The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NWC_ninewecup, 2022-07-14 09:26:04

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด

คู่มือการฝึกอบรม

หลักสตู รลกู เสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ

สาํ นกั การลกู เสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น
สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

คาํ นาํ

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด เป็นแนวทางสําหรับการฝึกอบรมลูกเสือ โดย
เน้นกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ความรู้เร่ืองยาเสพติด การสร้างอุดมการณ์ต้านภัยยาเสพติด ทักษะชีวิตเพื่อการ
ปอ้ งกันยาเสพตดิ กจิ กรรมฐานป้องกนั ภยั ยาเสพตดิ การชุมนุมรอบกองไฟ และการจัดทําโครงการตามนโยบาย
ของกระทรวงศึกษาธิการในการเสริมสร้างทักษะการดํารงชีวิตของลูกเสือ ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓
ด้าน คอื ยดึ มั่นประชาธปิ ไตย มีคุณธรรมความเปน็ ไทย และหา่ งไกลยาเสพติด

กระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดเป็นนโยบายให้มีโครงการการเสริมสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษา
ไทย เป็นการจัดการศึกษาที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ซึ่งกระบวนการจัดการศึกษาท่ี
สมบูรณ์ เปรียบเสมือนเหรียญสองด้านคือ ด้านหนึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ตามหลักสตู รการศึกษาแต่ละช่วงช้ัน เป็นการสร้างองค์ความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้
ความสามารถและประสบการณ์ มที ักษะการดาํ รงชวี ิตท่ีเกดิ จากการฝึกหดั สามารถใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์
ในการพัฒนาตนเองและประกอบอาชีพ อีกด้านหน่ึงคือเป็นการบ่มเพาะ กล่อมเกลา ปลูกฝังและ
ปลุกจิตสํานึก เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน และส่ิงแวดล้อม
เกดิ ความตระหนักในบทบาทหน้าที่ขึ้นในจิตใจ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถดํารงตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสขุ สถานศึกษาทุกระดบั ทกุ สงั กัด และหน่วยงานตา่ ง ๆ ทมี่ หี นา้ ท่สี ง่ เสริมสนบั สนนุ และร่วมจัดการศกึ ษา
จึงมีส่วนสําคัญในการจัดการเรียนการสอน และจัดกิจกรรมท่ีจะส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาผู้เรียนอย่าง
เหมาะสม โดยการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วน จัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นภารกิจ 3 ด้าน ได้แก่
ด้านประชาธิปไตย (Democracy) ด้านคุณธรรมจริยธรรม (Decency) และด้านต้านภัยจากยาเสพติด (Drug -
Free) ซ่ึงจะเป็นแผนแม่บทในการศึกษาของไทย โดยมอบให้แต่ละหน่วยงาน และสถาบันการศึกษาพิจารณา
และทบทวนส่ิงที่ทําอยู่แล้วว่ามีอะไร และมีส่ิงใหม่ท่ีจะเสริมเติมเต็ม โดยดึงเอาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาเป็น
เครือขา่ ย จงึ เปน็ ส่ิงจาํ เป็นยิ่งทต่ี ้องเรง่ ปลกู ฝงั คุณธรรมให้กับคนในชาติ โดยเริ่มต้งั แตเ่ ด็ก

การลูกเสือเป็นขบวนการทางการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมืองดี มีคุณภาพ การศึกษา
ด้วยวิธีการของลูกเสือ จะช่วยให้เยาวชนมีคุณสมบัติตามท่ีสังคมต้องการ เช่น มีลักษณะของผู้นําที่ดี เป็นผู้มี
ประชาธิปไตย มีคุณธรรม จริยธรรม มีบุคลิกภาพและลักษณะนิสัย ที่เหมาะสมกับความต้องการของสังคม
กระบวนการและวิธีการของลูกเสือที่เด็กได้รับ เป็นกระบวนการทางธรรมชาติ ที่สอดคล้องกับหลักการศึกษา
และตรงกับความต้องการของเด็ก คือการเรียนปนเล่น การศึกษาด้วยการกระทํา และการศึกษาเพื่อจัด
ประสบการณ์ซ่ึงเป็นคุณลักษณะพิเศษ กิจกรรมลูกเสือควรเป็นเคร่ืองมือสําคัญยิ่งในการสร้าง
ความเจริญก้าวหน้า การลูกเสือไม่ใช่การปฏิวัติทางการศึกษา การลูกเสือเป็นเพียงคําแนะนํา เป็นการช่วย
ศึกษาในทางปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหม้ คี วามสอดคล้องกบั เปา้ หมายทีต่ อ้ งการ

จากผลการวิจัย “เรื่อง การศึกษาความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาลูกเสือต่อการจัดตั้งหน่วยลูกเสือ
ประชาธิปไตย หน่วยลูกเสือคุณธรรม และหน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติดในสถานศึกษา” ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓
โดยการสุ่มตัวอย่างจากผู้อํานวยการลูกเสือโรงเรียน และผู้กํากับลูกเสือในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีจัดหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จํานวน 2,675 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง
จํานวน 353 โรงเรียน จงึ แยกกลุ่มตัวอยา่ งเป็นกลุ่มบคุ คล ได้แก่ ผู้อํานวยการลกู เสอื โรงเรียน ผู้กาํ กับลกู เสอื
โรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จากเขตตรวจราชการทั่วประเทศ มีความเห็น

ด้วยเก่ียวกับการจัดต้ังหน่วยลูกเสือประชาธิปไตย หน่วยลูกเสือคุณธรรม และหน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติดใน
สถานศกึ ษา อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๕

กระทรวงศึกษาธิการขอขอบคุณคณะทํางานและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ที่ได้ให้ความร่วมมือ
สนับสนุนด้านข้อมูล และร่วมดําเนินการจัดทําคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด จนสําเร็จ
เรียบร้อยเป็นอย่างดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติดจะเป็นประโยชน์
แก่หน่วยงาน สถานศึกษา และผู้บังคับบัญชา เพื่อใช้เป็นแนวทางการฝึกอบรมลูกเสือที่มีคุณภาพ
มคี ณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องชมุ ชน สังคม และประเทศชาติสืบไป

(นายนิวตั ร นาคะเวช)
ประธานคณะกรรมการจดั ทําหลักสตู รลกู เสือตา้ นภยั ยาเสพตดิ

คาํ ชีแ้ จง

คู่มือการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ จัดทําขึ้นเพื่อดําเนินการให้เป็นไปตามนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเสริมสร้างทักษะการดํารงชีวิตของผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๓ ด้าน คือ
ยึดม่ันประชาธิปไตย มีคุณธรรมความเป็นไทย และห่างไกลยาเสพติด โดยแบ่งเป็น ๓ หลักสูตร คือหลักสูตร
ลกู เสอื ประชาธปิ ไตย หลักสตู รลูกเสือคุณธรรม และหลักสตู รลูกเสือต้านภยั ยาเสพตดิ ประกอบดว้ ย ๓ สว่ น คือ

ส่วนท่ี ๑ หลักสูตรการฝึกอบรม ประกอบด้วย คําอธิบายเน้ือหาหลักสูตรท้ังหมดใน
หลักสตู รทเี่ กี่ยวขอ้ ง เพื่อเปน็ กรอบแนวทางสาํ หรบั การจัดฝกึ อบรม

สว่ นที่ ๒ วิชาการฝกึ อบรม ประกอบด้วย รายละเอียดเน้ือหาแต่ละวิชาในหลักสูตรใน
หลกั สูตรทเี่ ก่ียวขอ้ ง พรอ้ มทง้ั แนวทางการจดั กจิ กรรมและแนวทางการประเมินผลแตล่ ะวิชา

สว่ นที่ ๓ กิจกรรมเสนอแนะ ประกอบด้วย การดําเนินการเพ่ือขอรับเคร่ืองหมายพิเศษ
ลกู เสอื ในหลกั สูตรท่เี กย่ี วข้อง และแนวทางการจัดตง้ั หน่วยลูกเสอื ในสถานศึกษา

ผู้จัดอบรมควรศึกษาทําความเข้าใจหลักสูตรและแนวการจัดฝึกอบรมให้ถ่องแท้ เพ่ือให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้เรียน รวมถึงควรจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษา ครอบครัว และชุมชน อย่าง
นอ้ ย ๓ กจิ กรรม เพื่อให้ผเู้ รยี นได้รบั เคร่ืองหมายพเิ ศษลูกเสอื ในเรื่องนน้ั ๆ ด้วย

**************************************

ความเป็นมา

อนุสนธิจากการที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ได้มอบ
นโยบายเม่ือวันที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เร่ือง ยุทธศาสตร์การยกระดับคุณภาพการศึกษาของลูกเสือ
ไปสู่องค์กรหลัก สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และผู้อํานวยการสํานัก
บริหารงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน มีใจความว่า “สืบเนื่องจากเจตนารมณ์สําคัญของ
กระทรวงศึกษาธิการ ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล นอกเหนือจากเร่งรัดคุณภาพทาง
วิชาการและเทคโนโลยีแล้ว สิ่งสําคัญประการหน่ึงก็คือการพัฒนา ส่งเสริมทักษะชีวิตและคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค์ของนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
พิจารณาเห็นว่า “กิจกรรมลูกเสือ” เป็นกิจกรรมอันเหมาะสมที่จะช่วยให้นักเรียนหรือเยาวชนมีระเบียบวินัย มี
ความซื่อสัตย์สุจริต และมีเกียรติเชื่อถือได้ ดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ต้ังกองลูกเสือข้ึน เพราะทรงหวังประโยชน์เพ่ือจะฝึกหัดเยาวชนเป็นผู้ประพฤติ
และเปน็ พลเมืองดขี องชาตบิ ้านเมืองในอนาคต

ในปัจจุบัน บทบาทการจัดกิจกรรมลูกเสือลดน้อยลง ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ
อยา่ งแท้จริง กระทรวงศกึ ษาธิการ จึงขอความร่วมมือมายังหน่วยงานของท่าน เพื่อช่วยพัฒนาและส่งเสริมวินัย
ลูกเสือด้วยกระบวนการลูกเสือในสถานศึกษาท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือถือเป็นโอกาสสําคัญเนื่องจากในปี พ.ศ. ๒๕๕๔
เป็นปีเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ และฉลอง ๑๐๐ ปี การลูกเสือไทย โดย
ขอความรว่ มมือดังน้ี

๑) ให้สถานศึกษาในระบบและนอกระบบดําเนินการจัดตั้งกลุ่ม/กองลูกเสือให้ถูกต้อง ตาม
ขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติ

๒) ให้สถานศึกษาดําเนินการแต่งต้ังผู้บังคับบัญชาลูกเสือให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะลูกเสือ
แห่งชาติ พร้อมท้งั สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือมีวุฒิทางลูกเสือ เพ่ือเป็น
การเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะทางลูกเสือ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือให้
เจริญก้าวหนา้

๓) มอบสํานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาและหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งกาํ หนดแผนพฒั นากิจการ
ลูกเสือในเขตที่รับผิดชอบ โดยให้สถานศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบจัดกิจกรรม
ลูกเสือตามหลักสูตรของข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ และส่งเสริมให้มีหน่วยลูกเสือ
คุณธรรม หน่วยลูกเสือประชาธิปไตย และหน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติด ขึ้นใน
สถานศึกษาทง้ั ในระบบและนอกระบบ

๔) มอบสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน สํานกั งานคณะกรรมการ
การอาชีวศกึ ษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สาํ นกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสํานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา
เอกชน เป็นหน่วยงานท่ีกําหนดนโยบาย วางแผนพัฒนา ดําเนินงาน กํากับ ติดตาม และ
ส่งเสริมใหส้ ถานศึกษาท่เี กี่ยวข้องจัดกจิ กรรมลูกเสอื ใหเ้ ปน็ รูปธรรมอยา่ งจริงจงั ”

นอกจากนั้น กระทรวงศึกษาธิการ กําหนดนโยบายขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง มี
เป้าหมาย คือ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ เพื่อสร้างเด็กให้เป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข มี
ความสามารถ สนับสนุนการแข่งขันของประเทศ และอยู่ร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างย่ังยืนบนพ้ืนฐานของความ

เป็นไทย โดยเฉพาะอย่างย่ิงการส่งเสริมการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง (Civic Education) โดย
บรู ณาการกบั วิชาการลูกเสือไทยเพื่อปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การประเมินผล และการจัด
กิจกรรม

ดังนั้น เพ่ือให้การขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวบังเกิดผลเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการส่งเสริมทักษะชีวิต
ของผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๓ ด้าน คือ ด้านประชาธิปไตย มีคุณธรรมความเป็นไทย และห่างไกล
ยาเสพติด โดยมุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียน ใช้กระบวนการศึกษาเพื่อสร้าง
ความเป็นพลเมือง โดยเฉพาะกลุ่มลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดย
สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน และสํานักกิจการพิเศษ ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วย
ประสานงานกับองค์กรหลัก สถานศึกษา และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง โดยความร่วมมือของสํานักงานลูกเสือ
แห่งชาติ ในการจัดทําหลักสูตรและคู่มือฝึกอบรมลูกเสือตามหลักสูตร ท้ัง ๓ ด้าน คือ หลักสูตรลูกเสือ
ประชาธิปไตย หลักสูตรลูกเสือคุณธรรม และหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด เพ่ือให้สถานศึกษา
ผู้บังคับบัญชา ตลอดจนผู้สนใจ ใช้เป็นแนวทางการฝึกอบรมลูกเสือทุกระดับ เพ่ือให้ได้ลูกเสือที่มีคุณภาพ
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามนโยบายทั้ง ๓ ด้าน คือ ยึดม่ันประชาธิปไตย มีคุณธรรม และห่างไกล
ยาเสพติด โดยผู้ผ่านการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่กําหนดสามารถรับวุฒิบัตร สําหรับลูกเสือแต่ละหลักสูตร และ
จดั ตงั้ หน่วยลกู เสอื ประชาธิปไตย ลกู เสือคุณธรรม และลกู เสอื ต้านภยั ยาเสพติดในสถานศึกษาตอ่ ไป

***************************

ข้าพเจา้ (ช่ือ-สกลุ ) ........................................................................ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
หลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด รุ่นท่ี.............../.................... ขอต้ังปณิธานต่อหน้าส่ิงศักดิ์สิทธ์ิทั้งหลาย
และพระบรมรูปลน้ เกล้ารัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ วั วา่

ข้อ ๑ ข้าพเจ้าจะยึดมน่ั และปฏบิ ตั ติ ามคาํ ปฏิญาณของลูกเสอื
ข้อ ๒ ข้าพเจ้าจะประพฤติตนและป้องกันตนเอง เพ่ือน ครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ ใหห้ า่ งไกลจากยาเสพตดิ
ขอ้ ๓ ข้าพเจ้าจะมุ่งม่ันธํารงไว้ซึ่งเกียรติภูมิแห่งลูกเสือ และจะทุ่มเทความรู้ ความสามารถ
อุทิศตนให้แก่กิจการท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างเต็มกําลัง ตลอดจนรักษาเอกลักษณ์ของชาติและ
ความเป็นไทยสบื ไป

……………………………………………..
( ……………………………………………. )

สารบญั หนา้

คาํ นาํ ก
คําช้ีแจง ค
ความเป็นมา ง
คําปณิธาน ฉ
สารบญั ช
สว่ นที่ ๑ โครงสรา้ งหลกั สตู ร ๑

