๔. เกลียวเชอื กสัมพันธ์
วตั ถปุ ระสงค์
- เสริมสรา้ งพลงั แห่งความสามัคคสี มานสามคั คี
- การรวมพลงั กันทํางานและความรว่ มมอื
- การวางแผนแก้ไขปัญหารว่ มกัน
- เสรมิ สรา้ งภาวะผ้นู าํ – ภาวะผตู้ าม
จํานวนผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรือตามความเหมาะสม) แบ่งเป็นกลมุ่ ๆละ ๘ – ๑๐ คน
อุปกรณ์ เสน้ เชือกสําหรับคลอ้ งมอื ยาวประมาณ ๑ เมตร ๕ – ๖ เส้น
สถานที่ ในห้องอบรม หรอื สนามหญา้ ท่ีมีร่มไม้
ระยะเวลา ๕ นาที
วธิ ีดําเนนิ การ
- เกมนี้สอนทมี ใหแ้ ก้ปัญหาร่วมกนั แตต่ อ้ งฟงั กติกาใหเ้ ขา้ ใจ ชดั เจนดีเสียกอ่ น
- ผ้นู ําเกมหรือกจิ กรรมแจง้ ขน้ั ตอนของกจิ กรรมตามลําดับ ดงั นี้
ก. ใหท้ กุ ทา่ นหันหน้าเขา้ มาเปน็ วงกลม
ข. คล้องเชือกให้มอื ซ้ายไว้กบั มือของเพอ่ื นขา้ ง ๆ ตวั เรา
ค. ส่วนมอื ขวาใหค้ ลอ้ งเชอื กกับเพอื่ ทีอ่ ยูต่ รงขา้ ม
ง. ทุกคนจะได้คล้องมือเพ่ือน ๒ คน คนละข้าง (อย่าไปจับกับผู้อื่น) เราจะเห็นว่ามือของ
เพ่ือนเราในกลุ่มคล้องกนั เสรจ็ แลว้ ฟังคาํ สง่ั (ปัญหา) ของวิทยากร
- คําส่ังของวิทยากรหรือผู้นํากิจกรรม คือ “ให้ทุกท่านทําอย่างไรก็ได้โดยไม่ให้เชือกหลุดจากแขน
ทัง้ สองขา้ งแล้วแปรรปู ของกลมุ่ ให้เปน็ วงกลมเหมอื นที่หันหนา้ มาเป็นวงกลมครงั้ แรก”
- ผนู้ าํ เกม/ กิจกรรม สังเกตการณแ์ ก้ไขปัญหาแลว้ บันทึกคะแนนแตล่ ะทีมภายในเวลา ๕ นาที
- เตรยี มข้อมลู สรุปผลของกจิ กรรม
๕. หว่ งเสนห่ า
วัตถุประสงค์
- การร้จู กั ชว่ ยเหลือกนั
- การรูจ้ กั วางแผนกําลังคน
- การแบง่ งานกนั ทาํ
จํานวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรือตามความเหมาะสม) แบง่ เป็นกล่มุ ๆ ละ ๘ – ๑๐ คน
อปุ กรณ์
- ห่วงยาง ๕ วง
- ขวดแก้วขนาดใหญ่ ๒ ใบ ใสท่ รายใหเ้ ตม็ ขวด
สถานที่ ในห้องฝึกอบรม
ระยะเวลา ๕ – ๑๐ นาที
วธิ กี ารดาํ เนนิ การ
- เม่อื ผ้นู าํ กจิ กรรมแบ่งสมาชกิ เป็นกล่มุ แลว้ แจ้งให้แตล่ ะทมี ทราบว่า ต่อไปจะเป็นกิจกรรมหว่ งกับขวด
พาโชค
๔๑
คูม่ ือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ
- กําหนดจุดเรม่ิ ตน้ ทีป่ ลายเทา้ สัมผสั พืน้ กบั ระยะหา่ งทวี่ างขวด คือ ใบแรกหา่ ง ๒.๕๐ เมตร
ขวดใบทสี่ องระยะหา่ ง ๓ เมตร
- เพอื่ ความมัน่ คงและป้องกนั การล้มของขวด ให้หาที่วางขวดน้าํ มาช่วยได้
- แจ้งสมาชิกในทีมทุกท่านผลัดกันโยนห่วงใส่ขวด โดยผู้โยนห่วงยางปลายเท้า จะต้องจรดอยู่ที่
จุดเรม่ิ ตน้ โดยตัวผโู้ ยนห้ามใช้ส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกายสัมผัสพื้น (จากเส้นเรม่ิ ต้นถึงขวดที่ตง้ั ไว)้
- สมาชิกในทมี สามารถช่วยอย่างไรกไ็ ด้ เชน่ จบั เพอื่ นโนม้ ตวั ให้ใกล้ ๆ ขวด
- ใหค้ ะแนนขวดใบทรี่ ะยะห่างมากกว่าใบท่ีใกล้กว่า
- ผูน้ าํ กจิ กรรมสรปุ ตามวัตถปุ ระสงค์
๖. หย่อนระเบิด
วตั ถุประสงค์
- ใหผ้ ู้รว่ มกิจกรรมเหน็ ความสาํ คัญในเป้าหมายของงาน
- เห็นขอ้ จาํ กัดในการส่ือสาร
- เสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพในการสื่อสาร
- ตระหนักในความสาํ คญั ของการประสานงาน
จาํ นวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม กลุ่มหรือทมี ละ ๖ คน หรือ ๙ คน อาจจะมไี ดห้ ลาย ๆ ทมี
อปุ กรณ์
- กระป๋องใบใหญ่ ๑ ใบ และใบเล็ก ๑ ใบ เจาะรสู ําหรบั รอ้ ยเชือก ๕ – ๘ เสน้
- เชอื กยาว ๕ หรือ ๘ เสน้ ยาวเทา่ กันประมาณ ๕ เมตร
- ผ้าปิดตา ๕ หรือ ๘ ผนื
สถานท่ี ในหอ้ งฝึกอบรม หรอื ใตต้ ้นไม้
ระยะเวลา ๑๐ – ๒๐ นาที
วิธีการดําเนนิ การ
- จัดทีมแตล่ ะทมี ๆ ละ ๕ คน ยืนเป็นมุม ๕ มมุ หรอื ๕ เหลยี่ ม ถา้ มี ๘ คน ก็ยืน ๘ เหลย่ี ม
วางกระป๋องใบใหญ่ไวต้ รงกลาง
- อกี ๑ คน ของแต่ละทีมงานคอยทาํ หนา้ ท่สี ่ังการใหค้ นในทมี ทง้ั ๕ คน หรือ ๘ คน คอยดงึ หรอื
ผ่อนเชือกทง้ั ๕ หรอื ๘ เสน้ เพอื่ ใหก้ ระปอ่ งใบเล็กหยอ่ นลงในกระป๋องใบใหญ่
- ก่อนการเริ่มต้นเล่มเกม ผู้เล่นที่รับคําส่ังจะถูกผูกผ้าปิดตาหรือจับหมุน ๓ – ๔ รอบก่อน แล้วจับ
ปลายเชือกอีกด้านหรอื ผกู ทเ่ี อวก็ได้
- ผู้นําเกมย้ายกระป๋องใบใหญ่ให้ห่างจากใบเล็กตกอยู่ในกระป่องใบใหญ่ ๓ ครั้ง โดยหันหน้าเข้า ๑
ครง้ั และหันหลังหยอ่ นกระปอ่ ง ๒ คร้งั
- เกมน้ีอาจใช้เวลานานถึง ๓๐ นาที หากผู้นําหรือตัวแทนกลุ่มขาดทักษะในการสื่อสาร
ประสานงานหรอื สงั่ งาน
หมายเหตุ การประยุกต์หรือดัดแปลงเกมน้ีอาจจะใช้ขวดแก้วกลม แทนกระป่องใบเล็กและกล่องใส่ขวดแก้ว
แทนกระป่องใบใหญ่กไ็ ด้ อาจจะตง้ั ชอ่ื เกมเปน็ หยอ่ นระเบิด หรือแยล้ งรกู ็ได้
๔๒
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือต้านภยั ยาเสพตดิ
๗. โยนไข…่ โยนใจ
วตั ถุประสงค์
- เสริมสร้างทักษะการรบั งาน – ส่งงาน และมอบหมายงาน
- สรา้ งสภาวะและทักษะการเปน็ ผ้นู าํ และผตู้ าม
- การร่วมมอื ช่วยเหลือกนั ทํางานให้สําเร็จ
- มเี ทคนคิ การส่อื สารประสานงานท่ีดี
จํานวนผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรอื ตามความเหมาะสม) แบ่งเปน็ กลมุ่ ๆ ละ ๘ – ๑๐ คน
อุปกรณ์
- ไข่ไกท่ มี ละ ๑๒ ฟอง
- กระบะสําหรบั ใสห่ รือวางไข่ไก่ ๑ อนั หรอื จาน
สถานที่ ใต้ร่มไมใ้ หญ่ หรือสถานทีโ่ ลง่ แจง้ ทแ่ี ดดไม่รอ้ น
ระยะเวลา ๑๐ นาที
วิธกี ารดําเนนิ การ
- ผู้นํากิจกรรมกําหนดจุดยืนที่มีระยะห่างไม่ตํ่ากว่า ๖ เมตร วางถาดหรือจานใส่ไข่ไก่ไว้คร้ังละ
๑๐ – ๑๒ ฟอง ท่จี ดุ เร่ิมตน้
- กําหนดให้ทีมงานส่งไข่กลับคืนมาท่ีผู้นําทีม ๑ ท่าน ให้ผู้นําทีมโยนไข่ในระยะห่างท่ีกําหนดให้ โดย
โยนหรือสง่ ใหท้ ีมงานทา่ นละ ๑ ฟอง จนครบทกุ ท่าน
- เสร็จแลว้ ให้ทมี งานส่งไขก่ ลบั คนื มาท่ีผู้นําทมี ท่านละ ๑ ฟอง เชน่ เดิม
- การคิดหักคะแนนจะถกู หักคะแนนถา้ เกดิ กรณี คือ ไข่แตกและ/ หรือผรู้ ับเดนิ ออกมารบั นอกเส้นหรือ
จดุ ท่ีกําหนด
- วิธกี ารนี้หา้ มทดลอง และให้เวลาท้ังทีม ๕ นาที เม่ือพรอ้ มแลว้ เรมิ่
- ผ้นู าํ เกมให้คะแนนและเตรียมสรปุ กิจกรรม
๘. กระโดดเชอื กหมู่
วัตถุประสงค์
- เพื่อใหม้ ที ักษะในการเคลอื่ นไหวรา่ งกาย ใหส้ ัมพันธ์กบั อุปกรณ์
- เพ่ือสร้างความสามคั คี ความอดทน เสยี สละ และมีนาํ้ ใจนักกีฬา
จาํ นวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรือตามความเหมาะสม) แบ่งเปน็ กลมุ่ ๆ ละ ๘ – ๑๐ คน
วธิ ีดําเนนิ การ
- แตล่ ะกล่มุ สง่ ตัวแทน ๒ คน สาํ หรับเหว่ยี งเชือกให้หมุน
- สมาชิกทเ่ี หลือว่ิงเข้าไปกระโดดเชือกทลี ะคน จนครบทกุ คน
อุปกรณ์ เชือกยาว
เกณฑ์การใหค้ ะแนน ( คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน )
- ผ้เู ลน่ ว่ิงเข้าไปกระโดดเชือกไดค้ รบทุกคน ( ๑๐๐ % ) ได้ ๑๐ คะแนน
- ผู้เล่นวิ่งเขา้ ไปกระโดดเชือกได้ ๘๐ % ขนึ้ ไป ได้ ๙ คะแนน
- ผูเ้ ลน่ ว่งิ เขา้ ไปกระโดดเชือกได้ ๗๐ % ขน้ึ ไป ได้ ๘ คะแนน
- ผู้เล่นวงิ่ เขา้ ไปกระโดดเชือกได้ตํ่ากวา่ ๗๐ % ได้ ๗ คะแนน
๔๓
คมู่ ือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ
๙. นํ้าขนึ้ ใหร้ บี ตกั
วตั ถุประสงค์
- ความสามคั คี ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ
- การเสียสละตอ่ สว่ นรวม
จาํ นวนผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรือตามความเหมาะสม) แบง่ เปน็ กล่มุ ๆละ ๘ – ๒๐ คน
อปุ กรณ์
- ถังน้าํ ๑ ใบ
- แกว้ น้ําเปน็ กลมุ่ ๆ ละ ๑๐ – ๒๐ คน
สถานท่ี ใกล้สระน้ํา / บอ่ นํ้า / ใตร้ ม่ ไม้
ระยะเวลา ๑๐ นาที
วธิ ีดาํ เนนิ การ
- ถงั นํา้ เจาะรูรอบ ๆ ถัง ๑ ใบ พร้อมที่ตักนํ้าเจาะรู ๓ – ๕ ใบ วางไว้ใกล้กับสระน้ําห่างกับผู้เล่น
๕ – ๑๐ เมตร (ดคู วามเหมาะสม)
- กาํ หนดจุดเริ่ม ๑ จุด
- ใหส้ มาชกิ กลุ่มซง่ึ ตกั นาํ้ มาใส่ถงั ให้ได้มากที่สดุ ในเวลาที่กาํ หนดให้ได้มากทสี่ ุด
- การให้คะแนนดจู ากปรมิ าณน้าํ ในถงั เสร็จแลว้ ผ้นู าํ กจิ กรรมสรปุ ตามวัตถุประสงค์
๑๐. พรายกระซิบ
วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือฝึกฝนการเรียนรู้จากการถ่ายทอดในการส่ือสารของความเป็นภาวะผู้นํา ไปสู่สมาชิกในทีมให้ตรง
เป้าหมายของการส่อื สาร
จํานวนผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม ๕๐ – ๑๐๐ คน (หรือตามความเหมาะสม) แบง่ เปน็ กลมุ่ ๆละ ๘ – ๒๐ คน
อุปกรณ์ ใบคําส่งั
สถานท่ี สนามกลางแจ้ง
ระยะเวลา ๑๐ นาที
วิธีดําเนนิ การ
- ลกู เสือแต่ละกลุ่มเขา้ แถวตอนลกึ ภายในหมูห่ ่างกนั ๑ เมตร ระหว่างหม่หู ่างกนั ๕ เมตร
- เรมิ่ เลน่ หวั หนา้ กลุม่ อา่ นใบคาํ ส่ังแลว้ ไปกระซิบสมาชิกคนท่ี ๑ แล้วคนท่ี ๑ กระซบิ ต่อไปยังคนที่ ๒
ทําอยา่ งเดยี วกันจนถงึ คนสดุ ทา้ ย
- ให้คนสุดท้ายเขียนข้อความท่ีได้ฟังลงในกระดาษ เขียนข้อความแล้วนํามาที่ผู้กํากับลูกเสือ
ตามลําดบั กอ่ นหลัง
- ผูก้ ํากบั ลูกเสอื อ่านข้อความทีละกลมุ่
- การใหค้ ะแนนดูจากขอ้ ความทีไ่ ดว้ ่ามคี วามถกู ตอ้ งครบถ้วนและสมบรู ณ์มากทสี่ ุด
- ผกู้ ํากบั ลกู เสอื สรปุ กจิ กรรม
๔๔
ค่มู ือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ
ใบงานท่ี ๕
ฐานท่ี ๑ การจดั ทาํ คาํ ขวญั ตอ่ ต้านยาเสพติด
ชอ่ื กลมุ่ ................................
