึ พอใจ
ค.5 แสดงจัดทำเอกสาร

บทที่ 1
บทนำ

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนากำลังคนระดับเทคนิคให้มี

สมรรถนะมีคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยความ
รว่ มมือระหวา่ งสถานศึกษากับภาคผลติ หรือภาคบริการหลังจากนักเรียนได้เรียนรู้จากภาคทฤษฎีและ
การฝึกปฏิบัติเบื้องต้นในสถานศึกษาในระยะหน่ึง ท้ังน้ีเพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์จริง ปัจจุบันนักเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เป็นจุดเร่ิมต้นการดำเนินงานในชีวิตจริง
แต่ปัญหาส่วนมากของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพท่ีพบจากนักเรียน คือ นักเรียนไม่ทราบข้อมูลและ
ความสำคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพอย่างเพียงพอ จึงเกิดการดำเนินการล่าช้า ไม่มีเป้าหมาย
ที่ชัดเจน เพราะการอ่านจากหนังสือคู่มือไม่น่าสนใจ และภาษาที่ใช้ในคู่มืออาจเข้าใจได้ยาก ทำให้
เข้าใจคลาดเคลอ่ื น

จากปัญหาข้างต้นนักเรียนไม่ทราบข้อมูลของการเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
อย่างเพียงพอที่จะสามารถดำเนินการต่อไปได้ ผู้จัดทำจึงค้นคว้าหาวิธีแก้ไข และพบว่าการสร้าง
แอนิเมช่ัน ที่ช่วยทำให้เกดิ ความนา่ สนใจในการศึกษาเพ่ิมมากขึ้น โดยการใช้โปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6 ซึ่งมีความสะดวกต่อการดำเนินงาน เช่น การสร้างตัวละคร ฉากพื้นหลัง ใช้
โปรแกรมในการปรับแตง่ เสียง และการเคลอื่ นไหวของตวั ละคร เป็นตน้

ดังน้ันผู้จัดทำจึงสร้างแอนิเมช่ันเรื่อง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โดยใช้
โปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 จัดทำข้ึนเพื่อต้องการให้นักเรียนที่จะได้รับการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ ได้เตรียมความพร้อม ความรู้ความสำคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ให้นักเรียนมองเห็นถึงเป้าหมายของตนเองและสามารถเตรียมความพร้อมในแต่ละข้ันตอนได้อย่าง
ถูกต้อง

1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ
ในการทำโครงการครั้งน้ี ผจู้ ัดทำได้ตง้ั วตั ถปุ ระสงคไ์ วด้ ังน้ี
1.2.1 เพ่ือสร้างแอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โดยใช้

โปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 และ โปรแกรม Adobe Photoshop Cs6
1.2.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ธุรกจิ วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ทีม่ ีต่อแอนิเมชนั่ เร่อื งการเตรียมความพร้อมฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี
1.2.3 เพ่ือเผยแพร่ แอนิเมชั่นเร่ืองการเตรยี มพร้อมความฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ผ่านโครงการ

ประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวชิ าชพี คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ

2

1.3 ขอบเขตของโครงการ
โครงการนี้ มีขอบเขต คือประชากรและกลุ่มตัวอย่าง,ขอบเขตชิ้นงาน, เครื่องมือที่ใช้ในการ

ประเมินผล มีรายละเอยี ดดังนี้
1.3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.3.1.1 ประชากร คือ นักเรยี นระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา

2562 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง จำนวน 349 คน
1.3.1.2 กลุม่ ตัวอยา่ ง คือ นักเรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์

ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน 102 คน เปรียบเทียบจากตาราง เครจซ่ีและมอร์แกน
(Krejcie & Morgan)

1.3.2 ขอบเขตช้นิ งาน
1.3.2.1 ด้านฮารด์ แวร์
1) Notebook
2) เครื่องปรนิ้ ซ์
3) เมาส์
4) หฟู งั
5) แผน่ CD
6) Flash drive
1.3.2.2 ดา้ นซอฟแวร์
1) โปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6
2) โปรแกรม Adobe Photoshop Cs6

1.3.3 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินผล คือ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อแอนิเมชั่นเร่ือง
การเตรียมความพรอ้ มฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี

1.4 ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ
1.4.1 ได้แอนิเมชั่น เร่อื งการเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ
1.4.2 ไดร้ ับความพงึ พอใจจากนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ

ท่มี ตี ่อแอนเิ มช่นั เรอื่ งการเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ในระดบั มาก
1.4.3 ได้เผยแพร่ แอนิเมชั่น เรือ่ งการเตรียมความพร้อมฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพผา่ นโครงการ

ผา่ นประกวดวชิ าชีพ ชมรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ

3

1.5 คำจำกดั ความ
1.5.1 แนวคิดหลักการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หมายถึง ตระหนักในบทบาทหน้าที่ของการ

ดําเนินงาน เพ่ือพัฒนาคุณภาพของนักเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้ มีความรู้ ความสามรถในการ
ปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้เป็นท่ีพอใจแก่ หน่วยงานฝึกงานหรือสถาน
ประกอบการณ์ การผลิตนักเรียนใหม้ คี ุณภาพทพี่ ึงประสงค์

1.5.2 การเตรียมความพร้อม หมายถึง การเตรียมตัวนักเรียนให้พร้อมก่อนออกไปที่จะเผชิญ
ชวี ิตภายนอกสถาบัน ในด้านทัศนคติ ลักษณะนิสัย ความรู้ ความสามารถ ท่ีเก่ียวข้องกับทักษะในการ
ปฏิบัติงานบริการ โดยต้องมีสภาวะ สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา รวมท้ัง
บคุ ลิกภาพทเี่ หมาะสม เพอื่ เพ่ิม โอกาสในการไดง้ านทำเมื่อจบการศึกษา

1.5.3 ความสำคัญของการเตรียมความพร้อม หมายถึง การตัดสินใจเลือกอาชีพการศึกษาเพื่อ
จะเพ่ิมเติมหรือการหางานท่าหากนักศึกษาต้องการได้งานทำจึงควรมีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่
ระบบการทำงานโดยพัฒนาตนเองและฝึกฝนตนเองให้มีคุณสมบัติเหมาะสม การเตรียมความพร้อมมี
เป้าหมายเพ่ือพัฒนาคุณภาพการบริการให้มีประสิทธิภาพและมีความชัดเจนสามารถใช้ประโยชน์ได้
เพราะกระบวนการทำงานทช่ี ัดเจนเหมาะสมมีการปรบั ปรงุ ระบบการทำงานและนำแผนไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
อยา่ งไดผ้ ล

1.5.4 โปรแกรม Adobe Flash professional cs6 หมายถึง เป็นซอฟต์แวร์ท่ีช่วยในการใช้
สร้างมัลติมีเดยี , ภาพเคล่ือนไหว (Animation), ภาพกราฟิกท่ีมคี วามคมชัด เนื่องจากเป็นกราฟิกแบบ
เวคเตอร์(Vector), สามารถเล่นเสียงและวีดีโอ แบบสเตริโอได้, สามารถสร้างงานให้โต้ตอบกับผู้ใช้
(Interactive Multimedia) มีฟังก์ชั่นสำหรับการเขียนโปรแกรม (Action Script) และยังทำงานใน
ลักษณะ CGI โดยเชื่อมต่อกับการเขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ ได้มากมาย เช่น ภาษา PHP, JSP,
ASP, ASP.NET, C/C++, C#, C#.NET, VB, VB.NET, JAVAและอื่นๆ

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎที ี่เก่ยี วขอ้ ง

บทท่ี 2
เอกสารและทฤษฎที เี่ ก่ยี วขอ้ ง

เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการครั้งน้ี คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารและทฤษฎีที่
เกีย่ วขอ้ งตา่ ง ๆ ดงั น้ี

2.1 แนวคดิ หลกั การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี
2.2 แนวคดิ และทฤษฎกี ารพัฒนานักศกึ ษา
2.3 แนวคดิ เกย่ี วกับการเตรยี มความพร้อมการฝึกประสบการณว์ ิชาชพี
2.4 แนวคิดและวิธีการออกแบบระบบ
2.5 โปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6

2.1 แนวคดิ หลักการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ
2.1.1 สถานศึกษาสายอาชีพทุกแห่ง และสถาบันการอาชีวะศึกษา (สุรีย์ สุเมธีนฤมิต 2539 : 3)

ได้กล่าวว่า การตระหนักในบทบาทหน้าที่ของการดําเนินงาน เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียนฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพให้ มีความรู้ ความสามารถในการปฏบิ ัติหน้าที่ของตนเอง ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
และให้เป็นท่ีพอใจแก่ หน่วยงานฝึกงานหรือสถานประกอบการ เพ่ือผลิตนักเรียนให้มีคุณภาพท่ีพึง
ประสงค์ อาจพจิ ารณาได้จากองคป์ ระกอบ 3 ประการ คือ

2.1.1.1 นักเรียนท่ีเข้ารับการศึกษา ( Input ) คือ ผลดีต่อการเสริมสร้างให้มีคุณภาพ
ของการปฏิบัติงานในหนา้ ท่ีนกั เรยี น และดําเนนิ การให้มีคุณภาพที่พงึ ประสงคน์ ้ีใหไ้ ด้

