The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukphayodtakul_t, 2021-11-16 02:03:57

MEMO TRE64_เพชรบุรี

MEMO TRE64_เพชรบุรี

ภาพท่ี 82-83 เพจ Facebook “เที่ยวเมืองเก่า เล่าเร่ือง
เมอื งเพช็ ร์ Phetchaburi Creative City”

92

ภาพที่ 84-85 การลงพืน้ ท่ีถ่ายภาพเพอ่ื น�ำ ไปประกอบเนอื้ หาใน
การประชาสมั พนั ธล์ งเพจ Facebook

ภาพท่ี 86-87 การลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลหลักที่
เก่ียวข้องกับเนือ้ หา
93

ภาพที่ 88 การถ่ายทอดสดทาง Facebook (Live) กิจกรรม
เสวนาเพชรบรุ ีเมอื งสรา้ งสรรค์
94

ภาพท่ี 89 การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโครงการวิจัยผ่าน
ชอ่ งทางส่ือ

95

ภาพท่ี 90-91 ภาพจำ�ลองกิจกรรมเครื่องปั้นดินเผาหม้อตาล
กจิ กรรมการท่องเที่ยวเชิงสรา้ งสรรค์ในบริเวณลานสนุ ทรภู่
96

การตลาดปลายทางของเพชรบุรี
เมืองสรา้ งสรรค์ส�ำ หรบั นกั ทอ่ งเท่ียว
ชาวต่างประเทศ ภายหลังผา่ น
สถานการณโ์ ควดิ -19

โดย

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลมิ พร สิริวิชยั
วทิ ยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

การส�ำ รวจเชงิ พน้ื ที่ (Area Frame Survey) การพัฒนากลยุทธ์การตลาดปลายทางรวมถึง
เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยการลงพื้นท่ีและการ การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการท่องเที่ยว
บันทึกภาพถ่าย ภาพเคล่ือนไหว และภาพถ่าย ให้แก่ชุมชนเพื่อขับเคลื่อนจังหวัดเพชรบุรี
มุมสูง โดยให้มีคนของชุมชนได้มีส่วนร่วมใน สู่เมืองสร้างสรรค์หลังผ่านสถานการณ์โควิด-19
การให้ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวเพชรบุรีบนฐาน โดยผลผลิตประกอบด้วย
ความรทู้ เี่ ปน็ นวตั กรรมการทอ่ งเทย่ี ว โดยนกั วจิ ยั 1) Smart Guidebook ที่ใช้เทคโนโลยี
ผู้รับผิดชอบและคณะทำ�งานของวิทยาลัย Virtual Reality เช่ือมต่อ www.Phetchaburi
นานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ทำ�การ creativecity.com
สั ม ภ า ษ ณ์ เ ชิ ง ลึ ก กั บ ผู้ บ ริ ห า ร ข อ ง จั ง ห วั ด 2) Vlog วีดิทัศน์แนะนำ�การท่องเท่ียว
เพชรบุรี เกษตรกรในพ้ืนท่ีปลูกมะนาวและ แบบเล่าเรื่องเป็นภาษาองั กฤษในธมี ‘Fantastic
สวนผสม ชาวสวนตาล และ นาเกลือ อันเป็น Phetchaburi 3 Flavours’ บรรจไุ ว้ในชอ่ งยทู ปู
แ ห ล่ ง ผ ลิ ต วั ต ถุ ดิ บ สำ � คั ญ ที่ ขึ้ น ชื่ อ ม า ตั้ ง แ ต่ ของจงั หวดั เพชรบุรี
สมัยอยุธยา การสำ�รวจความคิดเห็นจากกลุ่ม 3) Mascot & Logo ของ UNESCO
ตัวอย่าง ซ่ึงเป็นคนในจังหวัดเพชรบุรี 600 คน Creative City of Gastronomy ส�ำ หรบั จงั หวัด
เก่ียวกับด้านอาหาร (ทั้งอาหารคาว อาหารว่าง เพชรบุรี โดยผ่านการประกวดระดับนานาชาติ
และ อาหารหวาน) วัดและสถานท่ีท่องเที่ยวที่ มคี ณะกรรมการจากทงั้ ภาครฐั ภาคประชาสงั คม
อยากแนะนำ�ให้นักท่องเท่ียวต่างประเทศได้ ตัวแทนของโครงการวิจัย ผู้เชี่ยวชาญจาก
มาสัมผัส รวมท้ังการสำ�รวจความคิดเห็นจาก Birmingham City University และอาจารยจ์ าก
กลุ่มตัวอย่างของนักท่องเที่ยวต่างถ่ินท้ังในและ หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาการออกแบบสื่อสาร
ต่างประเทศ 500 คน เพ่ือศึกษาแนวทาง ดิจทิ ลั วิทยาลยั นานาชาติ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

