The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ “เยาวราช CREATIVE CULTURAL COMMUNITY”
โครงการวิจัย “การพัฒนาทุนทางศิลปะและวัฒนธรรมย่านเยาวราช”
ระยะเวลาดำเนินงานโครงการ 1 สิงหาคม 2562 – 15 มีนาคม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukphayodtakul_t, 2021-12-17 01:22:27

2564เยาวราช-CCC_Ebook

หนังสือ “เยาวราช CREATIVE CULTURAL COMMUNITY”
โครงการวิจัย “การพัฒนาทุนทางศิลปะและวัฒนธรรมย่านเยาวราช”
ระยะเวลาดำเนินงานโครงการ 1 สิงหาคม 2562 – 15 มีนาคม 2564

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

2

คณะทำ�ำ งาน
เยาวราช CREATIVE CULTURAL COMMUNITY

จััดพิิมพ์์โดย
สำำ�นักั งานบริิหารการวิจิ ัยั นวััตกรรมและการสร้า้ งสรรค์์
มหาวิิทยาลัยั ศิิลปากร วิิทยาเขตพระราชวังั สนามจันั ทร์์
6 ถนนราชมรรคาใน ตำ�ำ บลพระปฐมเจดีีย์์ อำำ�เภอเมืืองนครปฐม
จัังหวัดั นครปฐม 73000
โทรศััพท์์ 0-6162-84101
อีเี มล [email protected]

ที่่ป� รึึกษา
ศาสตราจารย์์ ดร.นันั ทนิติ ย์์ วานิชิ าชีวี ะ

บรรณาธิกิ าร
ศาสตราจารย์์ ดร.พรศัักดิ์์� ศรีอี มรศักั ดิ์์�

กองบรรณาธิกิ าร
รองศาสตราจารย์จ์ ัักรพันั ธ์์ วิิลาสินิ ีีกุุล
รองศาสตราจารย์์ ดร.อภิิรดีี เกษมศุขุ
รองศาสตราจารย์์ ดร.กรรณิิการ์์ สุธุ ีีรัตั นาภิิรมย์์
รองศาสตราจารย์์ ดร.ประสพชัยั พสุนุ นท์์
ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร.วีรี วัฒั น์์ สิิริเิ วสมาศ

ISBN 978-974-641-787-7
พิิมพ์์ครั้�งแรก รููปแบบหนังั สือื อิิเล็็กทรอนิิกส์์ กันั ยายน 2564

สงวนลิิขสิิทธิ์์�
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

3

คำ�ำ นำำ�

มหาวิิทยาลััยศิิลปากรได้้ดำำ�เนิินโครงการวิิจััยการพััฒนาเชิิงพื้�้นที่�่
ย่า่ นเยาวราช - เจริญิ กรุุง มาอย่า่ งต่่อเนื่่�องตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2561 เพื่่�อส่ง่ เสริมิ
การวิิจััยเชิงิ บููรณาการและการต่่อยอดงานวิิจััยเชิงิ ศิลิ ปะและวััฒนธรรมที่�่
เชื่่�อมโยงกับั พันั ธกิจิ การทำำ�นุบุ ำ�ำ รุุงศิลิ ปวัฒั นธรรมของมหาวิทิ ยาลัยั สำ�ำ หรับั
โครงการวิจิ ัยั “การพัฒั นาทุนุ ทางศิลิ ปะและวัฒั นธรรมย่า่ นเยาวราช” ภายใต้้
ชุุดโครงการ “มหาวิทิ ยาลัยั กับั การขับั เคลื่่�อนศิลิ ปะและวัฒั นธรรมเพื่่�อการ
พััฒนาเชิิงพื้�้นที่�่” ได้้ดำำ�เนิินการสร้้างความเข้้าใจในรากฐานความเป็็นมา
ของทุุนทางศิิลปะและวััฒนธรรมที่�่สำ�ำ คััญของย่่านเยาวราช เพื่่�อรัักษา
อััตลัักษณ์์วััฒนธรรมของพื้�้นที่�่ให้้ยัังคงดำำ�เนิินต่่อไปได้้ท่่ามกลางสภาวะ
การเปลี่�่ยนแปลงจากการพัฒั นาของเมืืองและการท่่องเที่�่ยวที่�่เติิบโตอย่า่ ง
รวดเร็็ว โดยการจััดการและพััฒนาอััตลัักษณ์์และมรดกศิิลปวััฒนธรรม
ของพื้� ้นที่�่ ผ่่านการบูู รณาการองค์์ ความรู้ �หลากหลายสาขาวิิ ชาภายใน
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร ทั้้�งด้้านศิลิ ปะและการออกแบบ สังั คมศาสตร์แ์ ละ
มนุุษยศาสตร์์ และวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี ตลอดจนดำำ�เนิินการ
จััดกิิจกรรมวิิจััยและงานสร้า้ งสรรค์์ที่�่เชื่่�อมโยงเข้า้ กัับพื้�น้ ที่�่แบบมีีส่ว่ นร่ว่ ม
กัับชุุมชนและเครืือข่า่ ย

ขอขอบคุณุ สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการส่ง่ เสริมิ วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และ
นวัตั กรรม (สกสว.) และสำ�ำ นักั งานการวิจิ ัยั แห่ง่ ชาติิ (วช.) ที่ใ�่ ห้ก้ ารสนับั สนุนุ
ทุุนวิิจััย หน่่วยงานภาครััฐและเอกชน และชุุมชนในพื้�้นที่�่ย่่านเยาวราช
รวมถึึงศิิลปิิน นัักออกแบบ ปราชญ์์ชุุมชน นัักวิิชาการ และคณะทำำ�งาน
ทุุกฝ่่ายที่�่ร่่วมกัันขัับเคลื่่�อนให้้โครงการวิิจััยสำ�ำ เร็็จไปได้้ด้้วยดีี เกิิดการนำ�ำ
ทุุนทางศิิลปะและวััฒนธรรมในพื้�น้ ที่�่ไปใช้เ้ ป็น็ แนวทางในการจััดการและ
พัฒั นามรดกศิลิ ปะและวััฒนธรรมด้้านต่่าง ๆ ทั้้�งรููปธรรมและนามธรรมที่�่
สร้า้ งประโยชน์์แก่่ชุุมชน สังั คม และเศรษฐกิิจอย่า่ งยั่่�งยืืนต่่อไป

(ศาสตราจารย์์ ดร.นัันทนิิตย์์ วานิิชาชีีวะ)
รองอธิกิ ารบดีีฝ่า่ ยวิิจััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร
หััวหน้้าโครงการวิิจััย

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

4

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

5

06 บทนำำ� 14 เยาวราช
แต่่กาลก่่อน

20 ตามหาคุุณค่า่ แท้้ ปักั หมุดุ
‘แผนที่่�วัฒั นธรรมเยาวราช’

30 อาคารและสิ่่ง� ก่่อสร้า้ งที่่ม� ีี
คุุณค่่าทางวัฒั นธรรมสููง

33 ‘โคมไฟจีีน ชุมุ ชนเจริิญไชย’
ต่่อยอดสู่่�ผลิิตภัณั ฑ์ว์ ัฒั นธรรม

43 ‘ศิลิ ปะบนฝาท่อ่ ’ หมุดุ หมาย
ทางวัฒั นธรรม สื่่อ� สารย่า่ นเก่า่

48 รสชาติแิ ห่่งเยาวราช
ศาสตร์์และศิิลปะในวััฒนธรรมอาหาร

58 ฝุ่่น� ควัันและ ‘ศาลเจ้้า’
สานต่อ่ ลมหายใจเยาวราช

64 เยาวราชท่่ามกลางการเปลี่่ย� นแปลงของยุคุ สมััย
บููรณาการงานวิิจััยบนฐานทุนุ ทางวััฒนธรรม

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

6

บทนำ�ำ

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

7

“ประเทศไทยมีีทุุนทางสัังคมที่่�ดีีอยู่่�มากมาย
สามารถนำ�ำ มาเกื้้อ� กููลให้้คนไทยมีีวิถิ ีชี ีีวิติ
ความเป็น็ อยู่่�ที่่�ดีีขึ้น�้ ทั้้�งยังั ช่ว่ ยสนัับสนุนุ
การพัฒั นาเศรษฐกิจิ สัังคม การเมือื ง
การปกครอง และการสร้้างความอยู่่�ดีมี ีีสุุข
ให้ก้ ัับคนไทยอย่า่ งยั่่ง� ยืืนบนพื้�้นฐานของ
ความสมดุลุ ”

การพััฒนาทุุนทางสัังคมเป็็นเรื่่�องสำ�ำ คััญในการพััฒนาคนและ
สังั คมไทยให้ส้ ามารถก้า้ วสู่่�สังั คมความรู้�ให้เ้ ท่า่ ทันั ท่า่ มกลางสถานการณ์์
ที่�่เปลี่�่ยนแปลงอย่่างรวดเร็็วในสัังคมโลก เนื่่�องจากประเทศไทยมีีทุุน
ทางสัังคมที่�่ดีีอยู่่�มากมาย สามารถนำำ�มาเกื้�้อกููลให้้คนไทยมีีวิิถีีชีีวิิต
ความเป็น็ อยู่่�ที่ด�่ ีีขึ้้น� ทั้้�งยังั ช่ว่ ยสนับั สนุนุ การพัฒั นาเศรษฐกิจิ สังั คม และ
การเมืืองการปกครองของประเทศไทย โดยเฉพาะการนำำ�ทุนุ ทางศิลิ ปะ
และวััฒนธรรม ซึ่�่งมีีอยู่่�มากมายทุุกพื้�้นที่�่ทั่่�วประเทศไทยมาเป็็นกลไก
ในการพััฒนาสัังคม ทั้้�งนี้้�เพื่่�อการคงอยู่่�ของวััฒนธรรมและการสร้้าง
ความอยู่่�ดีีมีีสุขุ ให้ก้ ัับคนไทยอย่า่ งยั่่�งยืืนบนพื้�น้ ฐานของความสมดุลุ ทั้้�ง
มิติ ิิเศรษฐกิิจ สังั คม ทรัพั ยากรธรรมชาติิ และสิ่่ง� แวดล้้อม ภายใต้้บริบิ ท
การเปลี่�่ยนแปลงต่่าง ๆ ที่�่จะเกิิดขึ้้�นในอนาคต อย่่างไรก็็ตามจากการ
ประเมิินสถานการณ์์ทุุนทางศิิลปะและวััฒนธรรมของประเทศไทย
พบว่่ายัังขาดการอนุุรัักษ์์ ฟื้� ้นฟูู พััฒนา ต่่อยอดอย่่างเป็็นระบบอย่่าง
จริิงจััง อีีกทั้้�งยัังขาดการบริิหารจััดการที่�่ดีี ซึ่�่งส่่งผลต่่อวิิถีีชีีวิิตและ
ความเจริญิ รุ่�งเรืืองของสังั คมไทย

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

8

มหาวิิทยาลััยศิิลปากรในฐานะมหาวิิทยาลััยที่�่มีีบทบาทเด่่นชััดในด้้านศิิลปะและวััฒนธรรมได้้
เล็็งเห็็นความสำ�ำ คััญของการพัฒั นาทุนุ ทางสังั คม โดยเฉพาะอย่า่ งยิ่่ง� ในมิิติิของศิิลปะและวััฒนธรรม จึึงได้้
รวบรวมนัักวิิจััยที่�่มีีความสนใจร่ว่ มกััน โดยมีี ศาสตราจารย์์ ดร.พรศักั ดิ์์� ศรีอี มรศักั ดิ์์� อดีีตรองอธิกิ ารบดีี
ฝ่า่ ยวิชิ าการและวิจิ ัยั มหาวิทิ ยาลัยั ศิลิ ปากร เป็น็ แกนนำ�ำ ภายใต้ก้ ลุ่่�ม “เมืืองวัฒั นธรรมสร้า้ งสรรค์์ (Creative
Cultural City หรืือ CCC)” ซึ่�่งประกอบด้้วยนัักวิิจััยในหลากหลายสาขาวิิชา ทั้้�งในด้้านประวััติิศาสตร์์
โบราณคดีี การพัฒั นาเมืือง ศิลิ ปะ การออกแบบ อาหาร สิ่่ง� แวดล้้อม วิิทยาศาสตร์์ การสื่่�อสารมวลชน และ
วิิทยาการจััดการ มาร่่วมกัันคิิด วิิเคราะห์์ ถกแถลง แลกเปลี่�่ยนแนวคิิด เพื่่�อนำำ�ไปสู่่�การเสนอแนวทาง
การศึึกษาวิิจััย การลงพื้�้นที่�่ การพบปะชุุมชนและผู้้�ประกอบการ และการหารืือกัับหน่่วยงานราชการที่�่
เกี่�่ยวข้อ้ ง ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2561

โจทย์แ์ รกที่�่กลุ่่�มเมืืองวััฒนธรรมสร้า้ งสรรค์์ได้้หยิบิ ยกขึ้้�นมาเป็น็ ต้้นแบบในการศึกึ ษา คืือ ชุุมชนใน
‘ย่่านเยาวราช’ ซึ่�่งเป็็นย่่านเก่่าแก่่ที่�่เป็็นส่่วนหนึ่่�งของพื้�้นที่�่นอกเขตกรุุงรััตนโกสิินทร์์ฝั่� ่งตะวัันออก
ย่า่ นเยาวราชยังั หลงเหลืือแหล่ง่ ศิลิ ปะและวัฒั นธรรมตกทอดมาจากอดีีต ตามตรอกซอกซอยต่า่ ง ๆ ล้ว้ นมีี
เส้น้ ทางแยกลัดั เลาะที่เ�่ ชื่่�อมชุมุ ชนเก่า่ แก่่ ศาสนสถาน อาคารที่ม�่ ีีคุณุ ค่า่ ทางประวัตั ิศิ าสตร์์ อันั มีีขนบประเพณีี
ความเชื่่�อ วิิถีีชีีวิิต ร้อ้ ยเรื่่�องราวของผู้้�คนที่�่ตั้้�งถิ่่�นฐานมาหลายยุุคหลายสมัยั และเมื่่�อรถไฟฟ้า้ สายสีีน้ำำ�เงิิน
(หัวั ลำ�ำ โพง-บางแค) ได้เ้ ปิดิ ให้บ้ ริกิ ารใน พ.ศ. 2562 เป็น็ ต้น้ มา โดยมีีเส้น้ ทางพาดผ่า่ นย่า่ นเยาวราช-เจริญิ กรุุง
มีีสถานีีสำ�ำ คััญ คืือ สถานีีวััดมัังกรและสถานีีสามยอด ทำำ�ให้้การเดิินทางเข้้ามาในย่่านนี้้�มีีมากขึ้้�น มีีการ
คาดการณ์ว์ ่า่ จะมีีนักั ท่อ่ งเที่ย�่ วรายย่อ่ ยเดินิ ทางเข้า้ มาเพิ่่ม� มากขึ้้น� ซึ่ง�่ จะทำ�ำ ให้เ้ กิดิ การสร้า้ งรายได้เ้ พิ่่ม� ขึ้้น� ด้ว้ ย
อย่่างไรก็็ตามรถไฟฟ้้าทำำ�ให้้เกิิดผลกระทบ คืือ การขายที่�่ดิิน ผลััดเจ้้าของและเกิิดโครงการพััฒนาที่�่ดิิน
ขนาดใหญ่่ ผู้้�อาศัยั รายใหม่โ่ ยกย้า้ ยเข้า้ มาและเกิิดผู้้�ประกอบธุุรกิิจแบบใหม่่ ในอีีกด้้านหนึ่่�งจะทำำ�ให้ช้ ุุมชน
ดั้้�งเดิิมสั่่�นคลอน การค้้า ประเพณีี และวิิถีีชุุมชนที่�่เป็็นอััตลัักษณ์์ของย่่านเยาวราช-เจริิญกรุุงที่�่เคยเป็็น
สิ่่�งดึึงดููดใจนัักท่่องเที่�่ยวและผู้้�คนทั่่�วไปให้้มาเยี่�่ยมเยืือนมีีแนวโน้้มจะเปลี่�่ยนแปลงไป การค้้าและบริิการ
แบบเดิิมที่�่ไม่่อาจแข่่งขัันเชิิงธุุรกิิจสมััยใหม่่ การย้้ายออกของชุุมชนเดิิมและการรื้�้อถอนอาคารเก่่าแก่่
จะเพิ่่ม� ขึ้้�น

ขอบเขตพนื้ ที่การศึกษา

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

9

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

10

จากการดำำ�เนิินงานภายใต้้ความร่่วมมืือระหว่่างชุุมชน ภาคเอกชน ธุุรกิิจและภาคีีเครืือข่่าย
อย่่างต่่อเนื่่�องในช่่วงเวลากว่่าสามปีี ทำำ�ให้้ทีีมนัักวิิจััยได้้ทราบปััญหา ความต้้องการ และศัักยภาพในการ
พััฒนาพื้�้นที่�่และชุุมชน และนำำ�ทุุนด้้านศิิลปะและวััฒนธรรมอัันเป็็นรากฐานดั้้�งเดิิมของชุุมชนไปพััฒนา
ต่่อยอด ผลจากการวิิจััยที่�่ผ่่านมาทำำ�ให้้เข้้าใจประเด็็นในการอนุุรัักษ์์ พััฒนา และต่่อยอดโดยการใช้้
มรดกวััฒนธรรมของชุุมชนเมืืองย่า่ นเยาวราช กล่่าวคืือ

1. อััตลักั ษณ์์เยาวราชที่่�ถููกลืืมเลืือน

เยาวราชคืือย่่านเก่่าแก่่ซึ่�่งเป็็นถิ่่�นฐานของคนจีีนโพ้้นทะเลที่�่เข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐาน ประกอบไปด้้วย

มรดกวััฒนธรรมที่�่ตกทอดมาตั้้�งแต่่อดีีตจนถึึงปััจจุุบันั มรดกวััฒนธรรมความเป็็นเยาวราชมีีความโดดเด่่น

เป็็นที่�่รู้�จััก ไม่่ได้้กำำ�เนิิดขึ้้�นได้้เพีียงชั่่�วพริิบตา แต่่ใช้้วัันเวลาในการสั่่�งสมและหล่่อหลอม และไม่่ได้้เกิิดขึ้้�น