2.1.1.2 กระบวนการผลิตนักเรียน ( Process ) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ในหลักสูตร ซึ่ง จะต้องมีการประสานทางด้านทฤษฎีและทางด้านปฏิบัติให้สอดคล้องควบคู่กันไป
โดยคํานึงถงึ ผลของ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหม้ คี ณุ ภาพที่พึงประสงค์

2.1.1.3 นักเรียนที่จบการศึกษา ( Output ) เป็นนักเรียน มีความรู้ ความสามารถใน
การปฏิบัติงานหน้าท่ีของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็น ท่ีพอใจแก่หน่วยงาน
ที่ปฏิบัติ และเป็นท่ียอมรับของสังคมโดยท่ัวไปด้วย การฝึกประสบการณ์วิชาชีพหนึ่ง เป็นส่วนหน่ึง
ของกระบวนการจัดการศึกษาในระดับอาชีวะศึกษา ไม่ว่าจะในสาขาวิชาชีพใดก็ตาม เป็นกิจกรรมที่
มงุ่ เสริมให้นักเรยี น ได้รับประสบการณ์ตรงในการทํางาน เป็นการเรียนรูส้ ถานการณ์และสภาพการณ์
ท่ีเป็นจริงของการทํางาน อีกทั้งเป็นการนําเอาความรู้ที่ได้รับ ท้ังทางทฤษฎีและปฏิบัติไปทดลองใช้
เพ่ือเป็นการตอกย้ำให้เกิดความชัดเจน เห็นจริง ในองค์ความรู้ที่ได้รับ อันจะเป็นประโยชน์สําหรับ
นกั เรียนในการเตรียมความพร้อม ในพฤตกิ รรมทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็นในส่วนของบุคลิกภาพ สติปัญญา
เจตคติท่ีถูกต้องเหมาะสม เพ่ือที่จะออกไปดําเนินชีวิต และประกอบอาชีพไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ เกิด
ประสทิ ธผิ ลต่อสังคมในท่ีสุด แนวคดิ ของการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี มดี งั น้ี

5

1. การบริหารงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
2. กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ซ่ึงเป็นการบูรณาการทั้งหลักการ
และการปฏิบัติงานของวิชาชีพทุกด้าน ต้องมีการประสานงานทางด้านการบริหาร การจัดการ
กระบวนการเรียนการสอน และบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ ง ทสี่ อดคลอ้ งกัน และทม่ี ุ่งไปสเู่ ป้าหมาย
3. ตอ้ งมหี นว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ
2.2 แนวคดิ และทฤษฎกี ารพัฒนานกั เรียน
2.2.1 ทฤษฎีการพั ฒ นานัก เรียนของชิคเคอริง ( Chickering ' s Theory of Student
Development 1969:28 ) เป็นทฤษฎีที่เน้นการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลในช่วงอายุ 17 - 25 ปี
โดยชิคเคอรงิ ได้ทำการศึกษาพัฒนาการของนักเรยี นชายและหญิง สร้างทฤษฎีเพ่ือพัฒนานกั เรียนขึ้น
ในปี ค.ศ. 1969 ค.ศ. 1972 และปรับปรุงเพิ่มเติม ใน ค.ศ. 1996 ผลของการพัฒนาบุคลิกภาพของ
บคุ คลอาจเกิดข้นึ ได้ท้ังทางบวกและทางลบ ข้ึนอยู่กบั สภาพแวดล้อมที่บุคคลน้ันได้รับ และผลของการ
พัฒนาในข้ันก่อนจะมีอิทธิพลต่อการพัฒนาในข้ันหลัง สำหรับการพัฒนานักศึกษาตามทฤษฎีการ
พัฒนานักเรียนของชิคเคอริง พบว่า เมื่อนักเรียนได้ นักเรียนจะมีการพัฒนาศักยภาพได้ถึง 7 ด้าน
ดังน้ี
2.2.1.1 การพัฒนาความสามารถ ( Developing Competence ) ประกอบด้วย การ
พัฒนา ความสามารถในด้านสติปัญญา ที่เก่ียวกับเน้ือหาสาระท่ีเป็นนามธรรม การรวบรวม ความคิด
การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ ท่ีเกิดจากการสังเกตและประสบการณ์ของตนเอง การพัฒนา
ความสามารถด้านร่างกายและการใช้มือ เป็นความสามารถในการใช้พลังกายและพลังใจในการ
ออกแบบและการสร้างสิ่งท่ีเป็นรูปธรรมในการดำรงชีวิต การพัฒนาความสามารถในด้านสังคม เป็น
ความสามารถในการสื่อสารกับผู้อื่นอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ โดยนักเรียนสามารถพัฒนา
ความสามารถดงั กลา่ วจากสมรรถภาพตำ่ ไปสู่สมรรถภาพทีส่ งู ข้นึ
2.2.1.2 การพัฒนาการควบคุมอารมณ์ ( Managing Emotions ) เป็นการทำความ
เข้าใจ อารมณ์ของตนเอง การปรับและการควบคมุ อารมณ์ โดยการพัฒนาจากการระงับอารมณ์ไม่ได้
การ แสดงออกทางอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม จนกระท้ังพัฒนาไปสู่การควบคุมอารมณ์ได้ และแสดงออก
อยา่ งเหมาะสมและรกู้ าลเทศะในการแสดงอารมณ์
2.2.1.3 การพัฒนาความเป็นอิสระสู่การพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน ( Moving Through
Autonomy Toward Interdependence ) เป็นการพัฒนาความเป็นตัวของตัวเองจากวัยเด็ก สู่
วัยรุ่นและสวู่ ยั ผใู้ หญ่ โดยการพัฒนาจากความไมเ่ ช่อื มั่นในตนเอง หรอื ความเป็นอสิ ระไม่ข้ึนกับใคร ไม่
พ่ึงพาผู้อ่ืน ไปสู่ การพัฒนาเป็นผู้มีความม่ันใจในตนเอง มองชีวิตท่ีกว้างออกไปสู่ชุมชนและสังคม
ตลอดจนตระหนกั และยอมรับความสำคัญในการพง่ึ พาผูอ้ นื่

6

2.2.1.4 การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบคุ คลอย่างมีวุฒิภาวะ ( Developing Mature
Interpersonal Relations ) เป็นการพัฒนาความอดกล้ัน การยอมรับนับถือบุคคลท่ีมีความแตกต่าง
กัน กับตนเอง ท้ังในด้านภูมิหลัง อุปนิสัย ค่านิยม และเชื้อชาติ โดยการพัฒนาจากการขาดความ
เข้าใจใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล ขาดความอดทน ไม่มีมิต รภาพท่ีย่ังยืน ไปสู่การสร้าง
ความสัมพันธ์ท่ี ถาวรระหว่างบุคคล มีความเข้าใจ มีความอดทน ยอมรับความแตกต่าง และมีความ
ผกู พนั กับเพอ่ื น คนรัก และเพอื่ นรว่ มงาน

2.2.1.5 การสรา้ งเอกลกั ษณ์ของตนเอง ( Establishing Identity ) เป็นการยอมรับการ
เปล่ียนแปลงทางด้านร่างกายในช่วงวัยรุ่นสู่วัยผู้ใหญ่ตอนต้น เป็นการพัฒนาบุคลิกภาพของตนเอง
เกี่ยวกับลักษณะท่าทาง และการแสดงบทบาทให้สอดคล้องกับเพศของตน พัฒนาความสนใจในด้าน
อาชีพ การดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับตนเอง บุคลิกภาพของตนเองไปสู่การรู้จักตนเอง ยอมรับตนเอง
มนั่ ใจในตนเองมากข้นึ

2.2.1.6 การพัฒนาเป้าหมาย ( Developing Purpose ) เป็นความสามารถในการบูร
ณาการ เป้าหมายในด้านอาชีพ งานอดิเรก การวางแผนในการดำรงชีวิต โดยการพัฒนาจากความ
สนใจที่ แคบๆ กระจดั กระจาย ไม่ม่ันใจในอาชพี ไปสู่การมเี ปา้ หมายชีวิตของตนเองทช่ี ัดเจน

2.2.1.7 การพัฒนาบรู ณาการของชีวติ ( Developing Integrity ) เปน็ การพฒั นาตนเอง
ให้ สามารถควบคุมพฤติกรรมของตน มีความเช่ือในตนเอง มีความพึงพอใจในชีวิตของตนเอง มี
ค่านิยม ท่ีดีต่อความเป็นมนุษย์ โดยการพัฒนาจากความคิดท่ีตายตัว ยอมรับและเคารพความคิดของ
ผู้อนื่ มั่นคงใน ค่านิยมของตนเอง และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมมากขนึ้

2.2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยตนเอง Vygotsky (Vedeboncoeur 1997: 27 citing Vygotsky
1986:) มาจากแนวคิดทฤษฎีของการสร้างความรู้ใหม่ด้วยตนเองตามปรัชญาสร้างสรรค์ความรู้นิยม
(Constructivism) เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีมีพ้ืนฐานทางจิตวทิ ยาปรัชญาและมานุษยวทิ ยาโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งจากจิตวิทยาด้านปัญญา (Cognitive psychology) โดยเชื่อว่าความรู้ไม่ได้มาจากการค้นพบ
ภายนอกหรือส่ิงแวดล้อมแต่เป็นความรู้ท่ีมนุษย์สร้างข้ึนภายในจิตใจแนวคิดทฤษฎีการสร้างความรู้
ด้วยตนเองของ Vygotsky มีความเชื่อว่าการพัฒนาตนเองของบุคคลมีอิทธิพลมาจากบริบททางสังคม
ส่ิงแวดล้อมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลซึ่งจะส่งผลต่อวิธีการหาความรู้ในการเรียนเช่นพัฒนาการ
ด้านภาษาเป็นการเรียนรู้จากบุคคลรอบข้างและการติดต่อสื่อสารในสถาบันซึ่งจะส่งผลต่อวิธีการหา
ความรู้ในการเรียนพัฒนาการด้านสติปัญญาของมนุษย์เป็นการเชื่อมโยงความรู้จากสังคมสู่บุคคล
แนวคิดของ Vygotsky