โครงสร้างหลกั สตู รลกู เสือต้านภยั ยาเสพตดิ ๔
การดําเนนิ งานเพ่อื ขอรบั เครอ่ื งหมายลกู เสอื ต้านภยั ยาเสพติด ๕
วตั ถุประสงคข์ องการฝึกอบรม ๕
มาตรฐานผู้ผ่านการฝกึ อบรม ๕
คุณสมบัติผู้เข้ารบั การฝึกอบรม ๕
ระยะเวลาในการฝกึ อบรม ๕
คําอธบิ ายหลกั สตู ร ๕
กิจกรรม / รายวิชา ๕
วธิ กี ารฝกึ อบรม ๖
การประเมินผล ๖
เกณฑก์ ารผา่ นหลกั สตู ร ๖
สอ่ื การฝึกอบรม ๗
เอกสารอา้ งอิง/แหล่งขอ้ มูล ๘
ตารางการฝกึ อบรม ๙
กําหนดการฝกึ อบรม ๑๑
ส่วนที่ ๒ กิจกรรม / รายวิชาและเน้ือหาสาระ ๑๒
ลกู เสอื กับการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในการตา้ นภัยยาเสพตดิ ๑๗
ลกู เสอื กับการเรยี นรเู้ รอ่ื งยาเสพตดิ ๒๕
ลกู เสือกับการสรา้ งอดุ มการณ์ตา้ นภัยยาเสพตดิ ๓๐
ลกู เสอื กับทักษะชีวติ เพื่อการปอ้ งกนั ยาเสพติด ๓๖
ลูกเสือกบั การปอ้ งกนั ภยั ยาเสพตดิ ๕๖
ลูกเสอื กับการดแู ลเยยี วยาช่วยเหลือผเู้ กย่ี วข้องกับยาเสพตดิ ๖๓
ลกู เสือกบั การชุมนุมรอบกองไฟ ๗๒
ลูกเสอื กบั การจดั ทําโครงการ/โครงงาน

สารบญั (ต่อ)

สว่ นท่ี ๓ กจิ กรรมเสนอแนะ หนา้
แนวทางการจดั ตง้ั หนว่ ยลกู เสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
กําหนดเกณฑก์ ารต้ังหน่วยลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ ไนสถานศกึ ษา ๘๑
๘๒
๘๓

ภาคผนวก ๘๔

เครื่องหมายประกอบเคร่อื งแบบลกู เสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด ๘๕

คาํ สงั่ แต่งต้ังคณะกรรมการดําเนินการจดั ทาํ หลกั สตู รลกู เสือประชาธปิ ไตย

ลูกเสือคุณธรรมความเป็นไทย และลกู เสอื ต้านภัยยาเสพติด

คาํ ส่ังแตง่ ตง้ั คณะทาํ งานจัดทาํ คู่มอื จัดกจิ กรรมลูกเสอื ประชาธิปไตย

ลูกเสือคณุ ธรรม และลูกเสอื ต้านภัยยาเสพตดิ

คาํ ส่ังแต่งตง้ั คณะทํางานดําเนนิ การทบทวนความร้แู ละพฒั นาลูกเสอื ประชาธปิ ไตย

ลกู เสือคณุ ธรรม และลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด

คาํ ส่งั แตง่ ต้งั คณะกรรมการดําเนนิ การโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจดั ทาํ คูม่ ือ

ผู้บังคบั บัญชาลูกเสอื ประชาธิปไตย ลกู เสอื คณุ ธรรม และลกู เสือตา้ นภยั ยาเสพติด

คณะทํางานจดั ทําคูม่ ือจัดกจิ กรรมลกู เสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ

ส่วนท่ี ๑

โครงสรา้ งหลักสูตร


หลักสตู รการฝึกอบรมลกู เสอื ต้านภยั ยาเสพติด

โครงสร้างหลกั สูตรลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ

ลําดับ ช่ือวิชา/กจิ กรรม รูปแบบการจดั กจิ กรรม เวลา (นาท)ี

๑ ลกู เสอื กบั การอย่รู ่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ ในการ รปู แบบท่ี ๑ การบรรยาย ๑๒๐

ตา้ นภัยยาเสพติด รปู แบบที่ ๒ การสาธติ

รูปแบบที่ ๓ บทบาทสมมติ

รูปแบบท่ี ๔ กจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์

๒ ลูกเสอื กับการเรยี นรู้เร่อื งยาเสพตดิ รูปแบบท่ี ๑ การบรรยาย ๑๘๐

รปู แบบที่ ๒ การอภิปรายกลุ่ม

รปู แบบท่ี ๓ กจิ กรรมกลมุ่

๓ ลกู เสอื กบั การสรา้ งอุดมการณต์ ้านภัยยาเสพตดิ รูปแบบที่ ๑ บรรยาย ๑๒๐

รปู แบบที่ ๒ การสาธติ

รปู แบบท่ี ๓ การฝกึ ปฏิบัติ

รปู แบบที่ ๔ กิจกรรมพธิ ีบายศรีสขู่ วญั

๔ ลูกเสือกบั ทกั ษะชีวติ การปอ้ งกนั ยาเสพตดิ รปู แบบที่ ๑ กจิ กรรมกลมุ่ ๑๒๐

(การคดิ วเิ คราะห์ การตัดสนิ ใจ การสือ่ สาร รูปแบบท่ี ๒ การอภปิ รายกลมุ่

การสรา้ งสมั พันธภาพ การจัดการอารมณแ์ ละ

ความเครียด การใหค้ ําปรกึ ษา)

๕ ลกู เสอื กับการป้องกันภัยยาเสพติด กิจกรรมฐานเรยี นรู้ ๑๘๐

(กิจกรรมฐานต้านภยั ยาเสพติด) - แขง่ เรอื บก

- รวมพลงั

- พรม...วเิ ศษ

- เกลยี วเชือกสัมพันธ์

- ห่วงเสนห่ า

- หยอ่ นระเบดิ

- โยนไข.่ ..โยนใจ

- กระโดดเชือกหมู่

- นา้ํ ข้นึ ใหร้ ีบตัก

- พรายกระซบิ

๖ ลูกเสอื กบั การดแู ลเยียวยาช่วยเหลอื ผเู้ กย่ี วข้อง รูปแบบท่ี ๑ การบรรยาย ๖๐

กับยาเสพติด รูปแบบท่ี ๒ การอภิปรายกลมุ่

รูปแบบท่ี ๓ รายงานกลมุ่

รูปแบบท่ี ๔ สรปุ รายงาน

๗ ลกู เสอื กับการชุมนมุ รอบกองไฟ กจิ กรรมชมุ นมุ รอบกองไฟ ๑๒๐

ดา้ นต้านภยั ยาเสพติด


หลักสตู รการฝกึ อบรมลกู เสือต้านภัยยาเสพตดิ

โครงสร้างหลกั สตู รลกู เสือตา้ นภัยยาเสพตดิ (ตอ่ )

ลําดบั ชื่อวชิ า/กิจกรรม รูปแบบการจดั กิจกรรม เวลา (นาที)

๘ ลูกเสอื กับการจดั ทําโครงการ/โครงงาน กจิ กรรมกลมุ่ การระดมสมอง ๑๒๐
๖๐
๙ ภารกิจลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ กิจกรรมบําเพญ็ ประโยชน์ -
-
รอบคา่ ยที่พกั
-
๑๐ คําปณิธานลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด การกลา่ วคําปณิธานเพ่อื ให้

คาํ มน่ั สญั ญา

๑๑ กจิ กรรมของลกู เสือตา้ นภัยยาเสพติด ปฏบิ ตั ิโครงการ/กิจกรรม เกย่ี วกบั

- ตนเอง การต้านภัยยาเสพตดิ อย่างน้อย ๓

- เพือ่ น/สถานศกึ ษา กจิ กรรม หลังจากการฝึกอบรมแลว้

- ครอบครัว/ชมุ ชน

๑๒ การขอรบั เครือ่ งหมายลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพติด

รวม ๑,๐๘๐

หมายเหตุ เวลาสามารถปรบั เปลยี่ นได้ตามความเหมาะสม


หลกั สตู รการฝกึ อบรมลูกเสือต้านภยั ยาเสพตดิ

การดาํ เนนิ งานเพอื่ ขอรบั เคร่อื งหมายลกู เสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ

แผนภูมิการดาํ เนนิ งาน

หลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ ดําเนินการฝกึ อบรม
กิจกรรมในสถานศึกษา
๑. ลูกเสอื กบั การอย่รู ่วมกนั อย่างมคี วามสุขในการต้านภยั ยาเสพตดิ
๒. ลกู เสือกับการเรียนรู้เรือ่ งยาเสพตดิ
๓. ลูกเสอื กับการสร้างอุดมการณ์ต้านภัยยาเสพตดิ
๔. ลกู เสือกบั ทักษะชีวติ การปอ้ งกนั ยาเสพตดิ
๕. ลูกเสอื กับการปอ้ งกันภัยยาเสพตดิ

(กิจกรรมฐานตา้ นภัยยาเสพตดิ )
๖. ลูกเสือกับการดูแลเยียวยาชว่ ยเหลอื ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพตดิ
๗. ลูกเสือกับการชุมนมุ รอบกองไฟ
๘. ลกู เสือกับการจดั ทําโครงการ/โครงงาน
๙. ภารกิจลกู เสอื ต้านภัยยาเสพติด (กิจกรรมบําเพญ็ ประโยชน์

รอบคา่ ยทพี่ กั )

การนําความรเู้ รื่องการตา้ นภยั ยาเสพไปใช้

เคร่ืองหมายลกู เสือตา้ นภัยยาเสพตดิ ภายใน ๓ เดือน ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมอยา่ งน้อย
๓ กจิ กรรม
ผา่ น

ประเมนิ ผล ไมผ่ ่าน ตนเอง เพื่อน/สถานศกึ ษา ครอบครัว/ชุมชน


หลกั สูตรการฝึกอบรมลูกเสือต้านภัยยาเสพตดิ

วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึกอบรม
๑. เพ่ือใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
๒. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รับการฝึกอบรมตระหนกั ถึงโทษและพิษภยั ของยาเสพติด และรว่ มกันตา้ นภัยยาเสพติด
๓. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้ารบั การฝึกอบรมมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

มาตรฐานผู้ผ่านการฝึกอบรม
ผู้ผ่านการฝึกอบรม มีคุณสมบัติท่ีพึงประสงค์ในการต้านภัยยาเสพติด รู้จักการป้องกันตัวเองให้

ห่างไกลจากยาเสพติด และสามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างมีความสุข

คุณสมบตั ิผู้เข้ารับการฝกึ อบรม
เปน็ ลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด และผบู้ าํ เพ็ญประโยชน์

ระยะเวลาการฝึกอบรม
จํานวน ๓ วัน ๒ คนื

คําอธิบายหลักสูตร
เปน็ การใหค้ วามรู้และฝึกปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกับยาเสพตดิ การอยู่ร่วมกนั อย่างมคี วามสขุ ในการตา้ นภยั ยาเสพตดิ

การเรยี นรู้เร่อื งยาเสพติด การสร้างอุดมการณ์ตา้ นภยั ยาเสพตดิ ทักษะชวี ติ การป้องกนั ยาเสพติด การป้องกันภัย
ยาเสพติด การดูแลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด การชุมนุมรอบกองไฟ การจัดทําโครงการ/
โครงงาน และภารกิจลูกเสือต้านภัยยาเสพติด เพื่อให้ลูกเสือมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโทษและพิษภัย
ของยาเสพตดิ และมีทกั ษะในการป้องกันตนเองใหห้ า่ งไกลจากยาเสพติด

กจิ กรรม/รายวชิ า
๑. ลูกเสอื กับการอยู่ร่วมกนั อย่างมคี วามสขุ ในการตา้ นภัยยาเสพติด
๒. ลูกเสอื กับการเรียนรเู้ รื่องยาเสพตดิ
๓. ลูกเสอื กับการสร้างอุดมการณต์ ้านภัยยาเสพติด
๔. ลูกเสอื กบั ทกั ษะชวี ิตการป้องกันยาเสพติด
๕. ลูกเสอื กับการป้องกนั ภัยยาเสพติด (กจิ กรรมฐานต้านภัยยาเสพตดิ )
๖. ลกู เสอื กบั การดูแลเยยี วยาช่วยเหลือผเู้ กี่ยวข้องกับยาเสพตดิ
๗. กับการชุมนมุ รอบกองไฟ
๘. ลกู เสอื กบั การจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน
๙. ภารกจิ ลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพติด (กจิ กรรมบําเพ็ญประโยชนร์ อบค่ายที่พัก)

วิธกี ารฝึกอบรม
๑. การบรรยาย
๒. การสาธิต
๓. การสอนแบบฐานเรียนรู้
๔. การศกึ ษาดงู าน/ทศั นศึกษา
๕. การศึกษารายกรณี
๖. การสอนแบบจ๊กิ ซอว์ (Jigsaw)



หลกั สูตรการฝึกอบรมลกู เสือต้านภยั ยาเสพตดิ

๗. กจิ กรรมกลุ่ม : การระดมสมอง (Brain Storming)
๘. กจิ กรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์
๙. กจิ กรรมชุมนุมรอบกองไฟ

การประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลจากการเขา้ รับการฝึกอบรมและเข้าร่วมกิจกรรม
๑. วธิ ีการวดั ผล : สงั เกตพฤตกิ รรม ประเมนิ ความรู้ ประเมินผลงาน
๒. เคร่อื งมอื วัดผล : แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมินความรู้ แบบประเมนิ ผลงาน
๓. เกณฑ์การประเมินผล : ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐

เกณฑก์ ารผา่ นหลกั สตู ร
๑. เวลาเข้าร่วมการฝกึ อบรมไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐
๒. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ทุกวชิ าไมต่ ่ํากวา่ รอ้ ยละ ๘๐
๓. ปฏิบัติกิจกรรมของลูกเสือ เพื่อขอรับเครื่องหมายลูกเสือต้านภัยยาเสพติด อย่างน้อย ๓ กิจกรรม

หากไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ใหป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมอีกคร้งั ภายในระยะเวลา ๓ เดอื น

สือ่ การฝึกอบรม
๑. ส่อื โสตทศั นปู กรณ์
๒. ใบความรู้ ใบงาน ใบกจิ กรรม ในการอภปิ รายกลุ่ม การศึกษารายกรณี การแสดงบทบาทสมมติ
๓. แผนภมู ิ รูปภาพ แผ่นภาพ ท่ีเกี่ยวกับเน้อื หาวิชายาเสพตดิ
๔. แบบฟอร์มและตัวอยา่ งการเขยี นโครงการ
๕. แบบรายงานผลการศึกษาดูงาน
๖. กระดาษ A4 กระดาษ Flipchart
๗. อปุ กรณ์เครอ่ื งเขียน ปากกาเคมี สสี าํ หรบั ตกแตง่ ภาพ
๘. ภาพยนตร์ การต์ ูน นิทาน เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ
๙. เพลง เกม
๑๐. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์โนต้ บุ๊ก
๑๑. วิดที ศั น์ เครื่องเล่น DVD
๑๒. เคร่ืองฉาย LCD
๑๓. เครอื่ งเสียง
๑๔. เครอ่ื งดนตรี เช่น กลอง ฉง่ิ ฉาบ กรบั ฆ้อง ฯลฯ
๑๕. เครือ่ งแตง่ กายและอปุ กรณ์ประกอบการแสดง
๑๖. บทขบั เสภา/บทกลอน/บทเพลง
๑๗. ด้ายขาว เชือกป่าน สําหรับผกู ขอ้ มอื
๑๘. เทียนไข
๑๙. กองไฟ/กองไฟจําลอง
๒๐. อปุ กรณ์อ่นื ๆ ทเี่ หมาะสมตามประเพณนี ิยม



หลักสตู รการฝึกอบรมลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพติด

เอกสารอา้ งอิง/แหลง่ ข้อมลู
๑. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด, สํานักงาน. เอกสารความรู้แนวทางการป้องกันและ