ภาพที่ 92-93 การสัมภาษณ์ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี (บน)
และรองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี (ล่าง) ด้านการท่องเท่ียว
เชงิ สรา้ งสรรค์ ณ ศาลากลางจงั หวดั เพชรบรุ ี เมอื่ วนั ที่ 20 เมษายน
2564

104

ภาพท่ี 94-96 การลงพ้ืนท่ีสัมภาษณ์และการบันทึกภาพถ่าย
ภาพเคลื่อนไหว และภาพถ่ายมุมสูง ที่สวนตาลลุงถนอม กับ
นายอำ�นาจ ภู่เงิน ผู้ดูแลสวนตาล 450 ต้น (ล่างซ้าย) ยุ้งเกลือ
ที่ อ. บ้านลาด จ. เพชรบุรี (ล่างขวา) และสวนเกษตรผสม ของ
ลงุ น้อย (นายสรุ ยิ ะ ชวู งศ)์ เจ้าของสวนมะนาว ขนาด 2 ไร่ และ
การเพาะพนั ธม์ุ ะนาวยกั ษ์ ท่ี อ. บา้ นลาด จ. เพชรบรุ ี (บน) ระหวา่ ง
วันท่ี 16-21 เมษายน 2564
105

106

ภาพท่ี 97-100 การลงพน้ื ทแ่ี ละการบนั ทกึ ภาพถา่ ย ภาพเคลอื่ นไหว
อาหาร วัด และวิถีท่องเท่ียวริมแม่น้ําเพชรบุรี ใน อ. เมือง
จ. เพชรบรุ ี ระหวา่ งวนั ท่ี 16-21 เมษายน 2564

107

ภาพที่ 101-102 การประชาสัมพันธ์รับสมัคร การประกวด
ออกแบบ Mascot & Logo ของ UNESCO Creative City of
Gastronomy ส�ำ หรับจงั หวัดเพชรบุรี
108

การพัฒนาแผนบรหิ ารงานเพือ่
ด�ำ เนนิ งาน “กองทนุ การจัดการ
การทอ่ งเท่ียวเชงิ สร้างสรรค์และย่งั ยืน”
ของชุมชน เพื่อชมุ ชน และโดยชมุ ชน

โดย
1. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพชัย พสนุ นท ์ 6. อาจารย์ ดร.ชิษณพุ งศ์ ศริ โิ ชตนิ ศิ ากร
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
2. รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระวฒั น ์ จนั ทึก 7. อาจารย์ ดร.สรุ ภัทร์ พไิ ชยแพทย์
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
3. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วฒุ ชิ ยั อารักษ์โพชฌงค ์ 8. อาจารย์ ดร.ธงชัย ทองมา
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา
4. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ระชานนท์ ทวผี ล 9. นางสาวกนกอร เนตรช ู
คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ
5. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ชวนพ ชีวรศั ม ี
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