2.2.3 ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic learning) (ทิศนาแขมมณี 2550:
133-137) ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจรงิ (Authentic learning) เป็นแนวทางหนึ่งที่นำมาใช้
ในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดีทิศนาแขมมณี (ทิศนาแขมมณี 2550-137-139) ได้

7

ให้นิยามหลกั การองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง การจัดการเรียนรตู้ าม
สภาพจริงการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริงหมายถึงการดำเนินการช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้โดย
การให้ผู้เรียนเข้าไปเผชิญปัญหาในสภาพจรงิ ปัญหาจริงในบริบทจริงและร่วมกันศึกษาเรียนรู้แสวงหา
ความรู้และข้อมูลและวธิ ีการต่างๆเพื่อที่จะแก้ไขปญั หาผลการแกไ้ ขปัญหาสอดคลอ้ งกับสภาพเป็นจริง
แนวคดิ การตัดสนิ ใจและนำไปสกู่ ารนำไปใช้ในชีวิตประจำวันหลักการของการจัดการเรียนรูต้ ามสภาพ
จริงหลกั การพน้ื ฐานของการจดั การเรียนรตู้ ามสภาพจรงิ มดี ังน้ี

2.2.3.1 การเรียนรู้ใดๆกต็ ามย่อมมคี วามสัมพนั ธ์กับเร่อื งๆน้นั เป็นการเรยี นรู้ที่
คำนึงถงึ บริบทสง่ิ แวดล้อมที่สัมพันธก์ บั ความเปน็ จรงิ เพ่ือให้ผู้เรยี นนำไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ได้

2.2.3.2 สภาพจรงิ ข้อมลู จริงเป็นโลกแห่งความเปน็ จริงซึ่งทุกคนจะต้องเผชิญ ดังนัน้
การให้ผู้เรยี นเผชญิ กบั สภาพการณจ์ ริงปัญหาจริงจึงเปน็ โอกาสท่ีช่วยให้นกั เรยี นได้เรยี นรู้ความเปน็

2.2.3.3 การเรยี นรูค้ วามเปน็ จรงิ ของจริงเปน็ การเรียนร้ทู ่ีมคี วามหมาย เพราะ
สามารถนำไปใช้ได้เปน็ ประโยชน์ตอ่ นักเรยี นจงึ เป็นส่ิงทก่ี ระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความใฝ่รู้อยากเรยี นรู้

2.2.3.4 การใหน้ กั เรยี นเผชิญปญั หาและแกป้ ัญหาจะช่วยให้ผู้เรียนพฒั นาทกั ษะที่
จำเปน็ ต่อการดำรงชีวติ จำนวนมาก

สรุปได้ว่าหลักการเรียนรู้ตามสภาพจริงเป็นการเรียนรู้ที่ต้องพิจารณาบริบท
แวดลอ้ มกบั ความเป็นจริงกับสิ่งท่ีตอ้ งการเรียนรู้ผเู้ รยี นไดม้ ีโอกาสได้เผชิญกับสถานการณ์จริงนักเรียน
สามารถนำความรูท้ ักษะประสบการณไ์ ปใช้ได้จริง

ภาพที่ 2.1 แสดง วงจรการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
จากแผนภาพท่ี 2.1 แสดง สามารถอธิบายวงจรการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ดงั น้ี

1) การสร้างประสบการณ์ (Experiencing) การกระทำ“ Doing
"งานไมว่ า่ จะเปน็ งานเด่ยี วงานกลมุ่

8

2) การสะท้อน (Reflection) ไตร่ตรองในสิ่งท่ีทำไปแล้วทักษะท่ี
ต้องการคือความต้ังใจการวิเคราะห์ความแตกต่างและความสามารถในการติดต่อส่ือสารกับผู้อื่นท้ัง
ดา้ นค่านิยมทศั นคตคิ วามเชอ่ื

3) นามธรรม (Corseptualization) หมายรวมถึงเหตุการณ์ทส่ี ังเกต
ได้และเข้าใจถึงความสัมพันธร์ ะหว่างกันแนวคิดทีไ่ ด้จะช่วยในการกำหนดกรอบและอธิบายเหตุการณ์
เกิดข้ึน

4) การวางแผน (Planning) ช่วยให้เข้าใจในสิ่งใหม่และสามารถ
ทำนายได้วา่ จะเกิดอะไรข้นึ ต่อไปต่อมา Kolb สรา้ งรูปแบบการเรียนร้เู ชิงประสบการณ์)

ภาพท่ี 2.2 แสดง รูปแบบการเรยี นการรู้เชงิ ประสบการณ์
2.3 แนวคิดเก่ยี วกับการเตรยี มความพรอ้ มการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี

2.3.1 ความหมายของการเตรียมความพร้อม
ไลเบอร์แมน ( Lieberman David A . 1992 : 235 ) กล่าวถึงความหมายของการเตรียม

ความพร้อม หมายถึง การท่ีบุคคลมีการวางแผนให้กับตนเองเพื่อให้พร้อมที่จะเรียนรู้ในส่ิงต่างๆ ทำ
ให้บุคคลเกิดความพอใจและเกิดตามท่ีมุ่งหวังไว้ อรุณพร เนียมสุวรรณ ( 2549 : 11 ) กล่าวว่า การ
เตรียมความพร้อม หมายถึง การแสดง พฤติกรรมของบุคคลในการเตรียมตัวเพ่ือให้เกิดความพร้อมท่ี
จะเรียนรู้หรือกระทำส่ิงต่างๆ โดย สามารถควบคุมตนเอง เพ่ือให้เกิดความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย
และจิตใจ สำหรับการเรียนรู้หรือ ภารกระทำส่ิงต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ นานา / LL
กุสุมา ยกฐ ( 2553 : 25 ) กล่าวถึงความหมายของการเตรียมความพร้อม หมายถึง การ แสดงออก
ของบุคคลทางด้านของความคิด ความรู้สึก ทัศนคติ และการแสดงพฤติกรรมในการ เตรยี มตัวเพ่ือให้
เกิดความพร้อมที่จะเรียนรู้ โดยสามารถควบคุมตนเองประกอบกับการวางแผนใช้ เวลาที่เหมาะสมมี
การเอาใจใส่ หมั่นฝึกฝน เพ่ือให้บรรลุในเป้าหมายท่ีต้องการ จากความหมายของนักวิชาการหลายๆ
ท่านทีก่ ล่าวมาขา้ งตน้

9

สรุปได้ว่า การเตรียมความพร้อม เป็นการเตรียมตัวนักเรียนให้พร้อมก่อนออกไปเผชิญ
ชวี ิตภายนอกสถาบัน ในด้านทศั นคติ ลักษณะนิสัย ความรู้ ความสามารถ ท่ีเก่ียวข้องกับทักษะในการ
ปฏิบัติงานบริการ โดยต้องมีสภาวะ สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา รวมท้ัง
บุคลิกภาพที่เหมาะสม เพ่ือเพิ่ม โอกาสในการได้งานทำเมื่อจบการศึกษา แมคเคชนี ( อ้างถึงใน
สุวรรณี รอดบำเรอ 2534 : 45 ) กล่าวว่า การเตรียมความพร้อมเป็นลักษณะที่ผู้กระทำมีความ
คล่องตัว กระตือรือร้น ความต้ังใจในการ กระทำพฤติกรรมต่างๆ เพื่อให้กิจกรรมที่ทำนั้นบรรลุผล
สำเร็จ และเบญจพร วชิระศรสี ุนทรา ( 2545 : 10 ) กไ็ ดก้ ล่าวถงึ ความหมายการเตรียมความพร้อมว่า
เป็นการเตรียมตัวนักศึกษาให้พร้อมก่อนท่ีจะ ออกไปเผชิญชีวิตภายนอกสถานศึกษา โดยเป็นผู้ที่มี
สภาวะสมบูรณ์ท้ังทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความสามารถท่ีจะเรียนรู้
และทำกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างสัมฤทธิ์ผลโดยผ่าน การฝึกฝนและการเตรียมตัวล่วงหน้า การเตรียม
ความพรอ้ มเพอ่ื การมีงานทำจะต้องมีการเตรียมความพร้อมในดา้ นต่างๆ ดงั น้ี

