The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ebook โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าราชบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukphayodtakul_t, 2021-09-03 02:46:40

ebook โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าราชบุรี

ebook โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าราชบุรี

โครงการ “การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาเมืองเก่าราชบรุ ี
เมอื งสรา้ งสรรค์และน่าอย่เู พอื่ การพฒั นา

เศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมและความเป็นอยูท่ ย่ี ่ังยืน”



ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี
(Corrado Feroci)

ผกู้ ่อตง้ั มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
และ บดิ าแห่งศลิ ปะรว่ มสมัยของไทย



สารจากนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับทุนสนับสนุนจากสำ�นักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สอวช.) โดยหน่วยบรหิ ารและจดั การทุนด้านการพัฒนาระดบั
พน้ื ที่ (บพท.) เมื่อปี พ.ศ.2563 ให้ดำ�เนนิ การโครงการ “การอนรุ กั ษ์และพฒั นาเมอื งเก่าราชบุรี
เมืองสร้างสรรค์และน่าอยู่เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ท่ีย่ังยืน”
ซงึ่ เปน็ โครงการบรู ณาการทนี่ �ำ ศาสตรค์ วามรู้ ความเชยี่ วชาญดา้ นตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ได้แก่ ด้านศิลปะ ด้านมนุษยศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ สรา้ งสรรคจ์ ากทนุ ทางวฒั นธรรมชมุ ชนในเขตเมอื งเกา่ ราชบรุ ี ดว้ ยเปา้ หมาย
ในการลดความเหลอ่ื มล�้ำ กระจายรายได้ และสร้างความเป็นอยู่ทย่ี ั่งยนื โดยการมสี ่วนรว่ มของ
ภาคเี ครอื ขา่ ยภาครัฐ เอกชน ชมุ ชน โรงเรียน และคนในพื้นที่ ในการด�ำ เนนิ งานจะเป็นการสร้าง
ความเขา้ ใจถงึ รากฐานความเปน็ มาทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วฒั นธรรม อตั ลักษณ์ ภูมปิ ัญญา
ท้องถ่ิน และผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นให้กับคนในพื้นที่ รวมไปถึงการบริหารจัดการทรัพยากรเหล่าน้ี
และยกระดับคุณภาพชีวิต ผ่านการสร้างความตระหนักรู้ทางด้านปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนใน
พ้ืนท่ี เพอื่ การพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานวัฒนธรรมและความเป็นอยูท่ ย่ี ่งั ยืน
การดำ�เนินงานโครงการ “การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าราชบุรีเมืองสร้างสรรค์และ
น่าอยู่เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ท่ีย่ังยืน” สอดคล้องกับภารกิจ
ที่มหาวิทยาลัยศิลปากรได้รับมอบหมายจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวตั กรรม ใหเ้ ปน็ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารสว่ นหนา้ จงั หวดั ราชบรุ ี เพอื่ เปน็ หนว่ ยประสาน ขบั เคลอื่ นการ
พัฒนาร่วมกับจังหวัด โดยนำ�ศักยภาพของจังหวัด ชุมชนและท้องถิ่นมาผสมผสานกับการวิจัย
พฒั นาและนวตั กรรม เนน้ บรู ณาการองคค์ วามรทู้ ห่ี ลากหลายของสถาบนั อดุ มศกึ ษา อนั จะน�ำ ไป
สกู่ ารสรา้ งมลู คา่ ผลติ ภณั ฑ์ พฒั นากระบวนการผลติ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในพนื้ ที่
โดยเนน้ การบูรณาการองคค์ วามรูท้ ี่หลากหลายของมหาวทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรขอขอบคณุ ส�ำ นกั งานสภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวตั กรรม (สอวช.) โดยหนว่ ยบรหิ ารและจดั การทนุ ดา้ นการพฒั นาระดบั พนื้ ที่ (บพท.) ทใ่ี หก้ าร
สนับสนุนทุนวิจัย และขอขอบคุณภาคีเครือข่ายภาครัฐ เอกชน ชุมชน โรงเรียน และประชาชน
ในพ้ืนที่เมืองเก่าราชบุรี ตลอดจนคณะทำ�งานทุกฝ่ายท่ีให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดำ�เนิน
งานวจิ ยั และกิจกรรมตา่ ง ๆ ให้ประสบผลสำ�เรจ็ ลุลว่ ง และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่างานวจิ ัยน้ีจะเปน็
แนวทางในการอนรุ ักษ์และพัฒนาเมืองอ่ืนๆ ทม่ี ีบริบทคล้ายคลึงกันได้ในอนาคต

(ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ คณุ หญงิ ไขศรี ศรอี รณุ )
นายกสภามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

วดั มหาธาตุวรวหิ าร อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ราชบรุ ี

บทสรุปผบู้ ริหารโครงการ

มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากรได้รบั มอบหมายจากกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและ
นวตั กรรม ใหเ้ ปน็ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารสว่ นหนา้ จงั หวดั ราชบรุ ี เพอื่ ขบั เคลอ่ื นการพฒั นารว่ มกบั จงั หวดั
โดยใชอ้ งคค์ วามรทู้ ไี่ ดจ้ ากงานวจิ ยั ในดา้ นตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั ซงึ่ โครงการนมี้ คี วามสอดคลอ้ ง
กบั ภารกจิ ดงั กลา่ วในการขบั เคลอื่ นงานวจิ ยั ทม่ี าจากปญั หาและความตอ้ งการของชมุ ชนรว่ มกบั
ภาคเี ครอื ขา่ ยในพนื้ ท่ี โดยใช้องค์ความรแู้ ละความเชยี่ วชาญของนกั วจิ ัยในมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
โครงการ “การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาเมอื งเกา่ ราชบรุ ี เมอื งสรา้ งสรรคแ์ ละนา่ อยู่ เพอื่ การพฒั นา
เศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ที่ยั่งยืน” เป็นโครงการที่ดำ�เนินการโดยมหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร ประกอบดว้ ยนกั วจิ ยั ทม่ี คี วามเชยี่ วชาญทง้ั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ 6 คณะ จากคณะจติ รกรรม
ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ คณะโบราณคดี คณะมณั ฑนศลิ ป์ คณะวทิ ยาศาสตร์ คณะวทิ ยาการ
จัดการ และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ภายใต้การดำ�เนินงานของมหาวิทยาลัย
ซง่ึ มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการพฒั นาเมอื งราชบรุ ี สเู่ มอื งสรา้ งสรรค์ นา่ อยู่ และยง่ั ยนื  ผา่ นกระบวนการ
วจิ ยั แบบมสี ว่ นรว่ มของ 4 ภาคเี ครอื ขา่ ยในจงั หวดั ราชบรุ ี ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั ประชาสงั คม ภาค
เอกชน และสว่ นราชการทอ้ งถน่ิ ในการขับเคล่ือนงานวิจยั โดยมีการด�ำ เนินงานวจิ ยั 4 ด้าน คือ
1. การอนรุ กั ษแ์ ละฟื้นฟูทาง ประวตั ศิ าสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ และนำ�
มาตอ่ ยอดพฒั นาเพ่อื เพม่ิ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ
2. การพฒั นาศกั ยภาพทางการทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั ราชบรุ ี โดยการจดั การระบบโลจสิ ตกิ ส์
เพอ่ื รองรบั การทอ่ งเทย่ี วสชู่ มุ ชน ด้วยการสรา้ ง Application ดา้ นการท่องเทย่ี ว
3. การพัฒนาผลติ ภณั ฑท์ ้องถ่ินจากทนุ ทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ และอัตลักษณ์
ของชาตพิ นั ธ์ุ รวมถงึ การสรา้ งสรรคต์ น้ แบบงานศลิ ปะเพอ่ื สาธารณะ โดยความรว่ มมอื ของชมุ ชน
4. การพัฒนาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม โดยการสำ�รวจคุณภาพสิง่ แวดล้อม (ขยะชมุ ชนและฝ่นุ
PM2.5) และคุณภาพชีวิต ควบคู่ไปกับการสร้างความตระหนักรู้ นำ�มาสู่การจัดการปัญหาขยะ
และมลพษิ ทางอากาศ
มหาวิทยาลัยศิลปากรมีความคาดหวังว่าโครงการน้ี ซ่ึงเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ของ
นักวิจัยจากศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆ ทั้งศิลปะ การออกแบบ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
จนท�ำ ใหเ้ กิดการรบั รู้ภายในชุมชนถงึ รากฐานทางประวตั ิศาสตร์ ศิลปะและวฒั นธรรม สูก่ ารรบั รู้
ของมหาชน ตลอดจนการน�ำ ผลงานวิจัยมาต่อยอดสร้างรายไดส้ ชู่ มุ ชนและมีส่วนสง่ เสรมิ ใหเ้ กิด
การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่องและย่ังยืนของจังหวดั ราชบุรี