เพีียงเพราะอาคาร สถานที่�่ อาหาร คนหรืือวิิถีีชีีวิิต หรืือสิ่่�งใด “โดยเฉพาะเมื่่�อรถไฟฟ้้ามาถึึง
สิ่่�งหนึ่่�งโดยเฉพาะ แต่่รวมทุุกสิ่่�ง ได้้แก่่ คน (People) สถานที่�่ ตลาดชุมุ ชนเก่า่ แก่่หายไป
(Place) วิิถีีชีีวิิต (Livelihood) ล้้วนประกอบสร้้างจนกลายเป็็น ที่่เ� หลือื อยู่่�บางส่ว่ นก็็แยกขาด
ชุุมชนและสังั คมขึ้้�นมา ชุุมชนเก่่าแก่่ล้้วนมีีทุนุ ทางวััฒนธรรมอััน ออกจากกันั คนแก่่แยกจาก
เป็็นมรดกตกทอดเป็็นรากฐาน เมื่่�อร้้อยเรีียงเชื่่�อมโยงเรื่่�องราว คนหนุ่�มสาว คนดั้้ง� เดิิมย้า้ ยออก
ของชุุมชนต่่อกันั จึึงกลายเป็น็ สังั คมและกลายเป็น็ ลักั ษณะเฉพาะ อาชีพี ดั้้ง� เดิมิ ขาดการสานต่อ่
ของย่่าน และถึึงแม้้ว่่าเยาวราชจะเป็็นที่�่รู้�จัักจากสื่่�อ โดยถููก ธุุรกิจิ ใหม่ค่ ืืบคลานแทนที่่�
นำำ�เสนอในภาพของร้า้ นอาหารนานาชนิดิ แหล่่งซื้�อ้ วััตถุดุ ิิบ และ ธุรุ กิิจเก่่าแก่่ คนคุยุ กัันต่อ่ หน้้า
ร้้านทองละลานตา แต่่ในมุุมตามตรอกซอกซอยต่่าง ๆ ยัังมีี น้อ้ ยลง สายสััมพันั ธ์ต์ ่่าง ๆ
ศาสนสถานที่�่เกาะกลุ่่�มกัันหนาแน่่นที่�่สุุดในกรุุงเทพมหานคร ล้้วนเจือื จางลง”
ยัังมีีโบราณสถานเก่่าแก่่ที่�่วางตััวเงีียบสงััดท่่ามกลางเรืือนแถว
ของคนเฒ่่าคนแก่่ที่�่อยู่่�อาศััยกัันเงีียบเชีียบ ประหนึ่่�งว่่าไม่่ได้้อยู่่�
ในย่่านคึึกคัักที่�่สุุดแห่่งหนึ่่�งของกรุุงเทพมหานคร นอกจากนั้้�น
แม้้แต่่มรดกวััฒนธรรมเยาวราชที่�่สำ�ำ คััญบางอย่่างก็็กำำ�ลััง

สููญหายและถููกลืืมเลืือน โดยเฉพาะเมื่่�อรถไฟฟ้้าสถานีีวััดมัังกร

มาถึึง ตลาดชุุมชนเก่่าแก่่หายไป ที่�่เหลืืออยู่่�บางส่่วนก็็แยกขาด

ออกจากกััน คนแก่่แยกจากคนหนุ่่�มสาว คนดั้้�งเดิิมย้้ายออก

อาชีีพดั้้�งเดิิมขาดการสานต่่อ ธุุรกิิจใหม่่คืืบคลานเข้้ามาแทนที่�่

ธุุรกิิจเก่่าแก่่ คนคุุยกัันต่่อหน้้าน้้อยลง สายสััมพัันธ์์ต่่าง ๆ ล้้วน

เจืือจางลง คนลืืมประเพณีีการไหว้้เจ้้า ร้้านอาหารเก่่าแก่่ฝีีมืือ

คนเก่่าแก่่เยาวราชปิิดตััวลงไป งานฝีีมืือเก่่าแก่่ถููกลืืม ตึึกเก่่า

ริิมถนนเยาวราชที่�่มีีคุุณค่่าทางประวััติิศาสตร์์กลัับไม่่เคยมีีใคร

สังั เกตเห็น็

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

11

2. เยาวราชท่่ามกลางพลวััตแห่่งการเปลี่่ย� นแปลง

การเปลี่�่ยนแปลงนั้้�นมีีอยู่่�ตลอดเวลาตั้้�งแต่่อดีีตถึึงปััจจุุบันั โดยที่�่ไม่อ่ าจห้า้ มได้้ ความรู้้�สึกึ นึกึ คิิดของ
ผู้้�คนเก่่าแก่่ที่�่อยู่่�ที่�่นี่�ล่ ้้วนมีีความผููกพันั เพราะเป็็นพื้�น้ ที่�่ที่�่มีีความหมายมีีความทรงจำำ� แหล่่งก่่อเกิิดกำำ�เนิิด
บรรพบุุรุุษ เพีียงแต่่ในวัันนี้้�เมื่่�อทุุกสิ่่�งมีีการเปลี่�่ยนแปลง คำำ�ถามคืือ มรดกวััฒนธรรมที่�่อยู่่�ท่่ามกลางการ
เปลี่�่ยนแปลงนี้้จ� ะทำำ�อย่า่ งไรให้ด้ ำำ�รงอยู่่�และปรับั ตััวได้้ และด้้วยมรดกวััฒนธรรมอัันเป็น็ อััตลัักษณ์เ์ ยาวราช
ยัังไม่่ได้้รัับการสนัับสนุุนให้้เห็็นคุุณค่่า ว่่าแท้้ที่�่จริิงแล้้วมรดกวััฒนธรรมนี้้�คืือทุุนทางวััฒนธรรมที่�่สามารถ
นำ�ำ มาสร้า้ งสรรค์์ให้้เกิิดมููลค่่าทางเศรษฐกิิจได้้

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

12

3. เยาวราชประกอบไปด้ว้ ยกิจิ กรรมทางสังั คมในรููปแบบใหม่่
ผสมผสานกัับรููปแบบเก่า่

เช่่น การเกิิดขึ้้�นของสตรีีทฟู้้�ดในรููปแบบใหม่่ที่�่ไม่่ใช่่ของคนเยาวราชกลัับเป็็นที่�่รู้�จััก ร้้านคาเฟ่่
ทั้้�งร้า้ นกาแฟ ชา และขนมในรููปแบบใหม่เ่ ติิบโตขึ้้�นแทนที่�่ ร้า้ นค้้าส่ง่ เปลี่�ย่ นแปลงรููปแบบใหม่่ ศาลเจ้้าสร้า้ ง
ภาพลัักษณ์์ให้้สามารถประกอบพิิธีีทางออนไลน์์ คนกลุ่่�มใหม่่ผสมผสานกัับคนเยาวราชดั้้�งเดิิม สิ่่�งเหล่่านี้้�
คืือกิจิ กรรมทางสังั คมในรููปแบบใหม่ผ่ สานกับั รููปแบบเก่า่ อัันเป็น็ ปรากฏการณ์ท์ ี่�่เกิดิ ขึ้้�นของเยาวราชในช่ว่ ง
สิบิ กว่่าปีมี านี้้�

แท้้จริิงแล้้ว ปรากฏการณ์์ต่่าง ๆ ที่�่เกิิดขึ้้�นไม่่ได้้เกิิดขึ้้�นเฉพาะในชุุมชนใดชุุมชนหนึ่่�ง แต่่เป็็นการ
เปลี่�่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่�่ 21 คำำ�ถามที่�่เกิิดขึ้้�น คืือ เมื่่�อชุุมชนที่�่ประกอบกัันขึ้้�นมาเป็น็ ย่า่ นเก่่าแก่่
ล้้วนมีีเอกลัักษณ์์เฉพาะตััว และการเปลี่�่ยนแปลงที่�่เกิิดขึ้้�นทำำ�ให้้ความเป็็นย่่านมรดกวััฒนธรรรมค่่อย ๆ
เจืือจางและหายไป ช่่องว่่างหรืือความเหลื่่�อมล้ำำ�ในสัังคมขยายมากขึ้้�นทุุกวััน ในขณะเดีียวกัันทุุนทาง
วััฒนธรรมเหล่่านี้้�สามารถนำ�ำ มาผลิิตเพื่่�อให้้เกิิดการเรีียนรู้้� ต่่อยอด หรืือแม้แ้ ต่่สร้า้ งสรรค์์ให้้เกิิดมูลู ค่่าทาง
เศรษฐกิิจได้้ หากเพีียงเกิิดการตระหนัักและเรีียนรู้้�ถึึงรากฐานอย่่างเข้้าใจและสร้้างสรรค์์ โดยเฉพาะเมื่่�อ
คนในสังั คมมีีความเข้า้ ใจและรู้�จัักใช้ป้ ระโยชน์จ์ ากมรดกวััฒนธรรม ซึ่�ง่ เป็น็ ความแท้้ (Authentic) ของย่า่ น
จะทำำ�ให้้เกิิดความต้้องการเยี่�่ยมเยืือนจากผู้้�คนในถิ่่�นอื่่�น เกิิดการเคลื่่�อนไหวของผู้้�คน เศรษฐกิิจ และ
การท่่องเที่�่ยวในแหล่่งมรดกวััฒนธรรม เกิิดชีีวิิตชีีวาจากการสร้า้ งสรรค์์ ส่ง่ ผลให้ม้ ูลู ค่่าของทรัพั ย์ส์ ินิ มรดก
เพิ่่ม� สูงู ขึ้้�น

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

13

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

14

เยาวราช
แต่่กาลก่อ่ น

“ย่่านเยาวราชเป็น็ ‘ย่่านการค้า้ สำำ�คัญั ’
มาตั้้ง� แต่ส่ มััยแรกเริ่ม� กรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์
เนื่่อ� งจากเป็็นบริิเวณที่่ม� ีีชาวต่า่ งชาติิ
เข้้ามาตั้้ง� รกรากอยู่่�อาศัยั และมีกี าร
ดำำ�เนิินกิจิ การค้า้ ขายอย่า่ งต่่อเนื่่�อง
ซึ่ง�่ การเข้า้ มาของผู้ค�้ นต่า่ ง ๆ นำำ�ไปสู่�
การสร้า้ งวัฒั นธรรมอันั เป็น็ เอกลัักษณ์์
ของตนเองดังั ปรากฏให้้เห็น็ ในปัจั จุุบััน
รวมทั้้�งยัังเป็น็ พื้�้นที่่แ� ห่่งแรกที่่ไ� ด้้รัับการ
พััฒนาให้้ทัันสมััยสอดคล้้องกับั มิิติิทาง
ประวัตั ิิศาสตร์ท์ ี่่เ� กิดิ ขึ้น�้ ในแต่ล่ ะช่ว่ งเวลา”

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

15

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

16

บนถนนเส้น้ เดิิมที่�่ถูกู เปรีียบกับั มังั กรตััวเขื่่�อง ไม่เ่ พีียงเชื่่�อมต่อ่ อััตลักั ษณ์ท์ างวััฒนธรรมของชาวไทย
เชื้�้อสายจีีนในหลากหลายมิิติิ ยัังเดิินทางผ่่านกาลเวลาข้้ามยุุคข้้ามสมััยมาจนกลายเป็็นหน้้าหนึ่่�งของ
ประวััติิศาสตร์ช์ ุุมชนชาวจีีนบนแผ่น่ ดิินรัตั นโกสินิ ทร์์

ถนนเส้น้ นี้้�ได้้รับั การขนานนามแต่่แรกสร้า้ งเมื่่�อกว่่าร้อ้ ยปีที ี่�่แล้้วว่่า ‘ถนนเยาวราช’ ย้อ้ นจุุดตั้้�งต้้น
จากชุุมชนชาวจีีนเมื่่�อต้้นกรุุงรััตนโกสิินทร์์ที่�่รู้�จัักกัันในนาม ‘สำ�ำ เพ็็ง’ โดยในรััชสมััยของพระบาทสมเด็็จ
พระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว รััชกาลที่�่ 5 พระองค์์ทรงมีีพระราชดำำ�ริิให้้สร้้างถนนในอำำ�เภอสำ�ำ เพ็็งขึ้้�นเพื่่�อ
ส่ง่ เสริมิ การค้้าขายในท้้องที่�่ที่�่เจริญิ แล้้ว

แรกเริ่่ม� เดิิมทีีสมเด็็จฯ เจ้้าฟ้า้ กรมพระยานริศิ รานุวุ ััดติิวงศ์ก์ ราบบังั คมทูลู ว่่าจะสร้า้ งถนนโดยให้ช้ ื่่�อ
ว่่า ‘ถนนยุุพราช’ แต่่ภายหลัังโปรดเกล้้าฯ พระราชทานชื่่�อว่่า ‘ถนนเยาวราช’ และในวัันที่�่ 28 กุมุ ภาพันั ธ์์
พ.ศ. 2434 ได้้มีีพระบรมราชโองการให้้ออกประกาศกรมโยธาธิกิ ารแจ้้งให้้ราษฎรทราบว่่า มีีการตััดถนน
เยาวราชเนื่่�องจากมีีพระราชประสงค์จ์ ะให้บ้ ้า้ นเมืืองเจริญิ และเป็น็ ประโยชน์แ์ ก่ป่ ระชาชนทั่่�วไป ถนนเส้น้ นี้้�
มีีความยาวประมาณ 1,410 เมตร ใช้เ้ วลาสร้า้ งนานถึึง 8 ปีี คืือตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2435 - 2443

นัับแต่่นั้้�น ‘เยาวราช’ ได้้กลายเป็็นย่่านสำ�ำ คััญของกรุุงเทพฯ ที่�่ไม่่เพีียงบอกเล่่าเรื่่�องราวในอดีีต
ยังั เป็็นภาพสะท้้อนความหลากหลายทางวััฒนธรรมบนแผ่น่ ดิินสยาม และการปรับั ตััวของผู้้�คนท่่ามกลาง
การเปลี่�่ยนแปลงของยุุคสมััยได้้อย่า่ งน่า่ สนใจ

จากการศึกึ ษาพัฒั นาการย่า่ นเยาวราชแสดงให้เ้ ห็น็ ว่่าพื้�น้ ที่�่แห่ง่ นี้้เ� ป็น็ ‘ย่า่ นการค้้าสำ�ำ คััญ’ มาตั้้�งแต่่
สมััยแรกเริ่่�มกรุุงรััตนโกสิินทร์์ เนื่่�องจากเป็็นบริิเวณที่�่มีีชาวต่่างชาติิเข้้ามาตั้้�งรกรากอยู่่�อาศััยและมีีการ
ดำำ�เนิินกิิจการค้้าขายอย่่างต่่อเนื่่�อง ซึ่�่งการเข้้ามาของผู้้�คนต่่าง ๆ ก็็นำำ�ไปสู่่�การสร้้างวััฒนธรรมอัันเป็็น
เอกลักั ษณ์ข์ องตนเองดัังปรากฏให้เ้ ห็น็ ในปััจจุุบันั รวมทั้้�งยังั เป็น็ พื้�น้ ที่�่แห่ง่ แรกที่�่ได้้รับั การพัฒั นาให้ท้ ัันสมัยั

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

17

สอดคล้้องกัับมิิติิทางประวััติิศาสตร์์ที่�่เกิิดขึ้้�นในแต่่ละช่่วงเวลา ไม่่ว่่าจะเป็็นการพััฒนาโครงสร้้างพื้�้นฐาน
และการปรับั ปรุุงโครงสร้า้ งสาธารณูปู โภค กิิจกรรมและพลวััตที่�่เกิิดขึ้้�นภายในพื้�น้ ที่�่แห่ง่ นี้้�จึึงมีีวิิวััฒนาการ
และลำำ�ดัับการพััฒนาเมืืองสััมพัันธ์์กัับการเปลี่�่ยนแปลงของกรุุงรััตนโกสิินทร์์ในแต่่ละยุุคสมััย โดยแบ่่ง
พัฒั นาการของย่า่ นเยาวราชเป็น็ 3 ช่ว่ งเวลา คืือ

1. พัฒั นาการย่า่ นการค้้ายุุคแรกเริ่่ม� (พ.ศ. 2325 - 2394)
2 พัฒั นาการย่า่ นการค้้าสมัยั หลัังสนธิสิ ัญั ญาเบาว์์ริงิ (พ.ศ. 2394 - 2468)
3. พัฒั นาการย่า่ นการค้้าสมัยั ใหม่่ (พ.ศ. 2468 - ปััจจุุบันั )
ในความเห็็นของ รองศาสตราจารย์์ ดร.กรรณิิการ์์ สุธุ ีรี ัตั นาภิิรมย์์ คณะโบราณคดีี มหาวิิทยาลััย
ศิิลปากร ผู้้�ศึึกษา “การจััดการแผนที่่�ทางวััฒนธรรม (Cultural Mapping)” ภายใต้้โครงการวิิจััย
“การพัฒั นาทุนุ ทางศิิลปะและวััฒนธรรมย่า่ นเยาวราช” การแบ่ง่ ช่ว่ งเวลาของเยาวราช สามารถอธิบิ าย
ผ่า่ นมุมุ มองความเข้า้ ใจในรากเหง้้าและความเป็็นตััวตนของเยาวราชได้้ดัังนี้้�

“ช่ว่ งแรกคืือ รากฐานของความเป็น็ จีนี เป็น็ ยุุคของการตั้้�งถิ่่�นฐาน เริ่่ม� ต้้นจากชาวจีีนที่�่อพยพจาก
จีีนแผ่น่ ดิินใหญ่เ่ ข้า้ มาในกรุุงรัตั นโกสินิ ทร์์ ตั้้�งแต่่รัชั กาลที่�่ 1 -3 ต่่อเนื่่�องมาจนรัชั สมััยของพระบาทสมเด็็จ
พระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หัวั (รัชั กาลที่�่ 4) โดยเข้า้ มาตั้้�งรกรากอยู่่�อาศัยั ที่�่ย่า่ น ‘สามเพ็ง็ ’ (สำ�ำ เพ็ง็ ) ใกล้้แม่น่ ้ำำ�
เจ้้าพระยา ซึ่�ง่ เป็น็ เส้น้ ทางหลัักในการสัญั จรไปมาในอดีีต และด้ว้ ยคนจีีนเก่ง่ ในด้า้ นค้า้ ขาย ทำ�ำ ให้เ้ ริ่่ม� มีีการ
ค้้าขายจนกลายเป็็นย่่านการค้้าสำ�ำ คััญของกรุุงรััตนโกสิินทร์์ มีีการตั้้�งศาลเจ้้าจีีนและวััดหลายแห่่ง เช่่น
ศาลเจ้า้ เล่ง่ บ๊ว๊ ยเอี๊๊ย� ะ วัดั มังั กรกมลาวาส แต่ด่ ้ว้ ยสภาพของชาวจีีนอพยพสมัยั นั้้น� ที่ม�่ ีีเพีียงแต่เ่ สื่่�อผืืนหมอนใบ
ทำำ�ให้้ต้้องอยู่่�รวมกัันอย่า่ งหนาแน่น่ เกิดิ ความแออััด ความสกปรก จนกลายเป็น็ ที่�ม่ าของชื่่�อซอยต่า่ ง ๆ เช่น่
ตรอกป่า่ ช้า้ หมาเน่า่ ตรอกอาจม”