2.3.1.1 ความพร้อมทางดา้ นความรู้ ความสามารถ ประสบการณพ์ เิ ศษ
2.3.1.2 ความพร้อมทางด้านบุคลิกภาพ
2.3.1.3 ความพรอ้ มในการทำงาน
2.3.2 ความสำคญั ของการเตรียมความพร้อม
การเตรียมความพร้อมมีผลต่อการตดั สินใจเลือกอาชีพการศกึ ษาเพมิ่ เติมหรือการหางาน
ท่าหากนักศึกษาต้องการได้งานทำจึงควรมีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ระบบการทำงานโดย
พัฒนาตนเองและฝึกฝนตนเองให้มีคุณสมบัติเหมาะสมตรงกับความต้องการของนายจ้างเพื่อให้ได้เข้า
ทำงานการเตรียมความพร้อมมีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาคุณภาพการบริการให้มีประสิทธิภาพและมีความ
ชัดเจนสามารถใช้ประโยชน์ได้เพราะกระบวนการทำงานท่ีชัดเจนเหมาะสมมีการปรับปรุงระบบการ
ทำงานและนำแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างได้ผล จิราวรรณ เครือคำปัว (2546: 53) การเตรียมความ
พร้อมเปน็ การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้รับบริการอย่างมีคณุ ภาพและมคี วามเป็นธรรมซ่ึงผู้รบั บริการมี
ความม่ันใจกับคำแนะนำเก่ียวกับการใช้บริการอย่างชัดเจนได้รับความเช่ือถือได้รับความเป็นธรรม
สร้างจิตสำนึกและความตระหนักของการให้บรกิ ารแก่ผู้รับบริการทำให้ผู้ให้บริการมีเจตคติที่ดีต่อการ
ให้บริการซึ่งผู้ที่จะปฏิบัติงานบริการได้ท่ีจะต้องมีค่านิยมหรือเจตคติท่ีดีต่อการให้บริการ และมี
ความรู้สึกภาคภูมิใจต่ออาชีพบริการและพยายามท่ีจะทำงานนั้นให้บรรลุผลสำเร็จอย่างมี
ประสิทธิภาพมากท่ีสุดดังน้ันคุณสมบัติที่เหมาะสมในการให้บริการคือมีจิตสำนึกของการบริการมี
สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์มีอธั ยาศัยท่ีดีมคี วามสามารถในการปรับตัวมีความร้คู วามสามารถท่ีเหมาะสม
มีบุคลิกลักษณะท่ีดีมีความรู้ความสามารถในการบริการเพื่อตอบสนองความต้องการในการบริการได้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

10

2.3.3 องคป์ ระกอบสำคญั ในการเตรยี มความพร้อม
2.3.3.1 ความสนใจหรือความใส่ใจ (Attention Set) เป็นลักษณะทางจิตใจท่ีมีความ

สบื เน่ืองกันเปน็ ชุดจึงมีช่ือเรียกว่า Attention Set หรอื ชดุ ท่ีทำใหเ้ กดิ ความใสใ่ จคอื สง่ิ แรกสดุ จะต้องมี
สิ่งเร้ามาเรา้ เช่นกรณีท่ีครชู ้ตี วั อักษรให้เด็กดูเด็กจะเกิดความสนใจในสิง่ ท่ีครชู ้ีความรูส้ กึ สนใจหรอื ใสใ่ จ
มิได้เพียงแต่มองตามที่ครูชเ้ี ท่านั้นแตเ่ ด็กจะเกิดการตอบโต้ขนึ้ โดยอาจฝึกตามไปหรือออกเสียงตามไป
เบาๆหรือออกเสียงดับๆตามครูการตอบสนองนี้จะเกิดข้ึนสืบเนื่องกันเป็นลูกโซ่ตลอดไปในขณะที่มี
ความใส่ใจอยู่นอกจากน้แี ล้วเด็กยังมคี วามรู้สึกหรือความคดิ ตา่ ง ๆ ตามไปด้วย

2.3.3.2 แรงจูงใจ (Motivation) ท่ีจะเรียนเป็นผลสืบเน่ืองมาจากความใสใ่ จในการเรียน
คือเมื่อความใส่ใจในการเรียนมีมากขึ้นก็จะมีผลให้เกิดความต้องการอยากรู้อยากเรียนหรือเกิด
แรงจูงใจในการเรียนของเด็กซึ่งมีสองลักษณะคือแรงจูงใจที่ได้งาน (Task Motivation) และแรงจูงใจ
ท่จี ะได้ผลสมั ฤทธิ์ (Achievement Motivation)

2.3.3.3 สภาพของพัฒนาการ (Developmental Status) เป็นเรื่องที่เก่ียวข้องกับการ
เจ ริ ญ เติ บ โต ข อ งก ล้ าม เนื้ อ ร ะบ บ ป ร ะ ส าท แ ล ะ ส ติ ปั ญ ญ าก าร เรี ย น รู้ อ ย่ างง่าย ๆ เป็ น ก าร ส ร้ าง
ประสบการณ์หรอื ความรพู้ ้ืนฐานในแก่เด็กทำให้เดก็ สามารถรบั รู้และดดั แปลงการเรยี นรู้ของตนตามท่ี
ได้เรียนรู้มาแล้วให้เข้ากับความรู้ใหม่ท่ีได้รับอย่างต่อเนื่องกัน วราภรณ์รักวิจัย (2527: 17)ได้กล่าวถึง
องค์ประกอบของความพร้อมในการเรยี นดงั น้ี

1. ดา้ นรา่ งกาย ไดแ้ ก่ รบั การดแู ลสขุ ภาพอนามยั ท่ดี ี
2. ด้านสติปัญญา ได้แก่ ความสามารถด้านความคิด การหาเหตุผล แก้ปัญหา
ความสามารถในการรับรู้ การจดจำ
3. ด้านอารมณ์ ได้แก่ อยากรู้อยากเห็นความมั่นคงทางอารมณ์ ความเข้าใจ
ความรสู้ ึกของตนเองและผู้อน่ื
4. ด้านสังคม ได้แก่ ความรับผิดชอบ การปรับตัวเข้ากับ สิ่งแวดล้อม ท่ีได้รับ
และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2.3.4 ขน้ั ตอนการเตรยี มความพร้อมเพื่อพฒั นาความก้าวหนา้ ของผ้คู นในแตล่ ะขัน้ ตอน
2.3.4.1 การประเมินตนเอง ก่อนใครทุกคนทำได้โดยการขอคำปรึกษาแนะนำหรือด้วย
การทดสอบเพื่อท่ีแตล่ ะคนจะได้ประเมินความสามารถตลอดจนจุดอ่อนจุดแข็งของตนเองซ่งึ จะช่วยให้
บคุ คลน้ันได้ตระหนักถึงตนเอง วางแผนในการพัฒนาความก้าวหนา้ ในอาชพี การงาน
2.3.4.2 การเสาะทางข้อมูลท่ีเก่ียวกับอาชีพ ในขั้นตอนน้ีต้องรู้จักการสืบและเสาะหา
ข้อมูลต่างๆ มองว่าตัวตนจะเดินไปทางไหนบ้าง การกำหนดระยะห่างจากการเก็บข้อมูลและประเมิน
โอกาสตา่ ง ๆ

11

2.3.4.3 การกำหนดเป้าหมายท่ีพึงประสงค์ในอาชีพของตนเองได้ในความก้าวหน้าก็ควร
มกี ารกำหนดจำนวนเงนิ ที่พงึ ประสงค์ในอาชพี ของตนเองได้รบั

2.3.4.4 การวางแผนความก้าวหน้าของอาชีพและการดำเนินการตามแผนตามเปา้ หมาย
โดยมีการดำเนนิ การตามแผนและมกี ารตรวจสอบความสำเร็จนั้น ๆ จนถงึ เป้าหมายท่ตี ้องการ

2.3.5 การเตรยี มพรอ้ มด้านเอกสาร การฝึกประสบการณ์วิชาชพี
ขน้ั ตอนขอหนงั สือเขา้ รับการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพมี ดงั น้ี
2.3.5.1 ขอหนงั สือทำเรื่องการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี จากระบบทวภิ าคี
2.3.5.2 ยนื่ แบบฟอร์มแจง้ สถานประกอบการณ์
2.3.5.3 รับเอกสารขอความอนเุ คราะหร์ บั การฝกึ งาน
2.3.5.4 สถานประกอบการณส์ ่งกลบั แบบตอบรับนักเรียนเข้าฝึกงาน
2.3.5.5 รับเอกสารสง่ ตวั เขา้ ฝึกงาน

12

2.4 แนวคิดและวธิ ีการออกแบบระบบ
การออกแบบระบบ (System Flowchart) เป็นผงั งานทีแ่ สดงถึงข้นั ตอนการทำงานภายในระบบ

หนึ่ง ๆ โดยจะแสดงถึงความเก่ียวข้องของส่วนที่สำคัญต่าง ๆ ในระบบน้ัน เช่น เอกสารเบ้ืองต้นหรือ
สอ่ื บันทึกขอ้ มูลท่ีใช้อยู่เป็นอะไร และผ่านไปยังหน่วยงานใดมีกิจกรรมอะไรในหนว่ ยงานนั้นแล้วจะส่ง
ต่อไปหน่วยงานใด เป็นต้น ดังน้ันผังงานระบบอาจเก่ียวข้องกับคน วัสดุ และเครื่องจักร
ซึ่งแต่ละจุดประกอบด้วยการนำข้อมูลเข้าวิธีการประมวลผลและการแสดงผลลัพธ์ (Input–Process-
Output) ว่ามาจากทีใ่ ดอย่างกวา้ ง ๆ จงึ สามารถเขยี นโปรแกรมจากผงั งานระบบได้