คาํ ชแ้ี จง
ให้กลุ่มของท่านจัดทําโปสเตอรค์ าํ ขวัญเก่ยี วกบั การต่อต้านยาเสพตดิ และนําไปติดไว้ทห่ี อ้ งเรียน
๔๕
ค่มู ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสือต้านภัยยาเสพตดิ
ใบงานท่ี ๕
ฐานที่ ๒ อุทาหรณส์ อนใจ
ชอ่ื กลมุ่ ................................
คําช้ีแจง
ให้กลมุ่ ของทา่ นเขียน/เล่า ประสบการณ์ที่เกยี่ วกับภัยยาเสพติดเพ่อื เป็นอทุ าหรณ์สอนใจ
๔๖
ค่มู ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ
ใบงานท่ี ๕
ฐานท่ี ๓ รณรงคด์ ว้ ยเสยี งเพลง
ชอ่ื กลุม่ ................................
คําชีแ้ จง
ใหก้ ลุ่มของทา่ นแต่งเพลงเกีย่ วกับยาเสพตดิ (ระบุทาํ นอง)
๔๗
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด
ใบงานที่ ๕
ฐานที่ ๔ คน้ คดิ กจิ กรรม
ช่ือกล่มุ ................................
คาํ ชี้แจง
ให้กลมุ่ ของท่านคดิ กิจกรรมเพอื่ รณรงค์ต้านภยั ยาเสพตดิ
๔๘
คู่มือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด
ใบงานท่ี ๕
ฐานท่ี ๕ การพ่ึงพาตนเอง
ช่อื กลมุ่ ................................
คาํ ช้แี จง
ใหก้ ลุ่มของท่านคิดหาแนวทางการปฏิเสธ เมื่อได้รบั การชักชวนจากเพ่ือนให้ทดลองเสพยาเสพตดิ
๔๙
คมู่ ือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือต้านภยั ยาเสพตดิ
ใบงานท่ี ๕
ฐานที่ ๖ เพอ่ื นช่วยเพ่ือน
ชอื่ กลมุ่ ................................
คําช้แี จง
ให้กลุม่ ของท่านคดิ หาแนวทางในการชว่ ยเหลอื เพอ่ื นทีเ่ สพยาเสพตดิ
๕๐
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ
ใบงานที่ ๕
ฐานท่ี ๗ เกมยาเสพติด
ชื่อกลมุ่ ................................
คําชีแ้ จง
ให้กลมุ่ ของท่านคิดเกมทเ่ี กี่ยวกบั การต้านภัยยาเสพตดิ พรอ้ มทั้งสาธติ วิธีการเลน่ และสรปุ ข้อคิดท่ีได้
จากการเลน่ เกม
๕๑
คูม่ ือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสอื ต้านภัยยาเสพติด
ใบงานท่ี ๕
ฐานท่ี ๘ นิทรรศการยาเสพติด
ชอื่ กลมุ่ ................................
คําช้แี จง
ใหก้ ลมุ่ ของทา่ นสรุปความรทู้ ไี่ ด้รบั จากนิทรรศการยาเสพติด
๕๒
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด
ใบงานที่ ๕
ฐานที่ ๙ บทบาทสมมติ
ชื่อกล่มุ ................................
คําชี้แจง
ใหก้ ลุ่มของทา่ นคดิ สถานการณแ์ ละแสดงบทบาทสมมตเิ กย่ี วกับการต่อต้านยาเสพติด
๕๓
คูม่ ือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด
ตวั อยา่ งแบบประเมนิ
แบบประเมนิ ผลงานของกลุ่ม
กลมุ่ ท่ี ………………………………..
ขอ้ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๔ ๓ ๒๑
๑ ผลงานเป็นไปตามจดุ ประสงค์
๒ ผลงานเสรจ็ ทนั เวลา
๓ ผลงานมีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์
๔ เนอ้ื หาสาระของผลงานมคี วามสมบูรณ์
๕ วธิ ีการนาํ เสนอผลงาน
รวม
รวมทั้งสนิ้ (ดีมาก + ดี + พอใช้ + ปรับปรงุ )
ผลการประเมนิ คณุ ภาพอยู่ในระดับ.........................
ลงชือ่ ..............................................ผปู้ ระเมนิ
(...........................................)
เกณฑ์ตัดสนิ คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ
ดีมาก
ชว่ งคะแนน ดี
๒๔ - ๓๐ พอใช้
๑๗ -๒๓ ปรบั ปรงุ
๑๐ - ๑๖
ต่าํ กว่า ๑๐ - ๑๖
๕๔
คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ
เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานกลมุ่
หวั ข้อทป่ี ระเมนิ ดีมาก (๔) ระดบั คณุ ภาพ/คะแนน ปรบั ปรุง (๑)
๑. ผลงานเปน็ ไป ผลงานสอดคลอ้ ง ดี (๓) พอใช้ (๒) ผลงานไมส่ อดคล้อง
ตามจุดประสงคท์ ่ี กับจดุ ประสงค์ทกุ กับจดุ ประสงค์
กําหนด ขอ้ /ทุกประเดน็ ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง
สมบูรณ์ กบั จุดประสงคเ์ ป็น กบั จดุ ประสงค์บาง
สว่ นใหญ/่ เกอื บทกุ ข้อ/บางประเด็น
ประเด็นสมบรู ณ์ สมบรู ณ์
๒. ผลงานเสร็จทัน เสรจ็ ก่อนเวลา เสร็จตามเวลา เสร็จช้ากวา่ เวลา ไม่เสรจ็
ตามกาํ หนดเวลา ท่กี ําหนด ทกี่ ําหนด
๓.ผลงานมีความคิด ผลงานถูกต้องตาม ผลงานถูกต้องตาม ผลงานถกู ต้องตาม ผลงานมี
รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ หลกั วิชาการและมี หลกั วิชาการและมี หลกั วชิ าการแต่ยงั ขอ้ บกพร่องและไม่
แนวคิดแปลกใหม่ ไมม่ แี นวคิดแปลก มแี นวคิดแปลกใหม่
แนวคดิ แปลกใหม่ แตย่ ังไม่เป็นระบบ ใหม่
และเป็นระบบ
๔.เนื้อหาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอื้ หาสาระของ
ผลงานมีความ ผลงานครบถ้วนทกุ ผลงานครบถ้วน ผลงานถูกตอ้ งเป็น ผลงานไม่ถกู ตอ้ ง
สมบรู ณ์ ประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
๕.วธิ กี ารนาํ เสนอ มีวิธีการนาํ เสนอ มวี ิธกี ารนําเสนอ มวี ิธีการนําเสนอ มวี ธิ กี ารนาํ เสนอ
ผลงานกลุม่ ผลงานทน่ี า่ สนใจ ผลงานทน่ี า่ สนใจ ผลงานท่ีน่าสนใจ ผลงานไม่นา่ สนใจ
พดู เสยี งดังออก พูดเสียงดังออก พูดเสยี งดงั ออก พดู เสียงเบาออก
เสยี งอกั ขระชัดเจน เสียงอักขระชดั เจน เสยี งอกั ขระ เสยี งอกั ขระ
คลอ่ งแคลว่ แต่ไม่คลอ่ งแคลว่ ไม่ชดั เจนและ ไม่ชดั เจนและ
ไมค่ ลอ่ งแคล่ว ไม่คลอ่ งแคล่ว
๕๕
คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด
ช่ือวิชา ลูกเสือกับการดูแลเยยี วยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวขอ้ งกบั ยาเสพตดิ บทเรียนท่ี ๖
เวลา ๖๐ นาที
ขอบข่ายรายวชิ า
๑. การดแู ลเยยี วยาช่วยเหลือผเู้ ก่ียวขอ้ งกบั ยาเสพตดิ
๒. การให้คาํ แนะนํา ปรึกษา และแนวทางในการช่วยเหลอื ฟ้นื ฟู การสร้างแรงจูงใจ และความเขม้ แขง็
ให้กับผ้เู ก่ยี วขอ้ งกับยาเสพติด
จดุ หมาย เพื่อให้ผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถให้คาํ แนะนาํ ปรึกษา และมแี นวทางใน
การช่วยเหลือฟื้นฟู สร้างแรงจูงใจและความเข้มแข็งให้กบั ผ้เู กีย่ วข้องกับยาเสพตดิ ได้
วตั ถุประสงค์
เม่อื จบบทเรียนนี้แลว้ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถ
๑. เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจเกี่ยวกบั ดแู ลเยียวยาชว่ ยเหลอื ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
๒. ให้คาํ แนะนาํ ปรกึ ษา และแนวทางในการชว่ ยเหลอื ฟนื้ ฟู การสร้างแรงจูงใจ และความเขม้ แขง็
ให้กับผูเ้ ก่ียวขอ้ งกบั ยาเสพติดได้
๓. ดแู ลให้ความชว่ ยเหลอื ผู้เกี่ยวขอ้ งกับยาเสพตดิ ได้
วธิ สี อน / กิจกรรม ๕ นาที
๑. นาํ เข้าสู่บทเรยี น โดยใชภ้ าพ วิดีทัศน์ ๕ นาที
๒. บรรยายเก่ียวกับการดแู ลรกั ษา และฟื้นฟู ๒๐ นาที
๓. แบ่งกล่มุ วิเคราะหแ์ นวทางในการช่วยเหลอื ฟน้ื ฟู ๒๔ นาที
๔. นําเสนอผลการประชมุ กลมุ่ ๘ กลุ่มๆ ละ ๓ นาที ๖ นาที
๕. อภิปราย สรปุ ผลรว่ มกนั
สือ่ การสอน
๑. รูปภาพ ภาพแผ่นพลิก แผนภมู ิ
๒. โสตทัศนปู กรณ์
๓. ใบความรทู้ ี่ ๖
๔. ใบงานที่ ๖
๕. กระดาษชารท์
๖. ปากกาเคมี
การประเมินผล
๑. วิธีการวดั ผล : สงั เกต สอบถาม ซกั ถาม
๒. เคร่ืองมอื วดั ผล : แบบประเมนิ ผลงานกลุ่ม
๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล : มผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑท์ ่กี าํ หนด
เอกสารอา้ งองิ / แหล่งขอ้ มลู
๑. การเคหะแห่งชาติ. (2544). เรยี นรเู้ ร่ืองยาเสพติด ชีวติ ปลอดภัย. กรงุ เทพฯ: อรุณการพมิ พ์.