แกไ้ ขปญั หาสารเสพติด. มปท.
๒. ความรู้ และแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาสารเสพตดิ . สํานักงาน ป.ป.ส. บริษัท ยูเนียนอุลตร้า

ไวโอเร็ต. ๒๕๕๒
๓. คู่มือการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ข้ันผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กํากับลูกเสือ คณะกรรมการ

ลกู เสือ ฝา่ ยพัฒนาบุคลากร สํานักงานลูกเสือแห่งชาติ
๔. นโยบายสถานศกึ ษา และเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพสถานศกึ ษาดา้ นลูกเสือต้านภยั ยาเสพติด
๕. แนวการพัฒนาหลกั สตู รการจัดกิจกรรมลกู เสอื ในสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๒
๖. พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒
๗. พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
๘. ศึกษาธิการ, กระทรวง. คู่มือการจัดกจิ กรรมลกู เสอื ยุวกาชาด และผูบ้ ําเพญ็ ประโยชนเ์ พื่อการปอ้ งกนั

และแกไ้ ขปัญหาสารเสพตดิ ในสถานศกึ ษา. โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จาํ กดั . ๒๕๕๓
๙. สุวัฒน์ชัย ทิพย์จันทร์. คู่มือพิธีจุดเทียนแห่งปัญญา. กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล, ศูนย์ช่วยเหลือ

ทางวชิ าการพฒั นาชมุ ชนเขตท่ี ๔ กรมพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย. ๒๕๕๑.
๑๐. สารปฏิรปู ปที ่ี ๔ ฉบับที่ ๓๗ ประจาํ เดอื น เมษายน ๒๕๔๔ หนา้ ท่ี ๓๑
๑๑. หนงั สอื เกย่ี วกบั ลกู เสอื เพลง เกมลูกเสอื
๑๑. เวบ็ ไซต์ บรษิ ทั วคิ ค์ เทรนนิง่ จํากดั http://www.vicktraining.com
๑๓. เว็บไซต์ศูนย์วิชาการด้านยาเสพติด สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

http://nctc.oncb.go.th
๑๔. เว็บไซต์สมาคมองค์กรพัฒนาเอกชนเพ่ือการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ภาคพื้นเอเชีย -

แปซฟิ ิค www.aspacngo.org
๑๕. เวบ็ ไซตส์ าํ นักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ www.oncb.go.th
๑๖. เวบ็ ไซต์สาํ นักการลูกเสอื ยุวกาชาด และกิจการนักเรยี น สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

www.bureausrs.org
๑๗. เวบ็ ไซต์สาํ นักกิจการพเิ ศษ สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร www.skp.moe.go.th
๑๘. เว็บไซตส์ าํ นกั งานลูกเสอื แห่งชาติ www.scoutthailand.org
๑๙. แหล่งขอ้ มูลทาง Internet
๒๐. แหล่งเรยี นร้ใู นชมุ ชน
๒๑. ห้องสมุดในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา



หลักสตู รการฝึกอบรมลกู เสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ

___________________________________________________________________________ ตารางการฝึกอบรม หลักสตู

หลักสตู รการฝกึ อบรมลกู เสือประชาธิปไตย ลูกเสือคณุ ธรรม ลกู เสือตา้ นภัยยาเสพตดิ ๓๘ เวลา ๐๕.๓๐-๐๙.๐๐ น. ๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น. ๑๑.๐๐-
วันที่ ๑๒.๐๐ น.

วันที่ ๑ ๐๗.๓๐- ๐๘.๓๐-๑๐.๐๐ น. ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น.
๐๘.๓๐ น.
ของการ - ปฐมนิเทศ ลูกเสือกบั การอย่รู ว่ มกันอยา่ งมี
ฝกึ อบรม รายงานตัว - พิธีเปดิ การฝกึ อบรม ความสขุ ในการตา้ นภยั ยาเสพตดิ
จดั กลุ่ม - พิธีถวายราชสดดุ ี

- พิธเี ปิดรอบเสาธง

วันท่ี ๒ - กจิ กรรมกายบรหิ าร ลูกเสอื กบั ทักษะชวี ติ ลูกเสอื กับการ
- รับประทานอาหาร การปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ดูแลเยียวยา
ของการ - พธิ ีรอบเสาธง ช่วยเหลอื
ฝึกอบรม - เกม/นนั ทนาการ ผู้เก่ยี วขอ้ งกบั
ยาเสพติด

- กิจกรรมกายบรหิ าร ภารกจิ ลูกเสอื
ต้านภยั ยาเสพตดิ
วันท่ี ๓ - รับประทานอาหาร ลูกเสือกับการจัดทําโครงการ/ (กิจกรรมบาํ เพญ็
- พธิ รี อบเสาธง โครงงาน ประโยชน์รอบ
ของการ - เกม/นันทนาการ
ฝึกอบรม - การทดสอบหลงั การ ค่ายทพี่ กั )

ฝึกอบรม

หมายเหตุ ๑. ตารางการฝึกอบรมอาจปรับเปลยี่ นได้ตามความเหมาะสม
๒. คาํ ว่า “ลกู เสือ” หมายรวมถึง ลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และผู้บาํ เพ็ญ
๓. การนัดหมายกิจกรรมชมุ นุมรอบกองไฟ ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินิจของพธิ กี รประ
๔. รบั ประทานอาหารวา่ งและเคร่อื งดื่ม เวลา ๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๕ น. และ ๑

หลกั สตู รการฝกึ อบร

ตรลูกเสอื ต้านภัยยาเสพตดิ

๑๒.๐๐- ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น. ๑๕.๐๐- ๑๖.๐๐- ๑๙.๐๐-
๑๓.๐๐ น. ๑๖.๐๐ น. ๑๙.๐๐ น. ๒๑.๐๐ น.

รับประทานอาหารกลางวัน ลกู เสือกับการเรยี นรู้เรื่องยาเสพติด ลกู เสอื กบั การ
พัก/รับประทานอาหารเย็น สร้างอดุ มการณ์

ต้านภยั
ยาเสพตดิ

ลกู เสอื กบั การปอ้ งกนั ภัยยาเสพตดิ ลกู เสือกบั
(กิจกรรมฐานตา้ นภยั ยาเสพตดิ ) การชุมนมุ
รอบกองไฟ
- สรุป อภปิ ราย และประเมนิ ผล (ดา้ นตา้ นภยั
- การใหค้ าํ ปณิธานลูกเสอื ตา้ นภัย ยาเสพตดิ )
ยาเสพตดิ
- พิธปี ดิ การฝกึ อบรม เดินทางกลับ
- พิธีปดิ รอบเสาธง

ญประโยชน์ ๘
ะจาํ วนั
๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น.

รมลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด

กําหนดการฝกึ อบรม
หลักสูตรลูกเสอื ต้านภัยยาเสพติด
ระหวา่ งวนั ที่ ….….... เดอื น ……………..…………. พ.ศ. …………
ณ..................................................................................

--------------------------

วันท่ี ๑ ของการฝึกอบรม
เวลา ๐๗.๓๐ น. รายงานตัว

๐๘.๓๐ น. ปฐมนเิ ทศ
๐๙.๐๐ น. พธิ เี ปดิ ในหอ้ งประชุม

- ประธานจดุ ธูป เทียน บชู าพระรัตนตรัย และพระบรมรปู รชั กาลท่ี ๖
- ถวายราชสดุดี
- กลา่ วรายงาน
- ประธานกลา่ วปราศรัยเปดิ การฝึกอบรม
พธิ เี ปดิ รอบเสาธง
- ชักธงขึน้
- สวดมนต์
- สงบน่ิง
- ผอู้ ํานวยการฝกึ อบรมกลา่ วปราศรัย
๑๐.๐๐ น. ลกู เสอื กับการอยูร่ ว่ มกนั อย่างมีความสุขในการตา้ นภัยยาเสพติด
๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวนั
๑๓.๐๐ น. ลกู เสอื กับการเรยี นรเู้ ร่ืองยาเสพตดิ
๑๖.๐๐ น. ประชมุ คณะวทิ ยากร
๑๘.๐๐ น. ชักธงลง รับประทานอาหารเย็น
๑๙.๐๐ น. ลูกเสอื กบั การสร้างอุดมการณต์ ้านภยั ยาเสพตดิ
๒๑.๐๐ น. สวดมนต์ – นอน

วนั ท่ี ๒ ของการฝกึ อบรม
เวลา ๐๕.๓๐ น. ตืน่ นอน กายบริหาร ภารกิจสว่ นตวั

๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเชา้
๐๘.๐๐ น. พิธีรอบเสาธง
๐๙.๐๐ น. ลูกเสือกับทกั ษะชวี ติ การป้องกันยาเสพติด
๑๑.๐๐ น. ลูกเสอื กบั การดูแลเยยี วยาชว่ ยเหลอื ผู้เกีย่ วขอ้ งกบั ยาเสพติด
๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ น. ลกู เสือการป้องกนั ภัยยาเสพติด (กิจกรรมฐานตา้ นภยั ยากับเสพติด)
๑๖.๐๐ น. ประชมุ คณะวิทยากร
๑๘.๐๐ น. ชักธงลง รับประทานอาหารเย็น
๑๙.๐๐ น. ลกู เสอื กับการชุมนุมรอบกองไฟ (ด้านต้านภัยยาเสพติด)
๒๑.๐๐ น. สวดมนต์ - นอน


คมู่ ือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพตดิ

วันท่ี ๓ ของการฝกึ อบรม
เวลา ๐๕.๓๐ น. ตน่ื นอน กายบริหาร ภารกิจสว่ นตัว

๐๗.๐๐ น. รบั ประทานอาหารเชา้
๐๘.๐๐ น. พิธรี อบเสาธง
๐๙.๐๐ น. ลูกเสือกบั การจัดทาํ โครงการ/โครงงาน
๑๑.๐๐ น. ภารกจิ ลกู เสอื ต้านภยั ยาเสพติด (กจิ กรรมบาํ เพญ็ ประโยชนร์ อบคา่ ยทพี่ ัก)
๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวนั
๑๓.๐๐ น. - สรปุ อภิปราย ซักถามปญั หา และประเมินผล

- การใหค้ าํ ปณิธานลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพตดิ
๑๔.๐๐ น. พิธีปดิ การฝึกอบรม

- ผแู้ ทนผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมกล่าวความรู้สกึ
- ผู้อาํ นวยการฝกึ อบรมประกาศผลการฝึกอบรม
- มอบวฒุ ิบตั ร
- ผอู้ ํานวยการฝกึ อบรมกลา่ วปราศรัยปดิ การฝึกอบรม
- ทบทวนคาํ ปฏญิ าณ
พิธปี ิดรอบเสาธง
- สวดมนต์ สงบนิ่ง ชักธงลง
- ร้องเพลงสามคั คีชุมนมุ
- จบั มือลา
๑๕.๐๐ น. เดินทางกลับ

--------------------------------------------

หมายเหตุ ๑. ตารางการฝึกอบรมอาจปรบั เปล่ยี นไดต้ ามความเหมาะสม
๒. คาํ วา่ “ลกู เสอื ” หมายรวมถงึ ลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และผู้บําเพ็ญประโยชน์
๓. การนดั หมายกจิ กรรมชมุ นมุ รอบกองไฟ ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ จิ ของพิธกี รประจาํ วนั
๔. รับประทานอาหารวา่ งและเครื่องดมื่ เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. และ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๑๕ น.

๑๐
ค่มู ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสือต้านภัยยาเสพติด

ส่วนที่ ๒

กจิ กรรม / รายวิชาและเน้อื หาสาระ

๑๑
คูม่ ือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภัยยาเสพตดิ

ชอ่ื วชิ า ลูกเสอื กบั การอยรู่ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ ในการตา้ นภัยยาเสพตดิ บทเรยี นท่ี ๑

เวลา ๑๒๐ นาที

ขอบข่ายรายวชิ า

รูปแบบการจดั กิจกรรมกลมุ่ สมั พันธ์

กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์

ละลายพฤตกิ รรม เพ่ือสร้างบรรยากาศในการทาํ งานรว่ มกนั

(Ice Break)

กระบวนการกลุ่ม เพื่อสรา้ งกระบวนการทาํ งานรว่ มกนั เป็นกล่มุ

(Group Process)

การสรา้ งทมี งาน และ เพ่ือสร้างทีมงานให้เกิดการยอมรับซ่ึงกันและกัน การปลุกพลัง ดึงศักยภาพของแต่

การทํางานเป็นทีม ละคนท่ีเป็นสมาชิกในทีม เป็นการเตรียมความพร้อมกับการแข่งขัน และทําให้

(Team Building สมาชิกในทีมได้มโี อกาสปฏิสมั พันธก์ ัน

and Team Work)

การพัฒนาศกั ยภาพ เพ่ือให้เกิดการยอมรับความแตกต่าง พัฒนาทางด้านศักยภาพ เปิดใจยอมรับซึ่งกัน

(Golden chain และกัน เกิดสมั พันธภาพทด่ี ีต่อเพอ่ื นร่วมงาน

development)

จดุ หมาย เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมสามารถสรา้ งความสมั พันธร์ ะหวา่ งกนั ได้

วัตถปุ ระสงค์ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมสามารถสร้างความสมั พนั ธแ์ ละอย่รู ่วมกนั ในค่ายได้อย่างมี
เมอ่ื จบบทเรยี นน้ีแล้ว

ความสุข

วิธกี ารสอน / กจิ กรรม

๑. นําเขา้ สู่บทเรียนโดยใช้เพลงทสี่ นกุ สนานต่าง ๆ เพื่อกระตนุ้ ใหม้ คี วามพร้อมทจี่ ะปฏิบัตกิ จิ กรรม
ตอ่ ไป

๒. จัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เพ่ือสร้างความคุ้นเคยโดยใช้เพลง เกม การจับกลุ่มสนทนาซักถาม
ขอ้ มลู ส่วนตวั ซึ่งกนั และกนั

๓. เพลง เกม ท่ใี ช้ควรใหผ้ ู้เขา้ รว่ มกิจกรรมไดเ้ ปลยี่ นพฤตกิ รรมดังน้ี
- มกี ารเคลื่อนไหวอวัยวะของร่างกายใหม้ ีความสมั พนั ธก์ ัน
- เนน้ ความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ
- มีการทาํ งานร่วมกันเป็นทีม
- มีปฏิสมั พันธ์ความเปน็ มติ รไมตรตี อ่ กัน

๔. อภปิ ราย สรุป สงิ่ ทีไ่ ด้จากการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ สมั พันธ์

สือ่ การสอน

๑. เครือ่ งเสียง
๒. เครอื่ งดนตรี เชน่ กลอง ฉง่ิ ฉาบ กรบั ฯลฯ
๓. เพลง เกม

๑๒

คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด

การประเมินผล
๑. วิธกี ารวัดผล : สังเกตพฤติกรรมในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่มสัมพนั ธ์
๒. เคร่อื งมอื วดั ผล : แบบประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล : ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๘๐

เอกสารอา้ งอิง / แหลง่ ขอ้ มลู
๑. หนงั สอื เพลง เกมลูกเสือ
๒. หนังสือเกีย่ วกับลกู เสอื

เนอื้ หาวิชา
๑. กลมุ่ สัมพันธ์

๑๓
คมู่ ือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด

ใบความรู้ที่ ๑
เรือ่ ง กล่มุ สมั พนั ธ์

******

กจิ กรรมท่ี ๑ ใครชอ่ื อะไร
อปุ กรณ์ รายช่อื สมาชกิ ทกุ คน
กระบวนการ

๑. วิทยากรอ่านรายชื่อสมาชิกและให้ยืนขึ้นแสดงตัวทีละคน จนหมดทุกคน แล้วให้ปิดป้ายชื่อที่ตั้งบน
โตะ๊ (ถา้ ม)ี