กระทั่่ง� ใน พ.ศ. 2433 พระบาทสมเด็จ็ พระจุลุ จอมเกล้า้ เจ้า้ อยู่่�หัวั (รัชั กาลที่�่ 5) เสด็จ็ ทอดผ้า้ พระกฐินิ
ณ วััดจัักรวรรดิิราชาวาส พระองค์์ทรงทอดพระเนตรเห็น็ ความสกปรก ประกอบกัับเกิิดเพลิิงไหม้บ้ ่อ่ ยครั้้�ง
จึึงมีีพระราชดำำ�ริิสร้้าง ‘ถนนเยาวราช’ มีีระยะทาง 1 กิิโลเมตร เป็็นถนนที่�่เริ่่�มต้้นจากคลองโอ่่งอ่่าง
ตรงข้า้ มป้อ้ มมหาไชย ตััดลงไปทางทิิศใต้้ บรรจบถนนจัักรวรรดิิ เรีียกว่่า ‘สี่่แ� ยกวััดตึึก’ ผ่า่ นถนนราชวงศ์์
เรีียก ‘สี่่�แยกราชวงศ์์’ ก่่อนไปบรรจบถนนเจริิญกรุุงก่่อนสิ้้�นสุุดที่�่วััดไตรมิิตรวิิทยาราม แต่่ด้้วยปััญหา
การเวนคืืนที่�่ดิิน ทำำ�ให้้ถนนที่�่สร้้างไม่่เป็็นเส้้นตรงมากนััก มีีลัักษณะคดเคี้้�ยวคล้้ายกัับมัังกร จากนั้้�นเริ่่�มมีี
การถมคลอง มีีตรอกซอกซอยเพิ่่ม� ขึ้้น� และมีีการปลูกู สร้า้ งตึึกสองชั้้น� ประดัับลวดลายปููนปั้้� น ตึึกแถวอาคาร
พาณิชิ ย์ห์ ลายชั้้�นที่�่ออกแบบด้้วยรููปทรงสมััยใหม่่

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

18

รองศาสตราจารย์์ ดร.กรรณิิการ์์ เล่่าว่่า เยาวราชช่่วงที่่� 2 คืือ
ความนำำ�สมััย พอมีีการตััดถนน สร้า้ งตึึก เริ่่ม� มีีคนหลากหลายเชื้�อ้ ชาติิทั้้�ง
ไทย จีีน และอิินเดีียเข้า้ มาตั้้�งรกรากมากขึ้้�น เกิิดการหลอมรวมวััฒนธรรม
ต่่าง ๆ มีีการค้้าขายสิินค้้าหลากหลายประเภท ทั้้�งสิินค้้าอุุปโภค-บริิโภค
ทั้้�งในและต่า่ งประเทศ เป็น็ ที่�ต่ ั้้�งของร้า้ นค้า้ ทองคำำ� ร้า้ นขายของสดของแห้ง้
รวมถึงึ วัตั ถุดุ ิบิ อาหารจีีนขึ้้น� ชื่่�อ เช่น่ ตลาดเล่ง่ บ๊ว๊ ยเอี๊๊ย� ะ ซึ่ง�่ มีีผู้้�คนมาจับั จ่า่ ย
ใช้้สอยจำำ�นวนมาก ต่่อมาในช่่วงหลัังยุุคสงครามเย็็น พ.ศ. 2475 เริ่่�มมีี
การพัฒั นาอย่า่ งมาก มีีการสร้า้ งอาคารสูงู 6 ชั้้�น 7 ชั้้�น และ 9 ชั้้�น ซึ่�ง่ ทั้้�ง
3 อาคารนี้้�เคยได้้ชื่่�อว่่าเป็็นอาคารที่�่สููงที่�่สุุดในประเทศไทย มีีร้้านนาฬิิกา
แห่ง่ แรก และเป็น็ ที่�่ตั้้�งของโรงภาพยนตร์ช์ ื่่�อดัังและทัันสมัยั รวมทั้้�งยังั มีีการ
ขายสินิ ค้้าแบรนด์์เนมจากต่่างประเทศ ถืือเป็น็ ย่า่ นธุุรกิิจและแหล่่งบันั เทิิง
ที่�่ทัันสมััยของกรุุงเทพมหานคร

“เยาวราชยุุคนั้้�นขึ้้�นชื่่� อว่่าเป็็นแหล่่งความเจริิญ เป็็นยุุคแห่่ง
ความรุ่�มรวย อาคารต่่าง ๆ มีีการปลููกสร้้างใหม่่และตกแต่่งตามลัักษณะ
ของสถาปััตยกรรมแบบ Art Deco เริ่่�มมีีร้้านขายทองใหญ่่ ๆ มากขึ้้�น
ร้้านทองที่�่เก่่าแก่่ที่�่สุุดคืือห้้างทองตั้้�งโต๊๊ะกััง ขณะที่�่สองฟากฝั่� ่งริิมถนน
เยาวราชเริ่่�มมีีห้้างสรรพสิินค้้า โรงแรมขนาดใหญ่่ และด้้วยพื้�้นเพของ
คนจีีนที่�่หาสิินค้้าเก่่ง ค้้าขายเก่่ง ทำำ�ให้้เป็็นย่่านที่�่ค้้าขายสิินค้้าแทบทุุก
ประเภท จนเป็็นที่�่กล่่าวขานว่่าหากใครต้้องการซื้�้อสิินค้้าอะไรก็็ต้้องมาที่�่
เยาวราช ที่�่สำ�ำ คััญถนนมัังกรแห่่งนี้้�ยัังเป็็นต้้นกำ�ำ เนิิดของบริิษััทยัักษ์์ใหญ่่
ระดับั ประเทศจำำ�นวนมาก”

เยาวราชช่่วงที่่� 3 คืือ ยุุคทุุนนิิยม ซึ่�่งก็็คืือยุุคปััจจุุบััน เริ่่�มมีีการ
ขยายธุุรกิิจการค้้าอย่า่ งเฟื่�่องฟูใู นช่ว่ ง พ.ศ. 2500 เป็็นต้้นมา สองฟากฝั่� ง่
ถนนกลายเป็็นย่่านธุุรกิิจการค้้า การเงิิน การธนาคาร และเป็็นแหล่่ง
ค้้าทองคำำ�ของประเทศ อีีกทั้้�งยัังเป็็นแหล่่งธุุรกิิจค้้าผ้้าที่�่มีีชื่่� อเสีียง
โดยเฉพาะผ้้าม้้วน เนื่่�องจากช่่วงนั้้�นยัังมีีความนิิยมในการตััดเย็็บเสื้�้อผ้้า
สำ�ำ หรับั สวมใส่่ มีีร้า้ นผ้า้ แพร รวมถึงึ ร้า้ นขายส่ง่ อุปุ กรณ์ฮ์ าร์ด์ แวร์ต์ ่า่ ง ๆ เช่น่
ลูกู บิดิ ประตูู บานพับั เครื่่�องจักั ร นอกจากนี้้ย� ังั มีีร้า้ นอาหารและวัตั ถุดุ ิบิ ขึ้้น� ชื่่�อ
ทั้้�งภััตตาคาร ร้า้ นอาหาร รถเข็น็ แผงลอย จนได้้รับั การขนานนามว่่าเป็็น
‘สวรรค์์ของนักั ชิมิ ’

ขณะเดีียวกันั ในเชิงิ กายภาพ พื้�น้ ที่เ�่ ยาวราชเองก็ป็ รับั เปลี่ย�่ นไปมาก
มีีสิ่่ง� ปลูกู สร้า้ งใหม่่ ๆ มีีการพัฒั นาโครงสร้า้ งพื้�น้ ฐาน โดยเฉพาะจุุดเปลี่�่ยน
ที่�่สำ�ำ คััญ อย่า่ งเช่น่ การก่่อสร้า้ งรถไฟฟ้า้ สายสีีน้ำ�ำ เงิิน การเปลี่�่ยนแปลงและ
ความเจริิญเหล่่านี้้�นำ�ำ มาซึ่�่งการเคลื่่� อนย้้ายผู้้�คนจำำ�นวนมาก และย่่อม
ส่ง่ ผลกระทบต่่อวิิถีีชีีวิิตชุุมชนเมืืองเก่่าของเยาวราชด้้วย

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

19

“กาลเวลา สัังคม และสภาพแวดล้้อมที่่เ� ปลี่่ย� นไป รวมถึึงการเข้้ามาของรถไฟฟ้้าสายสีนี ้ำำ�เงิิน
ล้้วนทำำ�ให้้เยาวราชเปลี่่�ยนแปลง ปััจจุุบัันเริ่่ม� เกิิดคนกลุ่่�มใหม่่ที่่�เคลื่่�อนย้้ายเข้้ามาขายของที่่�เยาวราช
เต็็มไปหมด ขณะที่่�คนเก่่าแก่่ดั้้�งเดิิมไม่่ได้้อยู่่�เยาวราช แต่่ยัังคงมีรี ้า้ นค้้าอยู่่�ที่่�นี่่� ร้า้ นค้้าส่่วนใหญ่่ต่่างก็็
ต้้องปรับั ตััว ร้า้ นไหนปรับั ตััวไม่ไ่ ด้้ก็็ค่่อย ๆ หายไป เช่น่ ร้า้ นขายผ้า้ ม้ว้ น จากเดิิมที่่ไ� ด้้รับั ความนิิยมมาก
พอมีเี สื้้�อผ้า้ แบรนด์์เนม เสื้้�อผ้า้ สำ�ำ เร็จ็ รููปเข้า้ มาขายมากขึ้้�น ร้า้ นค้้าก็็ค่่อย ๆ ซบเซาลงไป ส่ว่ นร้า้ นขาย
ผ้า้ แพรตอนนี้้ไ� ม่ม่ ีแี ล้้ว แต่่ก็็ยังั มีรี ้า้ นค้้าอีกี มากที่่ป� รับั ตััวได้้ เช่น่ ร้า้ นรองเท้้าสานที่่อ� ยู่่�คู่�เ่ ยาวราชมานาน
ปัจั จุุบันั ก็็เปลี่่ย� นเป็น็ ร้า้ นตััดรองเท้้าหนััง”

อย่า่ งไรก็็ดีี ในช่ว่ งเวลาแห่ง่ การเปลี่�่ยนผ่า่ น รองศาสตราจารย์์ ดร.กรรณิกิ าร์์ เชื่่�อว่่าคุณุ ค่่าสำ�ำ คััญ
ที่�่จะยัังคงความเป็็นเยาวราชไว้้ อัันดัับแรกคืือ คุุณค่่าทางด้้านความทรงจำำ� โดยเรื่่�องราวของเยาวราช
จะยังั คงมีีความหมายในชีีวิิตของผู้้�คนที่�่เคยตั้้�งถิ่่�นฐาน หรืือทำำ�อาชีีพอยู่่�ในพื้�น้ ที่�่แห่ง่ นี้้� สองคืือ คุณุ ค่่าของ
ความเป็น็ ตััวแทนของสังั คมในช่ว่ งเวลาหนึ่่�ง เพราะความเป็็นเอกลัักษณ์ข์ องทั้้�ง 3 ยุุคสมัยั ได้้กลายเป็็น
ภาพจำำ�ทางประวััติิศาสตร์์ เป็น็ รากฐานที่�่สั่่�งสมให้เ้ ยาวราชเป็น็ ย่า่ นที่�่เต็็มเปี่่� ยมด้้วยเสน่ห่ ์ข์ องเรื่่�องราวและ
อััตลัักษณ์ท์ ี่�่ดึึงดูดู ผู้้�คนจากทั่่�วสารทิิศให้้มาเยี่�ย่ มเยืือน

ทั้้�งนี้้� การศึึกษาเรื่่�องราวความเป็็นมาของย่่านเยาวราชผ่่าน “เราคงไม่่อาจต้้านทานการ
มิติ ิทิ างประวัตั ิศิ าสตร์แ์ ละโบราณคดีี ถืือเป็น็ การรวบรวมองค์ค์ วามรู้� เปลี่่�ยนแปลงของยุคุ สมัยั
ของย่่านเยาวราชให้้คงอยู่่� เป็็นเครื่่�องมืือที่�่ช่่วยให้้เกิิดความเข้้าใจ แต่ห่ วังั เพียี งว่า่ การจัดั ทำำ�
มรดกทางวััฒนธรรมต่่าง ๆ ในอดีีต ที่�่ตั้้�งอยู่่�ในพื้�น้ ที่�่ที่�่มีีความซับั ซ้อ้ น แผนที่่ท� างวัฒั นธรรม
มาหลายช่่วงเวลาจนพััฒนามาเป็็นย่่านเยาวราชในปััจจุุบััน รวมทั้้�ง จะช่ว่ ยบอกเล่่าสะท้้อนถึงึ
ยัังสามารถนำ�ำ องค์์ความรู้้�ที่�่ได้้มาปรัับประยุุกต์์เพื่่�อเผยแพร่่ได้้อย่่าง คุุณค่า่ ทางประวัตั ิศิ าสตร์์
สร้า้ งสรรค์์ มรดกทางวัฒั นธรรมที่่�
สืืบทอดกันั มากว่า่ 100 ปีี
“เราคงไม่อ่ าจต้้านทานการเปลี่�่ยนแปลงของยุุคสมัยั แต่่หวััง และรากเหง้้าวิถิ ีชี ีีวิิตของ
เพีียงว่่าแผนที่�่ทางวััฒนธรรมที่�่มหาวิิทยาลััยศิิลปากรจััดทำำ�ขึ้้�น คนเยาวราชให้ค้ นรุ่�นหลััง
จะช่่วยบอกเล่่าสะท้้อนถึึงคุุณค่่าทางประวััติิศาสตร์์ ความเก่่าแก่่ ได้้รับั รู้�้”
ของสถานที่�่ มรดกทางวััฒนธรรมที่�่สืืบทอดกัันมากว่่า 100 ปีี และ
รากเหง้้าวิิถีีชีีวิิตของคนเยาวราชให้ค้ นรุ่่�นหลัังได้้รับั รู้้� เป็น็ ข้อ้ มูลู ที่�่จะ
เป็น็ ประโยชน์ใ์ ห้แ้ ก่ห่ น่ว่ ยงานที่เ�่ กี่ย�่ วข้อ้ งได้ท้ ำ�ำ ความเข้า้ ใจถึงึ แก่น่ แท้้
ของเยาวราช ไม่่ได้้เห็็นเพีียงเปลืือกที่�่ห่่อหุ้้�มเยาวราชไว้้ เพื่่�อรัักษา
คุุณค่่าที่�่เป็็นอััตลัักษณ์์ของชุุมชนชาวจีีนที่�่มีีความยิ่่�งใหญ่่แห่่งนี้้�ไว้้
ไม่่ให้้เหลืือเพีียงตำำ�นานมัังกรที่�่เล่่าขาน และนำ�ำ ไปสู่่�การพััฒนา
เยาวราชอย่า่ งยั่่�งยืืน”

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

20

ตามหาคุณุ ค่่าแท้้
ปัักหมุุด ‘แผนที่่�
วัฒั นธรรมเยาวราช’

“แผนที่่ท� างวัฒั นธรรม หรือื Cultural Map
ถืือเป็น็ เครื่อ� งมืือสำำ�คััญในการอนุรุ ักั ษ์แ์ ละพัฒั นา
พื้�้นที่่� โดยจะมีกี ารสำำ�รวจและบันั ทึึกข้้อมููลของ
มรดกวัฒั นธรรมในท้้องถิ่่น� ทั้้ง� ที่่เ� ป็็นรููปธรรม
รวมถึงึ สิ่่�งที่่เ� ป็็นนามธรรม”

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

21

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

22

คุณุ รู้�จัักเยาวราชดีีแค่่ไหน? แม้ใ้ นสายตาของคนทั่่�วไป เยาวราช ยังั คงเป็น็ ย่า่ นเก่า่ แก่ท่ ี่�่เปี่่� ยมไปด้้วย
เสน่ห่ ์์ ทั้้�งกลิ่่�นอายศิลิ ปสถาปััตยกรรม วิิถีีชีีวิิตวััฒนธรรม อาหารสารพัดั ชนิิด โดยเฉพาะสตรีีทฟู้้�ดที่�่ดึึงดูดู
นักั ท่่องเที่�่ยวทั้้�งไทยและต่่างประเทศ รวมไปถึึงการเป็็นย่า่ นค้้าทองและย่า่ นธุุรกิิจที่�่สำ�ำ คััญ ทว่่าในสายตา
ของคนในพื้�้นที่�่แล้้ว ‘คุุณค่่าแท้้ของเยาวราช’ กำำ�ลัังค่่อย ๆ เลืือนหายไปทุุกทีี ทุุกวัันนี้้�หากถามถึึง
อััตลัักษณ์ข์ องความเป็็นชุุมชนชาวจีีน อาจต้้องใช้เ้ วลาไล่่เรีียงกัันนานทีีเดีียว

ท่่ามกลางการเปลี่�่ยนแปลงของเมืืองและการเปลี่�่ยนผ่่านของยุุคสมััย เพื่่�อค้้นหาอััตลัักษณ์์และ
สานต่อ่ จิติ วิญิ ญาณของเยาวราชไว้ก้ ่อ่ นที่จ�่ ะสูญู หาย รองศาสตราจารย์์ ดร.อภิริ ดีี เกษมศุขุ อาจารย์ป์ ระจำำ�
คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร และคณะทำำ�งาน ได้้จััดทำำ� แผนที่�่วััฒนธรรมย่่าน
เยาวราช ภายใต้้ “โครงการวิิจััยการพััฒนาทุุนทางด้้านศิิลปะและวััฒนธรรมย่่านเยาวราช” ของ
มหาวิิทยาลััยศิิลปากร ซึ่�ง่ เป็น็ การวิิจััยเชิงิ พื้�น้ ที่�่และเชิงิ สหวิิทยาการ ประกอบไปด้้วย 9 สาขา ได้้แก่่ สาขา
ศิลิ ปะ สาขาสถาปััตยกรรม สาขาโบราณคดีี สาขาการออกแบบ สาขาวิิทยาศาสตร์์ สาขาวิิศวกรรมศาสตร์์
สาขาวิิทยาการจััดการ สาขาวััฒนธรรมอาหาร และสาขาเทคโนโลยีีสารสนเทศและการสื่่�อสาร โดยได้้รับั
การสนับั สนุุนจากสำ�ำ นักั งานคณะกรรมการส่ง่ เสริมิ วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (สกสว.)