๒. พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒
๕๖
คูม่ ือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสือต้านภยั ยาเสพตดิ
๓. พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
๔. พ.ร.บ.ยาเสพติด
๕. ป.ป.ส.,สํานกั งาน. ความรู้ แนวทางป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด. มปท.
๖. ป.ป.ส.,สํานักงาน. ความรู้ แนวทางปอ้ งกันและแก้ไขปญั หายาเสพตดิ . มปท.
๗. เวบ็ ไซต์
- www.oncb.go.th
- www.aspacngo.org
- http://nctc.oncb.go.th
๘ . ศึกษาธิการ,กระทรวง. คู่มือการจัดกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด และผู้บําเพ็ญประโยชน์เพ่ือ
การป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษา. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
๒๕๕๓
๙. ศกึ ษาธกิ าร,กระทรวง. ค่มู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือ ยุวกาชาด และสมาชิกผู้บําเพ็ญประโยชน์
เพ่อื การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา. มปท.
เนอื้ หาวิชา
๑. ทกั ษะชีวติ เพือ่ การป้องกันยาเสพตดิ
๕๗
คูม่ ือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพตดิ
ใบความรู้ท่ี ๖
เร่อื ง การดแู ลเยียวยาช่วยเหลือผูเ้ ก่ียวขอ้ งกับยาเสพตดิ
ถ้าสมาชิกในครอบครัวคนใดคนหน่ึงตดิ ยาเสพติด จะแก้ไขอยา่ งไร
สมาชิกในครอบครัวคนอ่ืน ๆ จะต้องให้ความช่วยเหลือ ให้กําลังใจ และร่วมมือแก้ไขปัญหา
ดังกรณตี อ่ ไปนี้
๑. กรณสี มาชิกท่ีเป็นลกู ตดิ ยาเสพติด พอ่ แมค่ วรทําอยา่ งไร
• ทําจิตใจให้สงบ ไม่วู่วาม ดุด่าหรือลงโทษ ต้องทําใจยอมรับความจริง เห็นอกเห็นใจ
เอาใจใส่เพิม่ มากขึน้ และหาทางแกไ้ ขปญั หาตอ่ ไป
• ช้ีแจงให้ลูกเข้าใจถึงอนั ตรายของยาเสพติดและไม่ควรห้ามลูกในการคบหาเพ่ือนที่ติด
ยาเสพติดทันที เพราะอาจทําให้เพ่ือนเอาชนะด้วยการยุยงลูกของเรามากข้ึน ควรให้โอกาสลูกตัดสินใจด้วย
ตนเอง
• พ่อแม่ควรให้ลูกมีส่วนร่วมในกิจกรรมในบ้าน และร่วมกิจกรรมกับทางโรงเรียนโดย
พ่อแม่ควรเขา้ ไปมคี วามสมั พนั ธ์อนั ดกี ับทางโรงเรยี นดว้ ย เพ่ือทราบความเป็นไปของลูกในขณะอยู่ทีโ่ รงเรียน
• เม่ือลูกติดยาเสพติด พ่อแม่ควรแนะนําให้เข้ารับการบําบัดรักษาและต้องทํา
ความเขา้ ใจกบั ลกู ให้สมัครใจเข้ารับการบาํ บดั รักษาด้วยตนเองโดยพ่อแม่คอยเป็นกําลังใจให้ลูกให้รู้สึกปลอดภัย
และอบอนุ่
• ในกรณีท่ีลูกต้องเข้ารับการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายกับทาง
โรงพยาบาล ตามระยะเวลาท่ีแพทย์กําหนด พ่อแม่และสมาชิกคนอ่ืน ๆ ในบ้านจะต้องเตรียมความพร้อมใน
การท่ีจะรับเขากลับเข้าบ้านด้วยความรู้สึกอบอุ่น การดูแลเอาใจใส่อย่างดีจากทุกคน เพื่อสร้างความเช่ือม่ันใน
ตนเอง และความร้สู กึ ที่ไม่โดดเดยี่ ว
• เปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มบางอยา่ ง เชน่ ใหเ้ ขาห่างจากสถานที่หรือคนท่ีชักนําไปสู่
ยาเสพติด เช่น ถ้าเป็นไปได้ การเปล่ียนโรงเรียนก็เป็นการป้องกันไม่ให้เขาไปติดซ้ําได้วิธีหน่ึง หรือเปล่ียนท่ีอยู่
อาศยั เปน็ ต้น
๒. ถ้าสมาชิกที่เป็นพ่อหรือแม่ติดยาเสพติด หรือเก่ียวข้องกับยาเสพติดด้วยวิธี ใด ๆ ก็ตาม ลูก ๆ
และสมาชิกในบา้ นควรจะทําอย่างไร
• ไมค่ วรบอกกลา่ วดว้ ยตนเอง เพราะจะเกิดการทะเลาะเบาะแว้งขึน้ ในครอบครัว
• นําปัญหานี้ไปปรึกษาและขอความช่วยเหลือจากญาติผู้ใหญ่หรือผู้ท่ีตนนับถือ เช่น
ครู พระ กํานันผใู้ หญ่บา้ น เพ่ือหาทางชว่ ยเหลือ
• ถ้าไม่สามารถกระทําได้ในข้อแรก ให้นําปัญหาไปขอความช่วยเหลือจากแพทย์ หรือ
นกั สงั คมสงเคราะห์ในหน่วยงานทใ่ี ห้บรกิ ารด้านการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น
สํานักอนามยั กรงุ เทพมหานคร
ศูนยบ์ ริการสาธารณสขุ กรงุ เทพมหานคร
โรงพยาบาลตาํ รวจ
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้
โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์
๕๘
คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ
โรงพยาบาลประจําจงั หวัดต่าง ๆ ทกุ จังหวดั
• นําเอกสารเผยแพร่ เช่น โปสเตอร์ แผ่นพับ ฯลฯ ท่ีหนว่ ยงานต่าง ๆ นําไปเผยแพร่ให้
นําไปติดท่ีบ้านเพ่ือให้โอกาสได้อ่าน ได้รู้เก่ียวกับโทษและพิษภัยของยาเสพติด การป้องกันและบําบัดรักษา
โทษทจ่ี ะไดร้ ับตามกฎหมาย เป็นตน้
ไม่ว่าจะเกิดปัญหาในกรณีใด ๆ ก็ตามที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ส่ิงหนึ่งที่สมาชิกในครอบครัวจะ
ช่วยเหลือกันได้ก็คือ การสร้างความเข้าใจกับทุกคนภายในครอบครัวถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและร่วมมือกันแก้ไข
ปัญหา ให้ความรัก ความอบอุ่น และเพ่ิมความเอาใจใส่ดูแลแก่สมาชิกที่กําลังประสบกับปัญหาให้มากย่ิงขึ้น
ตลอดจนสง่ เสริมใหส้ มาชกิ ในครอบครัวมีกิจกรรมหรอื งานอดิเรกท่ีแต่ละคนสนใจในเวลาว่างใหเ้ ตม็ ที่
ความรกั ความอบอุ่น และความเข้าใจระหว่างสมาชิกในครอบครัวคือ พลังสําคัญในการป้องกันปัญหา
ยาเสพตดิ
การดูแลช่วยเหลือผู้เก่ียวข้องกับยาเสพติดน้ัน จะต้องให้การดูแลรักษา ช่วยเหลือ สร้างแรงใจ
ความเขม้ แขง็ ทง้ั ทางดา้ นรา่ งกายและจิตใจ โดยจะใชร้ ปู แบบวิธีการต่าง ๆ แต่การรักษานนั้ ไม่จาํ เปน็ ตอ้ งเร่มิ จาก
การดูแลรักษาทางร่างกายก่อน แล้วจึงให้การดูแลรักษาทางด้านจิตใจ เนื่องจากยาเสพติดบางประเภท ไม่
ก่อให้เกิดอาการถอนพิษยาอย่างรุนแรง จนทําให้ผู้ป่วยไม่สามารถทนทรมานได้ ผู้ป่วยจะสามารถเข้ารับ
การรักษาดูแล ช่วยเหลือเพ่ือฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางด้านจิตใจได้ทันที การติดยาเสพติดซ้ําถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการเลิกยาเสพติด เป็นธรรมชาติของผู้ติดยาเสพติดทุกคนท่ีอาจจะหวนกลับไปใช้ยาเสพติดซํ้าได้
การติดตามผลหลังการดูแลรักษาและฟื้นฟู จึงมีความสําคัญและจําเป็นที่จะช่วยประคับประคองผู้ป่วยท่ีผ่าน
การดแู ลรกั ษามีความเขม้ แขง็ และสามารถดํารงชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งปกติสขุ ได้
๕๙
คู่มือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด
ใบงานที่ ๖
เรือ่ ง การดูแลเยียวยาชว่ ยเหลือผเู้ กยี่ วข้องกบั ยาเสพติด
ช่อื กลมุ่ ................................
คาํ ชแ้ี จง
ใหก้ ลมุ่ ของท่านช่วยกันระดมความคดิ และวเิ คราะห์แนวทางในการดูแลเยยี วยาช่วยเหลอื ผเู้ ก่ียวขอ้ ง
กับยาเสพติด แล้วนําเสนอผลการประชุมกลมุ่
๖๐
คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด
ตวั อยา่ งแบบประเมนิ
แบบประเมนิ ผลงานของกลุ่ม
กล่มุ ที่ ………………………………..
ขอ้ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
๔ ๓ ๒๑
๑ ผลงานเป็นไปตามจดุ ประสงค์
๒ ผลงานเสรจ็ ทนั เวลา
๓ ผลงานมีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์
๔ เนอ้ื หาสาระของผลงานมคี วามสมบูรณ์
๕ วธิ ีการนาํ เสนอผลงาน
รวม
รวมทั้งสนิ้ (ดีมาก + ดี + พอใช้ + ปรับปรงุ )
ผลการประเมนิ คณุ ภาพอย่ใู นระดบั .........................
ลงชอ่ื ..............................................ผ้ปู ระเมนิ
(...........................................)