(ศาสตราจารย์ ดร.นนั ทนิตย์ วานิชาชวี ะ)
รองอธกิ ารบดฝี ่ายวจิ ยั มหาวิทยาลยั ศิลปากร

หัวหน้าชุดโครงการ

ศลิ ปากร
เป็นมหาวทิ ยาลยั ช้นั น�ำ

แหง่ การสรา้ งสรรค์

Silpakorn University is a Leading
Creative University

มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นสถาบัน รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั
การศึกษา ระดับอุดมศึกษาของรัฐในสังกัด รชั กาลที่ 6 กระทง่ั ตอ่ มาไดร้ บั การยกฐานะขนึ้ เปน็
ทบวงมหาวิทยาลัย เดิมคือโรงเรียนประณีต มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม
ศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร เปิดสอนวิชา พ.ศ. 2486 คณะจติ รกรรมประติมากรรมและ
จิตรกรรมและประติมากรรมให้แก่ข้าราชการ ภาพพมิ พ์ ไดร้ บั การจดั ตง้ั ขนึ้ เปน็ คณะวชิ าแรก
และนักเรียนในสมัยน้ัน โดยไม่เก็บค่าเล่าเรียน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะโบราณคดี
ผู้ก่อตั้งคือ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี และคณะมัณฑนศิลป์ ตามลำ�ดับ มีการจัดตั้ง
(เดิมชอื่ Corrado Feroci) เปน็ ชาวอติ าเลยี น คณะดุริยางคศาสตร์ขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2542
ซ่ึงเดินทางมารับราชการในประเทศไทยใน เพื่อให้เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความสมบูรณ์
ทางด้านศิลปะมากยง่ิ ขึ้น



ในปี พ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2540 มหาวิทยาลัยศิลปากร
มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชา ได้ขยายเขตการศึกษาไปจัดตั้งวิทยาเขตแห่ง
ที่หลากหลายขึ้น จึงได้ขยายเขตการศึกษาไป ใหม่ ทจี่ งั หวัดเพชรบรุ ี เพื่อกระจายการศกึ ษา
ยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ไปสู่ภูมิภาค ใช้ชื่อว่า “วิทยาเขตสารสนเทศ
โดย จัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ คณะศึกษา เพชรบรุ ”ี จดั ตงั้ คณะสตั วศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย การเกษตร คณะวิทยาการจัดการ คณะ
คณะเภสัชศาสตร์ และคณะเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ
อตุ สาหกรรม วิทยาลัยนานาชาติ
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับการ
ปรับเปลี่ยนสถานะจากการเป็นส่วนราชการ
มาเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำ กบั ของรฐั ตั้งแตว่ ัน
ท่ี 2 กรกฎาคม พ.ศ.2559 ตามพระราชบญั ญตั ิ
มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ.2559

11

12

โครงการ “การอนุรกั ษ์และพัฒนาเมืองเกา่ ราชบุรีเมอื งสร้างสรรค์
และนา่ อยู่เพ่ือการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานวฒั นธรรมและความเปน็ อยูท่ ี่ยัง่ ยืน”

มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

The Conservation and Development of Ratchaburi Old Town towards Creative
and Livable City for Cultural-based Economic Advancement and Sustainable Living

Silpakorn University

โครงการ “การอนุรักษ์และพัฒนาเมอื งเก่าราชบุรี
เมืองสรา้ งสรรค์และนา่ อย่เู พอ่ื การพฒั นา

เศรษฐกจิ ฐานวัฒนธรรมและความเปน็ อยู่ท่ีย่ังยืน”

The Conservation and Development of Ratchaburi Old Town towards Creative and Livable
City for Cultural-based Economic Advancement and Sustainable Living