“เคยรู้้�มั้้�ยว่่าตึึกร้้านทองเยาวราชสวยมาก” รองศาสตราจารย์์ ดร.อภิิรดีี เอ่่ยถามเพราะรู้้�ดีีว่่า
คนส่ว่ นใหญ่แ่ ทบจะไม่เ่ คยแหงนหน้้าไล่่สายตาไปตามอาคารเหล่่านั้้�นแบบจริงิ ๆ จััง ๆ ทั้้�งที่�่ร้า้ นทองเป็น็
สถาปััตยกรรมที่�่สะท้้อนความเป็น็ เยาวราชได้้เป็น็ อย่า่ งดีี

“ยกตััวอย่า่ งร้า้ นทองตั้้�งโต๊๊ะกััง เป็น็ อาคาร 7 ชั้้�นมีีที่�่การออกแบบในสไตล์์โคโลเนีียลที่�่สวยงามมาก
และสร้้างมานานกว่่า 100 ปีีแล้้ว สิ่่�งที่�่มหาวิิทยาลััยศิิลปากรกำำ�ลัังทำำ�คืือ แผนที่�่วััฒนธรรมย่่านเยาวราช
เพื่่�อแสดงให้้เห็็นถึึงคุณุ ค่่าในด้้านต่่าง ๆ ที่�่มีีและปรากฎอยู่่�ในพื้�้นที่�่ย่า่ นเยาวราชในปััจจุุบันั โดยต้้องบอก

ได้้ว่่าทุุกวัันนี้้�เราเห็็นอะไรบ้้างในเยาวราช แล้้วสิ่่�งที่�่เห็็นอยู่่�นั้้�นมีี
ส่ว่ นไหนบ้า้ งที่ห�่ ลงเหลืือมาจากอดีีต และส่ว่ นไหนที่เ�่ ปลี่ย�่ นไปแล้ว้ ”

ปััจจุุบัันการทำ�ำ แผนที่่�ทางวััฒนธรรม หรืือ Cultural
Mapping ถือื เป็น็ เครื่่�องมือื สำ�ำ คััญในการอนุุรักั ษ์์และพัฒั นาพื้้�นที่่�
โดยมีีการสำ�ำ รวจและบัันทึึกข้้อมููลของมรดกวััฒนธรรมในท้้องถิ่่�น
ทั้้�งที่�่เป็็นรููปธรรม เช่่น อาคารที่�่มีีคุุณค่่าทางประวััติิศาสตร์์ วััดวา
อาราม ศาลเจ้้า ร้า้ นอาหาร พิพิ ิธิ ภััณฑ์์ หอศิิลป์์ ฯลฯ รวมถึึงสิ่่ง� ที่�่
เป็็นนามธรรม เช่น่ ความเชื่่�อ ตำำ�รับั อาหาร ความทรงจำำ� ฝีีมืือช่า่ ง
ฯลฯ ซึ่�ง่ ในการจััดทำำ�แผนที่�่และการประเมิินคุณุ ค่่าของอาคารและ
สถานที่�่ต่่าง ๆ นั้้�น ขั้้�นตอนแรก คืือ การกำำ�หนดเกณฑ์์คุุณค่่าทาง
ศิิลปะและวััฒนธรรม

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

23

รองศาสตราจารย์์ ดร.อภิิรดีี เล่า่ ว่่า คณะทำำ�งานได้้ศึกึ ษาทฤษฎีี
ที่�่เกี่�่ยวข้อ้ งทางสถาปััตยกรรมและชุุมชนเมืือง รวมถึึงแนวทางต่่าง ๆ
ที่�่เคยมีีการดำำ�เนิินการมาก่่อน เช่่น เกณฑ์์จากกฎบััตรของ UNESCO
เกณฑ์์ของ ICOMOS เกณฑ์์กรมศิิลปากร รวมถึึงเกณฑ์์ของสมาคม
สถาปนิกิ สยามเรื่่�องอาคารอนุรุ ักั ษ์์ เพื่่�อใช้เ้ ปรีียบเทีียบและจัดั ทำำ�เกณฑ์์
กำำ�หนดคุุณค่่าทางศิิลปะและวััฒนธรรมทั้้�งที่�่จัับต้้องได้้และจัับต้้อง
ไม่ไ่ ด้้ในการจััดทำำ�แผนที่�่วััฒนธรรมย่า่ นเยาวราช ซึ่�ง่ กำำ�หนดออกมาได้้
‘4 คุณุ ค่่าหลััก และ 10 คุุณค่่าย่อ่ ย’ ทั้้�งนี้้�ถืือเป็็นตััวชี้้�วััดด้้านคุณุ ค่่า
ที่�่จััดทำำ�ขึ้้�นใหม่ใ่ นประเทศไทยและไม่เ่ คยใช้ท้ ี่�่ไหนมาก่่อน

“คุณุ ค่่าหลััก 4 ด้้าน ได้้แก่่ คุณุ ค่่าทางสุนุ ทรียี ภาพ (Aesthetic
Value) คุุณค่่าทางประวััติิศาสตร์์ (Historic Value) คุุณค่่าทาง
วิิทยาการและการศึกึ ษา (Scientific Zalue) และคุุณค่่าทางสัังคม
(Social Value) ส่ว่ นคุณุ ค่่าย่อ่ ย 10 ด้้าน ได้้แก่่ ด้้านศิลิ ปกรรม (Art)
ด้้านสถาปััตยกรรม (Architecture) ด้้านผัังบริิเวณ (Landscape)
ด้้านเอกลัักษณ์์ (Characteristic) ด้้านหลัักฐานเชิิงประวััติิศาสตร์์
(Heritage) ด้้านความแท้้ดั้้�งเดิิม (Authenticity) ด้้านความหายาก
(Rarity) ด้้านการเปลี่�่ยนแปลง (Evolution) ด้้านความผููกพัันกัับ
ท้้องถิ่่�น (Locality) และด้้านความต่่อเนื่่� องในการใช้้อาคารตาม
ประโยชน์์ใช้ส้ อยเดิิม (Functional Continuity)”

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

24

เมื่่�อได้้เกณฑ์์เพื่่�อกำำ�หนดคุุณค่่าทางศิิลปะและวััฒนธรรมแล้้ว การสำ�ำ รวจและประเมิินอาคารและ
สิ่่ง� ก่่อสร้า้ งในพื้�น้ ที่�่ได้้เริ่่ม� ต้้นขึ้้�น โดยคณะทำำ�งานลงพื้�น้ ที่�่เก็็บข้อ้ มูลู ถ่่ายภาพการใช้ป้ ระโยชน์์พื้�น้ ที่�่ภายใน
อาคารตั้้�งแต่่ชั้้�นที่�่ 1 - 5 ตามคุณุ ค่่าทั้้�ง 10 ด้้าน นอกจากนี้้�ยังั สอบถามพูดู คุยุ กัับผู้้�นำ�ำ ชุุมชน คนที่�่เข้า้ มา
อาศััยหรืือค้้าขายในพื้�้นที่�่เยาวราชเกี่�่ยวกัับอาคาร สิ่่�งก่่อสร้้าง พื้�้นที่�่ หรืือองค์์ประกอบที่�่คิิดว่่ามีีคุุณค่่าใน
ย่า่ นเยาวราช

“เวลาทีีมสำ�ำ รวจลงพื้�้นที่�่จะเก็็บชื่่�ออาคารทุุกอาคารที่�่อยู่่�ในพื้�้นที่�่ศึึกษา เก็็บประโยชน์์การใช้้ที่�่ดิิน
ตามเกณฑ์์คุุณค่่าทั้้�ง 10 ด้้าน โดยแต่่ละด้้านจะประเมิินเป็็นคะแนน 1, 2 และ 3 เทีียบเท่่าคุุณค่่าน้้อย
ปานกลาง และมาก ตััวอย่่างการประเมิินคุุณค่่าอาคาร เช่่น ด้้านความต่่อเนื่่�องในการใช้้อาคารตาม
ประโยชน์์ใช้้สอยเดิิม อาทิิ ร้้านเอี๊๊�ยะเซ้้ง ซึ่�่งตั้้�งอยู่่�บริิเวณหััวมุุมถนนมัังกร เป็็นร้้านโชว์์ห่่วยเก่่าแก่่ที่�่เปิิด
มานานกว่่า 80 ปีี แบบนี้้�จะประเมิินคะแนนเท่่ากัับ 3 เพราะถืือว่่ามีีคุณุ ค่่าสูงู มาก”

ทั้้�งนี้้อ� าคารและสิ่่ง� ก่อ่ สร้า้ งในเยาวราชที่ค�่ ณะทำำ�งานสำ�ำ รวจในพื้�น้ มีีทั้้�งหมด 5,529 อาคาร โดยข้อ้ มูลู
ผลการสำ�ำ รวจทั้้�งหมดจะบัันทึึกและจััดทำำ�ในระบบแผนที่�่และข้้อมููลเชิิงภููมิิศาสตร์์ (Geographic
Information System - GIS) เพื่่�อที่�่จะนำ�ำ ไปใช้ศ้ ึกึ ษาวิิจััยต่่อไปในอนาคต

“เราเก็บ็ ข้อ้ มูลู กว่า่ 5,500 อาคาร จำำ�นวนอาคารละ 5 ชั้้น� ตามเกณฑ์ป์ ระเมินิ 10 ด้า้ น นั่่น� หมายความ
ว่่าจะมีีข้อ้ มูลู ผลการสำ�ำ รวจเกืือบ 280,000 ชุุด ที่�่ต้้องบันั ทึึกข้อ้ มููลและประมวลผล ถืือเป็น็ ข้อ้ มููลจำำ�นวน
มหาศาลและเป็็นข้อ้ มูลู ที่�่สำ�ำ คััญมากสำ�ำ หรับั จััดทำำ�แผนที่�่และข้อ้ มูลู เชิงิ ภูมู ิิศาสตร์ข์ องเยาวราช”

ไม่เ่ พีียงอาศัยั กระบวนการทำำ�งานเกี่ย�่ วกับั ข้อ้ มูลู เชิงิ พื้�น้ ที่�่ “เราเก็็บข้้อมููลกว่่า 5,500
ด้้วยระบบคอมพิิวเตอร์์ คณะทำำ�งานยัังได้้จััดการประชุุมเชิิง อาคาร หมายความว่า่ จะมีี
ปฏิิบััติิการร่่วมกัับผู้้�เชี่�่ยวชาญใน 9 สาขา เพื่่�อประเมิินผลและ ข้้อมููลผลการสำำ�รวจเกืือบ
สังั เคราะห์์คุณุ ค่่าในด้้านต่่าง ๆ เข้า้ ด้้วยกััน สำ�ำ หรับั จััดทำำ�แผนที่�่ 280,000 ชุุด ที่่ต� ้อ้ งบันั ทึึก
วััฒนธรรมย่า่ นเยาวราช ข้อ้ มููลและประมวลผล
ถือื เป็น็ ข้้อมููลจำำ�นวนมหาศาล
“คณะทำำ�งานตั้้�งเป้้าหมายจััดทำำ�แผนที่�่คุุณค่่าทางศิิลปะ และเป็็นข้อ้ มููลที่่�สำ�ำ คัญั มาก
และวััฒนธรรมพื้�้นฐาน 10 แผนที่�่ และแผนที่�่รวมคุุณค่่าอีีก สำ�ำ หรับั จััดทำ�ำ แผนที่่แ� ละข้อ้ มููล
หนึ่่�งแผนที่�่ แต่่ในเบื้�้องต้้นจากการเวิิร์์กชอปจะมีีการจััดทำำ� เชิงิ ภููมิศิ าสตร์์ของเยาวราช”
แผนที่�่วััฒนธรรม 4 แผนที่�่ ตามความสำ�ำ คััญที่�่คณะผู้้�วิิจััยเห็็นว่่า
ควรเผยแพร่ก่ ่อ่ น ได้แ้ ก่่ แผนที่ว�่ ัฒั นธรรมด้า้ นศาสนสถาน แผนที่�่
วััฒนธรรมด้้านอาชีีพและผลิิตภััณฑ์์ แผนที่�่ทางวััฒนธรรม
ด้้านวััตถุุดิิบอาหารเชิิงเทศกาล และแผนที่�่วััฒนธรรมด้้าน
ประวััติิศาสตร์”์

แผนที่่ว� ััฒนธรรมด้้านศาสนสถาน เป็น็ การรวบรวมศาสนสถานที่�่มีีอยู่่�จำำ�นวนมากและอยู่่�คู่่�กับั ย่า่ น
เยาวราชมายาวนาน ซึ่�ง่ มีีด้้วยกัันหลายประเภททั้้�ง วััดไทย วััดจีีน วััดญวน ศาลเจ้้าและมัสั ยิดิ ไม่น่ ับั รวมถึึง
ศาลเจ้้าที่�่มีีขนาดเล็็กมากหรืือศาลพระภููมิิประจำำ�พื้�น้ ที่�่ย่อ่ ย ๆ ที่�่มัักตั้้�งอยู่่�บริเิ วณท้้ายซอย ศาสนสถานใน
ย่า่ นนี้้ม� ักั เป็น็ อาคารที่�่สำ�ำ คััญมีีคุณุ ค่่าทางด้้านศิิลปะและวััฒนธรรมในหลาย ๆ ด้้าน รวมถึึงเป็น็ อาคารและ

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

25

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

26

สถานที่�่ที่�่เก่่าแก่่ มีีการก่่อสร้า้ งมาตั้้�งแต่่ในอดีีต หลายแห่ง่ ได้้รับั การบำ�ำ รุุงรักั ษาเป็น็ อย่า่ งดีีและมีีการใช้ง้ าน
มาอย่า่ งต่่อเนื่่�องยาวนาน เป็น็ ศููนย์ร์ วมทางสังั คมและจิิตใจของคนในเยาวราช

“ศาสนสถานแต่่ละที่�่จะมีีการประเมิินคุณุ ค่่าทางศิิลปะและวััฒนธรรม เช่น่ ศาลเจ้้าที่�่มีีคุณุ ค่่ามาก
ที่�่สุุดจะมีีคะแนนคุุณค่่าหลััก 4 ด้้าน ได้้แก่่ คุุณค่่าทางสุุนทรีียภาพ คุุณค่่าทางประวััติิศาสตร์์ คุุณค่่าทาง
วิิทยาการและการศึึกษา คุณุ ค่่าทางสัังคมสูงู ที่�่สุดุ เช่น่ วััดมัังกรกมลาวาส ศาลเจ้้ากวางตุ้้�ง แต่่แม้้บางวััด
หรืือศาลเจ้้าที่�่ไม่ม่ ีีคะแนนสูงู ครบทั้้�ง 4 ด้้าน ก็็อาจมีีความโดดเด่่นเฉพาะด้้าน เช่น่ อาจจะไม่ม่ ีีคุณุ ค่่าทาง
ศิิลปะเลย แต่่เป็็นสถานที่�่ศัักดิ์์�สิิทธิ์์�ที่�่เป็็นศููนย์์รวมใจของชุุมชน ซึ่�่งต้้องอาศััยการบููรณาการข้้อมููลในเชิิง
ประวััติิศาสตร์์ของพื้�้นที่�่และชุุมชนมาเสริิมกััน หรืือศาลเจ้้าบางศาลเจ้้าไม่่มีีคุุณค่่าทางสถาปััตยกรรม
แต่่ในเชิิงสัังคมและประวััติิศาสตร์์มีีคุุณค่่ามาก สิ่่�งเหล่่านี้้�สะท้้อนให้้เห็็นว่่าเพราะเหตุุใดการทำำ�แผนที่�่
ทางวััฒนธรรมจึึงต้้องจััดทำำ�ข้อ้ มูลู จำำ�นวนมาก ทั้้�งนี้้�ก็็เพื่่�อให้้นำำ�เสนอได้้ครอบคลุมุ ทุกุ มิิติิ”

สำ�ำ หรัับแผนที่�่วััฒนธรรมในด้้านอื่่�น ๆ รองศาสตราจารย์์ ดร.อภิิรดีี ขยายความว่่า แผนที่่�ทาง
วััฒนธรรมด้้านวััตถุดุ ิิบอาหารเชิิงเทศกาล แสดงถึึงย่า่ นการค้้าวััตถุุดิิบเพื่่�อนำ�ำ ไปประกอบอาหารในชีีวิิต
ประจำำ�วััน และในเทศกาลที่�่มีีความหมายและคุุณค่่าต่่อวััฒนธรรมของคนไทยเชื้�้อสายจีีน เช่่น เทศกาล
ตรุุษจีีน เทศกาลไหว้้พระจัันทร์์ เทศกาลกิินเจ ฯลฯ ซึ่�่งมีีความสำ�ำ คััญกัับทั้้�งผู้้�ที่�่อยู่่�ในย่่านเยาวราชและ
พื้�น้ ที่�่ใกล้้เคีียง จนถึึงคนไทยเชื้�อ้ สายจีีนที่�่อาศััยอยู่่�ทั่่�วประเทศไทย

“ส่ว่ นแผนที่่ว� ััฒนธรรมด้้านประวััติิศาสตร์์ คืือการรวบรวมอาคารและสิ่่ง� ก่่อสร้า้ งในย่า่ นเยาวราช
หลายแห่่งที่�่ก่่อสร้้างมานานเกิิน 170 ปีี อาคารเหล่่านี้้�เป็็นหลัักฐานด้้านประวััติิศาสตร์์ แสดงให้้เห็็นถึึง
พัฒั นาการของย่า่ นเยาวราช จากการขยายตััวของพื้�น้ ที่�่ริมิ แม่น่ ้ำำ�เจ้้าพระยาจนถึึงถนนเจริญิ กรุุงและถนน
อีีกหลายสายด้า้ นทิศิ เหนืือของถนนเจริญิ กรุุง อาคารและสิ่่ง� ก่อ่ สร้า้ งเหล่า่ นี้้� หลายอาคารมีีคุณุ ค่า่ ด้า้ นศิลิ ปะ
และวััฒนธรรม”

สุุดท้้ายแผนที่่�วััฒนธรรมด้้านอาชีพี และผลิิตภััณฑ์์ เป็็นการรวบรวมผลิิตภััณฑ์์สิินค้้าและอาชีีพ
สำ�ำ คััญของคนย่า่ นเยาวราชที่�่ยังั คงสืืบเนื่่�องจากอดีีตถึึงปััจจุุบันั เนื่่�องจากเยาวราชไม่เ่ พีียงเป็็นย่า่ นการค้้า
ที่�่เก่่าแก่่และเคยเป็น็ ศูนู ย์ก์ ลางธุุรกิิจและการค้้าของกรุุงเทพฯ และประเทศไทยในสมัยั หนึ่่�ง แต่่ยังั เป็น็ ย่า่ น
การผลิิตที่�่สำ�ำ คััญเพื่่�อสนัับสนุุนการค้้าด้้วย ซึ่�่งนัับวัันการค้้าและการผลิิตหลายประเภทเริ่่�มลดปริิมาณลง
และหายไปจากพื้�น้ ที่�่