เกณฑ์ตัดสนิ คณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒๔ - ๓๐ ดมี าก
๑๗ -๒๓ ดี
๑๐ - ๑๖ พอใช้
ต่าํ กว่า ๑๐ - ๑๖ ปรับปรงุ
๖๑
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ
เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานกลมุ่
หวั ข้อทปี่ ระเมนิ ดีมาก (๔) ระดบั คณุ ภาพ/คะแนน ปรับปรุง (๑)
๑. ผลงานเป็นไป ผลงานสอดคลอ้ ง ดี (๓) พอใช้ (๒) ผลงานไมส่ อดคลอ้ ง
ตามจุดประสงค์ท่ี กับจดุ ประสงค์ทุก กับจดุ ประสงค์
กําหนด ข้อ/ทกุ ประเดน็ ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง
สมบรู ณ์ กบั จุดประสงคเ์ ป็น กบั จดุ ประสงคบ์ าง
สว่ นใหญ่/เกือบทกุ ข้อ/บางประเด็น
ประเด็นสมบรู ณ์ สมบูรณ์
๒. ผลงานเสร็จทัน เสร็จกอ่ นเวลา เสรจ็ ตามเวลา เสร็จช้ากวา่ เวลา ไม่เสร็จ
ตามกาํ หนดเวลา ท่ีกาํ หนด ท่กี าํ หนด
๓.ผลงานมีความคดิ ผลงานถูกตอ้ งตาม ผลงานถูกต้องตาม ผลงานถกู ตอ้ งตาม ผลงานมี
รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ หลักวิชาการและ หลกั วิชาการและ หลกั วชิ าการแตย่ งั ขอ้ บกพรอ่ งและ
มีแนวคิดแปลกใหม่ มแี นวคดิ แปลกใหม่ ไมม่ ีแนวคดิ ไมม่ แี นวคดิ
และเป็นระบบ แตย่ งั ไมเ่ ปน็ ระบบ แปลกใหม่ แปลกใหม่
๔.เน้อื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ
ผลงานมคี วาม ผลงานครบถว้ นทุก ผลงานครบถว้ นเป็น ผลงานถกู ต้องเป็น ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง
สมบูรณ์ ประเดน็ ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
๕.วิธกี ารนําเสนอ มวี ิธกี ารนาํ เสนอ มีวิธกี ารนําเสนอ มวี ิธกี ารนาํ เสนอ มวี ธิ ีการนําเสนอ
ผลงานกลมุ่ ผลงานที่นา่ สนใจ ผลงานที่น่าสนใจ ผลงานทีน่ า่ สนใจ ผลงานไม่น่าสนใจ
พูดเสียงดงั ออก พดู เสียงดงั ออก พดู เสยี งดงั ออก พูดเสยี งเบาออก
เสียงอักขระชดั เจน เสียงอกั ขระชดั เจน เสยี งอกั ขระ เสยี งอกั ขระ
คลอ่ งแคล่ว แต่ไมค่ ลอ่ งแคล่ว ไมช่ ดั เจนและ ไม่ชัดเจนและ
ไมค่ ลอ่ งแคล่ว ไมค่ ลอ่ งแคลว่
๖๒
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด
ช่ือวิชา ลกู เสอื กบั การชุมนุมรอบกองไฟ บทเรยี นท่ี ๗
เวลา ๑๒๐ นาที
ขอบขา่ ยรายวชิ า
๑. ความเป็นมา
๒. ความมุ่งหมายของการชมุ นุมรอบกองไฟ
๓. สถานทใ่ี ช้ชมุ นมุ รอบกองไฟ
๔. การเตรยี มกอ่ นเร่ิมการชุมนุมรอบกองไฟ
๕. การจดั กองไฟ
๖. การจัดทน่ี ่ังรอบกองไฟใหจ้ ดั เปน็ รปู วงกลมหรือเกอื กมา้
๗. พิธเี ปดิ การชุมนุมรอบกองไฟ
๘. กาํ หนดการชุมนุมรอบกองไฟ
๙. การเปล่ยี นอิริยาบถของผู้เขา้ ชุมนุม
๑๐. พิธีปดิ การชมุ นมุ รอบกองไฟ
จดุ หมาย เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรบสามารถเขา้ รว่ มและปฏิบตั กิ ิจกรรมตามข้ันตอนการชมุ นมุ รอบกองไฟได้
วตั ถปุ ระสงค์
เม่ือจบบทเรยี นน้แี ลว้ ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมสามารถ
๑. บอกข้นั ตอนการชุมนุมรอบกองไฟได้
๒. ปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนการชมุ นุมรอบกองไฟได้
๓. นําความรู้เกีย่ วกับหลกั การตา้ นภัยยาเสพตดิ จดั แสดงในการชมุ นมุ รอบกองไฟได้
วิธสี อน / กจิ กรรม
กจิ กรรมยอ่ ยที่ ๑ (๓๐ นาท)ี
๑. วิทยากรอธบิ ายประวัตคิ วามเปน็ มา แนวทางและขั้นตอนในการชมุ นมุ รอบกองไฟ
๒. วิทยากรร่วมกับลูกเสือ สาธิตการทําความเคารพการกล่าวชมเชย และการตอบรับคําชมเชย
ตามแบบลูกเสือ
๓. นดั หมายหมบู่ ริการรอบกองไฟ เพือ่ จัดเตรยี มสถานที่ พวงมาลัย พมุ่ สลาก เป็นต้น
๔. นัดหมายกําหนดเวลาในการเขา้ ร่วมการชุมนมุ รอบกองไฟ การส่งรายชื่อการแสดง
กิจกรรมย่อยท่ี ๒ (๙๐ นาท)ี
๑. ผูเ้ ข้ารว่ มชุมนุมนั่งประจําทบี่ ริเวณรอบกองไฟ
๒. พธิ ีกรนาํ กิจกรรมเพอ่ื เตรยี มความพร้อม ซักซ้อมแนวปฏิบัติในการชุมนุมรอบกองไฟ แนะนํา
ผเู้ ปน็ ประธานในพิธี
๓. พิธีกรเชิญประธานกระทําพิธีเปิดการชุมนุมรอบกองไฟ และจับสลากการแสดง ให้ผู้เข้าร่วม
ชุมนุมแสดงรอบกองไฟตามลําดบั
๔. พิธกี รจัดกิจกรรมเพอ่ื เปลยี่ นอริ ิยาบถของผูเ้ ขา้ ร่วมชมุ นุมตามความเหมาะสม
๖๓
ค่มู ือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ
๕. เมอื่ ทกุ กลมุ่ แสดงจบ พธิ ีกรเชญิ ประธานให้ขอ้ คดิ และกล่าวปดิ การชุมนมุ รอบกองไฟ
ส่ือการสอน
๑. เครื่องดนตรี เช่น กลอง ฉ่ิง ฉับ กรบั ฯลฯ
๒. เครอ่ื งประกอบการแตง่ กายในการแสดง
๓. เคร่ืองเสยี ง
๔. กองไฟ / กองไฟจาํ ลอง
การประเมินผล
๑. วธิ ีการวดั ผล : สงั เกตพฤตกิ รรมในการเข้ารว่ มกจิ กรรมชมุ นมุ รอบกองไฟ
๒. เคร่ืองมอื วดั ผล : แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
๓. เกณฑก์ ารประเมินผล : มีผลการประเมินผา่ นเกณฑท์ ี่กาํ หนด
เอกสารอา้ งองิ / แหล่งข้อมลู
คมู่ อื การฝึกอบรมผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสอื ข้นั ผู้ช่วยผ้ใู หก้ ารฝกึ อบรมวชิ าผู้กาํ กบั ลูกเสอื คณะกรรมการ
ลูกเสอื ฝ่ายพฒั นาบุคลากร สาํ นักงานลกู เสอื แห่งชาติ
เนื้อหาวิชา
๑. การชุมนุมรอบกองไฟ
๖๔
ค่มู ือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือตา้ นภัยยาเสพตดิ
ใบความรทู้ ี่ ๗
เร่อื ง การชุมนุมรอบกองไฟ
******
๑. ความเปน็ มา
จากประสบการณ์ในชีวิตทหารของลอร์ด เบเดน-โพเอลล์ (บี.พี.) ท่ีได้พบเห็นการพักแรมคืน
ของพ่อค้า ซึ่งเดินทางรอนแรมไปต่างเมืองและวิธีการของชาวพ้ืนเมือง ซึ่งมีการชุมนุมกันในยามคํ่าคืน
เป็นการพักผ่อน สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปรึกษาหารือกัน ท้ังมีการร่วมสนุกสนานด้วยการร้องเพลง
และแสดงกิจกรรมต่าง ๆ เป็นการผ่อนคลายอารมณ์และบรรเทาความเหน่ือยล้ามาจากกลางวัน จึงได้นํา
วธิ กี ารน้ีมาทดลองใชใ้ นการนําเด็ก ซ่ึงอาจเรียกว่าเป็นลูกเสือรุ่นแรกของโลกไปอยู่ค่ายพักแรม ท่ีเกาะบราวน์ซี
ประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. ๑๙๐๗ (พ.ศ. ๒๔๕๐) โดยให้ลูกเสือมาชุมนุมพร้อมกันรอบกองไฟในตอนกลางคืน
และใช้เวลาน้ันฝึกอบรมประกอบการเล่านิทาน และมีการร่วมแสดงให้เกิดความสนุกสนาน ได้ผลเป็นอย่างดี
จึงได้นํามาให้เป็นวิธีการฝึกอบรมลูกเสืออย่างหน่ึงสืบต่อมาจนปัจจุบันน้ี การชุมนุมรอบกองไฟในภาษาอังกฤษ
เรียกว่า “CAMP FIRE” เดิมมักเรียกกันในภาษาไทยว่า การเล่นหรือการแสดงรอบกองไฟ เป็นเพียง
ส่วนหนึง่ ของการชมุ นุมรอบกองไฟเท่านัน้
๒. ความมุ่งหมายของการชุมนุมรอบกองไฟ
การชุมนมุ รอบกองไฟมีความมงุ่ หมายสาํ คญั อยู่ ๕ ประการ เพอื่
๒.๑ เป็นการฝึกอบรมตอนกลางคืน ดังที่ ลอร์ด เบเดน - โพเอลล์ (บี - พี) ในการฝึกอบรมเด็กท่ี
ไปอยู่คา่ ยพักแรม ณ เกาะบราวนซ์ ี
๒.๒ ให้ลูกเสือได้ร้องเพลงร่วมกันหรือแสดงกิริยาอาการอย่างเดียวกันเป็นการปลุกใจหรือเปลี่ยน
อารมณใ์ หเ้ กดิ ความสนุกสนานเบิกบานใจ ผอ่ นคลายความเครง่ เครียดให้บรรเทาเบาบางลง
๒.๓ ให้ลูกเสือแต่ละคนมีโอกาสแสดงออกในที่ชุมนุม โดยไม่เก้อเขินกระดากอาย เป็นการส่งเสริม
ความสามคั คีของหมู่ ใหท้ กุ คนรูจ้ ักทาํ งานรว่ มกับผ้อู น่ื และทําให้ร้คู วามสามารถของแต่ละคนได้ดี
๒.๔ ใช้เป็นโอกาสสําหรับประกอบพิธีสําคัญบางกรณี เช่น แนะนําบุคคลสําคัญในกิจการลูกเสือ
เช่น แนะนําผู้มีเกียรติสําคัญที่มาเย่ียม การมอบเครื่องหมายวูดแบดจ์ เครื่องหมายตอบแทน เข็มสมนาคุณ
หรอื ประกาศนียบตั รต่าง ๆ เป็นตน้
๒.๕ เชิญบุคคลสําคัญในท้องถ่ินตลอดจนประชาชนทั่วไป เป็นการประชาสัมพันธ์และส่งเสริม
กิจการลกู เสอื ได้อีกทางหนึ่ง
๓. สถานทใ่ี ชช้ มุ นมุ รอบกองไฟ
ค่ายลูกเสือทุกแห่งควรมีบริเวณสําหรับการชุมนุมรอบกองไฟไว้โดยเฉพาะอยู่ท่ีมุมหน่ึงของค่าย
และควรอยู่ห่างจากที่พักพอสมควร ไม่ไกลเกินไป เพื่อมิต้องเสียเวลาและเกิดความยุ่งยากเมื่อลูกเสือต้องเดิน
จากท่พี กั ไปยงั บรเิ วณการชุมนมุ รอบกองไฟและตอ้ งเดินกลบั เมอื่ การชุมนุมเลิกแล้ว ส่วนบริเวณ การชุมนุมรอบ
กองไฟควรมีต้นไมเ้ ปน็ ฉากหลงั นัน้ จะทําใหบ้ รรยากาศดีข้ึน และจะทาํ ให้การรอ้ งเพลงได้ผลดีกว่าท่ีโลง่ แจ้ง
อนึ่ง ในการเลือกสถานที่สําหรับการชุมชนรอบกองไฟน้ี ถ้าสามารถหาท่ีเป็นแอ่งให้ลูกเสือท่ีนั่งอยู่
เหนือกองไฟเล็กน้อยจะดีมาก เช่น ในบริเวณท่ีมีเนิน อาจจัดทําบริเวณการแสดงและกองไฟอยู่ตอนล่าง
๖๕
คู่มือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื ต้านภัยยาเสพติด
ส่วนลูกเสือให้นั่งอยู่บนเนิน หรือจัดทําบริเวณการแสดงและกองไฟให้อยู่บนเกาะมีคูนํ้าล้อมรอบ ผู้ชมน่ัง