๒. วิทยากรเชญิ สมาชิกหมายเลข ๑ เอย่ ชื่อสมาชิก ๑ คน และผ้ทู ่ีไดร้ บั การเรยี กชือ่ ยืนแสดงตัวอีกครง้ั
๓. สมาชิกที่ได้รับการเรียกชื่อก็จะเรียกชื่อคนต่อไป ดําเนินเช่นนี้ต่อไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการซ้ําคน

วทิ ยากรจะคอยขดี หมายเลขบนผังทนี่ ่ังออกทีละคนจนหมด
๔. ในกรณีที่จําชื่อไมไ่ ด้ เรียกไมถ่ กู ใหถ้ ามชื่อบคุ คลนัน้ แล้วแนะนาํ ตัว

กิจกรรมที่ ๒ แจ๊กพอตคนโชคดี
อุปกรณ์ สลากชือ่ สมาชกิ ใสใ่ นกล่องหรอื กระป๋อง
กระบวนการ

๑. วิทยากรช้ีแจงให้สมาชิกทราบว่าในกระป๋องมีสลากช่ือของสมาชิกทุกคน วิทยากรเริ่มหยิบสลากที่ ๑
คนท่ีหยบิ ได้ต้องแสดงกจิ กรรมอย่างหนงึ่ ใหส้ มาชิกชม เช่น ร้องเพลง เล่านิทาน แล้วหยอดเหรียญ ๑
บาท ลงในกระป๋องแลว้ ส่งคนต่อไป และปฏิบตั เิ ชน่ เดียวกบั คนที่ ๑

๒. เมื่อสมาชิกเข้าใจดีแล้ว วิทยากรเร่ิมดําเนินการไปเร่ือย ๆ จํานวนกี่คนก็ได้ตามความเหมาะสม
คนสุดทา้ ยจะได้รบั เงินทัง้ หมดท่ีอย่ใู นกระป๋อง

กิจกรรมที่ ๓ ผูกเชอื กสมั พนั ธ์
อุปกรณ์ เชือกฟางยาวประมาณ ๑ ฟุต จํานวนเท่าสมาชิก
กระบวนการ

๑. วทิ ยากรกลา่ วนาํ เก่ยี วกบั การต้องการทดสอบพลังกลุ่มโดยจะมอบงานให้ทํา ๑ ช้ิน ให้สมาชิกของกลุ่ม
ประมาณวา่ จะใช้เวลากี่นาทีโดยไมบ่ อกว่าจะทําอะไร

๒. วิทยากรแจกเชือกคนละ ๑ เส้น
๓. วิทยากรช้ีแจงกติกาว่าเมื่อเร่ิมจับเวลาให้ทุกคนนําเชือกของตนเองต่อกับเชือกของคนอื่นจนกลายเป็น

เส้นเดยี วกนั และจะต้องดงึ ไมห่ ลุด
๔. เมื่อเสรจ็ วิทยากรจับเวลาและแจ้งผล
๕. วทิ ยากรทดสอบดงึ รอยตอ่ แตล่ ะเส้นวา่ หลดุ หรอื ไม่ ถา้ หลุดลบเวลาตําแหนง่ ละ ๑ วนิ าที
๖. วิทยากรเปิดโอกาสให้สมาชิกอภิปรายในประเด็นที่ว่า “งานของเราจะเสร็จส้ินได้อย่างเรียบร้อยและ

รวดเร็วเพราะเหตใุ ด”
๗. วิทยากรให้ข้อคิดเพิ่มเติมเก่ียวกับความสามัคคี ปริมาณและคุณภาพการมอบหมายงานท่ีแจ้ง

จดุ ประสงค์ชดั เจน

๑๔
คูม่ ือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภยั ยาเสพติด

กจิ กรรมท่ี ๔ ใครเฉียบ
อปุ กรณ์ ไม่มี
กระบวนการ

๑. วิทยากรแบ่งสมาชิกออกเป็น ๒ กลุ่มเท่า ๆ กัน
๒. เชิญสมาชิกออกมาทีละคู่ สลับกันถามปัญหาอะไรเอ่ย อีกฝ่ายจะต้องตอบ เช่น ตัวย่อ ตัวเต็มอะไร

อะไรตรงข้ามอะไร สง่ิ น้นั สอี ะไร ฯลฯ
๓. วิทยากรคอยใหค้ ะแนนฝ่ายไหนไดแ้ ตม้ สงู กวา่ กันกจ็ ะชนะ
๔. วทิ ยากรเปดิ อภิปรายกจิ กรรมน้ใี ห้แง่คดิ อะไร
๕. วทิ ยากรเสริมเนน้ เรือ่ งความต่ืนตวั อย่เู สมอ การแกป้ ัญหาเฉพาะหน้ายิ่งฝกึ ยง่ิ แกร่ง
หมายเหตุ
๑. ตัวอย่างกจิ กรรมรวบรวมจากหนงั สือ ๑๐๑ กิจกรรมประกอบการฝกึ อบรมของอาจารย์อนกุ ูล

เยีย่ งพฤกษาวัลย์
๒. ผูด้ ําเนนิ การกจิ กรรมกลมุ่ สัมพันธ์สามารถเลือกกจิ กรรมทสี่ อดคลอ้ งกบั เน้ือหาวชิ าไดต้ ามความ

เหมาะสม

๑๕
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือต้านภยั ยาเสพติด

แบบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

ชอื่ วิชา กลุม่ สัมพนั ธ์
ช่อื กลุ่ม...............................................................................................................................................

ข้อ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
๔๓๒๑
๑ มีการทํางานเป็นทีม
๒ มีความกระตอื รอื ร้น ---------------------------------
๓ มีปฏสิ ัมพนั ธค์ วามเป็นมติ รไมตรีต่อกนั (______________________)

รวม ผู้กํากับลกู เสือ

เกณฑ์การประเมนิ ผล

รายการที่ ระดบั คณุ ภาพ / คะแนน

ประเมนิ ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑)

๑. มีการทํางานเปน็ สมาชกิ ทกุ คนมสี ่วน สมาชกิ ไมใ่ หค้ วาม สมาชกิ ไม่ใหค้ วาม สมาชกิ ไมใ่ ห้ความ
รว่ มมอื ๓ คนขึน้ ไป
ทีม รว่ ม รว่ มมอื ๑ คน รว่ มมอื ๒ คน

๒. มคี วาม ทกุ คนมคี วาม ขาดความ ขาดความ ขาดความ
กระตอื รือรน้ กระตอื รอื รน้
กระตือรือร้น ๑ คน กระตือรือร้น ๒ คน กระตอื รือร้น ๓ คน

ขน้ึ ไป

๓. มปี ฏสิ ัมพันธ์ ทุกคนมปี ฏิสมั พันธ์ ขาดการมี ขาดการมี ขาดการมี
ความเปน็ มิตรไมตรี ความเปน็ มติ รไมตรี ปฏสิ ัมพนั ธ์ความ ปฏิสัมพันธ์ความ ปฏิสัมพันธค์ วาม
ต่อกัน ต่อกัน เป็นมิตรไมตรีต่อกนั เปน็ มิตรไมตรตี ่อกนั เป็นมติ รไมตรีตอ่ กัน
๑ คน ๒ คน ๓ คนขึ้นไป

๑๖
คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพติด

บทเรยี นที่ ๒

ชอ่ื วชิ า ลูกเสือกับความรู้เรอ่ื งยาเสพติด เวลา ๑๘๐ นาที

_____________________________________________________________________________

ขอบขา่ ยรายวชิ า
สถานการณ์ปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนท้ังด้านบวกและลบ

ซ่ึงก่อให้เกิดปัญหาของสังคมโดยเฉพาะปัญหายาเสพติดเพ่ือเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็กและเยาวชน
การให้ความรู้เรื่องยาเสพติดนับเป็นกระบวนการหนึ่งที่สามารถทําให้เด็กและเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติด
และลดปญั หาทีก่ ระทบตอ่ ตนเอง ครอบครวั และสงั คมได้

จุดหมาย เพ่ือให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้เร่อื งยาเสพติด

วตั ถุประสงค์
เมอ่ื จบบทเรียนนแ้ี ล้ว ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมสามารถ
๑. มคี วามร้ใู นเรือ่ งยาเสพติด
๒. อธิบายความหมาย ประเภท โทษ การป้องกนั และสาเหตกุ ารตดิ ยาเสพตดิ ได้
๓. มีความตระหนักถงึ โทษ พษิ ภยั ผลกระทบ และการป้องกนั ยาเสพตดิ ได้
๔. สรา้ งอุดมการณ์ เพอื่ แสวงหาความร่วมมอื โดยการเฝา้ ระวัง ป้องกัน และแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ได้

วธิ สี อน / กิจกรรม ๒๐ นาที
๑. นาํ เขา้ สบู่ ทเรยี น โดยใช้ภาพ วดิ ที ัศน์ ๑๕ นาที
๒. เลน่ เกม ตอบปญั หาเกย่ี วกับยาเสพตดิ ๔๕ นาที
๓. แบง่ กลมุ่ วิเคราะห์สภาพปัญหา ๘๐ นาที
๔. นําเสนอผลการประชมุ กล่มุ ๘ กลุม่ ๆ ละ ๑๐ นาที ๒๐ นาที
๕. อภิปราย สรปุ ผลรว่ มกนั

สอ่ื การสอน
๑. รูปภาพ ภาพแผน่ พลิก แผนภูมิ
๒. โสตทัศนูปกรณ์
๓. ใบความรู้ที่ ๒ เนื้อหาเก่ียวกับยาเสพตดิ
๔. ใบงานที่ ๒
๕. กระดาษชาร์ท
๖. ปากกาเคมี

การประเมินผล
๑. วิธกี ารวดั ผล : สังเกต สอบถาม ซกั ถาม
๒. เครอื่ งมือวัดผล : แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๓. เกณฑก์ ารประเมินผล : มีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑท์ ่กี าํ หนด

๑๗
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด

เอกสารอา้ งองิ / แหล่งขอ้ มลู
๑. ความรู้ และแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาสารเสพติด. สาํ นกั งาน ป.ป.ส. บรษิ ัท ยูเนยี น

อลุ ตรา้ ไวโอเร็ต. ๒๕๕๒
๒. ศกึ ษาธกิ าร,กระทรวง. คู่มือการจดั กจิ กรรมลกู เสือ ยุวกาชาด และผบู้ าํ เพ็ญประโยชนเ์ พือ่ การ

ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาสารเสพติดในสถานศกึ ษา. โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จาํ กดั .
๒๕๕๓

๓. เวบ็ ไซต์
- www.oncb.go.th
- www.aspacngo.org
- http://nctc.oncb.go.th

๔. พ.ร.บ.ยาเสพตดิ
๕. ป.ป.ส.,สาํ นกั งาน. ความรู้ แนวทางปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ . มปท.
๖. ศึกษาธกิ าร,กระทรวง. คูม่ ือการจัดกจิ กรรมลูกเสอื ยวุ กาชาด และสมาชกิ ผ้บู าํ เพญ็ ประโยชน์
เพื่อการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา. มปท.
๗. พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒
๘. พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
เนื้อหาวชิ า
๑. รทู้ นั ยาเสพตดิ : สถานการณ์ปจั จบุ ัน

๑๘
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด

ใบความร้ทู ่ี ๒
เร่อื ง รทู้ นั ยาเสพตดิ : สถานการณป์ จั จบุ นั

๑. รู้ทนั ยาเสพติด : สถานการณ์ปจั จบุ นั
จากสถิติการบําบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด สถิติเยาวชนกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด สภาวการณ์เด็ก

และเยาวชน (Child Watch) พบวา่ มีเยาวชนชายและหญิงที่เสพ/ติด/ค้ายา โดยอายุเร่ิมใช้ยาเสพติดมีแนวโน้มลดลง
เยาวชนหญิงมีแนวโน้มเก่ียวข้องยาเสพติดเพิ่มขึ้น ยาบ้ายังเป็นปัญหาหลักในกลุ่มเด็กและเยาวชน มีการใช้สาร
ระเหย ยาอี ไอซ์ และโคเคนในบางกลุ่ม กระท่อมถูกนํามาใช้ในวงกว้างมากขึ้นในรูปแบบท่ีหลากหลาย นอกจากนี้
เยาวชนตกอย่ใู นสภาวะเส่ยี งท่แี วดลอ้ มด้วยปัจจัยเสี่ยง/พ้ืนท่ีเสี่ยงท่ีเป็นอันตรายและไม่เหมาะสม เด็กและเยาวชนมี
แนวโน้มเก่ยี วข้องกับอบายมขุ และมีพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม

นอกจากน้ีสถานศึกษาสามารถชี้สถานการณ์ปัญหาเชิงลึกได้โดยการนําข้อมูลพฤติกรรมนักเรียนจาก
ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น และสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นท่ีมาใช้ประกอบการวิเคราะห์
สถานการณป์ ัญหา

หมายเหตุ : ขอ้ มูลให้เปล่ียนแปลงตามสภาวะทเ่ี ปลี่ยนไป ณ ปจั จบุ ัน

๒. ความรูท้ วั่ ไปเกย่ี วกบั ยาเสพตดิ
๒.๑ ความหมาย : ยาเสพติด หมายถึง ยาเสพติดให้โทษ หรือสารเคมี หรือวัตถุใด ๆ ซ่ึงเมื่อเสพเข้าสู่

ร่างกาย ๆ ไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้ว ทําให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจใน
ลักษณะท่ีสําคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพเรื่อง ๆ มีอาการถอนยาเม่ือขาดยา มีความต้องการเสพติดทั้งร่างกาย
และจิตใจอย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง รวมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืชที่เป็น
หรือใหผ้ ลผลติ เปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ หรอื อาจใชผ้ ลติ เปน็ ยาเสพติดให้โทษ หรือสารเคมที ่ใี ช้ในการผลติ

๒.๒ ประเภทของยาเสพติด : ยาเสพติดแบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจติ ประสาทเปน็ ๔ ประเภท คอื
กดประสาท : ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลางในส่วนท่ีควบคุมความรู้สึก ทําให้สมองมึนชา
ความคิดและปฏิกิริยาตอบสนองช้าลง กดระบบการทํางานอวัยวะต่าง ๆ ระบบการทํางานของหัวใจ ทําให้
หัวใจเต้นช้าลงและอาจถึงขั้นหยุดทํางานหากผู้ใช้มีปัญหาด้านสุขภาพ ตัวอย่างยาเสพติดประเภทน้ี เช่น ฝ่ิน
มอรฟ์ ีน เฮโรอนี ยานอนหลบั ยาระงบั ประสาท รวมถงึ สารระเหย
กระตุ้นประสาท : ยากลุ่มน้ีมีฤทธิ์กระตุ้นประสาทท่ีส่วนสมอง ทําให้ต่ืนตัวอยู่ตลอดเวลาไม่ง่วง ไม่หิว
และเมื่อใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจึงเกิดอันตรายจากภาวะตึงเครียดเพราะร่างกายและประสาทไม่ได้พักผ่อน
ตามเวลาท่ีเหมาะสม เกิดการหลับใน ประสาทหลอน จนถึงขั้นโรคจิต ประเภททําร้ายตนเองหรือบุคคลอื่นและ
เป็นความเจ็บป่วยท่ีรักษาให้หายขาดได้ยาก ตัวอย่างยาเสพติดประเภทนี้ เช่น แอมเฟตามีน (ยาบ้า) เอ็กซ์ตาซี่
(ยาอ)ี คาเฟอนี โคเคน กระท่อม ไอซ์
หลอนประสาท : ออกฤทธิ์ท่ีระบบประสาทส่วนสัมผัสท้ังห้า คือ การมองเห็น การได้ยิน การได้กล่ิน
การรบั รรู้ ส และการสัมผสั ทาํ ให้การรบั รบู้ ิดเบือนไปจากความจริง เกิดภาพลวงตาท่ีเป็นไปตามจินตนาการอาจ
สวยงามหรือน่ากลวั จนไมส่ ามารถควบคุมอารมณ์และความรู้สึกได้ ถ้าใช้ยาบ่อยๆ หรือมากจะทําให้เกิดอาการ
วกิ ลจรติ ตัวอย่างยาเสพตดิ ประเภทน้ี เชน่ ยาเค แอลเอสดี เมสคาลีน เหด็ ข้คี วาย
ผสมผสาน : ออกฤทธิ์ท้ังกระตุ้น กด และหลอนประสาท โดยจะเร่งออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาททําให้
คึกคัก ต่ืนตัวหัวใจเต้นเร็ว หลังจากนั้นจะเปลี่ยนไปเป็นฤทธ์ิกดประสาท ทําให้สมองมึนชา คิดช้า กดศูนย์การ
หายใจทําให้หัวใจเต้นช้า จากนั้นจะออกฤทธิ์หลอนประสาททําให้เคลิ้ม ควบคุมตนเองไม่ได้ ยาประเภทนี้เป็น