สัญลักษณ์ ความหมาย
การเริ่มตน้ การจบ (Terminal Interrupt)

การประมวลผล (Data Processing)

การนำเข้าขอ้ มูล (Data Import)

การตัดสินใจ (The decision)

จุดเช่ือมต่อ (Connectivity)

เรยี กโปรแกรมยอ่ ย (The subprogram)
เสน้ แสดงทศิ ทาง (Flow Line)

ตารางท่ี 2.1 แสดงให้เห็นว่า สญั ลกั ษณ์ผงั งานตา่ งท่จี ะนำมาใชใ้ นการแสดงระบบการ
ทำงาน (System Flowchart) เช่น สญั ลกั ษณก์ ารเริ่มต้น การจบ การเชื่อมต่อ เป็นต้น

13

2.5 โปรแกรม Adobe Flash professional cs6
2.5.1 ความหมายของโปรแกรม Adobe Flash professional
เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการสร้างส่ือมัลติมีเดีย , ภาพเคลื่อนไหว (Animation),

ภาพกราฟิกที่มีความคมชัด เนื่องจากเป็นกราฟิกแบบเวคเตอร์(Vector), สามารถเล่นเสียงและวีดิโอ
แบบสเตริโอได้, สามารถสร้างงานให้โต้ตอบกับผู้ใช้(Interactive Multimedia) มีฟังก์ช่ันสำหรับการ
เขียนโปรแกรม (Action Script) และยังทำงานในลักษณะ CGI โดยเชื่อมต่อกับการเขียนโปรแกรม
ภาษาอื่นๆ ได้มากมาย เช่น ภาษา PHP, JSP, ASP, ASP.NET, C/C++, C#, C#.NET, VB, VB.NET,
JAVAและอื่นๆ โดยเฉพาะข้อดีของโปรแกรม Flash คือ ความสามารถในการบีบอัดไฟล์ให้มีขนาด
เล็ก มีผลทำให้แสดงผลได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นยังแปลงไฟล์ไปอยู่ในฟอร์แมตอื่น ได้หลากหลาย
เช่น avi, mov, gif, wav, emf,eps, ai, dxf, bmp, jpg, gif, png เป็นต้น

โปรแกรม Flash เร่ิมมีช่ือเสียงประมาณปี พ.ศ. 2539 จนถึง ปัจจุบันได้ถูกนำมาใช้งาน
อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะเทคโนโลยีเว็บ ทำให้การนำเสนอทำได้อย่างน่าสนใจ นอกจากน้ัน
โปรแกรม Flash ยังสามารถสร้างแอพพลเิ คช่ัน (Application) เพ่ือใช้ทำงานตา่ งๆ รองรับการใช้งาน
กับอุปกรณ์ท่ี เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และทำงานได้กับหลายๆ แฟลตฟอร์ม
(Platform) (นติ ยา เพชรจนั ทร์ 2560 : 24 )

2. 5. 2 ลักษณะสำคัญของโ ปรแกรม Adobe Flash professional cs6
2.5.2.1 สรา้ งช้นิ งาน Interactive มสี ว่ นตอบสนองกับผ้ใู ช้ เชน่ ผู้ใช้สามารถคลิก

เลอื กเมนูต่าง ๆ ได้ นำไปประยกุ ตเ์ ป็นสื่อการสอน ( E- Learning ) หนา้ จอควบคมุ การทำงานตา่ ง ๆ
สื่อ โฆษณา( Banner )บนเวบ็ ไซต์ การ์ตนู แอนิเมชันต่างๆ เป็นต้น

2.5.2.2 สรา้ งช้นิ งาน Animation จุดเด่นของการทำงานใน โปรแกรมแฟลช คอื การ
สรา้ ง Animation หรอื ภาพเคล่อื นไหว มเี คร่อื งมืออำนวยความสะดวก ทำให้โปรแกรม Flash สร้าง
ผลงาน Animation ได้งา่ ย

2.5.2.3 สรา้ งเวบ็ ไซต์ (Website) โปรแกรม Flash สามารถสร้างเว็บไซต์ได้สวยงาม
และสรา้ งลกู เล่นตา่ ง ๆ ได้งา่ ย มีจุดอ่อน คือ เวบ็ ไซต์ทส่ี ร้างด้วยโปรแกรม Flash แก้ไขข้อมูลได้ยาก
และขนาดของไฟลเ์ ว็บไซต์คอ่ นขา้ งใหญ่

2.5.2.4 สร้างเกม (GAME) แฟลชมีเคร่ืองมือช่วยสร้างองคป์ ระกอบต่าง ๆ ให้เกม มี
ความสวยงาม มีเคร่ืองมือสำหรบั สรา้ งคำสั่งควบคมุ การเล่นเกม อีกทั้งไฟลเ์ กมที่สร้างออกมามีขนาด
เล็ก ทำใหอ้ ัพโหลดสูเ่ วบ็ ไซต์ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

14

2.5.3 วธิ ีการตดิ ต้งั โปรแกรม Adobe flash Professional cs6

ภาพที่ 2.3 แสดง สญั ลักษณโ์ ปรแกรม Adobe flash Professional cs6
2.5.3.1 ก่อนจะติดตั้ง ควรปดิ อนิ เตอรเ์ นต็ (ไม่มีการเชอ่ื มต่ออินเทอรเ์ นต็ )

2.5.3.2 รนั โปรแกรมขึน้ มาแลว้ เลือก Try

ภาพท่ี 2.4 แสดง รนั โปรแกรมเลอื ก try

15

2.5.3.3 เลอื ก Accept

ภาพที่ 2.5 แสดง อ่านข้อตกลงและกดยอมรบั ข้อตกลงในการใชง้ านโปรแกรม
2.5.3.4 กดที่ Install

ภาพที่ 2.6 แสดง กด Install เพอ่ื เริ่มตดิ ต้ัง

16

2.5.3.5 รอโปรแกรมติดตัง้ ใหเ้ สร็จ

ภาพท่ี 2.7 แสดง โปรแกรมกำลังติดตง้ั
2.5.3.6 เมือ่ ติดตั้งเสร็จแลว้ กด Close ปิดออกไปเลย

ภาพท่ี 2.8 แสดง ลงโปรแกรมเสรจ็ เรยี บร้อยแลว้

17

2.5.3.7 เปิดโปรแกรมไดต้ ามปกติ

ภาพที่ 2.9 แสดง เขา้ ดูหน้าโปรแกรม

บทท่ี 3
วิธีดำเนนิ งานโครงการ

18

บทท่ี 3
วธิ ีการดำเนนิ งานโครงการ

การดำเนินโครงการ “ แอนิเมชั่น เร่ืองการเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 ” มีรายละเอยี ดในการดำเนินงานโครงการ ดังนี้

3.1 การศึกษาข้อมลู เบอื้ งตน้
3.2 ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง
3.3 ขนั้ ตอนการดำเนินงาน
3.4 เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.5 ข้นั ตอนการดำเนินการและเก็บรวบรวมขอ้ มูล
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถิติท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

3.1 การศกึ ษาขอ้ มูลเบือ้ งต้น
3.1.1 ศกึ ษาข้อมูลเบ้ืองต้นจากเอกสารแนวคดิ และทฤษฎที ่เี กี่ยวข้อง
3.1.2 คณะผู้จัดทำร่วมกันออกแบบสอบถาม โดยใช้ความรู้จากการค้นคว้าศึกษา แอนิเมช่ัน

เร่อื ง การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6
3.1.3 สำรวจกลุ่มเปา้ หมายและจัดทำโครงรา่ งแบบสอบถาม

3.2 ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
3.2.1 ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชาชีพ

ปกี ารศึกษา 2562 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง จำนวน 349 คน
3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลมุ่ ตวั อยา่ งทใี่ ช้ในการวจิ ัยคร้ังน้ี คือ นกั เรียนระดบั ช้นั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ ปีท่ี 2

จำนวน 102 คน ปีการศึกษา 2562 เปรยี บเทยี บจากตาราง เครจซแ่ี ละมอรแ์ กน (Krejcie &Morgan)

3.3 ขั้นตอนการดำเนินงาน
3.3.1 การออกแบบผงั งาน
การออกแบบระบบ (System Flowchart) เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงาน

ภายในระบบหนึ่ง การดำเนินงานของโครงการแอนิเมช่ัน เรื่องการเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์
วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professionlal Cs6 ผู้จัดทำได้วางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
และได้ดำเนินการตามผงั งาน ดงั น้ี

19

เรม่ิ ต้น ไม่ผา่ น
ศกึ ษาปัญหาและคน้ คว้าข้อมูลเพอ่ื คิดค้นหัวเรอ่ื งของโครงการ

นำเสนอหวั เร่อื งโครงการใหก้ ับอาจารย์ในแผนก

นำเสนอ

ผ่าน

ศึกษาค้นคว้าข้อมลู ในการทำ Animation

สร้าง Storyboard เรียบเรียงเนื้อเรอ่ื ง

ลงมอื สรา้ ง Animation ด้วยโปรแกรม 1
Adobe flash Professional Cs6

จัดทำรูปเล่มโครงการใหส้ มบูรณ์
สิน้ สุด

20

3.3.2 ข้ันตอนการสร้างชิน้ งาน

1

ขั้นตอนการทำ Animation
สร้าง Layer รา่ งตวั ละครท่ตี ้องการ

ลงสีตัวละครและกำหนดมุมภาพ

ใส่ Effect สรา้ งความ Smooth ใหแ้ กต่ ัวละคร
ตดั ต่อเป็นกระบวนการท่ีนำภาพประกอบรวมกันท้งั หมดแล้วมาตดั ต่อรวมกนั