อยู่ริมคูน้ําอีกด้านหน่ึง สะพานข้ามคูทําด้วยไม้แบบสะพานช่ัวคราว ปรากฏว่าสถานท่ีการชุมนุมรอบกองไฟ
เชน่ ว่านี้ใชก้ ารได้ดอี ยา่ งยงิ่
การชุมนุมรอบกองไฟนี้ถ้าไม่สะดวก เช่น ฝนตกหรือมีเหตุอ่ืน จะจัดภายในอาคารและใช้กองไฟท่ีให้
แสงสว่างอย่างอื่นแทนได้
๔. การเตรียมก่อนเรมิ่ ชมุ นุมรอบกองไฟ
๔.๑ คณะผู้ให้การฝึกอบรมจะต้องปรึกษาหารือกันเพื่อกําหนดว่า ในการชุมนุมรอบกองไฟนั้นจะมี
กิจกรรมอะไรบ้าง จะให้กลุ่มใดทําหน้าท่ีบริการ ให้ผู้ใดเป็นพิธีกรและจะเชิญผู้ใดเป็นประธาน ซ่ึงควรเป็นผู้ท่ีมี
ความรู้ ความเข้าใจขั้นตอนการชุมนุมรอบกองไฟดีพอสมควร หรือพิธีกรจะต้องซักซ้อมการท่ีประธานจะต้อง
ปฏิบตั ติ ามข้ันตอนต่าง ๆ เสยี กอ่ น ถ้าเป็นการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือตามธรรมดา โดยปกติผู้กํากับลูกเสือท่ี
พาลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรมน่ันเองจะทําหน้าที่ประธาน และให้รองผู้กํากับลูกเสือ หรือลูกเสือคนใดคนหน่ึงที่มี
ความสามารถทาํ หนา้ ที่พธิ ีกร
๔.๒ พธิ กี ร คือผ้นู าํ ในการชุมนุมรอบกองไฟ มหี นา้ ที่
๑.๑ นัดหมาย
- ประธาน ขัน้ ตอนทจ่ี ะต้องปฏิบตั ิ
- ผู้ร่วมแสดง ขั้นตอนการปฏิบัติ การแต่งเพลงประจําหมู่/กลุ่ม การส่งเรื่องที่จะแสดง
เวลาท่ีมาพร้อม เวลาที่ใช้ในการแสดง การแต่งกายตามเน้ือเรื่อง การรายงานเม่ือเริ่มแสดง การกล่าวชมเชย
การตอบรบั คําชมเชย การกลา่ วเมือ่ มีผูม้ าเยยี่ ม ขอ้ หา้ มในเนื้อเรอ่ื งทีจ่ ะแสดง
- กลุ่มบริการให้จัดสถานที่ กองไฟ จัดทําพวงมาลัย ทําพุ่มสลาก และคนถือขบวนแห่
การช่วยเหลือพิธกี ร, การทําความสะอาดสถานที่เมือ่ เลิกการแสดง
๑.๒ ช้แี จงลําดับการชมุ นุม ซักซอ้ ม ข้อปฏิบตั ิ ข้อห้าม
๑.๓ ประกาศชอ่ื ผทู้ จ่ี ะมาเปน็ ประธานและผู้ตดิ ตาม
๑.๔ เชิญประธานและผ้ตู ดิ ตามเข้าสทู่ ีป่ ระชมุ
๑.๕ ควบคุมและดาํ เนนิ การใหถ้ ูกตอ้ งโดยให้ผเู้ ข้ารว่ มชุมนุมไดร้ บั ความสนกุ สนาน
๑.๖ เลือกเพลงที่จะนํามาใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม
๑.๗ รักษาเวลาโดยเคร่งครัด
๕. การจัดกองไฟ
กองไฟอาจจะเป็นกองไฟท่ีก่อด้วยไม้จริง โดยก่อเป็นแบบผสม (คอกหมู+ปิรามิด) หรือจะใช้ไฟ
ให้แสงสว่างอย่างอ่ืน ๆ แทนก็ได้ ถ้าเป็นกองไฟจริงจะต้องมีผู้รับผิดชอบ ซ่ึงโดยปกติจะมอบให้กลุ่มบริการใน
วันน้ันทําหน้าท่ีน้ี คือ มีหน้าที่ก่อไฟให้เรียบร้อยก่อนทําพิธีเปิด จุดแล้วให้ไฟติดและจะต้องคอยดูแลกองไฟให้
ติดอยู่ตลอดเวลา ในการนี้จะต้องเตรียมฟืนอะไหล่และนํ้าสํารองไว้ ถ้าไฟมอดลงจะต้องเติมฟืนลงไป และ
ถา้ ไฟลุกลามมาก หรือกระเดน็ ออกจากกองไฟ ก็ต้องพรมนํ้าลงไป
ในปัจจุบัน นโยบายของรัฐบาลให้อนุรักษ์ป่าไม้และส่ิงแวดล้อมจึงควรละเว้นการก่อไฟด้วยไม้จริง
เม่ือเลิกการชุมนุมรอบกองไฟ ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบจะต้องออกจากบริเวณไปอย่างเงียบ ๆ พร้อมกับผู้เข้าร่วม
ชุมนุมอื่นภายหลังอีกสักครู่จะต้องหวนกลับมาท่ีบริเวณการชุมนุมรอบกองไฟอีกครั้งหน่ึง ไม่ให้มีเศษไม้หรือ
เถา้ ถ่านเหลอื อยเู่ ลย
๖๖
คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด
เรื่องการทําความสะอาดบริเวณการชุมนุมรอบกองไฟน้ี อย่าถือว่าเป็นเร่ืองเล็กน้อย ต้องถือว่าเป็น
บทเรียนอนั สําคัญในการฝึกอบรมด้วย
๖. การจดั ที่นง่ั รอบกองไฟให้จดั เป็นรปู วงกลมหรือเกือกม้า
การจัดที่นั่งรอบกองไฟให้จัดเป็นรูปวงกลมหรือเกือกม้า ให้กองไฟอยู่ตรงกลาง มีที่น่ังพิเศษสําหรับ
ประธานและผู้รับเชิญ ต้ังอยู่ในทิศทางเหนือลมท่ีนั่งของประธานเป็นท่ีนั่งเดี่ยวให้ต้ังลํ้าหน้ากว่าแถวของ
ผู้ติดตามและผ้รู ่วมชมการแสดง ใหม้ โี ตะ๊ วางพุ่มสลากไว้ตรงหน้า ส่วนผเู้ ข้าร่วมชุมนุมโดยปรกติให้น่ังตามกลุ่ม
ณ สถานทที่ ีไ่ ดก้ ําหนดให้ไว้
๗. พธิ เี ปดิ การชุมนมุ รอบกองไฟ
มีขน้ั ตอนการปฏบิ ัติดงั น้ี
๗.๑ เม่ือผู้ร่วมแสดงแต่งกายตามเน้ือเรื่องที่จะแสดงเข้านั่งท่ีเรียงตามลําดับกลุ่ม จากซ้ายของ
ประธานไปทางขวาพร้อมควรเปน็ เวลาก่อนเรม่ิ ต้นแสดงทกี่ ําหนดไวป้ ระมาณ ๑๐ นาที
๗.๒ พิธีกร ช้ีแจงซักซ้อมการปฏิบัติแล้วแจ้งชื่อ และตําแหน่งหน้าที่การงานหรือตําแหน่งทาง
ลูกเสือของผูเ้ ปน็ ประธานในพิธีและผ้ตู ดิ ตามใหท้ ราบทว่ั กัน
๗.๓ ผมู้ หี น้าทีข่ องกลมุ่ บริการจดุ ไฟ
๗.๔ พิธีกร ออกไปเชญิ ประธาน ซึง่ มารอคอยอยกู่ อ่ นแล้วใกล้ทช่ี ุมนุม ฯ
๗.๕ เมอื่ ประธานเดินเขา้ มาในพ้ืนทก่ี ารแสดง พธิ กี รสัง่ ตรง ทุกคนลุกข้ึนยืนตรง
๗.๖ ประธานรับการเคารพแล้ว เดินตรงไปท่ีตั้งกองไฟยืนอยู่ระยะห่างพอสมควรยกมือขวาแสดง
รหสั ของลูกเสือชูสูงขน้ึ ไปข้างหนา้ ทาํ มุมกบั ไหล่ประมาณ ๔๕ องศา
๗.๗ ผู้ตดิ ตามประธานและผมู้ ารว่ มชุมนุมเดินตามประธานเขา้ มาให้เดินไปยืนอยู่ ณ บริเวณที่จดั ให้
๗.๘ ประธานกล่าวเปิดด้วยข้อความท่ีเป็นมงคลและจบลงด้วยถ้อยคําว่า “ข้าพเจ้าขอเปิด
การชุมนมุ รอบกองไฟ ณ บดั นี้” โดยใชเ้ วลาประมาณ ๓ นาที ประธานยงั คงยนื อยู่ ณ ทีเ่ ดมิ
๗.๙ ทกุ คนเขา้ รว่ มในทชี่ มุ นมุ กล่าวพรอ้ มกันวา่ “ฟ”ู่ ๓ ครงั้
๗.๑๐ พิธีกร นําร้องเพลง ๑ หรือ ๒ เพลง เช่น เพลงสยามานุสติ สดุดีมหาราชา เพลงสถาบัน
ของผู้เขา้ รว่ มการฝึกอบรม เปน็ ตน้ ทัง้ น้โี ดยไม่มีดนตรีประกอบ และไม่ปรบมอื
๗.๑๑ จบเพลงแลว้ ประธานเดนิ กลับไปนง่ั ยังทน่ี ่งั ซึ่งจดั ไว้ ผ้ตู ิดตามน่ังลงตามทขี่ องตน
๗.๑๒ พิธกี ร ส่งั ให้ผรู้ ว่ มชุมนุม “นั่ง”
๗.๑๓ พธิ กี ร สง่ั ให้ผูถ้ อื พวงมาลัยและพ่มุ สลากมาตง้ั ขบวนอยู่ดา้ นขวามอื ของประธาน
๗.๑๔ พิธีกรนําร้องเพลงเกี่ยวกับแห่มาลัย – พุ่มสลาก ขบวนเริ่มออกเดินผ่านหน้าประธาน
เวียนรอบกอง เมื่อครบ ๓ รอบ ผู้ถือพวงมาลัยและพุ่มสลาก หยุดยืนตรงหน้าประธาน บุคคลอื่นๆ ในขบวน
แห่พวงมาลัยและพุ่มสลาก ให้กลับไปน่ังที่เดิม ผู้ถือพวงมาลัย ส่งมาลัยให้แก่ประธาน ผู้ถือพุ่มสลากส่งให้
ประธาน ตามลาํ ดบั แลว้ กลับเขา้ ท่ีนงั่ ของตน
๘. การดาํ เนนิ การ
๘.๑ พิธีกรเป็นผู้นําการจัดกิจกรรม เพ่ือเปลี่ยนอิริยาบถ โดยการร้องเพลงประกอบท่าทาง หรือ
การเล่นเกมตามความเหมาะสม
๘.๒ พธิ ีกรเชิญให้ประธานจบั สลาก รับสลากจากประธานอ่านใหท้ ราบวา่ กลมุ่ ใดจะตอ้ งแสดง
๖๗
ค่มู ือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด
๘.๓ ให้หัวหน้ากลุ่มส่ังสมาชิกในกลุ่มให้เคารพผู้เป็นประธาน “กลุ่ม……ตรง” หัวหน้ากลุ่ม
ทาํ ความเคารพ
๘.๔ ทุกคนภายในกลมุ่ รว่ มกนั รอ้ งเพลงประจํากลมุ่ ๒ จบ จงึ เริ่มการแสดง
๘.๕ เร่มิ การแสดงบริเวณหนา้ กลุ่มของตน โดยหันหน้าไปทางประธาน
๘.๖ จบการแสดงทุกคนกลับไปยืน ณ ท่ีนั่งของตน หัวหน้ากลุ่มส่ัง “กลุ่ม….…ตรง” หัวหน้ากลุ่ม
ทําความเคารพ แล้วส่ังสมาชกิ ภายในกลุ่มของตนนัง่ ลง
๘.๗ พิธีกร ให้ผู้เข้าร่วมชุมนุม ซ่ึงไม่ใช่กลุ่มท่ีแสดงคนหนึ่งเป็นผู้นํากล่าวชมเชยให้แก่กลุ่มที่แสดง
ผู้นํากล่าวชมเชยจะเชิญชวนให้กลุ่มอื่นๆ ลุกข้ึนยืน แล้วกล่าวคําชมเชยดังตัวอย่าง เช่น “พี่น้อง.........โปรด
ยืนข้ึน แล้วกล่าวคําชมเชยให้แก่กลุ่ม…….…พร้อมกัน ๓ คร้ังว่า “ยอดเย่ียม” ผู้เข้าร่วมชุมนุมกล่าวคําชมเชย
พร้อมกันและแสดงกิริยาประกอบ โดยก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้าประมาณคร่ึงก้าว กํามือขวาไปไว้บริเวณ
หวั ใจ แลว้ ผายมอื ขวาไปยังกลุ่มท่แี สดงจบ พรอ้ มกลา่ วคาํ ชมเชยตามท่ีนดั หมายไวเ้ สร็จแลว้ น่งั ลง
๘.๘ กลุ่มที่แสดงลุกข้ึนยืน ใช้แขนขวาทับแขนซ้าย ตั้งฉากเสมอไหล่ พร้อมกับคํากล่าวส้ัน ๆ เช่น
“ขอบคณุ ครับ / คะ่ ” พร้อมกบั นอ้ มตวั ลง ๑ คร้งั
๘.๙ พิธกี รดําเนินการเช่นเดยี วกันนี้ไปจนครบทกุ กลุ่ม เมื่อจบการแสดงของแต่ละกลุ่ม ก่อนจะเร่ิม
การแสดงของกลุ่มต่อไป อาจมีการแนะนําบทเรียนหรือประกอบพิธีหรือมีกิจกรรมอ่ืนหรือร้องเพลงเพื่อเปล่ียน
อิริยาบถสลับเป็นครั้งคราวตามเวลาทเี่ หมาะสม
๙. การเปลยี่ นอริ ิยาบถของผเู้ ข้าชมุ นุม
ในการชุมนมรอบกองไฟ การเปลี่ยนอิริยาบถของผู้เข้าชุมนุมให้สนุกสนานร่าเริงเป็นเรื่องสําคัญ
ผเู้ ข้าชมุ นุมอาจจะรูส้ กึ เบ่ือและง่วงเหงาหาวนอน การเปลี่ยนอิริยาบถของผู้เข้าชุมนุมนี้อาจทําได้หลายวิธี และ
เป็นหน้าที่ของพิธีกรท่ีจะต้องเป็นผู้นํา หรือมอบหมายให้ผู้รู้คนใดคนหนึ่งเป็นผู้นํา เช่น นําให้ร้องเพลงรําวง
นําให้แสดงกิริยาอาการต่าง ๆ ท่ีขบขัน หรือปลุกให้เกิดความสนุกสนาน ตื่นตา ตื่นใจ ด้วยวิธีการต่าง ๆ
ที่เหน็ ว่าเหมาะสมกบั ผเู้ ข้ารว่ มชุมนมุ และเหมาะสมกบั เวลา
๑๐. พิธปี ดิ
๑๐.๑ เมื่อจบการแสดงของทุกกลุม่ แลว้ พธิ กี รจะใหม้ ีการรอ้ งเพลงทํานองช้า อาจเป็นเพลงท่ีเป็น
