สารจากนายกสภา
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร มเี ปา้ หมายในการเปน็ ผนู้ �ำ ในการผลติ ผลงานวจิ ยั และงานสรา้ งสรรค์ การบรกิ าร
วชิ าการ การท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม โดยใชอ้ ตั ลกั ษณเ์ รอ่ื งศลิ ปะซง่ึ เปน็ จดุ แขง็ ของมหาวทิ ยาลยั ในการเชอ่ื มโยง
กับท้องถิ่นหรืออุตสาหกรรม ตอบโจทย์การเปล่ียนแปลงของประเทศ เพื่อแก้ปัญหาของชุมชน สังคมและ
ประเทศ ตลอดระยะเวลาทผี่ า่ นมา มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ผลติ ผลงานวจิ ัย นวตั กรรม และงานสรา้ งสรรค์
ออกมาหลากหลาย ท้ังงานวิจัยด้านศิลปะและการออกแบบ ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และด้าน
วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ตลอดจนงานวิจัยเชิงบูรณาการ โดยเฉพาะงานวิจัยแบบบูรณาการ
เพ่ือการพัฒนาเชิงพื้นที่ด้วยทุนทางศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงมีความสอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยใน
การสรา้ งองคค์ วามรทู้ ั้งศาสตร์และศลิ ป์ การบริการทางวิชาการแก่สังคม และการทำ�นบุ ำ�รงุ ศิลปวฒั นธรรม
โครงการวจิ ยั “การพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบดว้ ยการทอ่ งเทย่ี วเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละยง่ั ยนื เพอื่ ยกระดบั จงั หวดั
เพชรบรุ สี เู่ มอื งสรา้ งสรรค”์ เปน็ งานวจิ ยั เพอ่ื ตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของจงั หวดั เพชรบรุ ี ซง่ึ เปน็ พนื้ ทต่ี งั้ ของ
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี และเปน็ อกี หน่งึ งานวจิ ัยทีแ่ สดงให้เห็นถงึ การวจิ ยั แบบ
บูรณาการระหว่างศาสตร์และศิลป์ที่ยังคงอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นท่ีด้วย
ทุนทางศิลปวัฒนธรรม และสามารถนำ�ไปสู่การต่อยอดและการนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ท้ังในเชิงเศรษฐกิจและ
สงั คม
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรขอขอบคณุ ศาสตราจารย์ ดร.สนทิ อกั ษรแกว้ ประธานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ
และสงั คมแหง่ ชาติ และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร นายภราเดช พยฆั วเิ ชยี ร
อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมพศิ ขัตติยพกิ ลุ คณบดีวิทยาลยั นานาชาต ิ
ทป่ี รกึ ษาโครงการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนั ชยั สทุ ธะนนั ท์ คณบดคี ณะวทิ ยาการจดั การ รองศาสตราจารย์
ดร.ประสพชยั พสนุ นท์ หวั หนา้ โครงการวจิ ยั และนกั วจิ ยั ทกุ ทา่ น ทช่ี ว่ ยกนั ผลกั ดนั และสนบั สนนุ ใหง้ านวจิ ยั น้ี
ดำ�เนินการจนประสบความสำ�เร็จอย่างดียิ่ง และขอขอบคุณ ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน
การวิจัยแห่งชาติ ในฐานะหน่วยงานให้ทุนวิจัย นับเป็นการเช่ือมร้อย เช่ือมต่องานพัฒนาอย่างย่ังยืน
และหวังเป็นอย่างย่ิงว่างานวิจัยน้ี จะก่อให้เกิดประโยชน์กับชุมชน ท้องถิ่น และจังหวัดเพชรบุรี
ในการขบั เคล่ือนจังหวัดเพชรบุรีสูเ่ มอื งสรา้ งสรรคข์ อง UNESCO ด้าน Gastronomy ต่อไป
(ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ คณุ หญงิ ไขศรี ศรอี รณุ )
นายกสภามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
2
สารจากอธกิ ารบดี
มหาวิทยาลยั ศิลปากร
มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เล็งเห็นถึงความสำ�คัญในการส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย
และสรา้ งสรรคข์ องคณาจารยห์ รอื บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรในเวทวี ชิ าการตา่ งๆ เพอื่ เปน็ การแสดง
ศกั ยภาพทางดา้ นการวจิ ยั และสรา้ งสรรคข์ องมหาวทิ ยาลยั โดยเฉพาะงานมหกรรมงานวจิ ยั แหง่ ชาติ ซงึ่ จดั ขนึ้
โดย ส�ำ นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ถอื วา่ เปน็ เวทสี �ำ หรบั การน�ำ เสนอและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ระดบั ชาตทิ มี่ ี
การเชอ่ื มโยงระหวา่ งนกั วจิ ยั และกลมุ่ เปา้ หมายในการน�ำ ผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ ซง่ึ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ได้เข้าร่วมนำ�เสนอผลงานวิจัยภาคนิทรรศการในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติเป็นประจำ�ทุกปี ต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2551 โดยมกี ารน�ำ เสนอผลงานวจิ ยั ครอบคลมุ ทง้ั งานวจิ ยั ดา้ นศลิ ปะและการออกแบบ ดา้ นสงั คมศาสตร์
และมนษุ ยศาสตร์ และด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ประยกุ ต์ ตลอดจนงานวจิ ยั เชงิ บูรณาการ
สำ�หรับการเข้าร่วมนำ�เสนอผลงานวิจัยภาคนิทรรศการในงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2564
(Thailand Research Expo 2021)” ซ่ึงจัดข้ึนเป็นคร้ังที่ 16 ภายใต้แนวคิดหลักของการจัดงาน คือ
“วิจัยเพอ่ื พัฒนาประเทศสคู่ วามมน่ั คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื ” มหาวทิ ยาลยั ศิลปากรไดน้ ำ�เสนอผลงานวิจัยเรื่อง
“การพัฒนาชุมชนต้นแบบด้วยการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และย่ังยืนเพ่ือยกระดับจังหวัดเพชรบุรีสู่เมือง
สร้างสรรค์” ในหัวข้อ “เท่ียวเมืองเก่า เล่าเร่ืองเมืองเพ็ชร์ (Phetchaburi Creative City)” กลุ่มเรื่อง
“งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาเชิงพื้นท่ีและลดความเหลื่อมลํ้า” โดยนำ�เสนอผลงานวิจัยท่ีแสดงถึงการ