“ตััวอย่่างอาชีีพที่�่เห็็นได้้ชััดและอยู่่�คู่่�เยาวราชมายาวนาน คืือ ร้้านทอง ซึ่�่งยัังเป็็นการค้้าหลัักของ
พื้�น้ ที่�่แห่ง่ นี้้� ส่ว่ นอาชีีพที่�่ใกล้้จะสูญู หายแล้้ว เช่น่ ร้า้ นทำำ�ตะเกีียงจีีน เป็็นงานโลหะ เหตุผุ ลที่�่เหลืืออยู่่�เพีียง
1 - 2 ร้้าน เพราะว่่าตะเกีียงเป็็นสิินค้้าที่�่ใช้้ได้้นานหลายสิิบปีี พอไม่่ต้้องซื้�้อบ่่อย ร้้านก็็ค่่อย ๆ หายไป
นอกจากนี้้�แล้้วก็็ยัังมีีร้้านขายแบตตาเลี่�่ยนตััดผม ร้้านฉลุุโลหะซึ่�่งเหลืืออยู่่�เพีียงร้้านเดีียวตรงปลายถนน
ทรงสวััสดิ์์� ส่ว่ นที่�่น่า่ สนใจคืือร้า้ นตััดเสื้�อ้ สูทู ซาร่า่ ที่�่เหลืือเพีียงร้า้ นเดีียว จากเดิิมที่�่เยาวราชเคยเป็็นแหล่่ง
ตััดเสื้�อ้ ที่�่สำ�ำ คััญเพราะเป็น็ ย่า่ นที่�่อยู่่�ติิดกับั พาหุรุ ัดั ซึ่ง�่ เป็น็ แหล่ง่ ขายผ้า้ ม้ว้ นที่�่ใหญ่ม่ าก แต่ด่ ้ว้ ยกาลเวลาและ
การเปลี่�่ยนแปลงของยุุคสมัยั หลายอาชีีพที่�่เคยเฟื่�่องฟูบู นถนนมัังกรสายนี้้�ก็็ค่่อย ๆ หายไป”

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

27

อย่่างไรก็็ดีี แม้้เยาวราชจะไม่่อาจต้้านทานกระแสการเติิบโตและการเปลี่�่ยนแปลงของเมืืองได้้
แต่่การจััดทำำ�แผนที่�่วััฒนธรรมย่่านเยาวราชถืือเป็็นจุุดเริ่่�มสำ�ำ คััญที่�่จะเก็็บบัันทึึกและสะท้้อนเรื่่�องราวทาง
ประวััติิศาสตร์์ที่�่เป็็นคุุณค่่าแท้้ของเยาวราชไว้้ให้้คนเยาวราช รวมถึึงประชาชนทั่่�วไปและนัักท่่องเที่�่ยว
ได้้ตระหนัักถึึงรากเหง้้าอัันเป็น็ แก่่นแท้้ที่�่ไม่ใ่ ช่เ่ พีียงแค่่เปลืือกของถนนมัังกรสายนี้้�

“เราอยากให้้คนที่�่มาเที่�่ยวเยาวราชได้้เห็็นถึึงความหลากหลายของวััฒนธรรม เห็็นคุุณค่่าของ
รากเหง้้าวิิถีีชีีวิิต ประวััติิศาสตร์ซ์ ึ่�ง่ เป็็นแก่่นแท้้ของเยาวราชที่�่ซ่อ่ นอยู่่� ไม่ใ่ ช่เ่ พีียงร้า้ นอาหารหรืือสตรีีทฟู้้�ด
บนท้้องถนนเท่่านั้้�น อีีกทั้้�งทำำ�อย่่างไรให้้เยาวราชยัังคงรัักษาอััตลัักษณ์์ควบคู่่�ไปกัับการพััฒนาที่�่เกิิดขึ้้�นได้้
แน่น่ อนว่่าเราไม่ไ่ ด้้ต้้องการบอกว่่าคนเยาวราชควรทำำ�อะไรหรืือไม่ท่ ำำ�อะไร เราเพีียงศึกึ ษาจััดทำำ�ข้อ้ มูลู และ
หวัังเพีียงว่่างานวิิจััยของเราจะจุุดประกายคนเยาวราชให้้ลุุกขึ้้�นมารัักษาตััวตนของความเป็็นเยาวราชไว้้
และสามารถอยู่่�ในพื้�น้ ที่�่แห่ง่ นี้้�ได้้อย่า่ งดีีและมีีความสุขุ ”

ทั้้�งนี้้จ� ุุดหมายปลายทางของคณะทำำ�งานไม่่ใช่่เพียี งแผนที่่�วััฒนธรรมย่่านเยาวราช แต่่ทีีมวิิจััย
ยัังหวัังสานต่่องานวิิจััย นำำ�ข้้อมููลทั้้�งหมดที่่�สำ�ำ รวจและรวบรวมได้้มาจััดทำำ�เป็็นแพลตฟอร์ม์ กลาง เช่่น
‘วิิกิิเยาวราช’ ที่่ส� ามารถเปิดิ ให้ป้ ระชาชนรวมถึึงคนเยาวราชเองเข้า้ มามีสี ่ว่ นเพิ่่ม� เติิมและแก้้ไขข้อ้ มููล
อย่า่ งต่่อเนื่่�อง เพื่่�อให้เ้ ป็น็ ฐานข้อ้ มููลสำ�ำ คััญสำ�ำ หรับั หน่ว่ ยงานทุกุ ภาคส่ว่ นที่่เ� กี่่ย� วข้อ้ งในการพัฒั นาพื้้�นที่่�
เยาวราชได้้นำำ�ข้อ้ มููลไปใช้ใ้ นการศึกึ ษา และวางแผนการพัฒั นาปรับั ปรุุงพื้้�นที่่ไ� ด้้อย่า่ งเหมาะสม ทั้้�งนี้้�
เพื่่�อประโยชน์์ในการอนุุรักั ษ์์ และสืบื สานมรดกของเยาวราชให้เ้ ดิินไปสู่อ่� นาคตได้้อย่า่ งสง่่างาม

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

28

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

29

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

30

อาคารและสิ่่�งก่่อสร้า้ ง
ที่่�มีคี ุุณค่า่ ทางวััฒนธรรมสููง

หากมีีโอกาสเดินิ ทอดน่อ่ งท่อ่ งเยาวราชลัดั เลาะไปตามตรอกซอกซอย
ต่่าง ๆ จะเห็น็ อาคารและสิ่่ง� ก่่อสร้า้ งที่�่สวยงามน่า่ สนใจมากมาย ไม่ว่ ่่าจะเป็น็
ร้า้ นทองที่�่หลายคนอาจคุ้้�นตาอยู่่�แล้้ว อาคารพาณิชิ ย์์ ศาลเจ้้า โรงพยาบาล
หรืือตึึกแถวต่่าง ๆ โดยในกระบวนการจััดทำำ�แผนที่�่ทางวััฒนธรรมได้้มีีการ
สำ�ำ รวจและประเมินิ คุณุ ค่า่ ตามเกณฑ์ท์ ี่ไ�่ ด้ก้ ล่า่ วไปแล้ว้ สรุุปว่า่ ในย่า่ นเยาวราช
ซึ่�่งเป็็นพื้�้นที่�่วิิจััย มีีกิิจการที่�่ตั้้�งอยู่่�ในอาคารและสิ่่�งก่่อสร้้างที่�่มีีคุุณค่่าทาง
วััฒนธรรมสูงู (รวมจาก 10 คุณุ ค่่าย่อ่ ย) 50 กิิจการ

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

31

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

32

ในจำำ�นวนทั้้�ง 50 กิิจการนี้้� ประกอบไปด้้วยอาคาร ‘ร้า้ นค้้าทอง’ มากที่�่สุดุ ถึึง 9 แห่ง่ ด้้วยกััน ได้้แก่่
ร้้านทองเพชรสุุวรรณ อาคาร้้านทองจิ้้�นฮั้้�วเฮงและห้้างขายทองฮั่่�วเซ่่งเฮง ห้้างทองทองใบ ห้้างตั้้�งโต๊๊ะกััง
ห้้างขายทองโต๊๊ะกัังเยาวราช ห้า้ งทองโต๊๊ะกัังเยาวราช ห้า้ งขายทองเซ่ง่ เฮงหลีี ตรามงกุฎุ ห้้างทองเลี่�่ยงเซ่ง่
เฮง และห้้างทองเลี่�่ยงเซ่ง่ เฮงสาขา 1

รองลงมาเป็น็ กิิจการที่�่เกี่�่ยวกัับ ‘ร้า้ นอาหารและร้า้ นขายวััตถุดุ ิิบสำ�ำ หรับั ปรุุงอาหาร’ 8 แห่ง่ ได้้แก่่
ร้า้ นอาหารจีีนฮั่่�วเซงเฮง ร้า้ นราดหน้า้ ฮุ่่�นกวง ร้า้ นเยาวราชโภชนา ร้า้ นง้ว้ นเชีียงเยาวราช ร้า้ นเอี๊๊�ยะเซ้ง้ กงษีี
และร้า้ นขายวััตถุดุ ิิบสำ�ำ หรับั ปรุุงอาหาร 2 ร้า้ นที่�่ถนนเยาวราช

อาคารและสิ่่ง� ก่่อสร้า้ งที่�่มีีคุณุ ค่่าทางวััฒนธรรมสูงู อีีกกลุ่่�มหนึ่่�ง ได้้แก่่ ‘ศาลเจ้้า’ มีีทั้้�งหมด 5 ศาลเจ้้า
ได้้แก่่ ศาลเจ้้าเล่่งบ๊๊วยเอ๊๊ย ศาลเจ้้าหลีีตี้้�เมี้้�ยว ศาลเจ้้าแม่่กวนอิิมฉื่่�อปุุยเนี้้�ยเนี่�่ย ศาลเจ้้ากวางตุ้้�ง และ
ศาลเจ้้าพ่อ่ เห้้งเจีีย ถััดมาคืือ ‘ธนาคาร’ 5 ธนาคาร อาทิิ ธนาคารไทยพาณิชิ ย์์ (ตึึก SAB) ธนาคารกรุุงไทย/
หอศิิลป์์กรุุงไทย ธนาคาร ICBC ไทย ธนาคารกรุุงเทพที่�่แยกถนนมัังกรและซอยวานิิช 1 และธนาคาร
กสิกิ รไทยที่�่ถนนเยาวราช

นอกจากนี้้ย� ังั มีีอาคารของ ‘กิจิ การที่�เ่ กี่ย�่ วข้อ้ งกับั สังั คม’ 4 อาคาร ได้แ้ ก่่ สมาคมเล่ง่ ฮั้้ว� หนังั สืือพิมิ พ์์
ซิงิ เสีียนเยอะเป้้า (ตึึก SEC) พิพิ ิธิ ภััณฑ์์ห้า้ งขายยาเบอร์ล์ ิิน และบ้า้ นเก่่าเล่่าเรื่่�องที่�่ชุุมชนเจริญิ ไชย ‘วััด’
3 วััด คืือ วััดมัังกรกมลาวาส วััดสััมพัันธวงศ์์และวััดโลกานุุเคราะห์์ ‘โรงพยาบาล’ 3 โรงพยาบาล ได้้แก่่
โรงพยาบาลกว๋๋องสิิวมููลนิิธิิ โรงพยาบาลเทีียนฟ้้ามููลนิิธิิ และโรงพยาบาลสััตว์์พลัับพลาไชย รวมไปถึึง
‘โรงแรม’ 2 โรงแรม ได้้แก่่ โรงแรมแกรนด์์ไชน่า่ และโรงแรมโกลเด้้นเชน

ส่ว่ นที่�่เหลืืออีีก 10 อาคาร เป็็น ‘กิิจการอื่่�น ๆ และอาคารว่่างให้เ้ ช่า่ ’ ได้้แก่่ กิิจสยามวััฒนาเทรดดิ้้�ง
สููททรงสมััย ภััทราวดีีเท็็กซ์์ไทล์์ บริิษััทขวานทองจำำ�กััด ร้้านล้้อเกวีียน เกีียเสง บริิษััทลี่�่ฮะฮวด
ร้า้ นเลี่�่ยมกรอบพระแสงอรุุณ ร้า้ นไทยนคร และร้า้ นลิ้้�มเฮงฮวด กิิจการเหล่่านี้้�บางกิิจการตั้้�งอยู่่�ในอาคาร
เดีียวกัันและหลายกิิจการตั้้�งอยู่่�ในอาคารของตััวเอง จะเห็็นได้้ว่่า อาคารและสิ่่�งก่่อสร้้างที่�่มีีคุุณค่่าทาง
วััฒนธรรมสููงย่่านเยาวราชมีีความหลากหลายของประเภทประโยชน์์ใช้้สอยพื้�้นที่�่ภายในอาคาร สะท้้อน
ให้เ้ ห็น็ ถึึงความรุ่�มรวยของย่า่ นเยาวราชได้้เป็น็ อย่า่ งดีี

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

33

‘โคมไฟจีีนชุุมชนเจริิญไชย’
ต่่อยอดสู่่�ผลิิตภัณั ฑ์์วัฒั นธรรม

สีีสัันของเยาวราชฉายชััดตามเทศกาลต่่าง ๆ ไม่่ว่่า
จะเป็็นตรุุษจีีน สารทจีีน ไหว้้พระจัันทร์์ หรืืออื่่�น ๆ ผ่่าน
แสงสีีสดใสของโคมไฟกระดาษที่�่ถููกประดัับประดาตกแต่่ง
ตามอาคารบ้า้ นเรืือนถนนหนทาง ภาพที่ค�่ ุ้้�นตาเหล่า่ นี้้ไ� ม่เ่ พีียง
ทำำ�ให้้ผู้้�คนระลึึกและจดจำำ� แต่่ยัังทำำ�ให้้ชุุมชนเก่่าแก่่ในย่่าน
เยาวราชดำำ�รงอััตลัักษณ์แ์ ละความภาคภูมู ิใิ จไว้้ได้้

ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2561 ที่�่มหาวิิทยาลััยศิิลปากรได้้จััดทำำ�
“โครงการวิิจััยการพััฒนาเมืืองวััฒนธรรมอััจฉริิยะ: กรณีี
ศึึกษาย่่านเยาวราช-เจริิญกรุุง” ภายใต้้ความร่่วมมืือกัับ
ชุุมชน ภาคเอกชน ธุุรกิิจ และภาคีีเครืือข่า่ ย ทำำ�ให้้ทราบถึึง
ปััญหา ความต้้องการ และศัักยภาพในการพััฒนาพื้�้นที่�่และ
ชุุมชน โดยเฉพาะด้้านศิิลปะและวััฒนธรรม การศึึกษาวิิจััย
เกิดิ ขึ้้น� หลายด้า้ นทั้้�งในแง่ป่ ระวัตั ิศิ าสตร์ช์ ุมุ ชน สถาปััตยกรรม
การพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ชุุมชน ไปจนถึึงด้้านศิิลปะและการ
ออกแบบ

สำ�ำ หรัับด้้านการพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ชุุมชน ทีีมวิิจััยจาก
คณะมััณฑนศิิลป์์ได้้ร่่วมกัับชุุมชนเจริิญไชย สืืบค้้นจนเจอ
อััตลัักษณ์์ของชุุมชน แล้้วพลิิกฟื้� ้น ‘โคมไฟกระดาษ’ และ
การพับั ‘ดอกไม้จ้ ีนี ’ ให้้กลัับมามีีชีีวิิตอีีกครั้้�ง

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

34

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

35

จากอดีีตถึึงปััจจุุบันั ชุุมชนเจริิญไชย เป็น็ แหล่่งผลิิตกระดาษไหว้้เจ้้า ที่�่ยังั คงประเพณีีในเทศกาล
ไหว้้เจ้้าแบบดั้้�งเดิิม มีีการประดัับจััดวางโต๊๊ะไหว้้เจ้้าด้้วยเครื่่�องไหว้้และโคมกระดาษนานาชนิิด บ้า้ นเรืือน
ได้้รับั การตกแต่่งเพื่่�อสื่่�อความหมายอัันเป็น็ มงคลให้ก้ ัับการเฉลิิมฉลองการเก็็บเกี่�่ยวด้้วยการไหว้้ดวงจัันทร์์
ในเวลากลางคืืน ภายในชุุมชนเจริิญไชยมีีพิิพิิธภััณฑ์์บ้้านเก่่าเล่่าเรื่่�องที่�่นำ�ำ เสนอประวััติิศาสตร์์ชุุมชน
เรื่่�องราวความทรงจำำ� วััตถุดุ ้้านศิิลปะและวััฒนธรรม เช่น่ โคมกระดาษแบบต่่าง ๆ การพับั กระดาษไหว้้เจ้้า
ทว่่าหลายปีีที่�่ผ่่านมาชุุมชนเจริิญไชยเริ่่�มประสบปััญหาจากการเปลี่�่ยนแปลงของเมืืองซึ่�่งกระทบต่่อการ
อยู่่�อาศัยั และการประกอบอาชีีพดั้้�งเดิิม

“ชุุมชนนี้้�มีีปััญหาในเรื่่�องของสัญั ญาเช่า่ กัับเจ้้าของพื้�น้ ที่�่ แต่่การขับั เคลื่่�อนในด้้านการค้้าขายของ
ย่่านนี้้�ทั้้�งตััววััสดุุและผลิิตภััณฑ์์กระดาษไหว้้เจ้้า คณะนัักวิิจััยคณะโบราณคดีีและคณะสถาปััตยกรรม
ได้้ชี้้�ประเด็็นที่�่น่่าสนใจมา เราจึึงมาลองทำำ�งานกัับชุุมชนดูู วััตถุุประสงค์์แรกตอนที่�่เข้้าไปคืืออยากนำ�ำ
กระดาษไหว้้เจ้้าเหล่่านี้้�มาทำำ�เป็็นผลิิตภััณฑ์์ แต่่พอลงไปทำำ�จริงิ ๆ ทีีแรกชุุมชนไม่ย่ ินิ ดีี บอกว่่ามาทำำ�ไมอีีก
มีีคนมาทำ�ำ อะไรไปเยอะแยะแล้ว้ และเขาก็ไ็ ม่เ่ ห็น็ ได้อ้ ะไร ผมก็ต็ ้อ้ งไปนั่่ง� คุยุ ใหม่่ เหมืือนล้า้ งไพ่เ่ ลย ถามชุมุ ชน
ว่่าอยากได้้อะไร ผมมีีหน้้าที่�่พััฒนาออกแบบผลิิตภััณฑ์์ในชุุมชน” ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วีีรวััฒน์์
สิิริิเวสมาศ อาจารย์ป์ ระจำำ�คณะมัณั ฑนศิลิ ป์์ มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร นัักวิิจััยร่ว่ มในโครงการ “การพัฒั นา
ผลิิตภััณฑ์์สร้า้ งสรรค์์ต้้นแบบเพื่่�อการท่่องเที่่ย� วอย่า่ งยั่่�งยืนื ในย่า่ นเยาวราช-เจริิญกรุุง” เล่่าถึึงก้้าวแรก
ที่�่เข้า้ ไปในชุุมชน