คติหรือสร้างสรรคเ์ หมาะสมกับผู้รว่ มชมุ นมุ ทงั้ น้คี วรเปน็ เพลงทสี่ ว่ นใหญ่หรือทงั้ หมดไดร้ ่วมร้องดว้ ย
๑๐.๒ พิธีกรจะเชิญประธานกลา่ วปดิ
๑๐.๓ ประธานไปยืนในที่เหมาะสม กล่าวเร่ืองส้ันอันเป็นประโยชน์ในเรื่องใด ๆ ท่ีเห็นว่า
เหมาะสม และจบลงด้วยถ้อยคาํ ว่า “ข้าพเจ้าขอปิดการชุมนุมรอบกองไฟ ณ บดั นี”้ ใช้เวลาประมาณ ๑๐ นาที
๑๐.๔ พธิ ีกร ให้ทุกคนล้อมวง โดยให้แขนขวาซ้อนบนแขนซ้ายของตนเอง และใช้มือขวาซ้ายจับ
คนขา้ งเคียงรว่ มกนั รอ้ งเพลงสามัคคีชุมนมุ พรอ้ มกบั โยกตัวไปทางขวา ซ้าย ช้า ๆ จนจบเพลง
๑๐.๕ ผู้แทนกลุ่มบริการ นําสวดมนต์อย่างยาว จบแล้วให้สั่งให้ทุกคนหันหน้าไปยังทิศท่ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประทับอยู่ในขณะน้ัน ถ้าหากพระองค์มิได้ประทับอยู่ในประเทศไทยให้หันหน้า
ไปยังพระบรมมหาราชวงั กรงุ เทพมหานคร สัง่ ทําความเคารพแล้วนํารอ้ งเพลงสรรเสริญพระบารมจี นจบ
๑๐.๖ พิธกี ร นดั หมาย
๑๐.๗ ทุกคนแยกย้ายกันกลับท่ีพักอย่างสงบ ส่วนกลุ่มท่ีทําหน้าท่ีเป็นกลุ่มบริการ กลับมาทํา
ความสะอาดให้เรยี บร้อย
๖๘
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ
๑๑. หน้าท่ขี องพธิ กี ร
๑๑.๑ นัดหมายสมาชกิ
๑. เรอื่ งการแสดง
๒. เวลาสง่ เร่ือง
๓. เพลงประจาํ หมู่
๔. การแตง่ กาย
๕. ขอ้ หา้ ม
๖. ข้อปฏิบัติ
๗. ขัน้ ตอน
๘. หน้าทห่ี มบู่ ริการ
๑๑.๒ นัดหมายประธานในพธิ ี
๑. เวลา
๒. ขัน้ ตอน
๓. การกล่าวเปิด
๔. การเลา่ เร่ืองสัน้
๑๑.๓ กอ่ นการชุมนมุ
๑. ตรวจสถานที่ /อุปกรณ์/ กองไฟ
๒. รับเรือ่ งทจี่ ะแสดง (ไม่ควรซา้ํ กนั )
๓. จดั รายการให้เหมาะสม
๑๒. ตวั อยา่ งคาํ กล่าวเปดิ การชุมนมุ รอบกองไฟ
๑๒.๑ ด้วยจิตใจอันดีของ..........ที่มาชุมนุม ณ กองไฟน้ี จากทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก
ทศิ ตะวนั ตก ข้าพเจ้าขอเชิญสิ่งศักดิ์สิทธ์ิทั้งหลายจงมาเป็นสักขีพยานในการชุมนุมรอบกองไฟน้ี จงนําโชคดีมา
สู่ทา่ น และขอใหก้ จิ การ.............จงเจรญิ รงุ่ โรจน์เหมือนแสงไฟอนั รงุ่ โรจน์ สง่ิ ไม่ดีไม่งามท้ังหลายขอจงมอดไหม้
เป็นเถา้ ถ่านในกองไฟนี้ พี่นอ้ ง.............ท้งั หลาย บดั น้ีถงึ เวลาแลว้ ขา้ พเจา้ ขอเปดิ ชุมนุมรอบกองไฟ ณ บัดน้ี
๑๒.๒ จากแสงไฟท่ีลุกโชติช่วงอยู่ ณ บัดน้ี เปรียบประดุจกิจการของ.........ที่รุ่งโรจน์ ส่วนเถ้าถ่านท่ี
มอดดับเหมือนกับส่ิงท่ีเราทําผิดพลาดไว้ขอให้สลายไป ถึงเวลาแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิดการชุมนุมรอบกองไฟ
ณ บดั นี้
๑๒.๓ ขอเดชะสิ่งศักด์ิสิทธ์ิในสากลโลก จงดลบันดาลให้กิจการ……….เจริญรุ่งเรืองยิ่ง ๆ ข้ึนไปท้ัง
๔ ทิศ ดุจเปลวเพลิง ที่ส่องแสงสว่างรุ่งโรจน์อยู่นี้ บัดนี้เป็นได้เวลาอันสมควรแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิดการชุมนุม
รอบกองไฟของ..........ณ บัดน้ี
๑๒.๔ ท่ามกลางกองไฟอันรุ่งโรจน์ที่อยู่ตรงหน้าเรานี้ เปรียบเหมือนแสงสว่างแห่งวิญญาณและ
ความรุ่งเรืองของกิจการ………. ส่วนความชั่วร้ายอันจะพึงเกิดข้ึนกับกิจการ………… ขอให้สลายหมดสิ้นไป
เหมือนกับเถ้าถ่านของกองไฟ ท่ีกําลังจะมอดดับไป บัดนี้ ถึงเวลาแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิดการชุมนุมรอบกองไฟ
ณ บัดนี้
๖๙
ค่มู ือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด
หมายเหตุ
• เพลงประจํากลุ่มทใ่ี ช้ร้องใหม้ ีเนอ้ื ร้องระบุชื่อหมู่ มสี าระ ปลุกใจ เปน็ คติ
• เรื่องทจ่ี ะแสดงควรเปน็ เรอื่ งเปน็ คตเิ ตือนใจ ประวตั ิศาสตรป์ ลกุ ใจใหร้ กั ชาติ ส่งเสรมิ ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี สนุกสนาน
• ไม่ควรแสดงเรื่องไร้สาระ เสยี ดสีบุคคล เร่ืองการเมอื ง ผีสาง ลามก อนาจาร ล้อเลียนผเู้ ข้าร่วมชุมนมุ
ล้อเลยี นศาสนา
• หา้ มใชอ้ าวุธจริงหรอื ของมีคมมาประกอบการแสดง
• หา้ มสบู บหุ รีใ่ นขณะนง่ั อย่ใู นบริเวณชมุ นุม
• หา้ มดม่ื ของเมา รวมทั้งนาํ มาใช้ประกอบการแสดง
• ไมค่ วรแตะต้องหรือนาํ สิ่งของข้ามกองไฟหรือใช้กองไฟประกอบการแสดงในทางไมเ่ หมาะสม
๗๐
คมู่ ือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด
แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
ช่อื วิชา การชุมนมุ รอบกองไฟ
ชือ่ กลุ่ม..............................................................................................................................................
การแสดง เรอ่ื ง……………………………..………………..…………………...……………………….
ขอ้ รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ
๔๓๒๑
๑ เนื้อหาของเรื่องท่ีแสดงเหมาะสม
๒ อุปกรณป์ ระกอบการแสดงและเครื่องแตง่ กาย
๓ ตวั ละครแสดงได้สมบทบาท
๔ การมสี ่วนร่วมของสมาชิก
รวม
……………………………..
(…………………………..)
ผกู้ าํ กบั ลูกเสือ
เกณฑ์การประเมนิ ผลงานกลมุ่
รายการท่ปี ระเมิน ดมี าก (๔) ระดับคณุ ภาพ / คะแนน ปรับปรุง (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)
๑. เนื้อหาของเร่อื งที่ ๑. คณุ ธรรมพืน้ ฐาน ๘ ประการ ปฏบิ ตั ิได้ ๓ ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ ๒ ข้อ ปฏิบัตไิ ด้ ๑ ขอ้
แสดงเหมาะสม ๒. ความกตัญญกู ตเวที
๓. จิตอาสา
๔. หลักเศรษฐกิจพอเพียง
๒. อปุ กรณ์ ๑. ประยุกต์การแตง่ กาย ปฏบิ ัติได้ ๒ ข้อ ปฏิบตั ไิ ด้ ๑ ข้อ ปฏิบัตไิ มไ่ ด้เลย
ประกอบการแสดง ๒. ประยุกต์อุปกรณ์
และเครือ่ งแต่งกาย ๓. การแตง่ กายสอดคล้องกับ ใน ๓ ขอ้ ใน ๓ ข้อ
เร่ืองท่ีแสดง
๓. ตวั ละครแสดงได้ ทกุ คนแสดงได้สมบทบาท แสดงไมส่ ม แสดงไม่สม แสดงไม่สมบทบาท
สมบทบาท บทบาท ๑ คน บทบาท ๒ คน ๓ คนข้นึ ไป
๔. การมสี ว่ นรว่ ม ทุกคนมสี ่วนรว่ ม สมาชกิ ๑ คน สมาชกิ ๒ คน สมาชิก ๓ คนข้นึ ไป
ของสมาชกิ ไม่ไดม้ ีสว่ นร่วม ไม่ไดม้ สี ่วนรว่ ม ไม่ได้มสี ว่ นรว่ ม
๗๑
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภัยยาเสพติด
ชอื่ วชิ า ลกู เสือกบั การจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน บทเรยี นที่ ๘
เวลา ๑๒๐ นาที
ขอบข่ายรายวชิ า
๑. ความหมาย และองคป์ ระกอบของโครงการ/โครงงาน
๒. การวางแผนจดั ทําโครงการ / กิจกรรม/โครงงาน
๓. ขน้ั ตอนการจดั ทําโครงการ/โครงงาน
จุดหมาย เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมที ักษะในการจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน
วตั ถุประสงค์
เมอ่ื จบบทเรียนนีแ้ ลว้ ผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถ
๑. เขียนโครงการ/โครงงานเกยี่ วกับการตา้ นภยั ยาเสพติดได้
๒. นาํ โครงการ/โครงงานท่ีจัดทําไปใชใ้ นสถานศึกษาของตนเองได้
วิธีสอน / กิจกรรม
๑. นาํ เขา้ สู่บทเรียนโดยนาํ เสนอตวั อย่างกิจกรรมตา้ นภัยยาเสพตดิ ดว้ ยส่ือ เช่น วดิ ีทศั น์ เกม เพลง
แผ่นพบั ฯลฯ
๒. ใหค้ วามรเู้ รอื่ งการวางแผนจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน และกจิ กรรมต้านภัยยาเสพตดิ โดยใช้
Power Point และใบความรู้ที่ ๗ เร่ือง การเขยี นโครงการ/โครงงานตา้ นภยั ยาเสพติด ๑ โครงการ/โครงงาน
๔. ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มนาํ เสนอโครงการ/โครงงาน
๕. สรุปและประเมนิ ผล
ส่อื การสอน
๑. วิดีทศั น์ตัวอยา่ งกจิ กรรมตา้ นภัยยาเสพติด
๒. Power Point เรือ่ ง การวางแผนกจิ กรรมโครงการ/โครงงาน
๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง การเขียนโครงการ/โครงงาน
๔. กระดาษ Flipchart
๕. ปากกาเคมี
๗๒
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ต้านภัยยาเสพตดิ
การประเมนิ ผล
๑. วธิ ีการวัดผล : ประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกล่มุ
๒. เครอื่ งมือวดั ผล : แบบประเมินการปฏบิ ัติกิจกรรม
๓. เกณฑ์การประเมนิ ผล : มีผลการประเมินผ่านเกณฑท์ กี่ ําหนด
เอกสารอา้ งอิง / แหลง่ ขอ้ มลู
๑. แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน
๒. หอ้ งสมุดในสถานศกึ ษา และนอกสถานศกึ ษา
๓. ข้อมลู ทาง Internet
๔. ตัวอย่างการเขยี นโครงการ/โครงงาน
๕. แบบฟอรม์ การเขยี นโครงการ/โครงงาน
เน้อื หาวิชา
๑. การจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน
๗๓
คมู่ ือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ
ใบความร้ทู ี่ ๘
เร่อื ง การจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน
******
การจัดทําโครงการ/โครงงานเพ่ือดําเนินการตามแผนงานอย่างใดอย่างหนึ่งน้ัน สามารถทําให้