๑๙
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด

อันตราย เพราะทําให้กลไกของสมองและระบบต่างๆ ในร่างกายทํางานหลักและไม่เป็นไปตามธรรมชาติ ทําให้
รา่ งกายและระบบประสาทเสือ่ มเร็ว ตวั อย่างยาเสพติดประเภทน้ี เชน่ กญั ชา

๒.๓ โทษของยาเสพตดิ
โทษภัยตอ่ ครอบครัว
• ทําลายความสุขในบ้าน ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของสมาชิกในครอบครัว เป็นเหตุให้เกิดปัญหา

ต่าง ๆ ตามมาจนอาจทวคี วามรนุ แรงให้ครอบครัวแตกแยก
• สูญเสียรายได้ของครอบครัว เนื่องจากมีรายจ่ายเพิ่มขึ้นจากการซ้ือ ยาเสพติด หรือบําบัดรักษา

ผทู้ ี่ติดยาเสพติด
• พ่อแม่ ผ้ปู กครอง ขาดทีพ่ งึ่ ในยามเจบ็ ป่วยหรือชราภาพ
• ทําลายช่อื เสยี งวงศต์ ระกลู และเปน็ ที่รงั เกยี จของสงั คม
• ทําใหค้ รอบครวั เดอื ดรอ้ น เพราะคนในครอบครัวที่มปี ัญหายาเสพติด มักจะก่ออาชญากรรม
โทษภัยตอ่ ชุมชนและสังคม
• กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาอาชญากรรมตา่ ง ๆ ในชุมชน
• เป็นบอ่ เกิดให้ชมุ ชนเสือ่ มโทรม สงั คมถกู ทําลาย
• ทาํ ลายเยาวชน อันเปน็ กําลงั สาํ คัญในการพัฒนาชมุ ชนและสงั คม
• ทาํ ให้การพฒั นาชุมชน และสงั คมในด้านตา่ ง ๆ เปน็ ไปอยา่ งเชือ่ งชา้
• สูญเสียรายไดข้ องชุมชนและสงั คม
• ทรัพยส์ นิ ของคนในชุมชนและสงั คมเสียหาย เน่ืองจากพฤติกรรมทางจิตประสาท
• กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาอุบัติเหตุเนอื่ งจากฤทธขิ์ องยา
• กอ่ ให้เกิดปญั หาโรคเอดส์
โทษภัยต่อประเทศชาติ
• บอ่ นทําลายเศรษฐกจิ และความม่นั คงของประเทศชาติ
• รฐั บาลต้องสญู เสยี กาํ ลงั เจ้าหน้าทีแ่ ละคา่ ใช้จ่ายในการปอ้ งกนั ปราบปรามและรกั ษาผตู้ ิดยาเสพติด

จํานวนมาก
• สูญเสียทรัพยากรมนุษยท์ มี่ ีคณุ ภาพสาํ หรับการพัฒนาประเทศ
• เพ่ิมภาระการเสียภาษีของประชาชน เพราะรัฐบาลต้องนําภาษีของประชาชนไปใช้จ่ายในการแก้ไข

ปญั หายาเสพตดิ
• การพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศเป็นไปอย่างเช่ืองชา้
• สญู เสียแรงงานในการปฏบิ ตั ิงานทําใหป้ ระเทศขาดรายได้
• ประเทศชาติตอ้ งเสอ่ื มเสยี ช่ือเสียงและเกียรติภูมิ ในสายตาของชาวต่างประเทศ
• อาจทาํ ให้เกดิ ขอ้ ขัดแยง้ ทางการเมืองหรอื ความไมส่ งบระหว่างประเทศ
• ผูท้ ่ไี มป่ ระสงคด์ ีตอ่ ชาติอาจใชย้ าเสพตดิ เป็นเครอื่ งมอื ในการบ่อนทาํ ลายความมั่นคง
• ประเทศชาตพิ ฒั นาไปอย่างเชือ่ งชา้

๒.๔ สาเหตุการตดิ ยาเสพตดิ
สาเหตุสําคญั ทท่ี าํ ใหต้ ดิ ยาเสพติด โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในกลุ่มวยั รุน่ คอื
1) จากการถูกชักชวน การถูกชักชวนน้ีอาจจะเกิดจากเพ่ือนสนิทที่กําลังติดยาอยู่และ

อยากจะใหเ้ พ่อื นลองบา้ ง ปัญหานี้มักจะเกิดกับเด็กท่ีมีปัญหาทางครอบครัวขาดความอบอุ่น ใจแตก เอาเพ่ือนเป็นท่ี
พ่ึง นอกจากนี้ผู้ท่ีอยู่ในแหล่งท่ีมีการซ้ือขายยาเสพติด ก็อาจจะได้รับการชักจูงให้เห็นถึง คุณภาพของยาเสพติดว่าดี

๒๐

คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด

ต่าง ๆ นานา เช่น อาจจะบอกว่า เมื่อเสพแล้วจะทําให้ปลอดโปร่ง เหมาะแก่การเรียนการทํางาน การชักจูงดังกล่าว
อาจจะเกดิ ขนึ้ ในขณะทผี่ ู้ถูกชักจงู กาํ ลงั มึนเมาสุรา เทยี่ วเตร่กัน จึงทาํ ใหเ้ กดิ การติดยาได้

๒) จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาติ อยากสัมผัส โดยคิดว่าคง
จะไม่ติดง่าย ๆ แต่เม่ือ ทดลองเสพเข้าไปแล้วมักจะติด เช่น เฮโรอีน จะติดง่ายมาก แม้เสพเพียงครั้งหรือสอง
คร้ังกจ็ ะตดิ แล้ว

๓) จากการถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่
ทราบว่าสิ่งท่ีตนได้เสพเข้าไปน้ัน เป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรงอะไรตามท่ี
ผู้หลอกลวงแนะนํา ผลสุดท้าย กลายเป็นผู้ติดยาเสพติดไป

๔) เหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ
เป็นหืด เป็นโรคประสาทได้รับความทรมานทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานแต่ก็
ไม่หาย จงึ หนั เขา้ หายาเสพติดจนตดิ ยาในทสี่ ุด

๕) จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนี้คิดว่าตัวเองเป็นคนเก่งอยากลองซ่ึงรู้แก่ใจ
ว่ายาเสพติดให้โทษเป็นสิ่งไม่ดีแต่ด้วยความท่ีคึกคะนองเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดงความเด่นดัง
อวดเพ่ือนว่าข้านี้คือพระเอก ขาดความย้งั คิดจึงเสพยาเสพตดิ และตดิ ยาในทส่ี ุด

๖) จากส่ิงแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งท่ีมีการเสพ
และค้ายาเสพติด ภาวะทางเศรษฐกิจบีบค้ันจิตใจ เป็นต้น ซึ่งเป็นส่ิงท่ีมีอิทธิพลเหนือจิตใจผลักดันให้ผู้ที่อยู่ใน
สภาพแวดล้อมดังกลา่ ว บางคนหันมาพึ่งยาเสพตดิ โดยคดิ วา่ จะชว่ ยใหต้ นเองหลุดพ้นจากสภาพต่าง ๆ ท่ีคับข้อง
ใจเหลา่ นน้ั ได้
๓. การปอ้ งกนั ยาเสพติด

แนวทางการปอ้ งกนั ยาเสพตดิ
- การป้องกนั ตนเอง
- การป้องกันครอบครัว
- การปอ้ งกนั ชุมชนและสังคม
- การปอ้ งกันประเทศ

๔. หนว่ ยงานท่ีให้คาํ ปรึกษา
สายดว่ นปญั หายาเสพตดิ
- สายด่วนกรมการแพทย์ โทร ๑๑๖๕
สายด่วนปรึกษาปญั หาเดก็ และเยาวชน
- สายด่วนปรกึ ษาเด็ก โทร ๑๓๘๗
- สายด่วนวยั รุ่น โทร ๐๒ – ๒๗๕๖๙๙๓ – ๔ , ๐๒ – ๒๗๖๕๑๔๑ – ๕
- สายด่วนศูนย์ประชาบดี โทร ๑๓๐๐
- สายด่วนกรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ าร โทร ๑๕๐๗
- ศนู ยช์ ่วยเหลือด่วน ๒๔ ชว่ั โมง กรมพัฒนาสังคมและสวสั ดกิ าร โทร ๑๕๐๗
- ศนู ย์พทิ กั ษส์ ทิ ธเิ ดก็ และครอบครวั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทร ๑๕๗๙
- สายดว่ นเตมิ พลงั ใจใหก้ ัน (สาํ นกั สวสั ดิการสงั คม กรงุ เทพหานคร) โทร ๐๒ – ๖๔๔๓๓๔๔

๒๑
คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด

๕. สถานบําบดั รกั ษาและฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด

สถานบาํ บดั ผตู้ ดิ ยาเสพติด

- สถาบันธัญญารักษ์ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๓๑ ๐๐๘๐ - ๔

- ศนู ย์บําบดั รกั ษายาเสพติดขอนแกน่ โทรศัพท์ ๐ ๔๓๔๕ ๓๙๐๒

- ศูนยบ์ าํ บัดรกั ษายาเสพติดอดุ รธานี โทรศัพท์ ๐ ๔๒๒๙ ๕๗๕๘

- ศูนย์บาํ บัดรักษายาเสพติดเชยี งใหม่ โทรศัพท์ ๐ ๕๓๒๙ ๗๙๗๖ -๗

- ศนู ย์บาํ บัดรักษายาเสพตดิ แม่ฮ่องสอน โทรศพั ท์ ๐ ๕๓๖๑ ๓๐๕๑ - ๕

- ศูนย์บําบดั รักษายาเสพตดิ สงขลา โทรศัพท์ ๐ ๗๔๔๖ ๗๔๕๓

- ศูนย์บาํ บดั รักษายาเสพติดปตั ตานี โทรศพั ท์ ๐๗๓๔๖ ๐๓๕๑ - ๕

- โรงพยาบาลราชวถิ ี โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๔๖ ๐๐๕๒ ตอ่ ๔๓๐๒

- โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ โทรศพั ท์ ๐ ๒๓๕๔ ๗๖๐๐๒๘ ตอ่ ๙๓๑๘๙

- โรงพยาบาลของรัฐท่วั ประเทศ

๒๒
คู่มือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสือต้านภัยยาเสพตดิ

ตวั อยา่ งแบบประเมนิ
แบบประเมนิ ผลงานของกลุ่ม
กลมุ่ ท่ี ………………………………..

ขอ้ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๔ ๓ ๒๑

๑ ผลงานเป็นไปตามจดุ ประสงค์

๒ ผลงานเสรจ็ ทนั เวลา

๓ ผลงานมีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์

๔ เนอ้ื หาสาระของผลงานมคี วามสมบูรณ์

๕ วธิ ีการนาํ เสนอผลงาน

รวม

รวมทั้งสนิ้ (ดีมาก + ดี + พอใช้ + ปรับปรงุ )

ผลการประเมนิ คณุ ภาพอยู่ในระดับ.........................

ลงชือ่ ..............................................ผปู้ ระเมนิ
(...........................................)

เกณฑ์ตัดสนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
๒๔ - ๓๐ ดีมาก
๑๗ -๒๓ ดี
๑๐ - ๑๖ พอใช้
ต่าํ กว่า ๑๐ - ๑๖ ปรบั ปรงุ

๒๓
คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ

เกณฑ์การประเมินผลงานกลมุ่

หวั ข้อท่ีประเมนิ ดีมาก (๔) ระดบั คณุ ภาพ/คะแนน ปรับปรุง (๑)

๑. ผลงานเปน็ ไป ผลงานสอดคลอ้ ง ดี (๓) พอใช้ (๒) ผลงานไมส่ อดคลอ้ ง
ตามจดุ ประสงค์ท่ี กบั จดุ ประสงค์ทุก กับจดุ ประสงค์
กาํ หนด ข้อ/ทกุ ประเด็น ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง
สมบรู ณ์ กับจดุ ประสงค์เปน็ กบั จุดประสงคบ์ าง
สว่ นใหญ่/เกอื บทุก ขอ้ /บางประเด็น
ประเดน็ สมบรู ณ์ สมบูรณ์

๒. ผลงานเสรจ็ ทัน เสรจ็ กอ่ นเวลา เสร็จตามเวลาท่ี เสร็จชา้ กว่าเวลาที่ ไม่เสร็จ
ตามกําหนดเวลา กําหนด กาํ หนด

๓.ผลงานมีความคิด ผลงานถูกต้องตาม ผลงานถูกต้องตาม ผลงานถกู ตอ้ งตาม ผลงานมี
ริเรม่ิ สร้างสรรค์ หลกั วชิ าการและ หลกั วชิ าการและ หลกั วิชาการแตย่ งั ข้อบกพรอ่ งและ
มีแนวคดิ แปลกใหม่ มแี นวคิดแปลกใหม่ ไมม่ ีแนวคิด ไมม่ แี นวคดิ
และเป็นระบบ แต่ยงั ไมเ่ ปน็ ระบบ แปลกใหม่ แปลกใหม่

๔.เนื้อหาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ

ผลงานมคี วาม ผลงานครบถ้วนทกุ ผลงานครบถว้ นเป็น ผลงานถูกตอ้ งเปน็ ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง

สมบูรณ์ ประเด็น ส่วนใหญ่ บางประเดน็ เป็นส่วนใหญ่

๕.วธิ ีการนําเสนอ มวี ิธีการนําเสนอ มีวิธีการนําเสนอ มวี ธิ กี ารนาํ เสนอ มวี ธิ ีการนําเสนอ
ผลงานกลุ่ม ผลงานทีน่ ่าสนใจ ผลงานที่น่าสนใจ ผลงานทีน่ ่าสนใจ ผลงานไม่น่าสนใจ
พูดเสียงดังออก พดู เสยี งดงั ออก พดู เสียงดงั ออก พูดเสยี งเบาออก
เสียงอักขระชัดเจน เสยี งอกั ขระชัดเจน เสียงอักขระ เสยี งอกั ขระ
คล่องแคล่ว แต่ไมค่ ล่องแคลว่ ไม่ชดั เจนและ ไม่ชัดเจนและ
ไมค่ ลอ่ งแคล่ว ไมค่ ลอ่ งแคลว่

๒๔
คูม่ ือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด

ชือ่ วิชา ลูกเสือกับการสร้างอุดมการณต์ า้ นภัยยาเสพตดิ บทเรยี นที่ ๓

เวลา ๑๒๐ นาที

ขอบขา่ ยรายวชิ า
๑. ความหมายของการสร้างอุดมการณ์ตา้ นภัยยาเสพติด
๒. การปลกุ จิตสาํ นึกในการเฝา้ ระวัง ป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด

จุดหมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมสามารถสรา้ งอุดมการณใ์ นการต้านภัยยาเสพติดใหเ้ กิดขน้ึ กบั ลกู เสอื

วัตถปุ ระสงค์
เมือ่ จบบทเรยี นนี้แลว้ ผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมสามารถ
๑. บอกความหมายของการสรา้ งอดุ มการณต์ ้านภัยยาเสพติดได้
๒. อธิบายวธิ ีการในการปลกุ จิตสํานกึ ในการต้านภัยยาเสพติดได้
๓. จดั กจิ กรรมรวมพลังกล่มุ ตา้ นภัยยาเสพติดได้

วธิ ีสอน/กจิ กรรม ๑๐ นาที
๑. นาํ เข้าสู่บทเรยี นโดยการสร้างบรรยากาศให้สอดคล้องกบั กิจกรรม และ
๖๐ นาที
ใหผ้ ู้เขา้ รับการฝึกอบรมน่ังเป็นรูปคร่ึงวงกลม ๓๐ นาที
๒. ดําเนินการจดั กจิ กรรม/พธิ ีการ ประยกุ ตจ์ ากพธิ ีบายศรีสู่ขวญั หรอื ประเพณี ๒๐ นาที

นิยมอ่นื ตามทอ้ งถ่ิน
๓. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเป็นกลุ่มตามความหมายของอดุ มการณ์ (ตามใบความรู)้
๔. สรปุ กิจกรรมโดยใช้เพลงลกู เสือไทยป้องกันภัยยาเสพติด

ส่ือการสอน
๑. เทียนไข
๒. บทขับเสภา/บทกลอน/บทเพลง
๓. เครอื่ งดนตรี
๔. ดา้ ยขาว/เชือกปา่ น สําหรับผกู ขอ้ มอื
๕. อปุ กรณอ์ ื่นๆ ท่ีเหมาะสมตามประเพณีนิยม

การประเมินผล
๑. วิธีการวดั ผล : สงั เกต สอบถาม ซักถาม
๒. เครอื่ งมอื วัดผล : แบบประเมนิ ผลงานกลุม่
๓. เกณฑ์การประเมนิ ผล : มผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑท์ ่ีกําหนด

เอกสารอา้ งองิ / แหลง่ ข้อมลู
๑. พิธรี บั นอ้ งศนู ย์การอบรมบา้ นนพคณุ
๒. โครงการโรงเรยี นพทิ ักษส์ ร้างชีวิต

๒๕
คมู่ ือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ

๓. สวุ ัฒนช์ ยั ทพิ ย์จนั ทร.์ คมู่ ือพิธจี ุดเทยี นแห่งปญั ญา. กลมุ่ งานพฒั นาทรพั ยากรบุคคล, ศูนย์
ชว่ ยเหลอื ทางวิชาการพฒั นาชมุ ชนเขตที่ ๔ กรมพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย. ๒๕๕๑.
เนอื้ หาวชิ า

๑. อุดมการณ์

๒๖
ค่มู ือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด

ใบความรทู้ ี่ ๓
เรอ่ื ง อดุ มการณ์

ความหมายของคาํ วา่ อุดมการณ์ ไดม้ ผี ใู้ หค้ วามหมายไว้ ดังนี้
๑. อดุ มการณ์ คอื ระบบความเช่ือท่ีมีแบบแผน ซ่ึงก่อใหเ้ กดิ การจูงใจใหก้ ลุ่มชนในสังคมยึดถือ

นาํ มาใชเ้ ป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติ เกย่ี วกับการดําเนิน ชีวิตในสังคม เพอ่ื ใหบ้ รรลุถึงความเปน็ อยู่ ทด่ี ี
(http://www.scloei.com/home/index.php?option=com_content&task=view&id=๒๗&Itemid=๓๖
)

๒. อดุ มการณ์ คือ ความคิด ความใฝฝ่ ัน ความมุ่งม่ัน ปรารถนาในสิ่งใดสงิ่ หนึง่ ท้งั ท่เี ป็น
รูปธรรมหรอื นามธรรม เมอื่ ทาํ ไปแลว้ ได้สง่ิ นนั้ แล้วกพ็ อใจ มีความอิ่มเอิบเปรมปรดี ม์ิ คี วาม
สุขเพราะบรรลผุ ลดีตามเป้าหมายอันเปน็ อดุ มการณ์แล้ว (http://www.ts-ep.com/first.html)

๓. อดุ มการณ์ หมายถงึ อุดมคตอิ ันสูงสง่ ท่ีจงู ใจมนุษยใ์ ห้พยายามบรรลถุ งึ
(http://www.drwathits.com/maj/Nitinart.pdf)

๔. อุดมการณห์ มายถงึ การมที ศั นคตแิ ละการมคี วามเชื่อ (beliefs) และศรัทธา(faith) ต่อเรอ่ื งราว
ต่างๆ ต่อสถาบันตา่ งๆ ในสงั คม ต่อกระบวนการต่างๆ ซงึ่ บ่งบอกถึงการมี โลกทศั น(์ Worldview) คือความ
คิดเหน็ ต่อความเปน็ ไปของโลก ผยู้ ึดถืออุดมการณย์ ่อมมรี ะดับแหง่ ความยดึ เหนย่ี ว และความผูกพัน
(http://www.oknation.net/blog/print.php?id=๑๒๕๑๘๓)

ความสาํ คญั ของอดุ มการณต์ า้ นภัยยาเสพตดิ
หัวใจสําคัญของการแก้ไขปัญหายาเสพติด คือ การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ เอกชน ภาค

ธุรกิจเอกชน รวมท้ังภาคประชาชนในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติด การสร้างอุดมการณ์ต้านภัย
ยาเสพติด จึงเป็นกระบวนการสําคัญในการสรา้ งความตระหนกั ปลกู จิตสาํ นึกและการเข้ามามีส่วนร่วมเป็นพลัง
ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ

๒๗
คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด

ตวั อยา่ งแบบประเมนิ
แบบประเมนิ ผลงานของกล่มุ
กลมุ่ ที่ ………………………………..

ขอ้ รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ
๔ ๓ ๒๑

๑ ผลงานเปน็ ไปตามจดุ ประสงค์

๒ ผลงานเสรจ็ ทนั เวลา

๓ ผลงานมีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์

๔ เนือ้ หาสาระของผลงานมคี วามสมบูรณ์

๕ วิธีการนําเสนอผลงาน

รวม

รวมท้ังสนิ้ (ดมี าก + ดี + พอใช้ + ปรับปรุง)

ผลการประเมนิ คณุ ภาพอยูใ่ นระดับ.........................

ลงชือ่ ..............................................ผู้ประเมนิ
(...........................................)

เกณฑ์ตดั สนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒๔ - ๓๐ ดีมาก
๑๗ -๒๓ ดี
๑๐ - ๑๖ พอใช้
ตาํ่ กว่า ๑๐ - ๑๖ ปรบั ปรงุ

๒๘
คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ

เกณฑ์การประเมนิ ผลงานกลมุ่

หวั ข้อที่ประเมนิ ดีมาก (๔) ระดบั คณุ ภาพ/คะแนน ปรับปรุง (๑)

๑. ผลงานเป็นไป ผลงานสอดคลอ้ ง ดี (๓) พอใช้ (๒) ผลงานไมส่ อดคลอ้ ง
ตามจุดประสงค์ท่ี กบั จดุ ประสงค์ทุก กับจดุ ประสงค์
กาํ หนด ข้อ/ทกุ ประเด็น ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง
สมบูรณ์ กับจุดประสงค์เป็น กับจุดประสงคบ์ าง
ส่วนใหญ่/เกอื บทกุ ขอ้ /บางประเด็น
ประเดน็ สมบูรณ์ สมบรู ณ์

๒. ผลงานเสร็จทัน เสร็จกอ่ นเวลา เสรจ็ ตามเวลาท่ี เสรจ็ ชา้ กวา่ เวลา ไม่เสร็จ
ตามกาํ หนดเวลา กําหนด ท่ีกําหนด

๓.ผลงานมีความคิด ผลงานถูกตอ้ งตาม ผลงานถกู ต้องตาม ผลงานถกู ต้องตาม ผลงานมี
รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ หลกั วิชาการและ หลกั วชิ าการและ หลกั วิชาการแตย่ งั ขอ้ บกพรอ่ งและ
มแี นวคิดแปลกใหม่ มแี นวคิดแปลกใหม่ ไม่มแี นวคิด ไมม่ แี นวคดิ
และเป็นระบบ แตย่ ังไมเ่ ป็นระบบ แปลกใหม่ แปลกใหม่

๔.เนอ้ื หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ

ผลงานมีความ ผลงานครบถ้วนทุก ผลงานครบถว้ น ผลงานถกู ตอ้ งเป็น ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง

สมบรู ณ์ ประเดน็ เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่

๕.วธิ กี ารนาํ เสนอ มีวิธีการนําเสนอ มวี ิธกี ารนําเสนอ มวี ธิ กี ารนําเสนอ มวี ธิ ีการนําเสนอ
ผลงานกล่มุ ผลงานที่นา่ สนใจ ผลงานทีน่ า่ สนใจ ผลงานท่นี า่ สนใจ ผลงานไม่น่าสนใจ
พูดเสียงดังออก พดู เสยี งดงั ออก พูดเสียงดงั ออก พูดเสยี งเบาออก
เสียงอกั ขระชัดเจน เสียงอักขระชัดเจน เสียงอกั ขระ เสยี งอกั ขระ
คลอ่ งแคล่ว แตไ่ มค่ ลอ่ งแคล่ว ไมช่ ัดเจนและ ไม่ชัดเจนและ
ไมค่ ลอ่ งแคลว่ ไมค่ ลอ่ งแคลว่

๒๙
คมู่ ือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด

บทเรียนที่ ๔

ช่อื วชิ า ลูกเสือกับทกั ษะชีวิตเพ่ือการปอ้ งกันภัยยาเสพติด เวลา ๑๘๐ นาที

_______________________________________________________________________

ขอบข่ายรายวชิ า

๑. ความหมายและองค์ประกอบของทักษะชวี ติ เพือ่ การป้องกนั ภยั ยาเสพตดิ

๒. กลวธิ ีในการสรา้ งทักษะชีวติ ในการปอ้ งกนั ภยั ยาเสพติด

จุดหมาย เพ่ือใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมสามารถนําความรูท้ ี่ไดร้ ับไปใช้ในการดาํ เนนิ ชวี ิตให้ปลอดภัยจาก
ยาเสพติด

วตั ถุประสงค์
เมอ่ื จบบทเรียนนแ้ี ลว้ ผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมสามารถ
๑. อธบิ ายความหมายและองค์ประกอบของทักษะชวี ติ ในการป้องกันภัยยาเสพติดได้
๒. บอกกลวิธกี ารสรา้ งทักษะชีวติ ในการป้องกันภัยยาเสพติดได้

วิธีสอน/กจิ กรรม ๒๐ นาที
๑. นําเขา้ สู่บทเรียน ๓๐ นาที
๒. ความหมายและองค์ประกอบของทกั ษะชีวิตในการป้องกันภัยยาเสพติด ๑๑๐ นาที
๓. แบ่งกลมุ่ ผ้เู ข้ารับการอบรมปฏิบัตงิ านกลุ่มตามใบความรู้ ๒๐ นาที
๔. ร่วมกันสรุปบทเรยี น

สอ่ื การสอน
๑. กระดาษทําแผนภูมิ
๒. ปากกาเคมี
๓. ภาพขา่ วเก่ียวกบั ยาเสพติด

การประเมนิ ผล
๑. วธิ ีการวัดผล : สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมและการตอบคําถาม สอบถาม ซกั ถาม
๒. เครือ่ งมอื วดั ผล : แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล : มีผลการประเมิน ผา่ นเกณฑท์ ่ีกําหนด

เอกสารอา้ งอิง / แหลง่ ขอ้ มลู
๑ สารปฏิรูป ปที ี่ ๔ ฉบบั ที่ ๓๗ ประจาํ เดอื น เมษายน ๒๕๔๔ หน้าท่ี ๓๑
๒ แนวการพฒั นาหลักสตู รการจดั กจิ กรรมลูกเสือในสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๒
๓ คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ , สาํ นักงาน. เอกสารความรแู้ นวทางการป้องกนั

และแก้ไขปญั หาสารเสพตดิ . มปท.
๔ เวบ็ ไซต์ www.nfe.go.th/๐๔๐๕/NFE-note/SkillLife.html
www.oncb.go.th

เนอ้ื หาวิชา
๑. ทักษะชวี ติ เพ่ือการป้องกันยาเสพติด

๓๐
คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพติด

ใบความรทู้ ี่ ๔
เร่ือง ทกั ษะชวี ิตเพ่อื การป้องกันยาเสพติด

ทกั ษะชวี ติ คอื ความสามารถพื้นฐานทท่ี กุ คนต้องใช้ในการเลือกทางดาํ เนินชีวิตให้มปี ระสิทธภิ าพ
ใครบา้ งทคี่ วรมีทกั ษะชวี ติ

- ทุกคน
- ทกุ เพศ
- ทกุ วยั
- ทุกอาชีพ
ทําไมตอ้ งมีทักษะชีวิต
ทกุ คนต้องมที กั ษะชวี ติ เพอื่ ให้สามารถดาํ เนินชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ
การสรา้ งหรือการถ่ายทอดทักษะชวี ิต ทําได้โดยวิธีใด

๑. โดยการถา่ ยทอดประสบการณ์
๒. โดยการฝกึ อบรมให้เกิดความชํานาญ จนสามารถนาํ ไปประยุกต์ใช้ได้
ทักษะชวี ิต
๑. การประเมินสถานการณแ์ ละระบปุ ัญหา
๒. การประเมนิ ศักยภาพของตนเองในสถานการณเ์ ฉพาะหนา้
๓. การคิดทางเลอื กและจัดลาํ ดบั ทางเลือก
๔. การตดั สนิ ใจเลอื กทางทเ่ี หมาะสม
๕. การสือ่ สารแจง้ ความคิดและการตดั สินใจ
๖. การปฏิเสธและการต่อรองเพื่อรักษานํ้าใจและประโยชน์ของตนเอง
๗. การสือ่ สาร โน้มน้าวจงู ใจไปสู่ทางท่ีถูกต้อง
๘. การควบคุมอารมณ์
๙. การพฒั นาและปรับเปลี่ยนอารมณ์
ทักษะชวี ิตท่ีจาํ เปน็
๑. ทักษะการคดิ
๒. ทักษะการแก้ปญั หา
๓. ทักษะการสือ่ สาร
ทกั ษะการคดิ
๑. หาปญั หา
๒. เหน็ ปัญหา
๓. หาแนวทางแกไ้ ข
๔. หาทางเลือกให้ตนเอง
ความคิดได้มาจากไหน
๑. สงั เกต
๒. การสง่ เสรมิ ประสบการณ์
๓. การเรยี นรู้

๓๑
คูม่ ือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด

๔. จดจาํ เกี่ยวกบั ชีวติ เราเอง
จนิ ตนาการไดค้ าดการณไ์ ว้ว่า

สิง่ ทเ่ี กิดขึน้ เปน็ เร่อื งใกลต้ ัว ได้ฝึกคิดในชว่ งเวลาชีวิตแต่ละวัน
ทักษะการสอ่ื สาร

สอื่ สารดว้ ยมือ ทา่ ทาง วาจา เพอ่ื ถา่ ยทอดความคดิ และความคิดและความรู้สกึ การตัดสนิ ใจเลอื ก
ทางเลอื กของตนทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ การยา้ํ ข้อเสนอของตน และการสรุปเรอื่ งราว