บรู ณาการองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมในการพฒั นาเชงิ พนื้ ทจี่ งั หวดั เพชรบรุ ี โดยการตอ่ ยอดทนุ ทางศลิ ปวฒั นธรรม
ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องจงั หวดั เพชรบรุ เี พอ่ื การพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบดว้ ยการทอ่ งเทยี่ วเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละยงั่ ยนื
ผา่ นกจิ กรรมสรา้ งสรรคแ์ ละกระบวนการมสี ว่ นรว่ มกบั ภาคสว่ นตา่ ง ๆ อกี ทงั้ ยงั มเี ปา้ หมายในการสรา้ งความ
ร่วมมอื การรับรแู้ ละการพัฒนารว่ มกัน เพื่อขับเคลื่อนจงั หวดั เพชรบรุ ีสเู่ มอื งสรา้ งสรรค์
ทั้งน้ี มหาวิทยาลัยศิลปากร หวังเป็นอย่างย่ิงว่า การเผยแพร่ผลงานวิจัย “การพัฒนาชุมชนต้นแบบ
ดว้ ยการท่องเทยี่ วเชงิ สร้างสรรคแ์ ละยั่งยืนเพ่ือยกระดบั จงั หวดั เพชรบุรีสู่เมอื งสร้างสรรค”์ จะให้ความรแู้ ละ
เป็นประโยชน์แก่ผู้ท่ีสนใจงานวิจัยแบบบูรณาการเพ่ือการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีด้วยทุนทางศิลปวัฒนธรรม และ
นำ�ไปสกู่ ารขยายผล ต่อยอด และการน�ำ ผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์ในวงกวา้ งมากย่งิ ขึน้ ตอ่ ไป
(ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ชยั ชาญ ถาวรเวช)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
3
ภาพ : ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พีระศรี “ผู้ก่อตัง้ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
และบิดาแหง่ ศิลปะร่วมสมยั ของไทย”
ศลิ ปากรเป็นมหาวทิ ยาลยั ช้ันน�ำ
แห่งการสรา้ งสรรค์
SILPAKORN UNIVERSITY IS A LEADING
CREATIVE UNIVERSITY
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรเปน็ สถาบนั การศกึ ษา ปี พ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร
ระดบั อดุ มศกึ ษา เดมิ คอื โรงเรยี นประณตี ศลิ ปกรรม มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาท่ี
สังกัดกรมศิลปากร เปิดสอนวิชาจิตรกรรมและ หลากหลายขึ้น จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยัง
ประตมิ ากรรมใหแ้ กข่ า้ ราชการและนกั เรยี นในสมยั พระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวดั นครปฐม โดยจดั ตง้ั
นนั้ โดยไมเ่ กบ็ คา่ เลา่ เรยี น ผกู้ อ่ ตง้ั คอื ศาสตราจารย์ คณะอกั ษรศาสตร์ (พ.ศ. 2511) คณะศกึ ษาศาสตร์
ศลิ ป์ พรี ะศรี (เดมิ ชอ่ื Corrado Feroci) เปน็ ชาว (พ.ศ. 2513) คณะวิทยาศาสตร์ (พ.ศ. 2515)
อติ าเลยี นซง่ึ เดนิ ทางมารบั ราชการในประเทศไทย บัณฑติ วทิ ยาลยั (พ.ศ. 2515) คณะเภสัชศาสตร์
ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (พ.ศ. 2529) และคณะวิศวกรรมศาสตร์และ
รัชกาลที่ 6 กระท่ังต่อมาได้รับการยกฐานะขึ้น เทคโนโลยีอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2534)
เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันท่ี 12 ตุลาคม ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2540 มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
พ.ศ. 2486 คณะจิตรกรรมประติมากรรมและ ได้ขยายเขตการศกึ ษาไปจดั ตง้ั วทิ ยาเขตแห่งใหม่
ภาพพิมพ์ ได้รับการจัดตั้งข้ึนเป็นคณะวิชาแรก ที่จังหวัดเพชรบุรี เพ่ือกระจายการศึกษาไปสู่
ในปี พ.ศ. 2498 จดั ตง้ั คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ภมู ภิ าค ใชช้ อ่ื วา่ “วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ”ี
และคณะโบราณคดี หลังจากน้ันได้จัดต้ังคณะ จัดต้ังคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
มัณฑนศิลป์ข้ึนในปีต่อมา และมีการจัดตั้งคณะ (พ.ศ. 2544) คณะวิทยาการจัดการ (พ.ศ. 2545)
ดุรยิ างคศาสตร์ขนึ้ เมื่อปี พ.ศ. 2542 เพ่อื ให้เป็น คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และ
มหาวทิ ยาลยั ทม่ี คี วามสมบรู ณท์ างดา้ นศลิ ปะมาก วิทยาลยั นานาชาติ (พ.ศ. 2546)
ยง่ิ ข้นึ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับการ
ปรับเปล่ียนสถานะจากการเป็นส่วนราชการ
มาเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ ต้ังแต่
วนั ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2559 ตามพระราชบญั ญตั ิ
มหาวิทยาลยั ศิลปากร พ.ศ. 2559
เวบ็ ไซต์ : www.su.ac.th
5
6
การพัฒนาชุมชนต้นแบบดว้ ย
การท่องเท่ยี วเชงิ สร้างสรรคแ์ ละยัง่ ยนื
เพอื่ ยกระดบั จังหวดั เพชรบรุ ี
สเู่ มืองสร้างสรรค์
Community Development Model with
Creative and Sustainable Tourism to Promote
Phetchaburi Province as a Creative City
สนบั สนนุ ทุนวิจยั โดย : ส�ำ นกั งานการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.)
หัวหนา้ โครงการวจิ ยั
รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพชยั พสุนนท์
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
นักวิจัย
1. นายจาตุรนต์ ภกั ดวี านชิ
กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า
2. รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระวัฒน์ จันทึก
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
3. รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรอื ง
คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
4. รองศาสตราจารย์ สยุมพร กาษรสุวรรณ
คณะมณั ฑนศลิ ป์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
5. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนสั สนิ ี บญุ มศี รสี งา่
คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
6. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วฒุ ชิ ัย อารักษโ์ พชฌงค์
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
7. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จิตพนธ์ ชมุ เกตุ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
8. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ระชานนท์ ทวีผล
คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
9. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณติ า วงศม์ หาดเลก็
คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
10. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพร สิริวชิ ยั
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภธู ฤทธิ์ วิทยาพฒั นานุรกั ษ์ รักษาศริ ิ
คณะสตั วศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลยั ศิลปากร
12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวนพ ชวี รศั มี
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
13. อาจารย์ ดร.ชิษณพุ งศ์ ศิรโิ ชตนิ ิศากร
คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
14. อาจารย์ ดร.สรุ ภัทร์ พไิ ชยแพทย์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
15. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ณนนท์ แดงสงั วาลย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
16. อาจารย์ ดร.ธงชัย ทองมา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา
17. นางสาวกนกอร เนตรชู
มหาวิทยาลัยสวนดุสติ
จงั หวดั เพชรบรุ ี หรอื “เมอื งเพช็ ร”์ มคี วามตอ้ งการเสนอตวั เขา้ เปน็ สมาชกิ เครอื ขา่ ยเมอื งสรา้ งสรรค์
ของ UNESCO ดา้ น Gastronomy ซง่ึ เปน็ เปา้ หมายส�ำ คญั ในการยกระดบั การทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั เพชรบรุ ี
ไปสู่สากลบนพื้นฐานของทุนทางศิลปวัฒนธรรมผสมผสานกับความโดดเด่นของวัตถุดิบและอาหาร
ใหเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ส�ำ คญั ในการยกระดบั เศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื และผลของ
การดำ�เนินโครงการวิจัยคร้ังนี้ก็มีส่วนสนับสนุนกิจกรรมท่ีนำ�ไปสู่การเสนอตัวและการเข้าสู่สมาชิก
เครอื ขา่ ยเมืองสรา้ งสรรคข์ อง UNESCO ในหลายดา้ น เชน่ การพัฒนายทุ ธศาสตร์ขับเคลอ่ื นเพชรบรุ ี
สู่เมืองสร้างสรรค์ การพัฒนาอาหารพ้ืนถิ่นเพื่อรองรับนักท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ในชุมชนเป้าหมาย
การพฒั นาผลติ ภณั ฑต์ น้ แบบและกจิ กรรมทางศลิ ปวฒั นธรรมเพอ่ื สนบั สนนุ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ สรา้ งสรรค์
ในชุมชนเป้าหมาย การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จากชุมชน
เปา้ หมาย เปน็ ตน้
การด�ำ เนนิ โครงการวจิ ยั ครงั้ นม้ี งุ่ ประเดน็ ความสนใจไปยงั การยกระดบั การทอ่ งเทย่ี วเชงิ สรา้ งสรรค์
ให้เกดิ กบั ชุมชนเปา้ หมายทั้ง 3 ชุมชน ในจังหวัดเพชรบุรี ได้แก่ ชุมชนคลองกระแชง ชมุ ชนซอยตลาด
รมิ นาํ้ และชมุ ชนวดั เกาะ ภายใตแ้ นวคดิ การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื และการสง่ เสรมิ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ ระดบั
ฐานรากจากการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ไปพร้อมๆ กับการสนับสนุนกิจกรรมการขับเคลื่อนจังหวัด
เพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์ด้วยการเสนอตัวเข้าเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ของ UNESCO
ของจงั หวดั เพชรบรุ ี โดยการมงุ่ พฒั นาชมุ ชนตน้ แบบทม่ี ที นุ ทางศลิ ปวฒั นธรรมมาตอ่ ยอดและขยายผล
อย่างเป็นรูปธรรมให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และย่ังยืนโดยการขับเคล่ือนผ่านการ
ประสานงานของหนว่ ยงานราชการ องคก์ รภาคธุรกจิ และภาคประชาสังคม และชมุ ชน โดยร้อยเรยี ง
เขา้ กับทุนทางสงั คม ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ิปญั ญา
15
ภาพรวมของการดำ�เนนิ งาน
โครงการวิจัย
การดำ�เนินงานโครงการวิจัย “การพัฒนา เชิงสร้างสรรค์ให้สอดรับกับความต้องการเชิง
ชุมชนต้นแบบด้วยการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ พ้ืนท่ี และสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ท่ีส่งเสริม
และยั่งยืนเพื่อยกระดับจังหวัดเพชรบุรีสู่เมือง กระบวนการขับเคลื่อนจังหวัดเพชรบุรีสู่เมือง
สรา้ งสรรค”์ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื พฒั นายทุ ธศาสตร์ สร้างสรรค์ โดยเริ่มต้นต้ังแต่การพัฒนาสูตร
การขบั เคลอ่ื นจงั หวดั เพชรบรุ เี พอ่ื ยกระดบั สเู่ มอื ง อาหารตามอัตลกั ษณ์ ภาชนะใส่อาหารทีต่ อ่ ยอด
สร้างสรรค์ด้วยการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ตาม ภูมิปัญญา ทุนศิลปวัฒนธรรม และผลิตภัณฑ์
แนวคิดบรรทัดฐานใหม่ และพัฒนารูปแบบ สร้างสรรค์ และเส้นทางการท่องเท่ียวท่ีสะท้อน
การบูรณาการผ่านกลไกการนำ�องค์ความรู้และ วิถีชีวิตและมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของจังหวัด
นวัตกรรมที่ได้ไปขยายผลในแพลตฟอร์ม เพ่ือ เพชรบุรี อีกทั้งยังได้พัฒนาช่องทางการตลาด
กระจายรายได้ และลดความเหลื่อมล้ําจากการ และการสอ่ื สารประชาสมั พนั ธผ์ า่ นระบบออนไลน์
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ตามบรรทัดฐานใหม่ให้ และออ๊ ฟไลน์ ใหเ้ กดิ การสรา้ งการรบั รใู้ นมติ ติ า่ งๆ