ผู้ปฏิบัติงานทํางานได้อย่างมีข้ันตอน และมองเห็นปัญหาในการทํางานได้อย่างชัดเจนย่ิงข้ึน รวมท้ังมองเห็น
แนวทาง ในการแก้ปัญหาอีกด้วย การเสนอแนะให้จัดทําโครงการ/โครงงานนั้น จําเป็นจะต้องระดม
ความสามารถ งบประมาณและทรัพยากรอื่น ๆ อีกเป็นจํานวนมาก ซึ่งโครงการบางโครงการ/โครงงานอาจไม่
จาํ เป็นตอ้ งดําเนนิ การ ของบประมาณสนบั สนนุ เลยกไ็ ด้ แต่การเขยี นโครงการ/โครงงานจะต้องทําให้ถูกขั้นตอน
โดยมแี นวทางในการเขียนโครงการ/โครงงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. โครงการ/โครงงาน คืองานหรือกิจกรรมท่ีระบุรายละเอียดต่าง ๆ เพื่อที่จะนําไปปฏิบัติให้บรรลุ
ตามวัตถุประสงคท์ ่กี าํ หนดไวใ้ นแผน บางครงั้ วัตถปุ ระสงคห์ น่งึ ๆ อาจจําเปน็ ต้องมีหลายโครงการ/โครงงานก็ได้
แตโ่ ครงการ/โครงงานหนึง่ ๆ น้ัน จะตอ้ งมีส่วนประกอบทรี่ ะบุรายละเอยี ดอยา่ งชัดเจนและมีความแนน่ อน ดงั นี้
(๑) ช่อื โครงการ / กิจกรรม/ โครงงาน
(๒) หลักการและเหตุผล
(๓) วตั ถปุ ระสงค์
(๔) เปา้ หมาย
(๕) วธิ ดี ําเนินงาน
(๖) ระยะเวลา
(๗) สถานท่ี
(๘) งบประมาณ
(๙) ผ้รู บั ผิดชอบ
(๑๐) หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
(๑๑) การประเมนิ ผล
(๑๒) ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
๒. แนวทางในการเขียนโครงการ/โครงงาน
(๑) ช่อื โครงการ / กจิ กรรม/โครงงาน เป็นการกําหนดชอื่ โครงการ/โครงงานให้เฉพาะเจาะจง
ในเรอ่ื งท่จี ะทาํ
(๒) หลักการและเหตุผล ควรระบุหลักการอย่างกว้าง ๆ ว่ามีความจําเป็นและมีความเหมาะสม
อยา่ งไร จะใหป้ ระโยชนอ์ ย่างไร
(๓) วัตถุประสงค์ คือสิ่งที่ผู้ทําโครงการ/โครงงานต้องการจะได้รับและผลต่อเนื่องของ
โครงการ/โครงงานน้นั
(๔) เป้าหมาย คอื การระบุชนิด คุณภาพ และขอบข่ายงานท่ีจะทํา
(๕) วิธีดําเนินงาน เป็นการบอกรายละเอียดของการดําเนินงาน หรือวิธีดําเนินงานให้บรรลุ
ตามวัตถุประสงค์ เร่ิมตั้งแต่การเตรียมงาน การศึกษาและสํารวจข้อเท็จจริงต่าง ๆ การเสนอขออนุมัติโครงการ/
โครงงาน การเร่มิ งาน จนถงึ การปฏบิ ัติงาน
๗๔
คมู่ ือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด
(๖) ระยะเวลา เป็นการกําหนดวันเร่ิมโครงการ/โครงงาน วันสิ้นสุดโครงการ/โครงงาน
หรือช่วงเวลาทดี่ าํ เนนิ การ
(๗) สถานที่ การระบุสถานที่ หรอื บรเิ วณทจี่ ะทาํ โครงการ/โครงงาน
(๘) งบประมาณ แยกงบประมาณรายรับรายจ่ายทั้งหมดไวใ้ หล้ ะเอยี ดท่สี ดุ เทา่ ทจี่ ะทําได้
(๙) ผู้รับผิดชอบ ให้ระบุชื่อผู้ทําให้ชัดเจนว่าใคร หรือหน่วยงานใดที่รับผิดชอบโครงการ/
โครงงาน น้นั ๆ
(๑๐) หน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง คอื หน่วยหลักทชี่ ่วยส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหก้ ารดําเนินงานตามโครงการ/
โครงงาน สาํ เร็จลุล่วง
(๑๑) การประเมินผล การบอกแนวทางในการประเมินผลว่าจะทําอย่างไรและทําในช่วง
เวลาใด
(๑๒) ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ การระบผุ ลของโครงการ/โครงงานท่ีคาดว่าเม่ือเสร็จสิ้นโครงการ/
โครงงาน
๗๕
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด
ตวั อยา่ งโครงการ/โครงงาน
******
๑. ชือ่ โครงการ / กิจกรรม/โครงงาน โครงการอนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม (กจิ กรรมปลูกต้นไม้ในทส่ี าธารณะ)
๒. หลักการและเหตุผล
ด้วยสภาพในปัจจุบันมีจํานวนประชากรเพิ่มมากขึ้นทําให้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่ถูกใช้ไปอย่าง
ส้ินเปลืองจนน่าวิตก สภาพต้นไม้ถูกทําลายลง บ้านเมืองขยายตัวออกไปอย่างรวดเร็ว ทําให้ประชาชนท่ี อาศัย
อย่ใู นชมุ ชนในเมืองขาดร่มเงาจากต้นไมส้ ําหรบั พักผอ่ นหยอ่ นใจ ดงั นนั้ จึงควรส่งเสริมให้มกี ารปลูกตน้ ไม้ เพื่อให้
เกิดสภาพแวดล้อมที่ร่มร่ืนร่มเย็น เพ่ือช่วยรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติทางอ้อม รวมทั้งยังเป็นการฝึกให้
ลกู เสอื เกิดความรักและหวงแหนในตน้ ไม้ จึงเห็นสมควรให้มโี ครงการ/โครงงานน้ีขึ้น
๓. วตั ถปุ ระสงค์
๓.๑ เพ่ือให้มีตน้ ไมเ้ ปน็ รม่ เงาสาํ หรับพักผอ่ นหย่อนใจ
๓.๒ เพ่อื ให้ลกู เสือตระหนกั ถึงความสาํ คญั ของต้นไม้ว่ามปี ระโยชนต์ ่อมนุษยแ์ ละสัตว์
๓.๓ ใหล้ ูกเสอื ไดม้ ีโอกาสบําเพญ็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนและสงั คม
๓.๔ ฝึกให้ลกู เสือมที ักษะในการปลกู ตน้ ไม้ยงิ่ ขน้ึ
๔. เปา้ หมาย
๔.๑ เชิงปริมาณ
ลกู เสอื ปลกู ต้นไม้อยา่ งนอ้ ยคนละ ๑ ตน้
๔.๒ เชงิ คณุ ภาพ
ลกู เสือมสี ่วนร่วมในการปลกู ตน้ ไม้
๕. วิธดี ําเนนิ งาน
๕.๑. ประชุมวางแผนการปลกู ตน้ ไม้ร่วมกับสมาชกิ กองลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่
๕.๒. ตดิ ต่อขอพันธ์ุกล้าไม้จากศูนยเ์ พาะชํากล้าไม้
๕.๓. จัดสภาพแวดล้อมบริเวณที่จะปลูกต้นไม้ ติดป้ายโฆษณาให้บุคคลทั่วไปทราบและขอ
ความร่วมมือในการบาํ รุงรักษาต้นไม้
๕.๔. ใหล้ ูกเสอื จดั เตรยี มเครือ่ งมอื และอาหารไปใหพ้ ร้อม
๕.๕. ลงมอื ปฏิบตั ิการ
๕.๖ สรปุ และประเมินผล
๖. สถานท่ี
สวนสาธารณะ วัด หรอื โรงเรียน
๗. ระยะเวลา
ระหวา่ งเดอื นพฤษภาคม ถงึ มถิ ุนายน
๘. งบประมาณ
ใชเ้ งินบรจิ าคจํานวน ๓,๐๐๐ บาท
๗๖
คูม่ ือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด
๙. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ/โครงงาน
ผู้เสนอโครงการ/โครงงานร่วมกับสมาชกิ กองลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่
๑๐. หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง
ศนู ย์เพาะชาํ กลา้ ไม้
๑๑. การติดตาม ประเมนิ ผล
สงั เกตพฤติกรรมของลกู เสือ
๑๒. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
จะมตี ้นไมเ้ พิ่มข้นึ จาํ นวนหน่งึ บรเิ วณดังกล่าวจะมีรม่ เงาของต้นไม้สําหรับพกั ผ่อนหยอ่ นใจ
๗๗
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ต้านภัยยาเสพตดิ
แบบฟอรม์ การเขียนโครงการ/โครงงาน
๑. ช่ือโครงการ / กจิ กรรม/โครงงาน ..............................................................................................................
๒. หลกั การและเหตผุ ล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................
๓. วัตถุประสงค์
๓.๑ ……………………………………………………………….………………………………………………………………….
๓.๒ ………………………………………………………………………………………………………………………………..…
๓.๓ …………………………………………………………………….……………………………………………………………
๔. เปา้ หมาย
๔.๑ เชงิ ปรมิ าณ…………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๔.๒ เชงิ คณุ ภาพ…………………………………………………………………………..……………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
๕. วิธีดําเนนิ งาน
๕.๑………………………………………………………………………………………………………………………………..
๕.๒…………………………………………………………………………………………………
๕.๓…………………………………………………………………………………………………
๖. สถานที่
……………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………..……………………………………….……………………
๗. ระยะเวลา
………………………………………………………………………………………………………………..
๘. งบประมาณ
…………………………………………………………………………………………..……………………
…………………………………………………………………………………………..……………………
๙. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ/โครงงาน
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..…
๑๐. หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………….
๑๑. การประเมนิ ผล
๑๑.๑ ………………………………………………………………………………………………
๑๑.๒ ………………………………………………………………………………………………
๗๘
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพติด
๑๒. ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ
๑๒.๑ ………………………………………………………….……………………………………
๑๒.๒ …………………………………………………………………….…………………………
๑๒.๓ ……………………………………………………………………………….………………
ลงชื่อ…………………………………ผูเ้ สนอโครงการ/โครงงาน
(…………………………………)
ลงชอื่ …………………………………ทป่ี รกึ ษาโครงการ/โครงงาน
( …………………………………)
ลงช่ือ…………………………………ผู้เหน็ ชอบโครงการ/โครงงาน
(…………………………………)
ลงชอื่ …………………………………ผู้อนมุ ัติโครงการ/โครงงาน
(…………………………………)
๗๙
ค่มู ือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสอื ตา้ นภัยยาเสพตดิ
แบบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
เร่ือง การจัดทาํ โครงการ/โครงงาน
ชอื่ กลุม่ ……………………………………………………………….………………………………………..