หลักการปฏเิ สธ
การปฏเิ สธเป็นสทิ ธสิ ่วนบุคคลทท่ี กุ คนควรเคารพและยอมรบั การปฏเิ สธที่ใช้ได้ผลมักเป็นการปฏิเสธใน
สถานการณ์ท่ีถูกชวนไปทาํ ในส่งิ ที่ไมเ่ กดิ ประโยชน์ หรอื เกดิ ผลกระทบในแง่ลบตามมา
การปฏิเสธท่ีดี จะต้องปฏิเสธอย่างจริงจังทั้งท่าทาง คําพูด และน้ําเสียง เพ่ือแสดงความต้ังใจอย่าง
ชดั เจนท่ีจะปฏเิ สธ
ขน้ั ตอนการปฏิเสธ
๑. ใช้ความรู้สึกเป็นข้ออ้างประกอบเหตุผล เพราะใช้เหตุผลอย่างเดียวมักถูกโต้เถียงด้วยเหตุผลอื่น
การอ้างความรู้สกึ จะทําใหโ้ ตแ้ ย้งไดย้ ากขึน้ เชน่ “ฉันกลัวคุณพ่อคุณแม่จะเปน็ ห่วงถา้ กลับบ้านชา้ ”
๒. การขอปฏเิ สธ เป็นการบอกปฏิเสธใหช้ ดั เจนเปน็ คําพูด เช่น “ขอไมไ่ ปนะเพ่ือน”
๓. การขอความเห็นชอบ เพ่ือรักษานํ้าใจของผู้ชวน และควรกล่าวขอบคุณเมื่อผู้ชวนยอมรับ เช่น
“เธอคงไม่วา่ อะไรใชไ่ หม…”
การหาทางออกเมือ่ ถูกเซ้าซหี้ รอื สบประมาท
บางครั้งผู้ชวนพูดเซ้าซี้ต่อเพื่อชวนให้สําเร็จ ผู้ถูกชวนไม่ควรหว่ันไหวไปกับคําพูด เพราะจะทําให้ขาด
สมาธิในการหาทางออก ควรยืนยนั การปฏเิ สธดว้ ยทา่ ทมี ัน่ คง และหาทางออกโดยเลือกวธิ ตี ่อไปน้ี
๑. ปฏิเสธซํ้าโดยไม่ต้องใช้ข้ออ้าง พร้อมท้ังบอกลาแล้วเดินจากไปทันที เช่น “ไม่ไปดีกว่า เราขอ
กลบั ก่อนนะ” (เดนิ ออกไปทนั ที)
๒. การต่อรอง โดยการชวนไปทํากิจกรรมอ่ืนท่ีดีกว่ามาทดแทน เช่น “เอาอย่างน้ีดีไหม เธอไปดู
หนงั สือท่ีบา้ นเรากแ็ ล้วกัน”
๓. การผัดผ่อน โดยการขอยดื ระยะเวลาออกไปเพอื่ ให้ผูช้ วนเปลีย่ นความตัง้ ใจ เช่น “ฉนั ต้อง
ไปแลว้ ไว้วันหลงั ก็แลว้ กันนะ” (เดนิ ออกจากเหตกุ ารณ)์

ทักษะการปฏิเสธ ๘ วธิ ี เม่ือถกู ชักชวนเสพยา
๑. บอกไปตรงๆ “ไม่หรอก ขอบใจนะ” แม้วิธีปฏิเสธเช่นนี้อาจดูว่าแสนธรรมดา แต่ทว่าเป็น
คําพูดท่ีหลายคนมักจะมองข้าม คําว่า “ไม่หรอก ขอบใจนะ” จะใช้ได้ผลทั้งเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ท่ีถูก
เพ่ือนชวนอย่างเป็นมิตรหรือถูกกดดัน อย่างไรก็ดี ต้องตระหนักอยู่เสมอว่า คําปฏิเสธเช่นนี้อาจใช้ไม่ได้ผล
เสมอไป ดงั นั้นจงึ จําเปน็ ตอ้ งมีวธิ ีการปฏเิ สธรูปแบบอื่นเตรียมรองรับไวด้ ว้ ย
๒. ให้เหตุผลหรือข้ออ้าง บ่อยคร้ังท่ีเด็กๆ มักจะลําบากใจที่จะบอกปฏิเสธเพ่ือน ดังน้ันเด็กต้อง
รู้เท่าทันท่ีจะหลีกเล่ียงการถูกกดดันจากกลุ่มหรือแก๊งท่ีชักชวนให้เสพยา โดยการให้เหตุผลหรือข้ออ้าง
เพียงแต่ต้องระลึกเสมอว่าเหตุผลหรือข้ออ้างนี้จะต้องทําให้ผู้ชักชวนยอมแพ้ไปเองได้ เช่น ไม่มีเงิน สุขภาพ
ไมด่ ี ไมอ่ ยากทาํ ใหแ้ ม่เสยี ใจ เป็นตน้

๓๒
คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภยั ยาเสพตดิ

๓. พูดปฏิเสธซ้ําซาก การยืนกระต่ายขาเดียว “ไม่” อย่างซ้ําซากนับเป็นวิธีปฏิเสธท่ีได้ผล เม่ือ
ตอ้ งการบอกจดุ ยืนของตัวเอง และอาจใช้เทคนคิ ปฏิเสธแบบอื่นร่วมด้วยได้

๔. เดนิ หนี วิธีการน้ีนบั วา่ เป็นอกี วิธหี นง่ึ ทีใ่ ชไ้ ดผ้ ลมากทีส่ ดุ ทัง้ นีจ้ ะต้องตระหนักว่า เรามีสิทธิเต็มที่
ท่จี ะปฏิเสธสิง่ ไมด่ ที ีม่ ผี ู้หยิบยื่นให้

๕. เปลย่ี นเรื่องสนทนาในบางสถานการณ์ เราอาจไม่สามารถเดินหนีหรือหลีกเลี่ยงสภาวะถูกกดดัน
ได้ ดังน้ันให้ลองเปลี่ยนหัวข้อการสนทนาเพื่อเบ่ียงเบนความสนใจของผู้ชักชวน เม่ือคุยจนเบ่ือแล้วให้หา
โอกาสเดินออกมาทนั ที

๖. หลีกเลี่ยงสถานการณ์ สามัญสํานึกของมนุษย์จะบอกว่าสถานที่ใด เวลาใด สุ่มเสี่ยงต่อการเกิด
เหตุการณ์รุนแรง หรือต้องตกอยู่ในสภาวะกดดัน ดังน้ันพยายามหลีกเล่ียงสถานการณ์เหล่านี้ให้มากท่ีสุด
เพ่อื ความไม่ประมาทควรแจ้งใหพ้ ่อแมท่ ราบวา่ เราทํากจิ กรรมใดบ้าง และไปกบั ใคร

๗. ทําเป็นไม่สนใจ หากต้องเผชิญหน้ากับผู้ท่ีชักชวนให้เสพยา พยายามอย่าคุยด้วย ให้หันไปคุย
กบั คนอื่นท่ีเหลือ เป็นการซอื้ เวลากอ่ นท่จี ะนําทักษะปฏิเสธอน่ื ๆ มาใช้

๘. เลอื กคบเพอื่ นดี วิธกี ารน้นี ับได้วา่ เปน็ ทักษะการปฏิเสธ (การเสพยา) ที่สําคัญที่สุดการคบเพ่ือน
ที่ดจี ะทาํ ใหเ้ ราไมต่ อ้ งตกอยู่ในวงั วนของการสุ่มเสี่ยง ถกู ชกั นําให้ลองเสพยา ตรงกันข้าม หากเราคบเพื่อนที่มี
ปัญหา ปญั หาทจี่ ะมาถึงตัวเราไม่ชา้ ก็เรว็

๓๓
คมู่ ือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด

ตวั อยา่ งแบบประเมนิ
แบบประเมนิ ผลงานของกลุ่ม
กลมุ่ ท่ี ………………………………..

ขอ้ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๔ ๓ ๒๑

๑ ผลงานเป็นไปตามจดุ ประสงค์

๒ ผลงานเสรจ็ ทนั เวลา

๓ ผลงานมีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์

๔ เนอ้ื หาสาระของผลงานมคี วามสมบูรณ์

๕ วธิ ีการนาํ เสนอผลงาน

รวม

รวมทั้งสนิ้ (ดีมาก + ดี + พอใช้ + ปรับปรงุ )

ผลการประเมนิ คณุ ภาพอยู่ในระดับ.........................

ลงชือ่ ..............................................ผปู้ ระเมนิ
(...........................................)

เกณฑ์ตัดสนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
๒๔ - ๓๐ ดีมาก
๑๗ -๒๓ ดี
๑๐ - ๑๖ พอใช้
ต่าํ กว่า ๑๐ - ๑๖ ปรบั ปรงุ

๓๔
คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานกลมุ่

หวั ข้อทป่ี ระเมนิ ดีมาก (๔) ระดบั คณุ ภาพ/คะแนน ปรบั ปรุง (๑)

๑. ผลงานเปน็ ไป ผลงานสอดคลอ้ ง ดี (๓) พอใช้ (๒) ผลงานไมส่ อดคล้อง
ตามจุดประสงคท์ ่ี กับจดุ ประสงค์ทกุ กับจดุ ประสงค์
กําหนด ขอ้ /ทุกประเดน็ ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง
สมบูรณ์ กบั จุดประสงคเ์ ป็น กบั จดุ ประสงค์บาง
สว่ นใหญ/่ เกอื บทกุ ข้อ/บางประเด็น
ประเด็นสมบรู ณ์ สมบรู ณ์

๒. ผลงานเสร็จทัน เสรจ็ ก่อนเวลา เสร็จตามเวลา เสร็จช้ากวา่ เวลา ไม่เสรจ็
ตามกาํ หนดเวลา ท่กี ําหนด ทกี่ ําหนด

๓.ผลงานมีความคิด ผลงานถูกต้องตาม ผลงานถูกต้องตาม ผลงานถกู ต้องตาม ผลงานมี
รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ หลกั วิชาการและมี หลกั วิชาการและมี หลกั วชิ าการแต่ยงั ขอ้ บกพร่องและไม่
แนวคิดแปลกใหม่ ไมม่ แี นวคิดแปลก มแี นวคิดแปลกใหม่
แนวคดิ แปลกใหม่ แตย่ ังไม่เป็นระบบ ใหม่
และเป็นระบบ

๔.เนื้อหาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอื้ หาสาระของ

ผลงานมีความ ผลงานครบถ้วนทกุ ผลงานครบถ้วน ผลงานถูกตอ้ งเป็น ผลงานไม่ถกู ตอ้ ง

สมบรู ณ์ ประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่

๕.วธิ กี ารนาํ เสนอ มีวิธีการนาํ เสนอ มวี ิธกี ารนําเสนอ มวี ิธีการนําเสนอ มวี ธิ กี ารนาํ เสนอ
ผลงานกลุม่ ผลงานทน่ี า่ สนใจ ผลงานทน่ี า่ สนใจ ผลงานท่ีน่าสนใจ ผลงานไม่นา่ สนใจ
พดู เสยี งดังออก พูดเสียงดังออก พูดเสยี งดงั ออก พดู เสียงเบาออก
เสยี งอกั ขระชัดเจน เสียงอักขระชดั เจน เสยี งอกั ขระ เสยี งอกั ขระ
คลอ่ งแคลว่ แต่ไม่คลอ่ งแคลว่ ไม่ชดั เจนและ ไม่ชดั เจนและ
ไมค่ ลอ่ งแคล่ว ไม่คลอ่ งแคล่ว

๓๕
คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด

บทเรียนที่ ๕

ชอื่ วิชา ลูกเสอื กับการปอ้ งกนั ภยั ยาเสพติด เวลา ๑๘๐ นาที

_______________________________________________________________________________

ขอบข่ายรายวชิ า
จัดทําคําขวัญตอ่ ต้านยาเสพติด อทุ าหรณส์ อนใจ รณรงคด์ ว้ ยเสยี งเพลง ค้นคดิ กิจกรรม การพึ่งพา

ตนเอง เพอ่ื นชว่ ยเพอื่ น เกมยาเสพติด นิทรรศการยาเสพตดิ บทบาทสมมติ

จดุ หมาย เพือ่ ให้ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมมที กั ษะในการป้องกันภยั ยาเสพติด

วัตถปุ ระสงค์
เมือ่ จบบทเรยี นนแ้ี ล้ว ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถ
๑. ระบทุ ี่มาของปญั หาทเ่ี กิดจากภัยยาเสพตดิ
๒. บอกแนวทางการปอ้ งกนั ตนเองจากภัยยาเสพติด
๓. นําความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาํ วัน

วิธีสอน / กิจกรรม
๑. แบ่งลกู เสอื ออกเป็นกลุม่ ตามฐานกิจกรรม
๒. ชแ้ี จงการปฏิบตั กิ ิจกรรมตามฐาน
๓. ลกู เสือหมนุ เวียนปฏิบตั กิ ิจกรรมตามฐาน ๆ ละ ๑๐ นาที
๔. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมฐานตา้ นภัยยาเสพติด
๕. อภิปราย และสรปุ

* หมายเหตุ ตัวอย่างฐานกิจกรรมต้านภัยยาเสพติดเปน็ เพยี งแนวทางควรจดั ให้เหมาะสมกับเวลา

สือ่ การสอน
๑. ใบความรู้ที่ ๕
๒. ใบงานที่ ๕
๓. กระดาษ
๔. ปากกาเคมี

การประเมินผล
๑. วิธีการวดั ผล : ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลมุ่
๒. เคร่อื งมอื วดั ผล : แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล : มีผลการประเมินผ่านเกณฑท์ ี่กาํ หนด

เอกสารอา้ งอิง / แหล่งขอ้ มลู
๑. ศึกษาธกิ าร,กระทรวง. คู่มอื การจดั กิจกรรมลูกเสอื ยวุ กาชาด และผู้บาํ เพญ็ ประโยชนเ์ พื่อการ

ป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา. มปท
๒. เวบ็ ไซต์ http://www.vicktraining.com

เนอื้ หาวชิ า
๑. ตัวอย่างฐานกิจกรรมตา้ นภยั ยาเสพติด

๓๖
คมู่ ือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ

ใบความรู้ ๕
ตวั อยา่ งฐานกจิ กรรมตา้ นภยั ยาเสพตดิ

ความสาํ คญั ของฐานกจิ กรรมต้านภยั ยาเสพตดิ
๑. เปน็ กิจกรรมท่ีเหมาะกับลักษณะสงั คมธุรกจิ ในปัจจบุ นั ทสี่ อนใหท้ กุ คนกลา้ คดิ กลา้ แสดงออก รู้จกั

การมองปัญหาในแง่มุมตา่ งๆ ให้รู้จกั การยอมรับความคดิ เหน็ ซงึ่ กนั และกนั
๒. เป็นกิจกรรมทใ่ี หเ้ รียนรูโ้ ดยตรง ซงึ่ เปน็ แบบที่กระทรวงศกึ ษาธกิ ารต้องการ คอื ยดึ ผเู้ รยี นเป็นศูนย์กลาง
๓. เป็นกิจกรรมท่ีให้เกิดการเรียนรู้ในการทํางานร่วมกัน เพ่ือให้ทีมไปสู่ความสําเร็จ ให้เห็นว่าทีมของ

ตนเองกับทีมของผู้อืน่ นั้นเหมอื นกนั หรือแตกต่างกนั อย่างไรบา้ ง
๔. เป็นกจิ กรรมทสี่ นุกสนาน ทา้ ทาย เพราะใช้เกมมาประกอบการเรยี นรู้ และได้สัมผัสธรรมชาติอย่าง