เกิดพลวัตอย่างย่ังยืน ตลอดจนพัฒนาภาคธุรกิจ ที่ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเท่ียวสร้างสรรค์ทั้ง
โรงแรมและอุตสาหกรรมบริการการท่องเที่ยว ในระดับชุมชนไปถึงภาพรวมทั้งจังหวัด และ
ตามแนวคิดบรรทัดฐานใหม่ และออกแบบย่าน ในลำ�ดับสุดท้ายก็ได้ดำ�เนินการพัฒนาแนวทาง
การทอ่ งเทยี่ วเชงิ สรา้ งสรรค์ เพอื่ ขบั เคลอื่ นจงั หวดั การบริหารจัดการชุมชนท่องเท่ียว 3 ชุมชน ให้
เพชรบรุ สี ู่เมืองสร้างสรรค์ เกิดเป็นย่านการท่องเท่ียวสร้างสรรค์ท่ีสามารถ
ผลจากการดำ�เนินงานวิจัยท่ีผ่านมา คณะ ดึงดูดนักท่องเท่ียวคุณภาพตามแนวทางการ
ผวู้ จิ ยั ไดเ้ นน้ การพฒั นายทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคลอ่ื น ทอ่ งเทย่ี ววถิ ใี หม่ ซง่ึ รวมถงึ การพฒั นากองทนุ การ
จังหวัดเพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์ ให้จังหวัด จดั การการทอ่ งเทย่ี วเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละยง่ั ยนื โดย
เพชรบรุ ใี ชเ้ ปน็ กรอบในการปรับยทุ ธศาสตรห์ ลัก ผลการวิจัยการพัฒนาชุมชนต้นแบบด้วยการ
ของจังหวัดเพ่ือตอบสนองภารกิจเร่งด่วนในการ ท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และย่ังยืนเพื่อยกระดับ
เสนอตัวเข้าสู่การเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ จงั หวดั เพชรบรุ สี เู่ มอื งสรา้ งสรรค์ สามารถจ�ำ แนก
ของ UNESCO ในขณะเดียวกันก็ได้ดำ�เนินการ ไดเ้ ปน็ 8 กล่มุ ดังภาพที่ 1
วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบการท่องเท่ียว
16
ภาพท่ี 1 ผลการดำ�เนินงานการพัฒนาชุมชนต้นแบบ
ด้วยการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และย่ังยืน เพื่อยกระดับ
จงั หวดั เพชรบุรีสเู่ มืองสร้างสรรค์ (บางส่วน)
17
แนวทางการนำ�งานวิจัย
ไปใชป้ ระโยชน์
ด้วยการวิจัยน้ีได้ถูกออกแบบข้ึนเพื่อ ผลกระทบสัมพันธ์กันอย่างรอบด้านในภาคส่วน
ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร เ ชิ ง พื้ น ที่ ใ น ก า ร ต่างๆ ท่ีเชื่อมโยงกันเป็นกลไกอย่างบูรณาการ
ขับเคลื่อนจังหวัดเพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์ตาม โดยแนวทางการใชป้ ระโยชนจ์ ากการวจิ ยั สามารถ
แนวทางของ UNESCO และโจทยส์ �ำ คญั ทที่ า้ ทาย จ�ำ แนกออกเปน็ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั ยทุ ธศาสตร์
ของคณะผู้วิจัย คือ การพัฒนาชุมชนต้นแบบ ระดับการต่อยอดและพัฒนาทุนทางทรัพยากร
การท่องเที่ยวสร้างสรรค์จากการต่อยอดทุนทาง และระดบั การด�ำ เนนิ งานและการถา่ ยโอนความรู้
ศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนและ ที่ม่งุ ให้เกดิ Platform ทสี่ ำ�คญั ส�ำ หรับขับเคล่ือน
จังหวัดเพชรบุรี ซ่ึงทำ�ให้ผลของการใช้ประโยชน์ เพชรบรุ ีสู่เมืองสรา้ งสรรค์ ดังภาพที่ 2
ของการวิจัยน้ีเกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง และเกิด
ภาพท่ี 2 แนวทางการใช้ประโยชน์โครงการวิจัย “การพัฒนา
ชุมชนต้นแบบด้วยการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และยั่งยืนเพ่ือ
ยกระดับจังหวัดเพชรบรุ ีสเู่ มืองสร้างสรรค”์
18
การพฒั นายุทธศาสตร์
การขบั เคล่ือนจังหวดั เพชรบุรี
สู่เมอื งสรา้ งสรรค์
โดย 5. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ระชานนท์ ทวผี ล
คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
1. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพชัย พสุนนท์ 6. อาจารย์ ดร.สุรภทั ร์ พไิ ชยแพทย์
คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
2. นายจาตุรนต์ ภักดีวานชิ 7. อาจารย์ ดร.ธงชยั ทองมา
กระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา
3. รองศาสตราจารย์ ดร.ธรี ะวัฒน์ จนั ทกึ 8. นางสาวกนกอร เนตรชู
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ
4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์
คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
หน่ึงในเป้าหมายท่ีสำ�คัญของการวิจัย คือ (Creative City of Gastronomy
กลไกและการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน by UNESCO) โดยยุทธศาสตร์การขับเคล่ือน
ชมุ ชน สถาบนั การศกึ ษา และภาคประชาสงั คม ใน จังหวัดเพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์ที่พัฒนาขึ้น
การด�ำ เนนิ การ “พฒั นายทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคลอ่ื น เกิดจากการรวบรวมข้อมูลเพ่ือพิจารณาความ
จังหวัดเพชรบุรีเพื่อยกระดับสู่เมืองสร้างสรรค์” สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560
สอดคล้องกับแนวนโยบายของจังหวัดเพชรบุรีที่ – 2579) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
มเี ปา้ ประสงคใ์ นการเสนอตวั เปน็ เมอื งสรา้ งสรรค์ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนพฒั นาการ
ขององค์การเพ่ือการศึกษา วิทยาศาสตร์ และ ทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2560 – 2564)
วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก และ และแผนพฒั นาจงั หวดั เพชรบรุ ี พ.ศ. 2561 – 2565
สมัครเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านวิทยาการอาหาร (ฉบบั ทบทวน)
การวิจัยมีการรับฟังข้อมูลอย่างรอบด้าน
ทั้ ง ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ เ ชิ ง ลึ ก แ ล ะ ก า ร เ ปิ ด เ ว ที
เสวนาเพชรบุรีเมืองสร้างสรรค์ “การระดม
สมองเพ่ือพิจารณายุทธศาสตร์การขับเคล่ือน
จังหวัดเพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์” ในท้ายที่สุด
ไ ด้ ส กั ด ส า ร ส น เ ท ศ อ อ ก ม า เ ป็ น ผ ล ผ ลิ ต
ประกอบด้วย 6 เป้าประสงค์ 35 กรอบตัวช้ีวัด
43 กลยุทธ์ และ 60 กิจกรรมการขับเคลื่อน
โดยยุทธศาสตร์ที่ได้จัดทำ�ขึ้นเกิดจากความ
รว่ มมอื กนั ของจงั หวดั เพชรบรุ ี ส�ำ นกั งานการวจิ ยั
แหง่ ชาติ (วช.) และมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร รว่ มกบั
การผนึกกำ�ลังของภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชน จงึ เปน็ เสมอื นเขม็ ทศิ ในการขบั เคลอ่ื น
จังหวัดเพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์ นำ�ไปสู่
กลยุทธ์การจัดการท่ีมีฐานมาจากความเข้าใจ
บริบทและอัตลักษณ์เชิงพ้ืนท่ี สามารถสร้างการ
รับรู้สาธารณะผ่านส่ือท่ีมีความหลากหลายท้ังใน
รูปแบบออนไลน์ สงิ่ พิมพ์ และรูปแบบอน่ื ๆ
26
ภาพท่ี 3 คณะผู้วิจัยน�ำ เสนอแนวทางในการวิจัยต่อ นายภัคพงศ์
ทวิพัฒน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรีและข้าราชการท่ีเก่ียวข้อง
ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี เม่ือวันท่ี 21
กนั ยายน 2563
ภาพท่ี 4 การชแ้ี จงการด�ำ เนนิ งานวจิ ยั เพอ่ื ขับเคล่อื นการวจิ ัยตอ่
ทปี่ ระชมุ คณะกรรมการจังหวดั เพชรบุรี ณ หอ้ งประชุมพริบพรี
ศาลากลางจงั หวดั เพชรบุรี เมอ่ื วนั ที่ 29 กนั ยายน 2563
27
ภาพที่ 5 การประชมุ สนทนากลมุ่ แนวทางการบรู ณาการผา่ นกลไก
การน�ำ องคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมทไ่ี ดไ้ ปขยายผลในแพลตฟอรม์ จาก
ตวั แทนผปู้ ระกอบการ ตวั แทนชมุ ชน ตวั แทนหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง
กับการพัฒนาจังหวัดเพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์ ณ ห้องประชุม
ศาลากลางจงั หวดั เพชรบรุ ี (หลงั เกา่ ) เมอ่ื วนั ท่ี 29 กนั ยายน 2563
28
ภาพที่ 6-9 การประชุมสนทนากลุ่มภาคีเครือข่ายขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนจังหวัดเพชรบุรีเพ่ือยกระดับสู่เมือง
สรา้ งสรรค์ ณ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี
เมอ่ื วนั ท่ี 3 พฤศจกิ ายน 2563 ประกอบดว้ ย รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั
เพชรบุรี สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำ�นักงาน
การวจิ ัยแห่งชาติ ผู้บริหารมหาวทิ ยาลัยศิลปากร องค์การบริหาร
การพัฒนาพื้นท่ีเพ่ือการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)
วฒั นธรรมจงั หวดั เพชรบรุ ี มทร.รตั นโกสนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
เพชรบุรี กล่มุ YEC หอการคา้ จงั หวัดเพชรบรุ ี ตัวแทนชมุ ชนและ
เยาวชนในจงั หวัดเพชรบรุ ี
29
ภาพที่ 10-13 การสมั ภาษณถ์ งึ แนวทางและความพรอ้ มของจงั หวดั
เพชรบรุ ใี นการเปน็ เมอื งสรา้ งสรรคข์ องยเู นสโก จาก นายภคั พงศ์
ทวิพัฒน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ณ ห้องรับรองศาลากลาง
จังหวัดเพชรบรุ ี เม่อื วนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564
30
ภาพที่ 14 คณะผู้วิจัยเข้าสัมภาษณ์ นางวันเพ็ญ มังศรี
รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ณ ห้องทำ�งานรองผู้ว่าราชการ
จังหวัดเพชรบรุ ี เมอ่ื วนั ที่ 4 กมุ ภาพันธ์ 2564
31
ภาพท่ี 15-18 คณะผู้วิจัยเข้าพบสำ�นักงานสถิติจังหวัดเพชรบุรี
เพื่อศึกษาข้อมูลและนำ�มาวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจและสังคม
พน้ื ฐานของพน้ื ทว่ี จิ ยั ในจงั หวดั เพชรบรุ ี เมอ่ื วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2563
(ซ้าย-บน) การสัมภาษณ์ประธานหอการค้าจังหวัดเพชรบุรี
ประธานสภาอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั เพชรบรุ ี ประธานสภา
อุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี นายกสมาคมธุรกิจการท่องเท่ียว
จงั หวดั เพชรบรุ ี ณ ศาลากลางจงั หวดั เพชรบรุ ี เมอื่ วนั ที่ 21 มกราคม
2564 (ขวา-บน) ผแู้ ทนบรษิ ทั ประชารฐั รกั สามคั คเี พชรบรุ ี จ�ำ กดั
ณ โรงแรมรอยัล ไดมอน เพชรบุรี เม่ือวันที่ 22 มกราคม 2564
(ซา้ ย-ลา่ ง) และวฒั นธรรมจงั หวดั เพชรบรุ ี ณ ส�ำ นกั งานวฒั นธรรม
จังหวัดเพชรบุรี เม่ือวันท่ี 26 มกราคม 2564 (ขวา-ลา่ ง)
32
ภาพท่ี 19-24 การเสวนาเพชรบุรีเมืองสร้างสรรค์ “การระดม
สมองเพ่ือพิจารณายุทธศาสตร์การขับเคล่ือนจังหวัดเพชรบุรี
สู่เมืองสรา้ งสรรค”์ เมอื่ วนั ที่ 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ณ ห้องประชมุ
มาลัยทอง ช้ัน 2 โรงแรมไอธารา รสี อร์ท แอนสปา
33
ภาพที่ 25-28 ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนจังหวัดเพชรบุรีสู่เมือง
สร้างสรรค์
34
การวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว่ นร่วม
ในการพัฒนาอาหารพื้นถิน่
เพอ่ื เปน็ นวตั กรรมผลติ ภณั ฑ์
การท่องเทยี่ วเชิงอาหาร กรณีศึกษา
ชมุ ชนคลองกระแชง จังหวัดเพชรบุรี
โดย
1. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพชัย พสนุ นท ์
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
2. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ณนนท์ แดงสังวาลย ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภธู ฤทธ์ิ วทิ ยาพฒั นานุรกั ษ์ รักษาศริ ิ
คณะสตั วศาสตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
4. อาจารย์ ดร.ชษิ ณุพงศ์ ศิริโชตนิ ิศากร
คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลัยศิลปากร
การสร้างสรรค์และเผยแพร่สูตรอาหารซ่ึง วัฒนธรรมท่ีสะท้อนผ่านวัตถุดิบในการประกอบ
เมนูอาหารด้ังเดิม (อาหารพ้ืนถิ่น) ของจังหวัด อาหาร และน�ำ ไปสู่ Phetchaburi Creative City
เพชรบุรีท่ีพัฒนาร่วมกับชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน of Gastronomy ด้วยแนวคิดอาหารผสานศิลป์
เกษตรกร และผู้ประกอบการ ภายใต้ทุนทาง (Eat and Art Unlimited)
การจัดกิจกรรมการเสวนาเพชรบุรีเมือง
สร้างสรรค์ “เมืองเพ็ชร์ เมือง 3 รส” เพอ่ื ค้นหา
อัตลักษณ์และนำ�เสนอวัตถุดิบหลักของจังหวัด
เพชรบุรี คือ น้ําตาลโตนด เกลือ และมะนาว
รวมทงั้ การเกบ็ ขอ้ มลู เพอื่ คน้ หาตวั แทนอาหารของ
จังหวัดสู่การพัฒนาตำ�รับอาหารเมืองเพชรเพ่ิม
ภูมิคุ้มกันรองรับการท่องเที่ยวตามบรรทัดฐาน
ใหม่ พบวา่ รายการอาหารทส่ี ามารถเปน็ ตวั แทน
ชมุ ชนและเขา้ สกู่ ระบวนการพฒั นาต�ำ รบั และศกึ ษา
ขน้ั ตอ่ ไป ได้แก่ ย�ำ ใหญ่รสเพ็ชร์ ขนมจีนทอดมัน
แกงหวั ตาล นาํ้ พรกิ กะปใิ สม่ ะแวง้ พรอ้ มเครอ่ื งเคยี ง
(ปลาทเู มอื งเพชรบรุ ,ี ใบชะครามและผกั รมิ รวั้ ลวก
ราดกะท)ิ และขนมข้าวฟา่ งเปียก
การพัฒนานวัตกรรมอาหารด้วยการ
สร้างสรรค์สูตรหรือเมนูอาหารสุขภาพตาม
ตน้ ต�ำ รบั เดิม จ�ำ นวน 3 สูตร มีดงั นี้
1) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากเกลือ
เมืองเพ็ชร์ “เกลือรสชาติไทย: เกลือสามเกลอ
ลดโซเดยี ม” พบวา่ ผลการพฒั นาเกลอื รสชาตไิ ทย:
เกลอื สามเกลอ มปี รมิ าณโซเดยี มลดลง รอ้ ยละ 35
เมอ่ื เทยี บกบั เกลอื ชดุ ควบคมุ โดยเกลอื รสชาตไิ ทย:
เกลือสามเกลอ ปริมาณ 1 ชอ้ นชา (3 กรัม) จะมี
ปรมิ าณโซเดยี ม 236.3 มลิ ลิกรมั
2) การพฒั นาผลติ ภณั ฑข์ องฝากจากนา้ํ ตาล
โตนด “วนุ้ กรอบนาํ้ ตาลโตนดสด (ลดหวาน)” ดว้ ย
เทคนิคการควบคุมความคงที่ด้วยการวัดระดับ
ปรมิ าณนาํ้ ตาลของนา้ํ ตาลสดและการใชม้ อลททิ อล
(Maltitol) ทดแทนซโู ครสในต�ำ รบั พบวา่ ผลการ
ทดสอบทางประสาทสมั ผสั ผบู้ รโิ ภคใหก้ ารยอมรบั
วนุ้ กรอบนาํ้ ตาลโตนดสดทท่ี ดแทนดว้ ยมอลททิ อล
ทรี่ ะดับรอ้ ยละ 30
3) การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์บริการที่แสดง
อตั ลกั ษณจ์ งั หวดั “ไอศกรมี หมอ้ แกงเมอื งเพช็ ร”์
ภาพที่ 29-34 การเกบ็ ขอ้ มลู และสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ กบั ชมุ ชนและผมู้ ี
สว่ นเกยี่ วขอ้ ง ส�ำ หรบั กจิ กรรมเสวนาเพชรบรุ เี มอื งสรา้ งสรรค์ “เมอื ง
เพ็ชร์เมือง 3 รส” ในชว่ งเดือนธันวาคม 2563 – มกราคม 2564
43
ภาพท่ี 35-36 การพัฒนาผลติ ภณั ฑข์ องฝากจากเกลอื เมืองเพช็ ร์
“เกลอื รสชาตไิ ทย: เกลือสามเกลอ ลดโซเดียม”
44
ภาพที่ 37-38 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากนํ้าตาลโตนด
“วนุ้ กรอบนํา้ ตาลโตนดสด (ลดหวาน)”
45
ภาพที่ 39 การสรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑบ์ รกิ ารทแ่ี สดงอตั ลกั ษณจ์ งั หวดั
“ไอศกรีมหม้อแกงเมอื งเพช็ ร์”
46
ภาพที่ 40-41 กิจกรรมการเสวนาเพชรบุรีเมืองสร้างสรรค์
“เมืองเพ็ชร์ เมือง 3 รส” ณ สวนตาลลุงถนอม ต. ถํ้ารงค์
อ. บา้ นลาด จ. เพชรบรุ ี เมอื่ วนั ที่ 14 กุมภาพนั ธ์ 2564
47
ภาพท่ี 42-43 การประชมุ กลมุ่ เพอ่ื พฒั นาต�ำ รบั อาหารเมอื งเพชร
เพม่ิ ภมู คิ มุ้ กนั รองรบั การทอ่ งเทย่ี วตามบรรทดั ฐานใหมก่ บั ตวั แทน
แม่ครัวชมุ ชน เม่อื วันที่ 13 มีนาคม 2564
48
การออกแบบภาชนะใส่อาหารท่ตี อ่ ยอด
ภูมปิ ญั ญา ทุนศลิ ปะ และวัฒนธรรมทีม่ ี
ความสอดคลอ้ งกบั วิถชี ีวติ และธรรมชาติ
ของจังหวดั เพชรบุรี
โดย
รองศาสตราจารย์ สยมุ พร กาษรสุวรรณ
คณะมัณฑนศลิ ป์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
จากการเก็บข้อมูลภาคสนามท้ังในบริเวณ การออกแบบทำ�ได้โดยในระยะแรกจะปรับ
แมน่ า้ํ เพชรบรุ แี ละพนื้ ทโี่ ดยรอบ พบวา่ “หมอ้ ตาล รูปทรงให้มีความร่วมสมัยโดยใช้เส้นตรง คล้าย
เมืองเพ็ชร์” ซ่ึงถือว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรม การนำ�หม้อตาลสองใบมาซ้อนกัน สามารถ
ที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนเพชรบุรี มีรูปทรง ใสอ่ าหารได้ 2-4 ชนั้ โดยสามารถเคลอื่ นยา้ ยหรอื
พ้ืนฐาน และมีความสำ�คัญเก่ียวข้องกับวิถีชีวิต สลับตำ�แหน่งช้ันวางได้อย่างอิสระ นอกจากน้นั
ของคนเมืองเพชรมาเน่ินนาน เพราะหม้อตาล ยังออกแบบลวดลายพ้ืนผิวนูนต่ํารอบหม้อตาล
ใช้สำ�หรับการบรรจุน้ําตาลโตนดและขนส่งไป ใหค้ ลา้ ยการเกดิ ลายจากไมต้ ดี นิ เพอื่ กนั ลนื่ ขณะยก
ขายในท่ีต่าง ๆ ในประเทศผา่ นการขนสง่ ทางน้ํา หรอื จบั ในการออกแบบในระยะสดุ ทา้ ยคลค่ี ลาย
ท�ำ ใหน้ าํ้ ตาลเมอื งเพชร มชี อื่ เสยี งโดง่ ดงั และเปน็ ออกมาให้แสดงให้เห็นความเป็นเพชรบุรีมาก
ทีน่ ยิ มจนถงึ ทกุ วันน้ี ข้ึน จากการนำ�รูปทรงของลูกตาลมาใช้มากข้ึน
หม้อตาลมีลักษณะเป็นเคร่ืองป้ันดินเผา ทำ�ให้ปิ่นโตมีลักษณะโค้งมน แต่ปากภาชนะยัง
ที่สามารถเรียงซ้อนกันได้ เพื่อสะดวกแก่ มีลักษณะของหม้อตาลและสามารถซ้อนกันได้
การขนส่ง ผู้วิจัยเห็นว่า ลักษณะการเรียงซ้อน นอกจากนี้มีการพัฒนารูปแบบของภาชนะ
กันดังกล่าว สามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ในการ โดยมที ม่ี าจากรปู ทรงของสว่ นตา่ ง ๆ ของตน้ ตาล
บรรจอุ าหารในรูปแบบป่ินโต ปรบั รูปลักษณ์ใหม้ ี ใบตาล และลูกตาล ยังพัฒนามาเป็นชุดอาหาร
ความร่วมสมัยและใช้งานได้สะดวก อีกท้ังยังคง จากเคร่ืองปั้นดินเผา ประกอบด้วย จานขนาด
อัตลักษณข์ องหม้อตาลเมืองเพชรได้อกี ดว้ ย 12 น้ิว 10 น้ิว 8 น้ิว และ 6 น้ิว ถ้วยขนาด
6 นวิ้ และ 4 นว้ิ และชดุ แกว้ กาแฟพรอ้ มจานรอง