ข้อ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ๑
๔๓๒
๑ การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ
๒ ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์
๓ ความถูกต้องของการจัดทําโครงการ/โครงงาน
๔ วธิ ีการนาํ เสนอ
๕ ความเป็นไปได้ของโครงการ
รวม
………………………………
(……………………………)
ผกู้ ํากับลูกเสอื
เกณฑ์การประเมินผล
รายการที่ประเมิน ระดับคณุ ภาพ / คะแนน
๑. การมีสว่ นร่วมของ
สมาชิก ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)
๒. ความคิดรเิ ริม่ ทกุ คนมีส่วนร่วม สมาชิก ๓ คนขน้ึ ไป
สรา้ งสรรค์ สมาชกิ ๑ คนไม่ได้มี สมาชกิ ๒ คนไม่ได้มี ไม่ได้มีส่วนรว่ ม
๑. ใหม่ไมซ่ ้าํ ใคร ปฏบิ ัติไม่ได้เลย
๓. ความถูกตอ้ งของ ๒. มปี ระโยชน์ สว่ นรว่ ม สว่ นร่วม
การจดั ทาํ โครงการ/ ๓. ประยุกต์เป็นรูปแบบ ผิด ๕ ข้อขนึ้ ไป
โครงงาน ใหม่ ปฏบิ ัติได้ ๒ ข้อใน ๓ ปฏบิ ตั ไิ ด้ ๑ ข้อใน ๓
๔. วิธีการนาํ เสนอ ถกู ตอ้ งทกุ ข้ันตอนตาม ปฏบิ ตั ิได้ ๑ ข้อ
แนวทางการจัดทํา ขอ้ ข้อ
๑. ความเป็นไปไดข้ อง โครงการ/โครงงาน ปฏิบัตไิ ด้ ๑ ข้อ
โครงการ/โครงงาน ๑. นําเสนอนา่ สนใจ ผิด ๑- ๒ ข้อ ผดิ ๒ – ๔ ข้อ
๒. เสียงดงั ฟงั ชดั เจน
๓. วาจาสุภาพ ปฏิบตั ิได้ ๓ ข้อ ปฏิบตั ิได้ ๒ ข้อ
๔. ตามกาํ หนดเวลา
๑. ปฏบิ ตั ิได้จรงิ ปฏิบตั ไิ ด้ ๓ ข้อ ปฏบิ ตั ิได้ ๒ ขอ้
๒. มีประโยชน์
๓. มีความคุม้ คา่
๔. ยดึ หลักเศรษฐกจิ
พอเพียง
๘๐
ค่มู ือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพติด
๘๑
ส่วนที่ ๓
กจิ กรรมเสนอแนะ
๘๑
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสือต้านภยั ยาเสพตดิ
๘๒
แนวทางการจดั ตัง้ หนว่ ยลกู เสือต้านภยั ยาเสพตดิ ในสถานศึกษา
การจัดตงั้ กองลกู เสือ - เนตรนารใี นสถานศึกษา
การจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา ตามหลักสูตรท่ีสถานศึกษากําหนด
ควรดําเนินการให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๐๙ ผู้บริหารโรงเรียน และผู้รับผิดชอบกิจกรรมลูกเสือ ควรสํารวจข้อมูลลูกเสือ - เนตรนารี และ
ดาํ เนนิ การดังน้ี
๑. รับสมัครนักเรียน และรวบรวมจํานวนลูกเสือ - เนตรนารี แต่ละประเภท แล้วเขียนใบ
สมคั รเข้าเป็นลูกเสอื (ใช้แบบ ลส. ๓) ดงั น้ี
๑.๑ ลูกเสือสํารอง หมายถึงนักเรียนชายที่เรียนระดับช่วงช้ันท่ี ๑ ตามหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๓ ให้มจี ํานวน ๒-๖ หมู่ หมลู่ ะ ๔ - ๖ คน รวมท้ัง
นายหมู่และรองนายหมู่ด้วย (ข้อบังคับฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๗๒) กองลูกเสือสํารอง มีลูกเสือต้ังแต่ ๘ - ๓๖ คน
(ขอ้ บังคับ ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ข้อ ๖)
๑.๒ เนตรนารีสํารอง หมายถึงนักเรียนหญิงท่ีเรียนระดับช่วงช้ันท่ี ๑ ตามหลักสูตร
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๓ ให้มีจํานวน ๒-๖ หมู่ หมู่ละ ๔ - ๖
คน รวมท้ังนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย (ข้อบังคับ ฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๗๒) กองเนตรนารีสํารอง มีเนตรนารี
ตง้ั แต่ ๘ - ๓๖ คน
๑.๓ ลกู เสือสามัญ หมายถงึ นกั เรียนชาย ท่ีเรยี นระดับช่วงชั้นที่ ๒ ตามหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ – ๖ ให้มีใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ ระดับช่วงชันที่ ๒ คือ ป.๔ - ป.๖ จํานวน ๒ - ๖ หมู่ หมู่ละ ๖ - ๘ คน รวมท้ังนายหมู่
และรองนายหมู่ด้วย (ข้อบังคับ ฯ ฉบับที่ ๑๓ พ.ศ. ๒๕๒๕ ข้อ ๘๔) กองลูกเสือสามัญ มีลูกเสือตั้งแต่
๑๒ - ๔๘ คน (ขอ้ บังคับ ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ข้อ ๖)
๑.๔ เนตรนารีสามัญ (เดิม ใช้หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. ๒๕๓๓) คือ ป.๕ - ป.๖ ปัจจุบันใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ระดับช่วงช้ันที่
๒ คือ ป.๔ - ป.๖) จํานวน ๒ - ๖ หมู่ หมู่ละ ๖ - ๘ คน รวมท้ังนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย กองเนตรนารี
สามญั มีเนตรนารีตง้ั แต่ ๑๒ - ๔๘ คน
๑.๕ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ระดับ ช่วงชั้นท่ี ๓ คือ ม.๑ - ม.๓ จํานวน ๒ - ๖ หมู่ หมู่ละ
๔ - ๘ คน รวมท้ังนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มีลูกเสือตั้งแต่ ๘ - ๔๘ คน
(ขอ้ บังคบั ฯ ฉบับท่ี ๑๔ พ.ศ. ๒๕๒๘)
๑.๖ เนตรนารสี ามัญรุน่ ใหญ่ ระดบั ช่วงชั้นที่ ๓ คือ ม.๑ - ม.๓ จํานวน ๒ - ๖ หมู่ หมู่ละ
๔ - ๘ คน รวมทัง้ นายหม่แู ละรองนายหมดู่ ว้ ย กองเนตรนารีสามญั รุน่ ใหญ่ มเี นตรนารีต้งั แต่ ๘ - ๔๘ คน
๒. เร่มิ ทําการสอนวิชาลกู เสอื -เนตรนารี ตามหลกั สตู รกําหนด (รายละเอยี ดในบทท่ี ๓)
๓. มีผู้บังคับบัญชาท่ีผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้กํากับลูกเสือประเภทนั้นๆ อย่างน้อยขั้นความรู้
เบื้องต้น ๑ คน ทําหน้าท่ีเป็นผู้กํากับกับ มีรองผู้กํากับอีก ๑ คนข้ึนไปเป็นผู้ช่วย (วิธีปฏิบัติของสํานักงานฯ
กลุ่มลูกเสือ ๑ กลมุ่ มีกรรมการกลมุ่ ไม่เกนิ ๔๐ คน และ กองลกู เสอื ๑ กอง มีรองผูก้ ํากับไม่เกิน ๑๐ คน )
๔. ดาํ เนินการขออนุญาตโดยกรอกลงแบบคาํ ขอ ต่อไปน้ี แบบละ ๓ ชดุ
๔.๑ ล.ส.๑ ใบคํารอ้ งขอตั้งกลุม่ ลกู เสือหรอื กองลูกเสือ
๔.๒ ล.ส.๒ ใบสมคั รขอเป็นผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ
๘๒
ค่มู อื การฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือต้านภยั ยาเสพตดิ
๘๓
๔.๓ ทําหนังสือนําของผู้บังคับบัญชา/ผู้ขออนุญาต ส่ง ผ่านหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อ
ขออนุญาตต่อผู้มีอํานาจแต่งต้ังแล้วแต่กรณี ถึง เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแห่งชาติ หรือ ผู้อํานวยการ
ลูกเสือจังหวัด ส่งใบแต่งต้ังให้เป็นเจ้าหน้าท่ีลูกเสือ (ลส.๑๓) ตําแหน่ง ผู้กํากับ หรือ รองผู้กํากับ มาให้
โรงเรยี น
๕. เม่ือได้รับอนุมัติให้ต้ังกองได้แล้ว ให้ทําพิธีเข้าประจํากองและจัดกิจกรรม การเรียนการ
สอนตามปกติ อย่างต่อเน่ือง ( โรงเรียนจะได้รับ ลส.๑๑ หรือ ลส.๑๒ ให้ต้ังกลุ่ม หรือกองลูกเสือ จาก
สํานักงานลกู เสือแห่งชาติ หรอื สาํ นักงานคณะกรรมการลกู เสือจงั หวดั )
กาํ หนดเกณฑก์ ารต้ังหน่วยลกู เสอื ต้านภัยยาเสพติดในสถานศึกษา
๑. สถานศึกษาต้องมีลูกเสือท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรต้านภัยยาเสพติด อย่างน้อย ๒ หมู่ ๆ
ละ ๔ - ๘ คน
๒. การผ่านเกณฑ์ใหไ้ ด้รบั เคร่อื งหมายลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ
๒.๑ ต้องผ่านการอบรมหลักสูตรลูกเสือตา้ นภัยยาเสพตดิ ๓ วัน ๒ คนื
๒.๒ ตอ้ งผ่านการทดสอบความรพู้ นื้ ฐานเรื่องยาเสพติด จากคณะกรรมการ
๒.๓ ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เรื่องยาเสพติด ร่วมกับ
สถานศึกษา ครอบครัว และชุมชน หรอื มสี ว่ นรว่ มกิจกรรมสาธารณประโยชน์ อย่างน้อย ๓ กิจกรรม
๒.๔ ผู้บงั คบั บญั ชาลกู เสอื ตา้ นภยั ยาเสพติดรบั รองผลการปฏบิ ตั งิ าน
๓. ต้องมีผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสอื หนว่ ยลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติดในโรงเรียนอยา่ งนอ้ ย ๑ คน
๔. ต้องมคี วามเลอื่ มใสในบทบาทหน้าท่ีของลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ
๕. เครอื่ งหมายลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพติดต้องไดก้ ารรบั รองจากสํานักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ
๘๓
คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภยั ยาเสพตดิ
ภาคผนวก
๘๔
คู่มือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสือประชาธิปไตย
เครื่องหมายประกอบเครอ่ื งแบบลกู เสอื ต้านภัยยาเสพตดิ
มีลักษณะเป็นรูปสี่เหล่ียมขนาดกว้าง ๑.๕ นิ้ว ยาว ๒ น้ิว ตรงกลางเป็นเคร่ืองหมายวงกลมล้อมรอบ
คําวา่ DRUGS” ซ่ึงมเี ครื่องหมายเสน้ ทแยงทับ และหน้าเสือ ประดบั ที่อกเสอ้ื ด้านขวาเหนือกระเปา๋
๘๕
คมู่ ือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื ประชาธปิ ไตย
คณะผ้จู ัดทํา
รองปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายนิวัตร นาคะเวช) ท่ปี รกึ ษา
ดร.คงศกั ด์ิ เจริญรักษ์ ท่ปี รกึ ษา
ผู้อาํ นวยการสํานักการลกู เสอื ยวุ กาชาด และกิจการนกั เรยี น ท่ีปรกึ ษา
ผอู้ ํานวยการสํานักเลขาธิการ สํานักงานลกู เสอื แห่งชาติ ท่ีปรกึ ษา
คณะทํางาน
๑. นางวรรณภา พรหมถาวร ผเู้ ช่ยี วชาญสํานกั การลกู เสือฯ ประธาน
๒. นายสมหมาย วีระชิงชัย รองประธาน
๓. นายธนกฤต จนั ทรลาภ หัวหนา้ กล่มุ ฯ ลูกเสอื
สบย ๑๒ รองประธาน
๔. นายวริ ตั น์ พรมพลิ า
๕. นายอรรณพ จูจนั ทร์ โรงเรียนบา้ นหนองน้ําขุ่น คณะทาํ งาน
สพป.เชยี งราย ๔ คณะทํางาน
๖. นายถนอมศักด์ิ คล้ายเผา่ พงษ์
สพม.กทม.๓ คณะทํางาน
๗. นางสาวสกลุ วรา ชนื่ คา้
๘. นายพรี พงษ์ อ่อนหวาน สาํ นกั การลูกเสือฯ คณะทํางาน
๙. นายสวุ รรณ ปลายแก่น สํานกั การลูกเสอื ฯ คณะทาํ งาน
๑๐. นางพัชนี นาคะนาท สาํ นกั การลูกเสอื ฯ คณะทํางาน
๑๑. นายอาสาห์ พรหมรักษ์ สาํ นกั การลกู เสอื ฯ คณะทาํ งาน
๑๒. นางสุวฒั นา ธรรมประภาส
๑๓. นายชชู พี ศรีราชา สํานักการลูกเสือฯ คณะทาํ งาน
๑๔. นายธีรวี สําราญศิลป์ สํานกั การลกู เสอื ฯ คณะทาํ งาน
๑๕. นางสาวอรอนงค์ ลาภภวู นารถ
๑๖. นางสาวพจนยี ์ สารพิ นั ธ์ โรงเรยี นวดั บา้ นกล้วย คณะทาํ งาน
๑๗. นายเกรียงศักด์ิ สิทธิเสน
๑๘. นายธาํ รงเกยี รติ แจมดวง โรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๐ คณะทาํ งาน
๑๙. นายอาํ นาจ สายฉลาด สาํ นักงาน ป.ป.ส. คณะทํางาน
๒๐. นางกลั ยาณี จยั สิน สาํ นักงาน ป.ป.ส. คณะทาํ งาน
๒๑. นางสกาวรตั น์ พยัคฆันตร์ สํานกั กิจการพเิ ศษ คณะทํางาน
๒๒. นางสาวชลธกิ าญจน์ ภมู ีศรี สาํ นกั การลูกเสอื ฯ คณะทาํ งานและเลขานุการโครงการ
สํานกั การลกู เสือ คณะทาํ งานและผูชว ยเลขานกุ ารโครงการ
สาํ นักการลูกเสอื ฯ คณะทาํ งานและผูช ว ยเลขานกุ ารโครงการ
สํานักการลกู เสอื ฯ คณะทาํ งานและผูชว ยเลขานกุ ารโครงการ
สํานกั การลูกเสือฯ คณะทาํ งานและผูช ว ยเลขานกุ ารโครงการ
๘๖
คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสอื ประชาธปิ ไตย