ใกล้ชิดอีกทั้งได้ออกกาํ ลังกายไปอย่างไม่รตู้ วั
๕. เป็นกิจกรรมที่ทําให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้อย่างมาก และได้เห็นศักยภาพ

ทแ่ี ทจ้ รงิ ของสมาชกิ กล่มุ
ลกั ษณะของฐานกจิ กรรมตา้ นภยั ยาเสพตดิ

๑. เปดิ โอกาสใหส้ มาชกิ ทุกคนในกลุ่มร่วมคดิ รว่ มทํา ร่วมรับผิดชอบ
๒. ให้ทุกคนมีโอกาสเปน็ ผูน้ าํ ผ้ตู าม ผชู้ ว่ ยเหลอื ผูส้ นับสนุน และฝึกการยอมรับผู้อนื่
๓. เสริมสรา้ งสุขภาพ พลานามยั ให้แกท่ กุ คน
๔. เน้นความสามคั คี การวางแผน การเสียสละ การส่อื สาร และการประสานงาน
๕. ใหร้ ู้จกั ศกั ยภาพของตนเอง ผู้อืน่ และของทมี งาน
๖. สง่ เสรมิ ให้เกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ การจดั คนให้เหมาะกบั งาน และใหเ้ กดิ ความรักองคก์ ร
องค์ประกอบของฐานกจิ กรรมตา้ นภยั ยาเสพติด
๑. บริเวณพื้นท่ีในการจัดกิจกรรม ควรจะเป็นธรรมชาติท่ีร่มร่ืน สวยงาม และควรกว้างขวาง
เหมาะสมกบั จาํ นวนกล่มุ ต่าง ๆ
๒. สถานหี รอื จดุ ที่ใช้กจิ กรรมซึง่ โดยท่ัวไปแลว้ จะมจี าํ นวนใกล้เคียงกับกลุม่ ทแี่ บง่ เอาไว้
๓. กิจกรรมท่ีจัดไว้ ควรจะตอบสนองกับปัญหาหรือความต้องการขององค์กรน้ัน ๆ เพื่อให้เกิด
การเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมท่ีเปน็ ปญั หา และตอ้ งสนุกสนานดว้ ย
๔. บคุ ลากรดําเนินการ ซง่ึ ประกอบด้วย

ผ้รู ่วมกจิ กรรม
วทิ ยากร
ผูป้ ระสานงาน
๕. การสรุปผลของกิจกรรม ซึ่งควรจะให้มีการร่วมคิด ร่วมวิเคราะห์ หลังจากเสร็จกิจกรรมภายนอก
ห้องประชุมแล้ว แต่บางครั้งมักจะละเลยกันไป เพราะผู้จัดต้องการให้ผู้เข้าร่วมสนุกสนานมากกว่าให้เกิดข้อคิด
จากกจิ กรรมประกอบกบั มเี วลาไมม่ ากนกั จึงมักจะให้วทิ ยากรสรปุ ขอ้ คิดใหแ้ ทนการให้กลุ่มชว่ ยรว่ มคิด
วตั ถุประสงคข์ องฐานกจิ กรรมตา้ นภยั ยาเสพติด
๑. ฝกึ ให้เปน็ ผมู้ มี นุษยส์ มั พนั ธ์ทด่ี ี
๒. ฝกึ การทํางานเปน็ ทมี การเปน็ ผ้นู ําผตู้ ามทด่ี ี
๓. ให้เกดิ ความสนุกสนานเพลิดเพลินในขณะเรียนรู้
๔. ฝึกการตดั สินใจรว่ มกนั การแกป้ ญั หาเฉพาะหน้า

๓๗
คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ

๕. ฝึกการวางแผนการส่งั งาน มอบหมายงาน
๖. ใหร้ จู้ ักตนเองและเพ่ือนร่วมงาน รวมท้งั คู่แข่งขนั อน่ื ๆ
๗. ส่งเสรมิ สขุ ภาพพลานามัย และสมรรถภาพทางกาย
๘. ให้รูจ้ ักการสื่อสาร การสือ่ ความกลา้ พดู กลา้ แสดงออก
๙. ใหร้ จู้ กั อดทน อดกลั้น เสียสละ ความเป็นประชาธปิ ไตย การชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันและกัน
๑๐.สง่ เสริมใหร้ ้จู ักคดิ อยา่ งสร้างสรรค์และม่ันใจในตนเอง
การจดั กิจกรรมในแต่ละฐานกจิ กรรมต้านภัยยาเสพติด
๑. กิจกรรมควรเหมาะสมกบั เพศ วยั ของผรู้ ว่ มกิจกรรม
๒. กิจกรรมควรมีทั้งสนุกสนาน ได้ใช้ทักษะ ได้ใช้ความคิดสลับกันไปให้ครบถ้วน โดยเน้นให้ร่วมกัน
ปฏิบตั ทิ กุ คน
๓. กิจกรรมนั้นต้องมีเป้าหมายท่ีมีสาระสอดคล้องกับการแก้ปัญหาขององค์กรน้ัน ๆ (ตามที่องค์กร
ตอ้ งการแกไ้ ข)
๔. วิธีการทํากิจกรรมควรมีความหลากหลายวิธีการ เพื่อให้เกิดความสนใจ ไม่น่าเบื่อ แต่ท้าทายให้
ทดลองปฏบิ ตั ิ
วธิ กี ารดําเนินกิจกรรม
๑. ควรจัดวางกิจกรรมแต่ละฐานให้ห่างกันพอสมควร แต่อย่าให้ไกลเกินไป เพราะถ้าเหน่ือยมากแล้ว
จะไม่เกิดการเรียนรู้ และจะไมส่ นุกสนาน (แต่ไมค่ วรใหม้ องเหน็ กันในขณะทอี่ ย่คู นละฐาน)
๒. อาจจะให้ทกุ สถานเี ริม่ กจิ กรรมพร้อมกัน แลว้ หมุนไปพร้อมกนั ทกุ ฐาน (แตท่ กุ กิจกรรมต้องใชเ้ วลา
ในการปฏิบตั ิเท่ากนั จะได้ไมต่ ้องมกี ารรอเขา้ ฐานหรอื เหน็ วธิ กี ารปฏิบตั ิของสถานีใหม)่
๓. อาจจะให้เข้าท่ีฐานท่ี ๑ เหมือนกันทุกกลุ่มแล้ววนไปหรือเคล่ือนไปจนครบทุกสถานีก็ได้ แต่กลุ่มท่ียัง
ไม่เร่ิมปฏิบตั ใิ นฐานท่ี ๑ วิทยากรตอ้ งจดั กจิ กรรมให้ทาํ ขณะท่ยี งั ไม่ไปยังสถานแี รกใหก้ บั ทุกกลุ่ม สว่ นกลุ่มท่ีทําครบ
ทุกฐานแลว้ ก็ต้องให้ทํากิจกรรมเดียวกันเพ่อื ให้เกิดความเทา่ เทียมกนั และไมเ่ บอื่ หน่ายท่จี ะตอ้ งรอ
๔. การแบ่งกลุม่ และการวางฐานในการทํากจิ กรรมต้องให้เหมาะสมกับเวลาดว้ ย
๕. ควรประกาศผลคะแนนให้เสร็จส้ินหลงั จากเสรจ็ กจิ กรรมทงั้ หมดแลว้ อยา่ ปล่อยเวลา
ให้เนิ่นนานจนไมเ่ กดิ ความสนใจหรือใสใ่ จจะรู้ผลแลว้

อุปกรณท์ ่ีจาํ เปน็ สาํ หรบั กจิ กรรม
๑. แผนท่ีบริเวณทจี่ ดั กิจกรรม
๒. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม
๓. แบบบนั ทึกของผปู้ ระจําฐาน
๔. แบบรวมคะแนนของทุกกิจกรรมทกุ กลุ่ม
๕. นาฬกิ าจบั เวลา
๖. กระดาษและปากกา พร้อมแผ่นรองเจยี น
๗. แผ่นคําส่งั แต่ละฐาน
๘. สัญลักษณป์ ระจาํ ฐาน
๙. ผ้าสสี ําหรับกลุม่ (ทีม) ต่างๆ
๑๐. เครื่องมอื สอ่ื สารระหวา่ งสถานีตา่ งๆ
๑๑. อุปกรณป์ ระจาํ สถานตี ่างๆ

๓๘
คูม่ ือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด

๑๒. กลอ้ งวดิ ีทศั น์ (ถ้าม)ี หรือกล้องถ่ายภาพเพือ่ ถ่ายกิจกรรม
๑๓. ยาสามญั ประจําบา้ นพร้อมกระเป๋าพยาบาล
๑๔. ของรางวัลสาํ หรับทมี ชนะเลิศ
๑๕. เครอ่ื งฉายภาพข้ามศรี ษะ จอภาพ และแผ่นใสพร้อมปากกาเขียนแผน่ ใส เพ่อื ใชใ้ นการช้แี จงก่อน
เริม่ กจิ กรรม
๑๖. เคร่อื งเสยี งและไมโครโฟน หรือเคร่ืองขยายเสยี งแบบเคล่อื นท่ี

การเตรียมตวั สําหรบั ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม
๑. การแตง่ กาย ควรจะใส่รองเท้าผา้ ใบหมุ้ สน้ ควรจะใสเ่ ส้ือแขนยาว กางเกงขายาว
๒. ถ้ามีโรคประจําตัวควรเตรียมยาให้พร้อม และแจ้งให้วิทยากรทราบก่อน (โดยเฉพาะผู้เพิ่งผ่านการ

ผ่าตดั มาใหมๆ่ หรอื มีครรภ์ออ่ น ๆ)
๓. ไมค่ วรนาํ ของมีค่าตดิ ตัวไปขณะประกอบกจิ กรรม เพราะอาจจะเกิดการสญู หายได้
๔. ควรเตรยี มรา่ งกายให้พรอ้ ม เพราะต้องเข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ ออกแรงและโลดโผนบา้ งพอสมควร
๕. เมอื่ เข้าสกู่ จิ กรรมใหร้ ว่ มคิดรว่ มแสดงออกอย่างเตม็ ท่ี เต็มศักยภาพ เพือ่ ความสาํ เร็จของกลุ่ม

๑. แขง่ เรอื บก

วตั ถุประสงค์

- เสริมสรา้ งสุขภาพความแขง็ แรง

- ความอดทนในการแขง่ ขนั (ทํางาน) รว่ มกัน

- ความสามคั คีพร้อมเพรียงกนั

จํานวนผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรอื ตามความเหมาะสม) แบ่งเป็นกลุ่ม ๆ ละ ๘ – ๑๐ คน

อุปกรณ์ กําหนดเส้นทางเดนิ บนพน้ื หญ้าประมาณ ๑๐๐ เมตร

สถานที่ สนามหญา้ มบี ริเวณกวา้ งพอสมควร

ระยะเวลา ๑๐ นาที

วิธีการดําเนนิ การ

- ผนู้ าํ เกมชแี้ จงให้สมาชิกทกุ ท่านยืนเรยี งเป็นแถวตอนเรียงหนึ่ง เสร็จแล้วนั่งยองๆ เอามอื จบั สะโพก

ผูท้ น่ี ่ังดา้ นหน้า ยกเวน้ ท่านแรก

- ให้เดนิ ทางสจู่ ุดหมายภายใน ๕ นาที

- จะหักทกุ ๆ ๕ คะแนนต่อคร้ัง ถา้ แถวขาดหรอื หลุด

- เมอื่ หมดเวลาแล้ว ผ้นู าํ เกมให้สญั ญาณและเตรยี มสรปุ คะแนน

หมายเหตุ การประยุกต์ให้เกมน้ีรู้สึกยากขึ้น คือ แทนท่ีจะให้น่ังยองตามวิธีดําเนินกิจกรรมในข้อ ๑ ให้
เปลี่ยนวิธกี ารจดั แถวของแตล่ ะทมี คอื ใหเ้ อาเท้าท้ังสองข้างพาดบนต้นขาของเพื่อนด้านหน้าแล้วเคล่ือนตัวโดย
ใช้มอื ทง้ั สองข้างชว่ ยพยงุ ในขณะเคลือ่ นยา้ ย สาํ หรบั ผู้ทอ่ี ยหู่ ัวแถวใหใ้ ช้เท้าทงั้ สองก้าวเดนิ ในขณะน่ัง

๓๙
คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด

๒. รวมพลงั

วตั ถปุ ระสงค์

- ความร่วมมอื ช่วยเหลือ สามคั คี

- ความพรอ้ มเพรียงในการทํางานใหบ้ รรลุเป้าหมาย

- การไมถ่ ือตัว หรอื ลดทฐิ ิ

จํานวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรอื ตามความเหมาะสม) แบง่ เปน็ กล่มุ ๆละ ๘ – ๑๐ คน

อุปกรณ์ วงล้อรถยนต์ ๒ เสน้

สถานท่ี ใต้ร่มไม้ หรือสนามหญา้

ระยะเวลา ๑๐ นาที

วิธกี ารดําเนนิ การ

- วางวงล้อรถยนต์ ๒ เส้น ไว้ห่างกันไม่น้อยกว่า ๓ ฟุต หรือ ๕๐ เซนติเมตร ไม่ควรเกินกว่า

๑ เมตร (ยง่ิ วางวงล้อรถยนตห์ า่ ง จะย่ิงเล่นยาก)

- กาํ หนดใหจ้ ุดเรม่ิ ต้น ๑ จุด ทส่ี มาชกิ ทุกทา่ นจะเริม่ กนั หา่ งจากวงล้อประมาณ ๒ ฟตุ

- ให้สมาชิกทุกท่านยืนบนวงล้อรถยนต์ท่ีวางไว้ เมื่อครบทีมแล้วร้องเพลงประจําทีม หรือชื่อทีม และ

คาํ ขวัญ เสรจ็ แลว้ ใหย้ ้ายไปยนื บนวงล้อรถยนตอ์ ีก ๑ เสน้ ท่ีวางไว้ (โดยห้ามเคลือ่ นย้าย)

- เมอื่ ยา้ ยไปทย่ี างวงทีส่ องแล้วให้ทาํ เหมือนยางวงแรก เสรจ็ แลว้ ยา้ ยทั้งทมี มายางวงเดมิ คอื วงแรกอีก

- การวัดคะแนน จะถูกหักทุก ๕ คะแนน ถ้าเท้าของสมาชิกสัมผัสที่พื้นดิน เท้าหล่น ๑ ท่าน หัก ๑๐

คะแนน ทําใหเ้ สรจ็ ภายใน ๕ นาที

- เสรจ็ แล้ว ผู้นําเกมเตรยี มสรปุ ตามวัตถุประสงค์

๓. พรม….วิเศษ
วตั ถุประสงค์

เพอ่ื เปน็ การฝึกการวางแผนท่ีดีในการทาํ งานรว่ มกนั และฝกึ ทกั ษะการคิด วิเคราะห์การวางแผนท่ีดี
จํานวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรอื ตามความเหมาะสม) แบง่ เป็นกลมุ่ ๆละ ๘ – ๑๐ คน
อปุ กรณ์ เส่ือ ๑ ผืน
สถานท่ี สนามหญ้าในร่ม
ระยะเวลา ๕ นาที
วิธดี าํ เนนิ การ

- สมาชกิ อยูน่ อกเส่ือ ๑ คน ทีเ่ หลอื อยู่ในเส่ือ
- ใหส้ มาชกิ ในกลุม่ วางแผนเคลอ่ื นยา้ ยเส่อื ใหไ้ ดร้ ะยะทาง ๒ เมตร (ใชเ้ วลานอ้ ยท่ีสุด) โดยสมาชิกท่ีอยู่
ภายในเสอ่ื จะออกนอกเส่ือไมไ่ ด้

๔๐
คมู่ ือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด


Click to View FlipBook Version