ทดสอบการเคลื่อนของตวั ละคร ฉาก ทีเ่ ปน็ Animation ทั้งหมด
ใส่ดนตรแี ละเสยี งประกอบต่างๆ

Preview Animation
อพั โหลด Animation ลง YouTube

21

3.4 เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.4.1 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเคร่ืองมือเชิงปริมาณ (Quantitative Research)เป็น

แบบสอบถามที่ผู้จัดทำโครงการสร้างขน้ึ จำนวน 1 ฉบับ โดยยึดตามวัตถุประสงคแ์ ละกรอบแนวคดิ ใน
การทำโครงการแบง่ ออกเปน็ 3 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ
สถานะของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามการจัดทำโครงการ “แอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมความพร้อม
ฝึกประสบการณ์ โดยโปรแกรม Adobe flash CS6” มีลักษณะเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ จอห์น ดับบลิว เบสท์และเจมส์ วีคาห์น (Best john
W.& Kahn James V.,1993,PP.181-182)

5 หมายถงึ มากท่สี ดุ

4 หมายถึง มาก

3 หมายถงึ ปานกลาง

2 หมายถึง นอ้ ย

1 หมายถึง นอ้ ยทสี่ ดุ

ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะการจดั ทำโครงการมตี อ่ โครงการ แอนิเมช่ัน เรอ่ื งการเตรียมความ

พร้อมฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional CS6

3.4.2 การสร้างเครือ่ งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู มดี งั น้ี

3.4.2.1 กำหนดโครงการสร้างและขอบข่ายเนื้อหาสาระของแบบสอบถามโดยกำหนด

เน้ือหาสาระ ท่ีนำมาสร้างแบบสอบถามให้เห็นขอบเขตของคำถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ

ครอบคลุมเรอ่ื ง ท่จี ะศกึ ษาโดยคำแนะนำจากครูทีป่ รึกษาโครงรา่ งการจัดทำโครงการ

3.4.2.2 ศึกษาแนวทางทฤษฎีหลักการสร้างแบบสอบถามจากเอกสารตำราบทความ

ทางวิชาการ

3.4.2.3 ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สร้าง

แบบสอบถาม ฉบับรา่ งโดยเขียนข้อความท่ีสอดคลอ้ งกบั ตัวแปรท่ีศกึ ษาใหค้ รบถ้วนตามโครงการสรา้ ง

5 ระดับ คอื ระดบั มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย และ นอ้ ยทสี่ ุด

3.4.2.4 ดำเนินการสร้างแบบสอบถามขั้นมาให้ครอบคลุมกับการจัดทำโครงการ

“แอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ” ด้วยโปรแกรม Adobe Flash

Professionlal Cs6

3.4.2.5 ตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามเบื้องต้นโดยให้อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการ

และผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบพิจารณาเพื่อความเที่ยงตรงของเน้ือหาและความถูกต้องในสำนวนภาษาที่

22

ใช้เพ่ือให้คำถาม ครอบคลุมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการแล้วปรับปรุงแก้ไขตาม
คำแนะนำนำมาจัดทำ แบบสอบถามฉบบั สมบรู ณ์เพื่อนำไปใช้ตอ่ ของอาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงการ

3.4.2.6 จัดทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ตามคำแนะนำของอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการ
นำมาจัดทำ แบบสอบถามฉบับสมบูรณเ์ พื่อนใชต้ ่อไป

3.5 ขัน้ ตอนการดำเนนิ การและเก็บรวบรวมขอ้ มูล
3.5.1 การวางแผนขอโครงการ
3.5.1.1 สรุปหวั ขอ้ โครงการ
3.5.1.2 ศกึ ษาเน้ือหาทเี่ ก่ียวข้องในการจัดทําโครงการ ตอ้ งการปจั จัยใดบ้างในการนํามา

จดั ทาํ โครงการ ต้องการปจั จัยใดบา้ งในการดําเนินโครงการ
3.5.2 เสนอโครงการ จดั ทาํ เสนอเรื่อง โครงการ
3.5.3 การดําเนนิ งานในโครงการ จดั ทําโครงการให้ไดใ้ จความ
เนอื้ หา 5 บท สามารถสรปุ ไดด้ ังน้ี
บทที่ 1 บทนําโดยเนื้อหาเกี่ยวกับความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตและประโยชน์

ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
บทที่2 เอกสารและทฤษฎีที่เก่ียวข้อง แอนิเมช่ัน เร่ืองการเตรียมความพร้อม

ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professionlal Cs6
บทท่ี 3 วิธีการดําเนนิ โครงการ โดยเน้อื หาเกี่ยวกบั ขน้ั ตอนการดําเนินงาน
บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล และข้อเสนอแนะ โดยเน้ือหาเกี่ยวกับการสรุปผลการ

ประเมนิ ผล ของวัตถปุ ระสงค์ เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
บทที่ 5 สรปุ ผลการอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

3.5.4 จดั ทำช้ินงานเป็นรปู เลม่ ศกึ ษาข้อมูลเกยี่ วกบั ฟังกช์ ันการคาํ นวณ
3.5.5 สรุปผลจากการแบบประเมินการทําโครงการ โดยสรุปว่ามีความพึงพอใจเพียงใดและ
คาํ นวณ ออกมาเปน็ ค่าเฉลี่ย
3.5.6 รายงานประเมินผลจัดทํารายงานผลการดําเนินงานและนําเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา
โครงการ

3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เพ่ือสํารวจความพึงพอใจของนักเรียน

ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างต่อโครงการมีขั้นตอนดังต่อไปน้ี จอห์น ดับบลิว เบสท์
และเจมส์ วคี าห์น (Best john W.& Kahn James V.,1993, PP.181-182)

23

3.6.1 สรา้ งแบบสอบถาม ซงึ่ มีมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั ดังน้ี
5 หมายถึง มากทสี่ ดุ
4 หมายถึง มาก
3 หมายถงึ ปานกลาง
2 หมายถึง นอ้ ย
1 หมายถงึ นอ้ ยท่สี ุด

3.6.2 เกณฑ์การประเมินคา่ ความพงึ พอใจ กําหนดคา่ คะแนนออกเป็น 5 ระดับ ดังน้ี
4.50 - 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากท่สี ุด
3.50 - 4.49 หมายถึงมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก
2.50 - 3.49 หมายถึงมคี วามพึงพอใจในระดับปานกลาง
1.50 - 2.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจในระดบั น้อย
0.00 - 1.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดับน้อยทสี่ ดุ

3.7 สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ในการจดั ทาํ โครงการ “แอนิเมชน่ั เรื่องการเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ"สถติ ิท่ใี ช้ใน

การวิเคราะห์ขอ้ มูลแบ่งออกได้ ดังนี้
3.7.1 คา่ สถิติรอ้ ยละ (Percentage)
3.7.2 การหาค่าเฉล่ยี (x̄ )
3.7.3 การหาค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Deviation)
3.7.1 ค่าสถติ ริ ้อยละ (Percentage)

สูตร P = แทน คา่ ร้อยละ
เมือ่ P แทน จํานวนหรือความถที่ ต่ี ้องการ
เมอ่ื F แทน จำนวนข้อมูลทัง้ หมด
เมอ่ื N

3.7.2 การหาคา่ เฉลีย่ (L)

สตู ร =

เมอ่ื แทน คา่ ร้อยละ
แทน ค่าจำนวนหรือความถที่ ี่ต้องการเท่าหาค่ารอ้ ยละ
แทน จำนวนขอ้ มลู ทั้งหมด

24

3.7.3 การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Deviation)

สตู ร
เมอ่ื แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

แทน คะแนนแตล่ ะคืน
แทน จำนวนคะแนนในกล่มุ
แทน ผลรวม

บทที่ 4
ผลการดำเนินโครงการ

25

บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ โครงการ

การดำเนินโครงการครั้งนี้ จากการติดตาม และประเมินผลผู้ท่ไี ดป้ ระเมนิ ดำเนนิ การวิเคราะห์
ขอ้ มลู มผี ลการดำเนนิ โครงการ ดังน้ี
4.1 ผลการดำเนนิ การ

การวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปจากการติดตามประเมินผลโครงการ แอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียม
ความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 ผู้ประเมิน
ดำเนินการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และแปรความหมายตามลำดับ ดงั นั้นผูต้ อบแบบประเมนิ จำนวน 102 คน
แสดงผตู้ อบแบบประเมินผลทไี่ ด้เขา้ ร่วมโครงการ

ตารางที่ 4-1 การวิเคราะห์ข้อมูลเพศของผู้ตอบแบบประเมินท่ีได้เข้าร่วมการวิเคราะห์จาก
การติดตามประเมินผลโครงการ แอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6

ลำดบั เพศ จำนวน(คน) รอ้ ยละ
1 ชาย 35 34.3
2 หญงิ 67 65.7
รวม 102 100

จากตารางท่ี 4-1 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามเพศ คิดเป็น
ร้อยละของผู้ท่ีเข้าร่วมโครงการแอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 ท่ีส่งแบบสอบประเมินคืนดังน้ี เพศชายจำนวน 35
คน คิดเปน็ ร้อยละ 34.3 ของประชากรทัง้ หมด และเพศหญิงจำนวน 67 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 65.7 ของ
ประชากรท้ังหมด