กระดาษไหว้้เจ้้า เป็น็ โจทย์แ์ รกที่�่ถูกู โยนเข้า้ ไปกลางวงว่่าน่า่ จะเอามาต่่อยอดได้้ แต่่ถูกู คััดค้้านด้้วย
เหตุผุ ลว่่านี่�ค่ ืือสิ่่ง� ที่�่มาพร้อ้ มกัับความเชื่่�อ กระดาษพวกนี้้�ถูกู ผลิิตขึ้้�นมาเพื่่�อนำำ�ไปเผา หากจะนำ�ำ มาพับั เป็น็
สิ่่�งนั้้�นสิ่่�งนี้้�ไปขายคงไม่่เหมาะ แม้้โจทย์์นี้้�จะถููกตีีตก แต่่ความพยายามที่�่จะพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ต้้นแบบยััง
ไม่่หมดหนทางเสีียทีีเดีียว เนื่่�องจากชุุมชนต้้องการส่่งเสริิมกิิจกรรมเชิิงวััฒนธรรมในพื้�้นที่�่ เพราะจำำ�เป็็น
ต้้องผลัักดัันตััวตนให้้เป็็นที่�่ประจัักษ์์ ผ่่านการทำำ�กิิจกรรมระหว่่างคนในชุุมชนกัับผู้้�ที่�่สนใจภายนอก
อย่า่ งต่่อเนื่่�อง เพื่่�อเป็น็ หนึ่่�งในเหตุผุ ลที่�่ช่ว่ ยสนัับสนุุนการคงอยู่่�ของชุุมชนไว้้อย่า่ งน้้อยก็็ในช่ว่ งเวลานี้้�

“พี่�่ ๆ ในชุุมชนเขาเลยบอกว่่า อาจารย์ไ์ ปศึึกษาการทำำ�โคมไฟวัันไหว้้พระจัันทร์ไ์ ด้้ไหม เป็็นโคมไฟ
ที่�่ในสมััยก่่อนเวลาถึึงเทศกาลไหว้้พระจัันทร์์ ลูกู เล็็กเด็็กแดงจะต้้องหิ้้ว� ถืือโคมไฟเหล่่านี้้�เดิินกัันให้ท้ ั่่�วถนน
เป็็นสััญลัักษณ์์อัันหนึ่่�งของงานเทศกาลไหว้้พระจัันทร์์ และช่่วยสร้้างบรรยากาศและความทรงจำำ�ที่�่ดีีกัับ
เทศกาลนี้้ด� ้้วย โคมไฟดัังกล่่าวทำำ�ด้้วยลวด หวาย แล้้วแปะด้้วยกระดาษแก้้ว ทำำ�กัันมา 30 - 40 ปีกี ่่อน ตั้้�งแต่่
สมัยั ที่�่ยังั ต้้องใส่เ่ ทีียนเป็็นเล่่ม ๆ ในโคมเวลาใช้ง้ าน”

หลัังจากได้้ข้้อสรุุปว่่า ชุุมชนต้้องการรื้�้อฟื้� ้นผลิิตภััณฑ์์ ‘โคมไฟกระดาษ’ เป็็นผลิิตภััณฑ์์ต้้นแบบ
ที่�่ไม่เ่ พีียงเชื่่�อมโยงความทรงจำำ�ของเทศกาลเท่า่ นั้้น� แต่ย่ ังั ช่ว่ ยเชื่่�อมโยงความสัมั พันั ธ์ใ์ นการทำำ�วิิจััยระหว่า่ ง
นัักวิิจััยกัับชาวชุุมชนเจริิญไชย การมีีส่่วนร่่วมได้้เริ่่�มต้้นขึ้้�นตั้้�งแต่่รัับโจทย์์ใหม่่ ซึ่�่งผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์
ดร.วีีรวััฒน์์ ได้้นำ�ำ งานวิิจััยบรรจุุเข้้าสู่่�การเรีียนการสอน รวมถึึงพานัักศึึกษาหลาย ๆ ระดัับการศึึกษา
มาลงพื้�้นที่�่สำ�ำ รวจชุุมชนด้้วยตััวเอง เยี่�่ยมชมพิิพิิธภััณฑ์์ของหอศิิลป์์กรุุงไทย พููดคุุยกัับนัักประวััติิศาสตร์์
เยาวราช สมชััย กวางทองพาณิิชย์์ รวมถึึงศึึกษาและจััดทำำ�ต้้นแบบโคมไฟรููปทรงต่่าง ๆ ทั้้�งเครื่่�องบิิน
กระต่่าย จรวด ฯลฯ โดยรููปทรงเหล่่านี้้�แม้จ้ ะไม่ไ่ ด้้มีีการสร้า้ งสรรค์์ในลัักษณะที่�่แปลกตา แต่่เป็น็ การศึกึ ษา
และพัฒั นาการสร้า้ งโคมไฟจากรููปแบบเก่่า ๆ ด้้วยวััสดุใุ นปััจจุุบันั เพื่่�อหวนระลึึกถึึงอดีีต

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

36

เมื่่�อได้้ผลิิตภััณฑ์์ต้้นแบบจากความร่่วมมืือของนัักศึึกษาแล้้ว ในงานเสวนาวัันไหว้้พระจัันทร์์ใน
โครงการปีีแรก (2561) โคมไฟกระดาษน้อ้ ยใหญ่ถ่ ูกู แขวนตกแต่่งในลัักษณะกึ่่�งนิทิ รรศการ ณ พิพิ ิธิ ภััณฑ์์
ชุุมชน ‘บ้้านเก่่าเล่่าเรื่่�อง’ ชุุมชนเจริิญไชย มีีผู้้�เฒ่่าผู้้�แก่่ ปราชญ์์ชาวบ้้าน ผลััดเปลี่�่ยนหมุุนเวีียนกััน
ขึ้้�นมาพููดคุุย จนเกิิดคำำ�ถามสำ�ำ คััญต่่อคณาจารย์์นัักวิิจััยและชาวบ้้านว่่า โคมไฟจะเป็็นอย่่างไรต่่อไป
โดยที่�่ไม่ห่ ยุุดแค่่การประดัับตามบ้า้ นเรืือนในเทศกาลด้้วยหน้า้ ตาเดิิม ๆ ซึ่�ง่ ได้้กลายเป็น็ โจทย์ต์ ่่อยอดให้ก้ ัับ
งานวิิจััยในปีีต่่อ ๆ มา โดยมีีเป้้าหมายคืือ การสร้้างผลิิตภััณฑ์์ใหม่่ที่�่สามารถสร้้างรายได้้ให้้กัับชุุมชน
ภายใต้้เงื่่�อนไขที่�่ว่่าต้้องไม่่ใช้้กระดาษไหว้้เจ้้ามาเป็็นวััสดุุ นัักวิิจััยจึึงลองสรรหากระดาษอื่่�นมาทดแทน
ตอบโจทย์ท์ ี่�่ทำำ�ให้ช้ ุุมชนสบายใจได้้เปลาะหนึ่่�ง

“ในระหว่่างทำำ� เราได้้มีีการศึกึ ษาร่ว่ มกัับคณะอื่่�น ๆ เช่น่ คณะวิิทยาศาสตร์์ คณะวิิทยาการจััดการ
มองไปถึึงว่่าเราจะทำำ�ผลิิตภััณฑ์์อย่่างไรเพื่่� อโน้้มน้้าวให้้คนในชุุมชนหรืือคนที่�่มาซื้� ้อผลิิตภััณฑ์์เลิิกเผา
กระดาษ ลดการเผากระดาษ เพราะมีีเรื่่�องของจิิตสำ�ำ นึกึ ในเรื่่�องสิ่่ง� แวดล้้อมเข้า้ มาเกี่�่ยวข้อ้ ง ตััวเลืือกในการ
เลืือกกระดาษอัันใหม่ก่ ็็คืือ ซื้�อ้ ไปไม่เ่ ผาแน่น่ อน

สองปีที ี่�่แล้้ว (2562) เราจึึงทำำ�การวิิจััยโดยนำำ�นักั ศึกึ ษาปริญิ ญาโท ของคณะมัณั ฑนศิลิ ป์ม์ าลงพื้�น้ ที่�่
และระดมสมองเพื่่�อสร้้างสรรค์์จััดทำำ�โคมไฟออกมาเป็็นรููปแบบทรงแปดเหลี่�่ยม สะท้้อนภาพชุุมชนและ
กิิจกรรมของชุุมชน ทำำ�เป็น็ ช่อ่ งประตูเู ปิดิ ที่�่เป็น็ ลัักษณะหน้า้ บ้า้ นและสถาปััตยกรรมของชุุมชน บานประตูู
บานเฟี้้� ยม มองเข้้าไปเห็็นเป็็นภาพกิิจกรรมชุุมชน เมื่่�อทำำ�เสร็็จแล้้วมีีนัักศึึกษาปริิญญาเอกออกแบบ
โคมไฟสำ�ำ หรัับห้้อยบนราวแขวนต่่าง ไปจััดแสดงผลงานและประดัับตกแต่่งสถานที่�่ในกิิจกรรมเสวนา
งานเทศกาลไหว้พ้ ระจันั ทร์์ (2562) ที่ร�่ ้า้ นเอี๊๊ย� ะเซ้ง้ กงษีี ซึ่ง�่ เป็น็ ตึกึ เก่า่ แก่ย่ ่า่ นนี้้� โดยได้น้ ำ�ำ ผลงานจำำ�นวนหนึ่่ง�
มาแบ่่งจััดแสดงและตกแต่่งที่�่บ้้านเก่่าเล่่าเรื่่�องและตรอกชุุมชนเจริิญไชยด้้วย ซึ่�่งก็็ได้้รัับการชื่่�นชมและ
ตอบรับั ที่�่ดีีทั้้�งจากชุุมชนเองและสื่่�อมวลชนที่�่มาทำำ�ข่า่ ว”

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

37

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

38

หลัังจากโคมไฟโฉมใหม่่ภายใต้้งานวิิจััยดัังกล่่าวได้้ปรากฏสู่่�สายตาสาธารณชน รวมถึึงเป็็น
หนึ่่�งในผลงานวิิจััยของมหาวิิทยาลััยศิิลปากรที่่�นำำ�ไปร่ว่ มจััดแสดงในงานมหกรรมงานวิิจััยแห่่งชาติิ
ประจำำ�ปีี 2562 และ 2563 จึึงมีีการพัฒั นาโจทย์ใ์ ห้ใ้ หญ่ข่ ึ้้�นว่่า ‘โคมไฟกระดาษ’ จะเป็น็ หนึ่่�งในผลิิตภััณฑ์์
ที่�่ช่่วยสร้้างอััตลัักษณ์์ให้้ชุุมชนและช่่วยสร้้างสีีสัันให้้แก่่งานเทศกาลประจำำ�ท้้องถิ่่�นได้้หรืือไม่่ เพื่่�อต่่อยอด
ไปสู่่�การสร้้างรายได้้ให้้ชุุมชน และแม้้ว่่าลัักษณะโดยทั่่�วไปของการทำำ�การค้้าในชุุมชนย่่านนี้้�ส่่วนใหญ่่
เป็น็ ยี่ป�่ ั๊๊� ว รับั ของมาจากโรงงานเพื่่�อขายปลีีกส่ง่ ไม่ใ่ ช่ท่ ุกุ บ้า้ นจะเป็น็ ผู้้�ผลิิตเอง แต่่หลัังจากโคมไฟกระดาษ
ถููกแขวนไว้้ในพิิพิิธภััณฑ์์บ้้านเก่่าเล่่าเรื่่�องเป็็นเวลากว่่าปีี ปรากฏว่่าแขกไปใครมามัักจะถามว่่าโคมไฟ
แบบนี้้ม� ีีขายไหม ขายที่�่ไหน ราคาเท่่าไร เหมืือนเป็็นการสำ�ำ รวจตลาดทางอ้้อมไปในตััวที่�่ทำำ�ให้้ชาวชุุมชน
เริ่่ม� มั่่�นใจมากขึ้้�น

ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วีีรวััฒน์์ อธิิบายว่่าหลัังจากงานวิิจััยมีีแนวโน้้มก้้าวไปสู่่�เชิิงพาณิิชย์์ จึึงได้้
พััฒนาไปเป็็นโจทย์์การทำำ�งานใน พ.ศ. 2563 โดยมีีภารกิิจที่�่จะต้้องไปจััดกิิจกรรมที่�่ ชุุมชนเลื่่�อนฤทธิ์์�
ซึ่ง�่ เป็น็ ชุุมชนสำ�ำ คััญแห่ง่ หนึ่่�งของประเทศที่�่ประสบปััญหาการเปลี่ย�่ นแปลงเมืืองทางกายภาพตามกาลเวลา
และบริบิ ทที่เ�่ ปลี่ย�่ นไป การที่�ช่ าวชุมุ ชนเลื่่�อนฤทธิ์์ไ� ด้ป้ ิดิ ชุมุ ชนเพื่่�อปรับั ปรุุงมากว่า่ 11 ปีี และรวมตัวั กันั เป็น็
ชุุมชนเข้ม้ แข็ง็ กระทั่่�งก่่อตั้้�ง บริิษััท ชุุมชนเลื่่�อนฤทธิ์์� จำ�ำ กััด โดยมีีเจ้้าของตึึกแถวแต่่ละคูหู าเป็น็ หุ้้�นส่ว่ น
แน่่นอนว่่าปััญหาระหว่่างผู้้�อาศััยย่่อมมีีความคิิดเห็็นแตกต่่างกัันบ้้าง แต่่โดยภาพรวมการรวมตััวกัันของ
ชุุมชนทำำ�ให้้สำ�ำ นัักงานทรััพย์์สิินส่่วนพระมหากษััตริิย์์ ซึ่�่งเป็็นเจ้้าของพื้�้นที่�่เห็็นชอบในแนวทางดัังกล่่าว
ของชุุมชนที่�่จะอนุุรัักษ์์ย่่านและสภาพแวดล้้อมด้้วยการปรัับปรุุงอาคารสถาปััตยกรรมทั้้�งหมด ปััจจุุบััน
ชุุมชนเลื่่�อนฤทธิ์์ไ� ด้้ทำำ�การอนุุรักั ษ์์อาคารประวััติิศาสตร์ซ์ ึ่�ง่ เป็น็ บ้า้ นเรืือนของตนเองเรีียบร้อ้ ยแล้้ว

“เราได้้ศึึกษาวิิจััย เก็็บข้้อมููล วางแผนการออกแบบโคมไฟเพื่่�อเป็็นส่่วนหนึ่่�งของงานเทศกาล
วัันไหว้้พระจัันทร์์ที่�่จะจััดกิิจกรรมในบริิเวณพื้�้นที่�่ของชุุมชนเลื่่� อนฤทธิ์์� โจทย์์จากชุุมชนเลื่่� อนฤทธิ์์�
ทำำ�ให้ผ้ ู้้�วิิจััยต้้องไปดูวู ่่าจะจััดกิิจกรรมบนพื้�น้ ที่�่แบบไหน การออกแบบโคมไฟเพื่่�อจััดแสดงต้้องเป็น็ อย่า่ งไร
ขนาดของพื้�น้ ที่�่จึึงมีีผลกัับขนาดของชิ้้น� งาน ตอนนั้้�นเป็น็ การออกแบบโคมไฟที่�่มีีขนาดใหญ่ม่ าก ประมาณ
1.30 เมตร และในขั้้�นตอนการทำำ�ชิ้้�นงานต้้นแบบ ทำำ�ด้้วยกระดาษแข็็ง แต่่เมื่่�อพิิจารณาสภาพแวดล้้อม
การจััดงานกลางแจ้้งในกลางเดืือนกัันยายนซึ่�ง่ เป็น็ ฤดูฝู นแล้้ว จึึงต้้องเปลี่�่ยนแผนรองรับั และทำำ�การเปลี่�่ยน
จากวััสดุกุ ระดาษเป็็นวััสดุพุ ลาสติิกซึ่�ง่ ไม่ไ่ ด้้อยู่่�ในทางเลืือกแรก

ในที่�ส่ ุดุ ได้ข้ ้อ้ สรุุปว่า่ จำำ�เป็น็ ต้อ้ งใช้ว้ ัสั ดุพุ ลาสติกิ PE ซึ่ง�่ มีีแหล่ง่ ขายอยู่่�ที่�ถ่ นนเสืือป่า่ จึึงนำ�ำ มาทดลอง
ตััดเลเซอร์แ์ ละประกอบตามแบบออกมาเป็น็ โคมไฟขนาดใหญ่่ มีีจำำ�นวน 2 ชิ้้น� 2 ขนาดคืือ 1.30 เมตร และ
1 เมตร มอบให้้ชุุมชนเลื่่�อนฤทธิ์์�และเจริิญไชย โดยมีีภาพรวมเดีียวกัันแต่่รายละเอีียดไม่่เหมืือนกััน
ผมออกแบบโลโก้้ด้้านล่่าง เมื่่�อเปิิดไฟในเวลากลางคืืน แสงที่�่ส่่องผ่่านโคมไฟจะเห็็นโลโก้้ของชุุมชน
ส่่วนลวดลายซุ้้�มประตููที่�่ตกแต่่งในโคมไฟนั้้�นเป็็นซุ้้�มประตููตามลัักษณะทางสถาปััตยกรรมที่�่มีีการตกแต่่ง
เฉพาะของแต่่ละชุุมชน

นอกจากนี้้�ยังั มีีโคมไฟเล็็ก ๆ อีีกเกืือบร้อ้ ยอัันสำ�ำ หรับั ใช้ต้ กแต่่งสถานที่�่ ถืือว่่าประสบความสำ�ำ เร็จ็ ที่�่
ชุุมชนให้ค้ วามสนใจ และตััวชิ้้น� งานซึ่�ง่ ได้้วางแผนออกแบบไว้้นั้้�นได้้ทำำ�หน้า้ ที่�่ในตััวของมันั โดยสมบููรณ์์ คืือ
เป็็นทั้้�งส่่วนสร้้างอััตลัักษณ์์ สร้้างจุุดสนใจให้้กัับงาน รวมถึึงการสร้้างเสริิมบรรยากาศให้้กัับเทศกาลของ
ชุุมชนด้้วย