ภาพท่ี 44 การเก็บข้อมูลภาคสนามของนักวิจัยในการออกแบบ
ภาชนะใส่อาหารบริเวณแม่น้ําเพชรบุรี ชุมชนตลาดริมนํ้า
อ. เมือง จ. เพชรบุรี เมือ่ วันที่ 10 ธันวาคม 2563
ภาพท่ี 45 แนวคิดและที่มาของการออกแบบภาชนะใส่
เคร่อื งคาวหวานท่ีแสดงอัตลักษณ์ของจงั หวัดเพชรบุรี
56
ภาพท่ี 46 ภาพร่าง (Sketch) แบบภาชนะใสอ่ าหาร
ระยะแรก
ภาพท่ี 47 ภาพร่าง (Sketch) แบบภาชนะใส่อาหาร
ดว้ ยกราฟกิ คอมพวิ เตอร์
57
ภาพท่ี 48-51 ตัวอย่างภาชนะใส่อาหารในรูปแบบป่ินโตสองช้ัน
และปน่ิ โตสามชน้ั ท่มี าจากรูปทรงของลูกตาล
58
การพฒั นาผลิตภณั ฑ์สรา้ งสรรค์
ท่สี ะท้อนวิถีชีวิตและมรดกทาง
ศิลปวฒั นธรรมดว้ ยการทอ่ งเทยี่ ว
เชงิ สร้างสรรคแ์ ละยง่ั ยืนโดยชมุ ชน
และเยาวชนในจังหวดั เพชรบรุ ี
โดย
รองศาสตราจารย์ สยมุ พร กาษรสวุ รรณ
คณะมัณฑนศิลป์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ย่านเมืองเก่าในจังหวัดเพชรบุรีมีความ เป็นกิจกรรมสันทนาการท่ีสร้างความประทับใจ
นา่ สนใจอยา่ งยง่ิ มคี วามเจรญิ ในดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม และความรู้ให้กับนักท่องเที่ยวเสมอมา และ
และเป็นเมืองท่องเท่ียวหลากหลายรูปแบบ เม่ือได้ลงพื้นท่ีและสอบถามความต้องการของ
จากการเก็บข้อมูลในชุมชนคลองกระแชง นักกิจกรรมดังกล่าว พบว่า ต้องการกิจกรรมที่
ชุมชนตลาดริมนํ้า และชุมชนวัดเกาะ พร้อมท้ัง แสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชน โดยเป็นกิจกรรม
กลุ่มลูกหว้า พบว่ามีการจัดกิจกรรมให้กับ ท่ีสามารถสร้างรายได้และความประทับใจให้กับ
นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของชาว คนในชุมชนได้ด้วย ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงจัดให้มี
เมืองเพชรแบบลงมือทำ� ผ่านกิจกรรมการ การอบรมเครอื่ งปน้ั ดนิ เผาทสี่ ามารถท�ำ ไดง้ า่ ยผา่ น
ทอ่ งเทยี่ วชมุ ชนเชงิ สรา้ งสรรค์ โดยชมุ ชนจะบรรจุ การเสวนาเพชรบรุ เี มอื งสรา้ งสรรค์ “การอบรมเชงิ
การสืบทอดผลงานศิลปวัฒนธรรมพ้ืนถิ่นเมือง ปฏบิ ัตกิ ารเครื่องป้นั ดินเผาชมุ ชนและเยาวชน”
เพชรให้เป็นหน่ึงในโปรแกรมการท่องเที่ยว และ
คณะผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลลวดลายท่ีสามารถ
น�ำ มาใช้ในการประดับตกแตง่ จากภาพจติ รกรรม
ฝาผนังของวัดเกาะ และวัดพลับพลาชัย ท่ี
จังหวัดเพชรบุรียังคงรักษาและอนุรักษ์ไว้ตั้งแต่
สมัยอยุธยามาจนถึงปัจจุบัน โดยผู้อบรมทั้งหมด
เป็นผู้สนใจในจังหวัดและคนในชุมชน ซ่ึงผล
การต่อยอดองค์ความรู้จากการอบรมสองคร้ัง
ท่ีผ่านมา กลุ่มชุมชนคลองกระแชง มีความตั้งใจ
จะสรา้ งสรรคช์ ดุ เครอื่ งปนั้ ดนิ เผาใหม้ าเปน็ ภาชนะ
ในการใส่อาหารตามสำ�รับที่ได้จัดเตรียมไว้เพ่ือ
สรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ของการจดั กจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ ว
สร้างสรรค์ในชุมชนในแบบของตนเอง สำ�หรับ
ใช้ในการจัดเลี้ยงอาหารแก่นักท่องเท่ียวตาม
โปรแกรมท่องเท่ียวชุมชนที่จัดขึ้น และจะเพิ่ม
กิจกรรมเคร่ืองป้ันดินเผาให้เป็นฐานการเรียนรู้
และแลกเปล่ียนประสบการณ์ในการท่องเท่ียว
ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ข อ ง ชุ ม ช น อี ก กิ จ ก ร ร ม ห นึ่ ง
ในขณะท่ีกลุ่มลูกหว้าก็ได้เปิดให้ประชาชนและ
นักท่องเท่ียวท่ีสนใจมารังสรรค์ผลงานเครื่องป้ัน
ดนิ เผาตามความสนใจ และสบื สานศลิ ปวฒั นธรรม
ของเมอื งเพชร ซง่ึ จากการอบรมดงั กลา่ วออกดอก
ออกผลงดงาม เม่ือทำ�ร่วมกับผู้คนในชุมชนและ
นักกจิ กรรมสรา้ งสรรคใ์ นจงั หวดั เพชรบรุ ี
ภาพที่ 52-53 การเก็บข้อมูลภาคสนามของนักวิจัยเพ่ือพัฒนา
ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ในชุมชนคลองกระแชงและ กลุ่มเยาวชน
ลูกหว้า อ. เมอื ง จ. เพชรบุรี เมอ่ื วันท่ี 4-5 และ 10-11 ธนั วาคม
2563
ภาพที่ 54-55 กจิ กรรมเสวนาเพชรบรุ เี มอื งสรา้ งสรรค์ “การอบรม
เชิงปฏิบัติการเครื่องปั้นดินเผาชุมชน” ณ ศาลาวัดพลับพลาชัย
อ. เมอื ง จ. เพชรบุรี เมอ่ื วนั ที่ 13-14 มนี าคม 2564
67
ภาพที่ 56-58 กจิ กรรมเสวนาเพชรบรุ เี มอื งสรา้ งสรรค์ “การอบรม
เชิงปฏิบัติการเครื่องป้ันดินเผาเยาวชน” ณ เคเบ้ิลคาร์เขาวัง
อ. เมอื ง จ. เพชรบรุ ี เม่อื วันที่ 17-18 มนี าคม 2564
68
ภาพที่ 59-64 ผลงานฝมี อื การสรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑข์ องกลมุ่ ชมุ ชน
และเยาวชนจากกจิ กรรมเสวนาเพชรบรุ เี มอื งสรา้ งสรรค์ “การอบรม
เชิงปฏิบตั กิ ารเครื่องปนั้ ดินเผาชุมชนและเยาวชน”
69
ภาพที่ 65 ภาพข่าวการเผยแพร่ “การอบรมเชิงปฏิบัติการ
เคร่ืองปนั้ ดนิ เผาชุมชนและเยาวชน”
ภาพที่ 66-67 การต่อยอดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ
เครอื่ งปน้ั ดินเผา
70
การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวเชงิ สร้างสรรค์
และยง่ั ยืนของจงั หวดั เพชรบรุ ี
โดยใช้ทุนทางประวตั ศิ าสตร์
และศลิ ปวัฒนธรรม
โดย
1. รองศาสตราจารย์ ดร.ร่งุ โรจน์ ธรรมรุ่งเรือง
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
2. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มนัสสินี บุญมีศรีสงา่
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
3. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภธู ฤทธิ์ วทิ ยาพัฒนานรุ กั ษ์ รักษาศิริ
คณะสตั วศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารเกษตร
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
คณะผู้วิจัยได้ร่วมกันสำ�รวจและเก็บข้อมูล บ่งบอกถึงความสำ�คัญทางประวัติศาสตร์ของ