แผนภมู ิ 4-1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบประเมิน

26

ตารางที่ 4-2 แสดง ข้อมูลท่ัวไป การวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกอายุของผู้ตอบแบบประเมิน
โครงการแอนิเมชั่นเรื่อง การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6

ลำดับ อายุ จำนวน(คน) รอ้ ยละ
1 15-19 ปี 102 100
2 20 ปีข้ึนไป 0 0
รวม 102 100

จากตางท่ี 4-2 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกอายุคิดเป็นร้อยละ
ของผู้เข้าร่วมโครงการแอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม
Adobe Flash Professional Cs6 และส่งแบบประเมินกลับคืนดังน้ี อายุ 15-19 ปี จำนวน 102 คน
คิดเป็นร้อยละ 100 ของประชากรท้ังหมด อายุ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0
ของประชากรทัง้ หมด

แผนภูมิ 4-2 แสดงระดบั อายุของผู้ตอบแบบประเมนิ

ตารางที่ 4-3 แสดง ข้อมูลท่ัวไป การวิเคราะห์ข้อมูลสถานะของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ
แอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6

ลำดับ สถานะ จำนวน(คน) รอ้ ยละ
1 นักเรียน 102 100
2 นกั ศกึ ษา 0 0
รวม 102 100

จากตารางที่ 4-3 พบว่าการวิเคราะหข์ ้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจำนวนสถานะ คิดเปน็ ร้อย
ละของผู้เข้าร่วมโครงการแอนิเมชั่นเรื่อง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

27

ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 และส่งแบบประเมินกลับคืนดังน้ี ระดับช้ัน
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของประชากรท้ังหมด ระดับ
ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) คิดเปน็ รอ้ ยละ 0 ของประชากรทัง้ หมดนกั เรยี นจำนวน 102 คน

แผนภมู ิ 4-3 แสดง สถานะของผูต้ อบแบบประเมิน

ตารางท่ี 4-4 แสดง ข้อมูลทั่วไป การวิเคราะห์ข้อมูลระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบประเมิน
โครงการแอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6

ลำดบั ระดับการศกึ ษา จำนวน(คน) ร้อยละ
1 ปวช. 102 100
2 ปวส. 0 0
รวม 102 100

จากตางท่ี 4-4 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมินจำนวนตามระดับการศึกษา
คิดเป็นร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการแอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 และส่งแบบประเมินกลับคืนดังน้ี ระดับช้ัน
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของประชากรทั้งหมด
ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง (ปวส.) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0 ของประชากรทัง้ หมด

แผนภูมิ 4-4 แสดง สถานะของผู้ตอบแบบประเมิน

28

ตารางท่ี 4-5 แสดงความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการแอนิเมชั่นเร่ือง
การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6

ด้านเนอ้ื หาสาระ

รายการประเมิน x̄ S.D. ระดับประเมิน

1. ดา้ นเน้อื หาสาระ 4.55 0.56 มากท่สี ดุ
1.1 กำหนดเนือ้ หาและเรยี งลำดบั ถกู ตอ้ ง 4.38 0.61 มาก
1.2 ขอ้ มลู มคี วามชดั เจน ถูกตอ้ ง น่าเชือ่ ถอื 4.38 0.69 มาก
1.3 ข้อมูลท่ีนำเสนอเป็นปัจจุบันตรงกับความ
ต้องการ

คา่ เฉล่ียรวม 4.44 0.62 มาก

จากตารางท่ี 4-5 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการแอนิเมชั่นเร่ือง
การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6
ดา้ นเน้ือหาสาระ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.44 ) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าด้านเน้ือหาสาระ
มีความคิดเห็นระดับมากท่ีสุดจำนวน 3 ข้อตามลำดับได้แก่ การกำหนดเน้ือหาและเรียงลำดับถูกต้อง
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.55 ) ข้อมูลมีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือความพึงพอใจอยู่
ในระดับมาก (x̄ = 4.38) และข้อมูลท่ีนำเสนอเป็นปัจจุบันตรงกับความต้องการความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมาก (x̄ = 4.38 )

5 4.55 4.38 4.38
4.5

4

3.5

3

2.5 x
S.D
2

1.5

1

0.5

0
1.1 1.2 1.3

แผนภูมิ 4-5 แสดง ความพึงพอใจ ด้านเน้อื หาสาระ

29

ตารางท่ี 4-6 แสดงความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการแอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียม
ความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6

ดา้ นการออกแบบและการดำเนินเร่ืองของแอนเิ มช่ัน

รายการประเมนิ x̄ S.D. ระดับ
ประเมนิ

2. ดา้ นการออกแบบและการดำเนินเร่อื งของแอนิเมชนั่

2.1 ขนาดสขี องตวั อักษรและพนื้ หลังมคี วามเหมาะสม 4.13 0.66 มาก

2.2 องค์ประกอบของฉากและตวั ละครมีความสัมพันธก์ ัน 4.06 0.67 มาก

2.3 ระยะเวลาของส่ือแอนิเมช่ันเรื่อง การเตรียมความ 4.21 0.72 มาก

พรอ้ มฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ มคี วามเหมาะสม

ค่าเฉล่ยี รวม 4.13 0.70 มาก

จากตารางท่ี 4-6 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการแอนิเมช่ันเรื่อง
การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6
ด้านการออกแบบละการดำเนินเรื่องแอนิเมชั่น ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.13) เม่ือพิจารณา
รายข้อพบว่า ด้านการออกแบบละการดำเนินเร่ืองแอนิเมชั่น มีความคิดเห็นระดับมากที่สุดจำนวน
3 ขอ้ ตามลำดบั ไดแ้ ก่ ขนาดสีของตวั อักษรและพืน้ หลังมีความเหมาะสมความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.13 ) องค์ประกอบของฉากและตัวละครมีความสัมพันธ์กันความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.06) และระยะเวลาของสื่อแอนิเมช่ันเรื่อง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
มีความเหมาะสมความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.21 )

4.5 4.13 4.06 4.21
4

3.5
3

2.5 x
2 S.D

1.5
1

0.5
0
2.1 2.2 2.3

แผนภมู ิแสดง ความพึงพอใจ ด้านการออกแบบและการดำเนินเรอ่ื งแอนิเมช่ัน

30

ตารางที่ 4-7 แสดง ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการแอนิเมช่ันเรื่อง
การเตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ดว้ ยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6

ด้านผลสมั ฤทธ์ิในการเข้าร่วมโครงการ

รายการประเมนิ x̄ S.D. ระดับ
0.66 ประเมนิ
3. ดา้ นผลสมั ฤทธ์ใิ นการเขา้ ร่วมโครงการ 4.27 0.76
3.1 เป็นสื่อแอนิเมชั่นที่มีเน้ือหาความรู้ตรงกับความ 4.23 0.69 มาก
ต้องการของผู้ชม 4.20 มาก
3.2 เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้รับชม และสามารถนำไป 0.70 มาก
ประยุกต์ใชไ้ ด้ 4.23
3.3 ผู้ชมมีความพึงพอใจต่อสื่อแอนิเมช่ันเรื่อง การ มาก
เตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วย
โปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6
ค่าเฉลยี่ รวม

จากตารางที่ 4-7 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการแอนิเมช่ันเร่ือง
การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6
ด้านผลสัมฤทธ์ิในการเข้าร่วมโครงการ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.23) เม่ือพิจารณารายข้อ
พบ ว่าเป็น ส่ือแ อนิเมช่ัน ท่ีมีเน้ื อห าความรู้ตรงกับ ความต้องการของผู้ ชม ระดับ ความพึ งพอใจ มาก
(x̄=4.27) เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้ชม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ระดับความพึงพอใจ (x̄ = 4.23)
และผู้ชมมีความพึงพอใจต่อส่ือแอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 (x̄ = 4.20)

4.5 4.27 4.23 4.2

4

3.5

3

2.5 x
2
1.5 S.D

1

0.5

0
3.1 3.2 3.3

แผนภมู ิ 4-7 แสดง ความพึงพอใจ ดา้ นผลสัมฤทธ์ใิ นการเข้าร่วมโครงการ

31

ตารางท่ี 4-8 สรุปความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการแอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียม
ความพร้อมฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ดว้ ยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6

รายการประเมนิ x̄ S.D. ระดับ
ประเมนิ

1. ดา้ นเนอ้ื หาสาระ

1.1 กำหนดเนือ้ หาและเรียงลำดับถกู ต้อง 4.55 0.56 มากที่สดุ

1.2 ขอ้ มูลมคี วามชดั เจน ถูกตอ้ ง น่าเชือ่ ถือ 4.38 0.61 มาก

1.3 ขอ้ มูลท่ีนำเสนอเป็นปัจจบุ ันตรงกับความ 4.38 0.70 มาก

ต้องการ

2. ดา้ นการออกแบบและการดำเนินเรือ่ งของแอนเิ มชั่น

2.1 ขนาดสีของตวั อักษรและพื้นหลังมีความ 4.13 0.66 มาก

เหมาะสม

2.2 องคป์ ระกอบของฉากและตัวละครมี 4.06 0.67 มาก

ความสัมพันธ์กนั

2.3 ระยะเวลาของสือ่ แอนิเมชนั่ เรื่อง การเตรยี ม 4.21 0.72 มาก

ความพร้อมฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ มคี วาม

เหมาะสม

3. ดา้ นผลสัมฤทธิ์ในการเขา้ ร่วมโครงการ

3.1 เป็นสื่อแอนิเมชั่นที่มีเนื้อหาความรู้ตรงกับความ 4.27 0.66 มาก

ตอ้ งการของผู้ชม

3.2 เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้รับชม และสามารถนำไป 4.23 0.76 มาก