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

39

เมื่่�อกิิจกรรมที่�่ชุุมชนเลื่่�อนฤทธิ์์�จบลง ทางคณะผู้้�วิิจััยได้้หารืือกัับชุุมชนเจริิญไชยจนได้้ข้้อสรุุปว่่า
นอกจากโคมไฟแล้้วชุุมชนยัังมีีแผนที่�่จะทำำ�การ์์ดอวยพรตามเทศกาลจีีน ซึ่�่งผู้้�วิิจััยตั้้�งใจจะจััดเวิิร์์กชอป
ในเดืือนธันั วาคม 2563 แต่่ว่่าไม่ท่ ัันการระบาดของโควิิด-19 จึึงจััดกิิจกรรมลงพื้�น้ ที่�่ไม่ไ่ ด้้ ก็็เลยออกแบบ
บััตรอวยพรแล้้วจััดกิิจกรรมสาธิิตการทำำ�บััตรอวยพรเหล่่านั้้�น นำ�ำ ไปพููดคุุยกัับชุุมชน ซึ่�่งก็็ตรงกัับโจทย์์
ของชุุมชนคืือ ทำำ�ผลิิตภััณฑ์์ที่�่เป็น็ ไปได้้ในการทำำ�ขาย”

ผลสััมฤทธิ์์ข� องโครงการฯ ที่�่เป็็นผลิิตภััณฑ์์เป็็นรููปธรรมในปีีที่�่ผ่่านมาได้้แก่่ การ์์ดอวยพร 2 แบบ
โคมไฟแบบสามมิิติิ 3 แบบ และชิ้้น� งานป็อ็ ปอััพสามมิติ ิิชิ้้น� ใหญ่อ่ ีีก 2 ชิ้้น� ซึ่�ง่ ได้้ปรับั รููปแบบการนำ�ำ เสนอ
ให้้กัับชุุมชนในช่่วงการแพร่่ระบาดของโควิิด-19 ด้้วยวิิธีีการสาธิิตและถ่่ายทำำ�วิิดีีโอการทำำ�การ์์ดอวยพร
โดย ดร.หลิิว เว่่ย หนึ่่�งในผู้้�ช่่วยวิิจััยที่�่สำ�ำ คััญของโครงการวิิจััย เพื่่�อเผยแพร่่ให้้คนในชุุมชนเจริิญไชย
ได้้เรีียนรู้้�และต่่อยอดต่่อไป

แม้จ้ ะไม่ใ่ ช่ค่ รั้้ง� แรกที่่ช� ุมุ ชนเจริิญไชยและเยาวราชได้ม้ ีที ีมี วิิจัยั เข้า้ มาทำ�ำ งาน แต่โ่ ครงการวิิจัยั นี้้�
เป็็นหนึ่่�งในตััวอย่่างการทำำ�งานที่่�เปิิดให้้ชุุมชนได้้เข้้ามามีีส่่วนร่่วมอย่่างแท้้จริิง ตั้้�งแต่่การระดม
ความคิิดเห็็น เปิิดรับั ข้้อเสนอแนะ จนถึึงการลงมืือปฏิิบััติิ ยกตััวอย่่าง การ์ด์ อวยพรเป็็นผลผลิิตจาก
การอภิิปรายของคนในชุุมชน ซึ่่ง� ครบคุณุ สมบัตั ิิของการเป็น็ สิินค้้าเพื่่�อการจำำ�หน่า่ ย ทั้้�งขนาดเล็็กต้้นทุนุ
ไม่ม่ าก ขายราคาไม่แ่ พง สำ�ำ หรับั โคมไฟกระดาษก็็เป็น็ สิ่่ง� ที่่ช� ุุมชนต้้องการพัฒั นาต่่อยอด เพียี งแต่่ต้้อง
ใช้ว้ ััสดุอุ ื่่�นออกแบบให้ม้ ีขี นาดที่่เ� หมาะสม ได้้เป็น็ แนวความคิิดเพื่่�อพัฒั นาผลิิตภััณฑ์์ที่่เ� กี่่ย� วข้อ้ งต่่อไป

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

40

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

41

คำำ�ว่่า ‘ผลิิตภััณฑ์์’ ในสายตาของผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วีีรวััฒน์์ จึึงผููกติิดกัับคำำ�ว่่า ‘ชุุมชน’
อย่า่ งแยกไม่อ่ อก ถึงึ ตอนนี้้โ� ครงการวิจิ ัยั ได้จ้ บแล้ว้ แต่ก่ ารนำำ�ไปใช้ย้ ังั เป็น็ เพีียงจุดุ เริ่่ม� ต้น้ ปััจจุบุ ันั ผลิติ ภัณั ฑ์์
ของชุมุ ชนเจริญิ ไชยอยู่่�ในขั้้น� Prototype หรืือตัวั ต้น้ แบบ ที่อ�่ าจไม่ไ่ ด้เ้ ป็น็ อย่า่ งที่ค�่ ณาจารย์จ์ ากมหาวิทิ ยาลัยั
ศิลิ ปากรออกแบบทั้้�งหมด คนในชุุมชนเองจะต้้องนำ�ำ ไปปรับั ให้ล้ งตััว และด้้วยความที่�่ชุุมชนเจริญิ ไชยเป็น็
ชุุมชนเก่่าแก่่ รวมทั้้�งโคมไฟกระดาษก็็เป็็นหััตถกรรมที่�่มีีความเป็็นมายาวนาน เรื่่�องราวของชุุมชนและ
โคมไฟจึึงน่า่ สนใจ เป็น็ จุุดขายที่�่นัักวิิจััยบอกว่่าต้้องผลัักดัันเต็็มที่�่

“คนในชุุมชนเคลมว่่าการขายกระดาษไหว้้เจ้้าเป็น็ อััตลัักษณ์ใ์ นชุุมชน แต่่แน่น่ อนว่่าการออกแบบ
เป็็นคาแรกเตอร์์ เป็็นโลโก้้ เป็็นสััญลัักษณ์์มัันชััดเจนกว่่า ชุุมชนก็็ได้้นำำ�สิ่่�งที่�่พวกเราออกแบบไปทำำ�เป็็น
กระเป๋๋าผ้้า ขึ้้�นเป็็นโลโก้้ของชุุมชนบนเว็็บไซต์์เขา และการทำำ�วิิจััยเพื่่�อพััฒนาสิ่่�งที่�่ชุุมชนเจริิญไชยมีีอยู่่�
ให้้โดดเด่่นก็็นำำ�ไปต่่อยอดในชุุมชนอื่่� น ๆ ได้้ แต่่อาจมีีปััจจััยหลายอย่่างที่�่มีีผลกัับการนำ�ำ ไปใช้้ เช่่น
ผู้้�นำำ�ชุุมชน ความเป็็นปึึกแผ่น่ และแน่น่ อนว่่าเรื่่�องของผลิิตภััณฑ์์ ซึ่�ง่ ผมโฟกััสศิิลปะและการออกแบบ คืือ
ผลิิตภััณฑ์์นั้้�น ๆ มีีกระบวนการผลิิตและการออกแบบ เผยแพร่่ ยากง่่ายอย่า่ งไร เป็็นปััจจััยต่่าง ๆ ที่�่กรอบ
การทำำ�งานจะต้้องเจอ”

ถึึงวัันนี้้� แม้้ว่่าโคมไฟจะเปล่่งแสงส่่องสว่่างให้้ชุุมชน แต่่หากถามว่่านี่่�คืือความยั่่�งยืืนหรืือไม่่
นักั วิิจััยตอบว่า่ อาจไม่ข่ นาดนั้้�นในทัันทีี ทว่า่ การสร้า้ งสรรค์์กิิจกรรมและผลิิตภััณฑ์์อยู่่เ� รื่่�อย ๆ จะกระตุ้้�น
ให้้ชุุมชนได้้สื่่�อสารกัับสัังคมด้้วยรููปแบบใหม่่ ๆ แต่่ยัังคงไว้้ซึ่่�งแก่่นสารของวััฒนธรรม ประเพณีี และ
คติิความเชื่่�อของชุุมชนชาวไทยเชื้้�อสายจีีน โดยมีศี ิิลปะจากองค์์ความรู้้�ของสถาบัันการศึกึ ษาเข้้ามา
บููรณาการกัับศิิลปะที่่�เป็็นรากเหง้้าเดิิมของชุุมชน สิ่่�งเหล่่านี้้ช� ่่วยชุุมชนให้้ขัับเคลื่่�อนด้้วยกิิจกรรมเชิิง
วััฒนธรรม ซึ่่�งเป็็นที่่�สนใจของผู้้�คนโดยกว้้าง ขยายผลให้้ชุุมชนได้้เป็็นที่่�รู้้�จัักในบทบาทการส่่งเสริิม
ประเพณีแี ละวััฒนธรรม อัันเป็น็ เงื่่�อนไขหนึ่่�งในการดำำ�รงอยู่่ข� องชุุมชนท่่ามกลางความเปลี่่ย� นแปลงใน
พื้้�นที่่น� ี้้�

“จุุดมุ่่�งหมายของการทำำ�วิิจััยในการพัฒั นาผลิิตภััณฑ์์กัับชุุมชนนี้้� ผมแบ่ง่ เป็น็ 2 ประเด็็น อัันดัับแรก
คืือสิ่่ง� ที่�่ชุมุ ชนมีีอยู่่�แล้ว้ ตามขนบธรรมเนีียมประเพณีี ชุมุ ชนแต่ล่ ะชุมุ ชนอาจจะมีีสัญั ลักั ษณ์์ ความเชื่่�อ หรืือ
รููปแบบของศิิลปะที่�่เข้้ากัับวิิถีีชีีวิิตของเขาอยู่่�แล้้ว ถ้้าเราไม่่ได้้ไปยุ่่�งเลย เขาก็็มีีของเขาอยู่่� การที่�่เข้้าไปมีี
ส่ว่ นร่ว่ ม แน่น่ อนว่่าชุุมชนต้้องเห็น็ พ้อ้ งต้้องกััน ยินิ ยอมพร้อ้ มใจที่�่จะรับั การเปลี่�่ยนแปลง เราแค่่เข้า้ ไปช่ว่ ย
เปลี่ย�่ นแปลงบางอย่า่ ง ขยับั ให้เ้ ข้า้ กับั ยุคุ สมัยั หรืือทดลองให้แ้ ปลกไปจากของเดิมิ ที่เ�่ คยมีีแต่ย่ ังั คงสอดคล้อ้ ง
กัับความเชื่่�อและวิิถีีของเขา เราเข้้าไปศึึกษาของเดิิมว่่ามีีจุุดตัันอย่่างไร แล้้วไปนำ�ำ เสนอทางออกใหม่่ ๆ
ซึ่�ง่ เวิิร์ก์ บ้า้ งไม่เ่ วิิร์ก์ บ้า้ ง ก็็อาศัยั งานวิิจััยนี่�่แหละเป็น็ ตััวทดลอง แล้้วชุุมชนช่ว่ ยวััดผล เพราะฉะนั้้�นจึึงได้้ทั้้�ง
งานศิลิ ปะ งานออกแบบ และกิิจกรรมเชิงิ เทศกาลที่�่มีีกลิ่่�นอาย รููปแบบ ที่�่เข้า้ ไปเสริมิ ให้้ชุุมชน โดยชุุมชน
เองก็็เป็็นผู้้�มีีส่ว่ นร่ว่ มในการสร้า้ งสรรค์์นั้้�นด้้วย”

นับั ได้้ว่่าต่่างฝ่า่ ยต่่างได้้เรีียนรู้้�ซึ่�ง่ กัันและกััน ชุุมชนได้้พัฒั นาต่่อยอดของดีีที่�่มีีให้ท้ ัันยุุคสมัยั ทีีมวิิจััย
ได้้นำ�ำ ความรู้�และภูมู ิปิ ััญญามาสร้า้ งสรรค์์ให้เ้ กิดิ ประโยชน์ก์ ับั ชุุมชน อีีกทั้้�งยังั ได้้ศึกึ ษาจากภูมู ิปิ ััญญาดั้้�งเดิิม
ที่�่หยั่่�งรากลึึกใน ‘เยาวราช’ ย่า่ นการค้้าที่�่อยู่่�คู่่�กัับสังั คมไทยมายาวนาน

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

42

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

43

‘ศิลิ ปะบนฝาท่่อ’
หมุดุ หมายทางวััฒนธรรม
สื่่�อสารย่า่ นเก่า่

ตลอดถนนเยาวราชที่�่ลากผ่า่ นอดีีตสู่่�ปััจจุุบันั มิไิ ด้้เป็น็ เพีียงทางสัญั จรของ
ผู้้�คนและรถรา หากแต่่ยัังเป็็นเส้้นทางที่�่เชื่่�อมร้้อยเรื่่�องราวมากมายที่�่อยู่่�รายรอบ
น่า่ เสีียดายที่�่ทุกุ วัันนี้้�ผู้้�คนอาจแค่่ผ่า่ นมาแล้้วผ่า่ นไป จะดีีแค่่ไหนหากบนทางที่�่เรา
ต่่างคุ้้�นเคยบอกเล่า่ อััตลักั ษณ์ข์ องเยาวราชได้้หรืืออย่า่ งน้อ้ ยก็ช็ วนให้ค้ นหันั กลับั มา
มองย่า่ นเก่่าแห่ง่ นี้้�อย่า่ งพินิ ิิจพิจิ ารณามากขึ้้�น

ทุกุ วัันนี้้ห� ากใครมีีโอกาสย่ำ�ำ เท้้าแถวเยาวราช-เจริญิ กรุุงอาจเคยสะดุดุ ตากับั
‘ฝาท่่อ’ สีีสันั สดใสที่�่สื่่�อถึึงมรดกทางวััฒนธรรมในพื้�น้ ที่�่ นั่่�นคืือผลงานส่ว่ นหนึ่่�งจาก
โครงการ “การออกแบบศิิลปะบนฝาท่่อเพื่่�อเผยแพร่แ่ ผนที่่ท� างวััฒนธรรมของ
ชุุมชน” ภายใต้้งานวิิจััย “การพัฒั นาทุนุ ทางศิิลปะและวััฒนธรรมย่า่ นเยาวราช”
ซึ่ง�่ รองศาสตราจารย์จ์ ักั รพันั ธ์์ วิิลาสิินีกี ุลุ อาจารย์จ์ ากคณะจิติ รกรรม ประติมิ ากรรม
และภาพพิมิ พ์์ มหาวิทิ ยาลัยั ศิลิ ปากร หนึ่่ง� ในทีีมวิจิ ัยั ผู้้�มีีส่ว่ นสำ�ำ คัญั ในการสร้า้ งสรรค์์
ศิิลปะบนพื้�้นที่�่สาธารณะเหล่่านี้้�อธิิบายว่่า งานวิิจััยนี้้�มองเยาวราชเป็็นชุุมชนที่�่มีี
ต้้นทุุน แล้้วหนุุนเสริิมด้้วยความคิิดสร้้างสรรค์์ การผลัักดัันวััฒนธรรมที่�่โดดเด่่น
เพื่่�อให้้คนท้้องถิ่่�นยังั อยู่่�ในพื้�น้ ที่�่ได้้อย่า่ งภาคภููมิใิ จ

สำ�ำ หรัับอััตลัักษณ์์ของย่่านเยาวราช-เจริิญกรุุง ที่�่จะดึึงมาใช้้เพื่่�อสื่่�อสาร
ผ่า่ นศิลิ ปะได้้มีี 4 ประเภท คืือ 1. สถานที่่ส� ำ�ำ คััญของย่า่ นในอดีตี เช่น่ น้ำำ�พุวุ งเวีียน
โอเดีียน ประตููสามยอด ห้้างขายยา เป็็นต้้น 2. สััญลัักษณ์์ทางวััฒนธรรม เช่่น
ลวดลายจีีน อัักษรที่�่เป็็นมงคล หน้้ากากงิ้้�ว เป็็นต้้น 3. กิิจกรรมทางวััฒนธรรม
และกิิจกรรมในชีีวิิตประจำำ�วััน เช่่น รถเข็็นจีีน รถราง เป็็นต้้น 4. อาชีีพและ
สิินค้้าที่่เ� ป็น็ ที่่น� ิิยมและสร้า้ งสรรค์์ในย่า่ น เช่น่ ผลไม้้จีีน เครื่่�องยาจีีน โคมไฟจีีน
ย่า่ นทำำ�ตะเกีียง อััญมณีี เป็น็ ต้้น

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

44

“เราใช้้วิิธีีสื่่�อสารอััตลักั ษณ์ข์ องย่า่ นด้้วยการสร้า้ ง
ภาพที่่�มีีลักั ษณะไอคอน มีีรููปลักั ษณ์เ์ ชื่่�อมโยงกับั
ข้อ้ มููลในการออกแบบโดยตรง และไม่่จำำ�เป็น็ ต้้อง
เหมืือนจริงิ ทุกุ ประการ แต่่ยังั คงทำ�ำ หน้้าที่่เ� ชื่่�อมโยง
รููปภาพและความหมายที่่ต� ้้องการสื่่อ� สารได้้
ถึงึ แม้้ว่่าผู้ช้� มจะไม่่เคยรัับรู้้�ความหมายมาก่อ่ น”

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

45

“เราใช้ว้ ิิธีีสื่่�อสารอััตลัักษณ์ข์ องย่า่ นด้้วยการสร้า้ งภาพที่�่มีีลัักษณะไอคอน มีีรููปลัักษณ์เ์ ชื่่�อมโยงกัับ
ข้้อมููลในการออกแบบโดยตรงและไม่่จำำ�เป็็นต้้องเหมืือนความเป็็นจริิงทุุกประการ แต่่ยัังคงทำำ�หน้้าที่�่
เชื่่�อมโยงรููปภาพและความหมายที่�่ต้้องการสื่่�อสารได้้ ถึึงแม้้ว่่าผู้้�ชมจะไม่่เคยรัับรู้้�ความหมายมาก่่อน
และทีีมวิิจััยได้้เพิ่่�มการใช้้ตััวอัักษรที่�่ระบุุตำำ�แหน่่งฝาท่่อประปาย่่านเยาวราช-เจริิญกรุุงด้้วยตััวอัักษร
3 ภาษา ได้้แก่่ ไทย จีีน และอัังกฤษ เพื่่�อสื่่�อสารได้้มากขึ้้�น”