ศกั ยภาพการทอ่ งเทย่ี วเมอื งเพชรบรุ ี พบวา่ มคี วาม เพชรบุรีในฐานะเมืองที่ใกล้ชิดกับราชวงศ์จักรี
โดดเดน่ หลากหลายดา้ น โดยเฉพาะการเปน็ เมอื ง เปน็ อย่างยิ่ง อกี ท้ังยังมีชุมชนเกา่ แกท่ ่ีมีศกั ยภาพ
ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมที่ยังคงมีความ เพียงพอตอ่ การพฒั นาเพ่ือรบั นักท่องเทีย่ ว
เป็นของแท้ดั้งเดิม มีความสมบูรณ์ เห็นได้จาก ท่ีผ่านมา มีนักท่องเที่ยวจำ�นวนหน่ึงได้
จำ�นวนวัดวาอารามที่เก่าแก่สืบย้อนไปได้ไกล เดินทางเข้ามาท่องเท่ียววัดวาอารามต่าง ๆ
อาทิ วัดกำ�แพงแลง ซ่ึงเก่าแก่จนถึงสมัยลพบุรี เพ่ือไหว้พระและชื่นชมความงดงามของงาน
วัดใหญ่สุวรรณาราม วดั เกาะ วดั เขาบันไดอิฐ ซ่ึง ชา่ งโบราณ รวมทง้ั ทอ่ งเทยี่ วพระราชวงั อยเู่ นอื ง ๆ
เป็นตัวอย่างสำ�คัญของวัดในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่นับได้ว่ายังมีจำ�นวนน้อยเมื่อเทียบกับจำ�นวน
เมอ่ื เขา้ สสู่ มยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ตวั เมอื งเพชรยงิ่ มี นักท่องเท่ียวที่เดินทางสู่อำ�เภออื่น ๆ ที่มีแหล่ง
ความโดดเดน่ ในฐานะเมอื งทมี่ พี ระราชวงั ตงั้ อยถู่ งึ ท่องเทีย่ วตามธรรมชาติ
2 แหง่ คอื พระนครคีรี และพระรามราชนเิ วศน์
ดงั นน้ั เพอ่ื เปน็ การดงึ ดดู หรอื ประชาสมั พนั ธ์
ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วไดเ้ ดนิ ทางเขา้ สเู่ มอื งเพชรบรุ มี ากขน้ึ
ทางคณะผ้วู ิจยั จึงไดด้ ำ�เนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่
จัดเสวนาเพชรบุรีเมืองสร้างสรรค์ “เมืองเพ็ชร์ :
เพชรแห่งการท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์
และศิลปวัฒนธรรม” มีการถ่ายทอดผ่าน
Facebook เพื่อประชาสมั พนั ธค์ ณุ คา่ เมืองเพชร
ไปสู่สาธารณชน ท้ังยังเชิญผู้ทรงคุณวุฒิด้านการ
ท่องเท่ียวมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อจัดทำ�
แผนการพัฒนาการท่องเท่ียวด้วย นอกจากนี้
ทางคณะผู้วิจัยยังลงพ้ืนท่ีสำ�รวจแหล่งท่องเท่ียว
ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละศลิ ปวฒั นธรรมเมอื งเพชร
เพื่อจัดทำ� E-Book เผยแพร่สู่สาธารณะ และ
จะดำ�เนินการจดั โปรแกรมการทอ่ งเท่ยี ว และจัด
อบรมมัคคเุ ทศก์ทอ้ งถ่นิ ดว้ ย
ภาพท่ี 68-69 การเก็บขอ้ มูลภาคสนามของนักวิจยั ในการสำ�รวจ
เกบ็ ขอ้ มลู ศกั ยภาพการทอ่ งเทยี่ วเมอื งเพชรบรุ ี ณ ถา้ํ เขาหลวงและ
วดั ก�ำ แพงแลง เมื่อวันท่ี 20 กุมภาพนั ธ์ 2564
79
ภาพท่ี 70 ปราสาทวัดกำ�แพงแลง โบราณสถานท่ีเก่าแก่ที่สุด
ในเมืองเพชร
ภาพที่ 71 ปรางคพ์ ระมหาธาตุ วดั มหาธาตวุ รวหิ าร จงั หวดั เพชรบรุ ี
เป็นพระมหาธาตุคูบ่ ้านคูเ่ มือง
80
ภาพท่ี 72 พระประธานในพระอโุ บสถ วดั ใหญส่ วุ รรณาราม
81
ภาพท่ี 73-74 จติ รกรรมภาพเทพชมุ นมุ วดั ใหญส่ วุ รรณาราม
ฝีมือครชู ่างสมยั อยธุ ยาตอนปลาย
ภาพท่ี 75 จิตรกรรมฝาผนังวัดเกาะ ฝีมือช่างสมัยกรุงศรีอยุธยา
สกลุ ชา่ งเพชรบรุ ี
82
ภาพที่ 76 พระนครคีรี
พระราชวงั ทสี่ รา้ งขน้ึ ในสมยั
พระบาทสมเดพ็ ระจอมเกลา้
เจ้าอยูห่ ัว
ภาพที่ 77 ถํ้าเขาหลวง ถ้ํา
ธรรมชาติและศาสนสถาน
ส�ำ คัญคเู่ มืองเพชร
83
ภาพท่ี 78-81 เสนวนาเพชรบรุ เี มอื งสรา้ งสรรค ์ “เมอื งเพช็ ร ์ : เพชร
แห่งการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม”
ณ อทุ ยานประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครครี ี จงั หวดั เพชรบรุ ี และออนไลน์
ผ่านทาง Page Facebook เที่ยวเมืองเก่า เล่าเรื่องเมืองเพ็ชร์
Phetchaburi Creative City เมอ่ื วันท่ี 23 เมษายน 2564
84
การสร้างความต้องการด้านอุปสงค์และ
การรับรู้ของนกั ทอ่ งเทย่ี วในรปู แบบการ
ส่อื สารออนไลน์ สอื่ มวลชน สิง่ พิมพ์
E-Book การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม
รว่ มสมัย
โดย
1. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.จิตพนธ์ ชุมเกต ุ
คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
2. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณติ า วงศ์มหาดเล็ก
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
3. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ชวนพ ชวี รศั มี
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
4. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ณนนท ์ แดงสงั วาลย์
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร
การสร้างความต้องการด้านอุปสงค์ ให้กับกลุ่มเป้าหมาย การถ่ายทอดสด (Live)
(Demand site) และการรับรู้ของนักท่องเที่ยว กิจกรรมเสวนาเพชรบุรีเมืองสร้างสรรค์ ก่อให้
ใช้เครื่องมือหลักคือ เพจเฟสบุ๊ค (Facebook เกิดรูปแบบการส่ือสารเชิงที่กระตุ้นอุปสงค์
Page) โดยใชช้ อ่ื วา่ “เทยี่ วเมอื งเกา่ เลา่ เรอื่ งเมอื ง ทางการท่องเที่ยว นอกจากน้ีแล้วได้มีการนำ�
เพ็ชร์ Phetchaburi Creative City”(https:// เสนอผลการวจิ ยั ผา่ นสอื่ มวลชนทง้ั วทิ ยุ โทรทศั น์
www.facebook.com/phetchaburicrea หนังสือพิมพ์ และส่ือออนไลน์พร้อมท้ังจัดทำ�
tivecity/) ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2564 มี E-Book “เมืองเพ็ชร์ เมือง 3 รส” ท่ีนำ�เสนอ
ผตู้ ิดตามเพจ 29,908 คน โดยการสื่อสารเน้ือหา วัตถุดิบที่ขึ้นชื่อของเมืองเพชรบุรีและความ
อย่างสร้างสรรค์เก่ียวกับความหลากหลายของ เป็นมาท่ีน่าสนใจของตำ�รับอาหารเมืองเพ็ชร์
จังหวัดเพชรบุรีภายใต้ขอบเขตของโครงการวิจัย รวมไปถงึ การออกแบบภมู สิ ถาปตั ยกรรมรว่ มสมยั
มีกระบวนการสร้างการรับรู้และการตอบสนอง ในชมุ ชนการวิจัย