ประยกุ ตใ์ ช้ได้

3.3 ผู้ชมมีความพึงพอใจต่อสื่อแอนิเมชั่นเรื่อง การ 4.20 0.69 มาก

เตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วย

โปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6

รวม 4.27 0.67 มาก

จากตาราง 4-8 แสดง สถิติระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมินผลท่ีเข้าร่วมโครงการ
แอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6

32

5 4.55 4.38 4.38 4.13 4.06 4.21 4.27 4.23 4.2
4.5

4

3.5

3

2.5 x
S.D
2

1.5

1

0.5

0
1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3

แผนภูมิ 4-8 แสดง ผลประเมนิ ความพงึ พอใจ

บทท่ี 5
สรปุ ผล การอภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

33

บทท่ี 5
สรุป อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

5.1 สรปุ อภปิ รายผล
การดำเนินโครงการคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำแอนิเมชั่นเรื่อง การเตรียมความพร้อมฝึก

ประสบการณ์วชิ าชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 เพือ่ เผยแพร่ใหก้ ล่มุ เป้าหมาย
ระดับชั้น ปวช. 2 จำนวน 102 คน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ในการสรุปผลครั้งนี้ให้กลุ่มประเมิน
จากการเข้าร่วมโครงการชมส่ือแอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 และให้กลุ่มประเมินทำแบบประเมินคุณภาพของ
ส่ือแอนเิ มชนั่

5.1.1 สถานภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
จากการประเมินผลโครงการแอนิเมช่ันเรื่อง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์

วิชาชีพด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 ผลที่ได้คือจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบ
ประเมินจำแนกตามเพศ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 34.3 เพศหญิง คิดเป็นร้อย 65.7 ของประชากร
ท้ังหมด จำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามอายุ อายุ 15-19 ปีคิดเป็นร้อยละ 100
อายุ 20 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 0 ของประชากรท้ังหมด จำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน
จำแนกตามสถานะ นักเรียนคิดเป็นร้อยละ 100 นักศึกษาคิดเป็นร้อยละ 0 ของประชากรทั้งหมด
จำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกระดับการศึกษา ระดับ ปวช. คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ปวส.
คิดเปน็ รอ้ ยละ 0 ของประชากรทง้ั หมด
5.2 อภปิ รายผลประเมนิ

การประเมินครั้งน้ี พบว่าการสร้างสื่อแอนิเมช่ันการเตรียมความพร้อมสู่ประสบการณ์
วิชาชีพด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 ระดับความพึงพอใจของผู้ประเมินกลุ่ม
ตัวอยา่ ง จำนวน 102 คน คิดเปน็ คะแนนเฉล่ียพบประเด็นทีส่ มควรท่พี ิจารณา ดังนี้

5.2.1 ด้านเนื้อหาสาระ พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ
แอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
Professional Cs6 ด้านเน้ือหาสาระในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.44 ) เมื่อพิจารณารายข้อ
พบว่า ด้านเนื้อหาสาระมีความคิดเห็นระดับมากที่สุดจำนวน 3 ขอ้ ตามลำดบั ไดแ้ ก่ การกำหนดเน้ือหา
และเรียงลำดับถูกต้องความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.55 ) ข้อมูลมีความชัดเจน ถูกต้อง
น่าเชื่อถือความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.38) และข้อมูลท่ีนำเสนอเป็นปัจจุบันตรงกับความ
ตอ้ งการความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก (x̄ = 4.38 )

34

5.2.2 ด้านการออกแบบและการดำเนินเรื่องของแอนิเมชั่น พบว่าระดับความพึงพอใจ
ของนักเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการแอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 ด้านการออกแบบละการดำเนินเรื่องแอนิเมชั่น
ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.13) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า ด้านการออกแบบและการดำเนิน
เร่ืองของแอนิเมช่ัน มีความคิดเห็นระดับมากท่ีสุดจำนวน 3 ข้อตามลำดับได้แก่ ขนาดสีของตัวอักษร
และพ้นื หลังมีความเหมาะสมความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มาก (x̄ = 4.13 ) องค์ประกอบของฉากและตัว
ละครมีความสัมพันธ์กันความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.06) และระยะเวลาของสื่อแอนิเมช่ัน
เร่ือง การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ มีความเหมาะสม ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.21 )

5.2.3 ด้านผลสัมฤทธ์ิในการเข้าร่วมโครงการ พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียน
ท่ีเข้าร่วมโครงการแอนิเมชั่นเร่ือง การเตรียมควาพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม
Adobe Flash Professional Cs6 ด้านผลสัมฤทธ์ิในการเข้าร่วมโครงการ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.23) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า เป็นสื่อแอนิเมช่ันท่ีมีเนื้อหาความรู้ตรงกับความต้องการของ
ผู้ชมระดับความพึงพอใจมาก (x̄ = 4.27) เน้ือหามีประโยชน์ต่อผู้ชม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
ระดับความพึงพอใจมาก (x̄ = 4.23) และผู้ชมมีความพึงพอใจต่อสื่อแอนิเมช่ันเร่ือง การเตรียมความ
พรอ้ มฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ดว้ ยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6 ระดับความพึงพอใจ
มาก (x̄ = 4.20)

ส รุ ป จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล ค ว าม พึ งพ อ ใจ ข อ งนั ก เรี ย น ต่ อ โ ค ร งก า ร แ อ นิ เม ช่ั น เร่ื อ ง
การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash Professional Cs6
ในการดำเนินด้านความพึงพอใจและด้านผลสัมฤทธ์ิจากการร่วมโครงการ โดยรวมนักเรียนมีความ
พงึ พอใจในระดับมาก
5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ข้อเสนอแนะจากการทำโครงการ
5.3.1.1 ควรมกี ารจดั เน้อื หาของโครงการใหห้ ลากหลาย ออกมาหลายๆรูปแบบ
5.3.1.2 ควรสร้างสือ่ แอนเิ มช่ัน ที่มีระยะเวลาการเล่นของสือ่ ใหม้ ากขึ้น

5.3.2 ขอ้ เสนอแนะเพื่อทำโครงการต่อไป
5.3.2.1 ผจู้ ดั ทำโครงการควรมกี ารประชุมวางแผนมากขนึ้ เพอื่ แกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ
5.3.2.2 ผู้จัดทำโครงการควรวางแผนประสานงานอย่างเป็นระบบมีการแบ่งหน้าท่ใี หม้ ี

ประสิทธภิ าพมากข้ึน

บรรณานกุ รม

35

บรรณานุกรม

จิราวรรณ เครือคำปัว, 2546, ความสำคัญการเตรยี มความพร้อม [online], Available:
https:// Users/HP/Downloads/practicaltraining60.pdf, [14 พฤศจกิ ายน 2562]

ทิศนาแขมมณี, 2550, ทฤษฎกี ารจดั การเรียนรู้ตามสภาพจริง [online], Available:
https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=9217&Key=hotnews,
[20 ธนั วาคม 2562]

นติ ยา เพชรจันทร์, 2560, โปรแกรม Adobe Flash professional Cs6 เบื้องต้น
[online], Available:https://sites.google.com/site/krunittayacnp/kickrrm-nakreiyn-naksuksa,
[19 ธันวาคม 2562]

วราภรณร์ ักวิจัย, 2527, สภาพพฒั นาการ [online], Available:
http://www.thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Ubon_V.pdf, [19 ธันวาคม 2562]

สรุ ยี ์ สเุ มธนี ฤมิต, 2539, แนวคิดหลักการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี [online], Available:
https://www. manage.lru.ac.th/th/?paged=264, [25 ธนั วาคม 2562]

อรณุ พร เนียมสุวรรณ, 2549, ความหมายของการเตรยี มความพรอ้ ม [online], Available:
https://www. manage.lru.ac.th/th/?paged=264, [13 พฤศจิกายน 2562]

Best john W.& Kahn James V. , 1993, วิธีการวิจัย [online], Available:
http://www.ird.stou.ac.th/dbresearch/uploads/56203.pdf, [14 มกราคม 2563]

Chickering ' s Theory of Student Development, 1969, ทฤษฎกี ารพัฒนานกั เรียน
[online], Available: https://www.kroobannok.com/35946, [25 ธนั วาคม 2562]

Vedeboncoeur, 1997, การเรียนรดู้ ้วยตนเองของ Vygotsky [online], Available:
https://www. theory-tishafan.blogspot.com/p/constructivism.html, [20 ธันวาคม 2562]

อรุณพร เนียมสุวรรณ, 2549, ความหมายของการเตรียมความพร้อม [online], Available:
https://www. manage.lru.ac.th/th/?paged=264, [13 พฤศจิกายน 2562]

ภาคผนวก ก
แบบเสนออนมุ ัติโครงการ


Click to View FlipBook Version