กองทนุ การจดั การการทอ่ งเทย่ี วเชงิ สรา้ งสรรค์ เรอ่ื งราวของชมุ ชน การเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ และ
และยั่งยืน เป็นหนึ่งในกลไกสำ�คัญในการ การเปลี่ยนผ่านผ่านยุคสมัย ที่ประกอบไปด้วย
พัฒนาชุมชนต้นแบบด้วยการท่องเท่ียวเชิง สถานทีส่ �ำ คัญๆ แหล่งเรียนรู้ อาหารการกนิ และ
สร้างสรรค์และย่ังยืนเพ่ือยกระดับจังหวัด สถานท่ีท่องเท่ียว โดยมีเป้าหมายให้เกิดความ
เพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์ โดยเป็นการจัดการ ย่ังยืนในการดำ�เนินการผ่านการจัดต้ัง “กองทุน
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนเป้าหมาย การจัดการการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และ
3 ชุมชนย่านเมืองเก่าของจังหวัดเพชรบุรี (หรือ ยั่งยืน” ของชุมชนเพื่อชุมชน และโดยชุมชน
เมืองเพ็ชร์) ประกอบด้วย ชุมชนคลองกระแชง ภายใต้ความร่วมมือกันของจังหวัดเพชรบุรี
ชุมชนซอยตลาดริมน้ํา และชุมชนวัดเกาะ ส�ำ นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) และมหาวทิ ยาลยั
โดยเป็นการจัดการการท่องเท่ียวท่ีรวบรวมและ ศิลปากร รวมไปถึงความร่วมมือของภาค
นำ�เสนอการท่องเท่ียวท่ีสะท้อนวิถีชีวิตและ ประชาสังคมโดยเฉพาะจาก 3 ชุมชนเป้าหมาย
ทุนของชุมชนที่เป็นทรัพยากรการท่องเท่ียว จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างย่ังยืน
เชิงสร้างสรรค์ โดยเน้นคุณค่าของวัฒนธรรม นำ�ไปสู่ความกินดีอยู่ดีด้วยเศรษฐกิจหมุนเวียน
การต่อยอดภูมิปัญญา ผสานเข้ากับกิจกรรมการ และสุขภาวะท่ีดขี องชุมชน
ท่องเที่ยวที่ให้ประสบการณ์ผ่านการถ่ายทอด

ภาพท่ี 103-104 การประชมุ ออนไลนเ์ พอ่ื สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ
กบั นักวจิ ัยชุมชน เม่ือวนั ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564

116

ภาพที่ 105-108 ประชุมเพื่อหารือการจัดตั้งศูนย์บริหาร
จัดการกองทุนการจัดการการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และย่ังยืน
ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนย่านเมืองเก่า วัดพลับพลาชัย จ. เพชรบุรี
เมือ่ วันท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

117

ภาพท่ี 109-111 คณะผวู้ จิ ยั เขา้ รว่ มประชมุ เพอื่ หารอื เกยี่ วกบั (รา่ ง)
คมู่ อื การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนสรา้ งสรรค์ เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นจงั หวดั เพชรบรุ ี
สเู่ มอื งสรา้ งสรรคแ์ ละยงั่ ยนื ผา่ นระบบออนไลน์ ในขณะทตี่ วั แทน
ชุมชนเข้าร่วมประชุมแบบ On site ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนย่าน
เมอื งเกา่ วดั พลบั พลาชยั จ. เพชรบรุ ี เมอ่ื วนั ท่ี 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

118

ภาพที่ 112 ภาพจำ�ลองภายในศูนย์บริหารจัดการกองทุน
การจดั การการท่องเทีย่ วเชงิ สร้างสรรคแ์ ละยัง่ ยนื
119

ภาพท่ี 113-116 คู่มือการท่องเที่ยวชุมชนสร้างสรรค์
เพือ่ ขบั เคล่อื นจังหวดั เพชรบุรสี ่เู มอื งสรา้ งสรรคแ์ ละยัง่ ยนื
120


Click to View FlipBook Version