ความน่า่ ห่ว่ งใยของเมืืองเก่่าในกรุุงเทพฯ กลายเป็็นประเด็็นที่�่ รองศาสตราจารย์จ์ ัักรพันั ธ์์ บอกว่่า
ถึึงเวลาแล้้วที่่�จะต้้องเกิิดโครงการเพื่่�อพััฒนาเมืืองด้้วยความคิิดสร้า้ งสรรค์์มากกว่่าการทำำ�ให้้ทุุกเมืือง
เก่่าเป็็นเสมืือน ‘ธีีมปาร์ค์ ’ หรือื เมืืองที่่�ถููกจััดตั้้�งขึ้้�น การนำำ�ศิิลปะเข้้ามาจรรโลงพื้้�นที่่�เดิิมและสิ่่�งเดิิม
น่่าจะเป็น็ การ ‘ปลุกุ ’ ให้เ้ มืือง ‘ตื่่�น’ ได้้อีกี ครั้้�ง

“เราเห็น็ เกาะรัตั นโกสินิ ทร์ก์ ่อ่ นหน้า้ นี้้แ� ล้ว้ ที่ม�่ ีีลักั ษณะเป็น็ ธีีมปาร์ค์ มีีลักั ษณะเป็น็ เมืืองร้า้ งในอนาคต
เราเชื่่�อว่่าเมืืองที่�่มีีชีีวิิตจะพาวิิถีีคน วิิถีีวััฒนธรรม เศรษฐกิิจเปลี่�่ยนแปลงไปในทิิศทางที่�่น่่าปรารถนา
ส่่วนเยาวราชมีีพลวััตสููง มีีเดิิมพัันสููง เพราะเป็็นชุุมชนที่�่อยู่่�ได้้ด้้วยศรััทธาและความเชื่่�อ เป็็นแหล่่งรวม
เศรษฐกิิจ แหล่่งบันั เทิิงสมััยโบราณ มัันเปลี่�่ยนผ่า่ นมาทุกุ ยุุคทุกุ สมััย หากมองย้อ้ นกลัับไปในยุุคโก๋๋หลัังวััง
เยาวราชคึึกคัักมาก มัันมีีความรุ่�งเรืือง แต่่ก็็มีีบางอย่า่ งฟุบุ ไป แล้้วก็็มีีอย่า่ งขึ้้�นมาทดแทน”

เมื่่�อมองเห็็นความสำ�ำ คััญของเยาวราช เห็็นเป้้าหมายที่�่จะทำำ�ให้้ย่่านเก่่าแห่่งนี้้�กลัับมาเป็็นชุุมชน
ที่�่เป็็นชุุมชนจริิง ๆ โดยไม่ใ่ ช้ว้ ิิธีีการจัับคนนอกมาใส่ใ่ นพื้�้นที่�่เหมืือนย่า่ นบางย่า่ น กระบวนการศิิลปะและ
ความคิิดสร้า้ งสรรค์์จึึงถูกู นำ�ำ มาใช้ภ้ ายใต้้คอนเซปต์์ Creative Cultural City ให้้ความสำ�ำ คััญกัับแก่่นแท้้
ไม่ใ่ ช่แ่ ค่่สร้า้ งสีีสันั

“กระบวนการศิิลปะมีีพลวััตและมีีพลััง ตััวงานศิิลปะก็็จัับต้้องได้้ แต่่ไม่่ใช่่ว่่าจะเข้้าไปสััมผััส
กัับชุุมชนได้้ง่่าย ๆ ถ้้าไม่่มีีกระบวนการ เพราะฉะนั้้�นส่่วนสำ�ำ คััญที่�่สุุดของงานศิิลปะที่�่ถููกดึึงเข้้ามาใช้้คืือ
กระบวนการ ถ้้าเรานำำ�ไปสร้้างให้้เกิิดความสััมพัันธ์์กัับชุุมชน สร้้างสำ�ำ นึึก สร้้างการตระหนัักรู้� สร้้างการ
เผยแพร่่ให้้สััมฤทธิ์์�ผลว่่าสิ่่�งที่�่มีีอยู่่�หรืือสิ่่�งที่�่เคยมีีอยู่่�สามารถสร้้างความแปลกใหม่่ตื่่� นตาได้้อย่่างไร
กระบวนการศิิลปะจึึงถูกู ดึึงเข้า้ มา เพื่่�อที่�่จะทำำ�ให้ป้ ระเด็็นเชิงิ ความหมายประจัักษ์์ขึ้้�นมาได้้

ประเด็็นฝาท่่อที่�่ผมเคยทำำ�ไปแล้้วที่�่คลองโอ่่งอ่่าง และประสบความสำ�ำ เร็จ็ ถูกู ดึึงกลัับมาอีีกครั้้�งหนึ่่�ง
เพราะว่่ามัันพูดู เรื่่�องนี้้�ได้้ดีีที่�่สุดุ เลย ผมเอาแนวคิิดที่�่จะทำำ�ให้ง้ านศิิลปะไปผููกกัับสาธารณูปู โภค ผมเชื่่�อว่่า
เมื่่�อไรที่�ค่ นในพื้�น้ ที่�ร่ ู้้�สึกึ มีีส่ว่ นร่ว่ ม รู้้�สึกึ เป็น็ เจ้้าของ ศิลิ ปะสาธารณะมันั จะเป็น็ สมบัตั ิสิ าธารณะอย่า่ งแท้จ้ ริงิ
อย่า่ งคลองโอ่่งอ่่างเห็็นได้้ชััดว่่าคนมองฝาท่่อเป็็นสมบััติิสาธารณะ คนก็็เริ่่�มมีีความสััมพัันธ์ก์ ัับมัันมากขึ้้�น
เราเลยขยับั ให้้ฝาท่่อเป็น็ แผนที่�่ทางวััฒนธรรม”

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

46

จากแนวคิิดสู่่�แนวทางในการปฏิิบััติิ ฝาท่่อจ่่ายน้ำำ�ของการประปากว่่า 30 จุุดในพื้�้นที่�่เยาวราช -
เจริญิ กรุุง ถูกู เลืือกใช้ส้ ำ�ำ หรับั การออกแบบเพื่่�อสื่่�อสารอััตลัักษณ์ข์ องย่า่ นอย่า่ งคลอบคลุมุ และเชื่่�อมโยงเป็น็
แผนที่�่ทางวััฒนธรรมให้ค้ นทั่่�วไปสามารถเข้า้ ใจถึึงคุณุ ค่่าตั้้�งแต่่ครั้้�งอดีีตได้้

รองศาสตราจารย์์จัักรพัันธ์์ เล่่าถึึงเหตุุผลสำ�ำ คััญที่�่เปลี่�่ยนจากฝาท่่อระบายน้ำำ�บนถนนมาใช้้
‘ฝาท่่อจ่่ายน้ำ�ำ ’ ของการประปาซึ่�ง่ ติิดตั้้�งอยู่่�บนฟุตุ พาท ตอบโจทย์ใ์ นเรื่่�องการรับั รู้้�ของผู้้�คน

“จากการสำ�ำ รวจของทีีมวิิจััยพบว่่าฝาท่่อระบายน้ำำ�ที่�่อยู่่�บนถนน มีีรถสัญั จรไปมาทัับอยู่่�ตลอดเวลา
ส่ว่ นฝาท่่อประปาก็็ติิดปััญหาที่�่มีีขนาดเล็็ก ออกแบบได้้ค่่อนข้้างยาก แต่่ทุุกหััวท้้ายของถนนย่า่ นนี้้�มีีบ้า้ น
และมีีวาล์์วจ่่ายน้ำำ�อยู่่� พููดง่่าย ๆ มัันคืือหมุุดหมายที่�่คนจะมองเห็็นได้้ จึึงเกิิดเป็็นการผลิิตต้้นแบบฝาท่่อ
ประปาจากความร่่วมมืือของเครืือข่่าย มีีบริิษััท นวกาญจน์์โลหะชลบุุรีี จำำ�กััด ผู้้�ประกอบการผลิิตฝาท่่อ
ได้้ทดลองผลิิตต้้นแบบฝาท่่อประปา ด้้วยเหล็็กหล่่อเหนีียวส่่วนฝาท่่อและวงแหวนรอบฝาหีีบ แล้้วลงสีี
โดยเลืือกลายจากถนนเยาวราช 1 ลาย และถนนเจริญิ กรุุง 1 ลาย

ผลก็็คืือการพััฒนาฝาท่่อประปาให้้สวยงามมีีลวดลายและสีีสัันที่�่ดึึงดููดสายตานอกจากจะช่่วยให้้
ทััศนีียภาพในเมืืองน่่ามอง ยัังประกอบเป็็นส่่วนหนึ่่�งของแผนที่�่ทางวััฒนธรรมที่�่ช่่วยแสดงอััตลัักษณ์์ของ
ชุุมชนให้้ปรากฏชัดั ยิ่่ง� ขึ้้�น”

ในแง่ก่ ารใช้ง้ าน การทำำ�ให้ฝ้ าท่อ่ ประปาโดดเด่น่ มองเห็น็ ได้ง้ ่า่ ย ช่ว่ ยให้เ้ ข้า้ ถึงึ อุปุ กรณ์เ์ มื่่�อยามจำำ�เป็น็
ได้้ดีีขึ้้�น และยังั ทำำ�หน้้าที่�่เป็น็ เครื่่�องหมายบอกทาง แสดงเส้น้ ทางไปยังั จุุดสำ�ำ คััญของย่า่ น รวมทั้้�งขอบเขต
และจุุดเชื่่�อมต่่อไปยังั ย่า่ นอื่่�น ๆ ได้้อีีกด้้วย อย่า่ งในหลายประเทศที่�่ติิดตั้้�งฝาท่่ออัันเป็น็ เอกลัักษณ์ข์ องเมืือง
เช่น่ ญี่�ป่ ุ่่�น ฝรั่่�งเศส คืือตััวอย่า่ งของการสร้า้ งสรรค์์หมุุดหมายที่�่เป็น็ สินิ ค้้าทางวััฒนธรรมได้้อีีกทางหนึ่่�ง

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

47

บนฝาท่่อประปาโฉมใหม่น่ ี้้� ยังั มีีเทคโนโลยีีด้้านข้อ้ มููลสุดุ ล้ำำ�อย่า่ งการใช้้ QR Code เพื่่�อแจ้้งข้อ้ มูลู
แต่่ละหมุดุ หมาย อ่่านได้้ผ่า่ น QR Code ที่�่ติิดตั้้�งอยู่่�ด้้านซ้า้ ยของวงแหวน โดยแต่่ละลวดลายจะให้้ข้อ้ มูลู
สำ�ำ คััญทางประวััติิศาสตร์์ของย่่านที่�่แตกต่่างกัันตามที่�่ติิดตั้้�งฝาท่่อนั้้�น ๆ และแนบลิิงก์์เพื่่�อเชื่่�อมต่่อกัับ
เว็็บไซต์์อื่่�น ๆ ที่�่เป็น็ ประโยชน์์ เช่น่ เว็็บไซต์์ของการประปานครหลวง เว็็บไซต์์งานวิิจััยเยาวราช-เจริญิ กรุุง

จากวัันแรกที่�่เริ่่�มทำำ�งานวิิจััยเกี่�่ยวกัับการนำ�ำ ศิิลปะมาใช้้บนฝาท่่อระบายน้ำ�ำ ในโครงการ

ประติิมากรรมสาธารณะโดยการมีีส่่วนร่่วมกัับชุุมชน ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2559 จนวัันนี้้�ที่�่พััฒนาเป็็นโครงการ

การออกแบบศิิลปะบนฝาท่่อเพื่่� อเผยแพร่่แผนที่�่ทาง

วััฒนธรรมของชุุมชน รองศาสตราจารย์์จัักรพัันธ์์มองว่่า

ชุุมชนมีีการปรัับตััวและรวมตััว เริ่่�มเปิิดรัับศิิลปะเข้้ามา “ทั้้ง� หมดนี้้ย� ่อ่ มยืนื ยันั ได้ร้ ะดับั หนึ่่ง�
มากขึ้้�น เป็็นสััญญาณอัันดีีว่่า ความฝัันที่�่อยากจะเห็็น ว่า่ การนำ�ำ ศิลิ ปะมาใช้้ในการพัฒั นา
Cultural Creative Community เริ่่ม� ใกล้้ความจริงิ พื้น�้ ที่่ท� างวัฒั นธรรมนั้้น� มาถููกทาง
หากได้ร้ ับั ความร่ว่ มมือื จากคนใน
“Creative Cultural City จะค่่อย ๆ ก่่อรููปก่่อร่า่ ง ดังั นั้้น� การทำ�ำ งานของทีมี วิจิ ัยั จำ�ำ เป็น็
ขึ้้�นได้้ถ้้าเราให้้พื้�้นที่�่คน ชุุมชนบวรรัังษีีที่�่อยู่่�ตรงคลอง ต้อ้ งสร้า้ งฉันั ทามติจิ ากชุมุ ชน”
โอ่่งอ่่าง เขาก็็เกิิดการรวมตััวกัันขึ้้�น สิ่่ง� ที่�่ผมได้้ยินิ ล่่าสุดุ คืือ
เขามาขอใช้้สิ่่�งที่�่เราออกแบบ คืือ ตราสััญลัักษณ์์ประจำำ�
ชุุมชน เขาจะเอาสิ่่�งนี้้�ไปออกแบบใหม่่เพื่่�อต่่อยอดเป็็น

ผลิิตภััณฑ์์ที่�่จะขาย แล้้วนำำ�เงิินมาสนัับสนุุนกิิจกรรมของ

ชุุมชน ซึ่�ง่ ผมยินิ ดีีมาก นี่�่ก็็เป็็นสัญั ญาณหนึ่่�ง

พอเรามองไปที่�่ตรอกซอกซอยจะเห็น็ การเปลี่�่ยนแปลงของชุุมชน มีีทั้้�งบวกและลบ มีีคนใหม่เ่ ข้า้ ไป
พััฒนาที่�่ดิินเป็็นบููทีีคโฮเทล บ้้านเรืือนก็็พยายามปรัับหลัังบ้้านที่�่เมื่่�อก่่อนเป็็นตลาดสะพานเหล็็กแออััด
เมื่่�อพื้�น้ ที่�่เปลี่�่ยนไปแล้้ว ก็็จำำ�เป็น็ ต้้องเปลี่�่ยนแปลงตััวเอง ผมคิิดว่่ามัันจะค่่อย ๆ ลาม ค่่อย ๆ เปลี่�่ยน สิ่่ง� ที่�่
น่า่ ห่ว่ งคืือต้้องระมััดระวัังไม่ใ่ ห้้กลายเป็น็ ธีีมปาร์ค์ ไปอีีกแบบหนึ่่�ง”

อย่า่ งไรก็ด็ ีี ทั้้�งหมดนี้้ย� ่อ่ มยืืนยันั ได้ร้ ะดับั หนึ่่ง� ว่า่ การนำำ�ศิลิ ปะมาใช้ใ้ นการพัฒั นาพื้�น้ ที่ท�่ างวัฒั นธรรม
นั้้น� มาถูกู ทาง หากได้้รับั ความร่ว่ มมืือจากคนใน ดัังนั้้น� การทำำ�งานของทีีมวิิจััยจำำ�เป็น็ ต้้องสร้า้ งฉันั ทามติิจาก
ชุุมชน ซึ่�่งรองศาสตราจารย์์จัักรพัันธ์์บอกว่่าแม้้ตอนนี้้�โครงการจะจบแล้้ว แต่่ภารกิิจยัังไม่่สิ้้�นสุุด การนำำ�
ศิลิ ปะมาผสมผสานกัับวิิถีีของชุุมชนเป็็นแค่่การเปิดิ ตััวให้ไ้ ด้้เห็น็ ได้้ยอมรับั

“การเติิบโตของเมืืองเป็็นงานที่่�ไม่่มีวี ัันเสร็จ็ แต่่ต้้องจบแต่่ละเฟส แต่่ละเรื่่�อง ถามว่่าจะไปได้้
ถึึงตรงไหน ก็็ต้้องกลัับไปที่่�คอนเซปต์์ของโครงการ คืือการที่่�เราอยากเห็็น Creative Cultural City
แต่่ต้้องเริ่่ม� จาก Creative Cultural Community และต้้องมีี Community แบบนี้้เ� กิิดขึ้้�นอีกี หลาย ๆ ที่่�
เยาวราชเป็น็ กรณีตี ััวอย่า่ งหนึ่่�ง จริิง ๆ เราเองก็็อยากมองเห็น็ ชุุมชนฝั่�่งธน ชุุมชนที่่เ� ป็น็ เรือื กสวนไร่น่ า
แถวตลิ่่ง� ชันั อีกี หลาย ๆ พื้้�นที่่ท� ี่่ด� ำำ�เนิินการภายใต้ค้ อนเซปต์น์ ี้้ไ� ด้้ และรวมตัวั กันั พวกเราไม่ใ่ ช่น่ ักั อนุรุ ักั ษ์์
หรืือเก็็บของเก่่า แต่่เราพยายามมองหาความเป็็นไปได้้ว่่าทำำ�อย่่างไรให้้ Creative Cultural City
เกิิดขึ้้�นในเมืืองเก่่า”

ไม่่ใช่่เพื่่�อหยุุดเวลาหรืือโหยหาอดีีต แต่่เพื่่�อปลุุกเมืืองให้้ตื่่� นขึ้้�นและพร้้อมก้้าวไปข้้างหน้้า
โดยไม่ห่ ลงลืืมคุณุ ค่่าทางประวััติิศาสตร์์

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY

48

รสชาติแิ ห่ง่ เยาวราช
ศาสตร์์และศิลิ ปะในวัฒั นธรรมอาหาร

‘อาหาร’ จึึงไม่่เพียี งเป็น็ เรื่อ� งของรสชาติิหรือื รสนิยิ ม
แต่เ่ ป็น็ มรดกทางวััฒนธรรมที่่�กอปรขึ้น้� ด้ว้ ย
‘ภููมิิทััศน์อ์ าหาร’ (Foodscapes) หรืือพื้น้� ที่่ท� ี่่ม� ีี
กิจิ กรรมอาหารเกิดิ ขึ้�้น ทั้้�งที่่�เป็็นธรรมชาติแิ ละ
มนุุษย์ส์ ร้า้ งขึ้�้น ส่ง่ ผลให้อ้ าหารทุุกจานสัมั พันั ธ์์
และมีีผลต่อ่ กัันและกันั กัับสิ่่ง� แวดล้อ้ ม วััฒนธรรม
สังั คม และเศรษฐกิจิ

เยาวราช CREATIVE
CULTURAL
COMMUNITY

49

CREATIVE เยาวราช
CULTURAL
COMMUNITY


Click to View FlipBook Version