หัวหน้าโครงการ รองอธิการบดีฝา่ ยวจิ ยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ศาสตราจารย์ ดร.นนั ทนติ ย์ วานิชาชีวะ
ที่ปรึกษาโครงการ รองคณบดีฝา่ ยวิจยั และวเิ ทศสมั พนั ธ์
รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
รองศาสตราจารย์ ดร.ณฐั วฒุ ิ ปรยี วนติ ย ์
ผ้รู ว่ มวิจัย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
อาจารย์ ดร.สงั กมา สารวัตร มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
อาจารยส์ ภุ าพร หนูกา้ น มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
อาจารย์ ดร.สจั จาภรณ์ ไวจรรยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
อาจารย์ ดร.ณัฐโชติ พรหมฤทธิ์
หวั หน้าโครงการย่อยท่ี 1 คณบดีคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ วลิต ขาวเขยี ว คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
หวั หน้าโครงการย่อยที่ 2 รองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั และวิเทศสัมพนั ธ์
อาจารย์ ดร.ภฤศญา ปิยนสุ รณ ์ คณะมณั ฑนศิลป์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
หัวหน้าโครงการย่อยที่ 3 ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรี วฒั น์ สริ ิเวสมาศ

หัวหน้าโครงการย่อยที่ 4
รองศาสตราจารย์ ดร.รฐั พล อน้ แฉง่

25

อาคารร้านค้าบริเวณตลาดริมน้ำ� อ�ำ เภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี

ราชบุรี เป็นเมืองเก่าที่มีพัฒนาการของผู้คนต่อเนื่องมาต้ังแต่สมัยยุคก่อนประวัติศาสตร์
มาจนกระทั่งปัจจุบัน พลวัตของเมืองดังกล่าวส่งผลให้ราชบุรีเป็นเมืองที่มีความโดนเด่น
ทางประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปะ วฒั นธรรม และมคี วามหลากหลายทางชาตพิ นั ธ์ุ มสี นิ คา้ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์
ของท้องถ่ินที่มีความหลากหลาย เช่น ผ้าขาวม้าบ้านไร่ ผ้าจกคูบัว โอ่งมังกรและเซรามิก
เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี งั เปน็ เมอื งแหง่ ศลิ ปะทส่ี ามารถเปน็ จดุ ทอ่ งเทย่ี วแบบเชา้ ไปเยน็ กลบั หรอื เปน็
จุดแวะท่องเที่ยวตามเส้นทางจากกรุงเทพฯ ไปสวนผ้ึง หรือไปภาคใต้ จึงทำ�ให้จังหวัดราชบุรี
เป็นเมืองท่องเที่ยวหลักของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่างที่มีศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานวัฒนธรรมและความเปน็ อยู่ทีย่ ั่งยืน

26

ซมุ้ ประตูจนี วดั ชอ่ งลม
อำ�เภอเมือง จงั หวดั ราชบรุ ี

27

ประตมิ ากรรม บรเิ วณรมิ แม่น�้ำ แม่กลอง
อำ�เภอเมอื ง จังหวดั ราชบุรี

ผลิตภณั ฑเ์ ซรามกิ
จงั หวัดราชบรุ ี

ผลติ ภณั ฑ์ผ้าขาวม้า ศาลเจ้าพ่อกวนอู ผา้ จกคบู ัว
กลมุ่ มนตรีพฒั นา อำ�เภอเมือง จงั หวัดราชบุรี อำ�เภอเมือง จังหวดั ราชบุรี

อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ราชบรุ ี

28

ในปี 2562 มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย ทางภมู ศิ าสตรเ์ มอื งราชบรุ เี ปน็ เพยี ง “ทางผา่ น”
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ได้รับความ ไปส่จู งั หวัดอื่น ๆ รวมไปถงึ ระบบขนสง่ ท่ียังไม่
ไว้วางใจจากจังหวัดราชบุรี โดยสำ�นักงาน ครอบคลมุ สถานทที่ อ่ งเทยี่ วตา่ ง ๆ ภายในเมอื ง
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ ง มี ก า ร ว า ง แ ผ น บ ริ ห า ร
สง่ิ แวดล้อม ให้ดำ�เนินการจดั ทำ� “แผนแมบ่ ท จัดการที่ดี ในการนำ�ต้นทุนทางด้านศิลป-
และผังแม่บทในการอนุรักษ์และพัฒนาเมือง วัฒนธรรมของพ้ืนท่ีนี้มาปรับเปล่ียนเพ่ือ
เก่าราชบุรี” จากการวเิ คราะห์ ประเมินคณุ ค่า เพ่ิมมูลค่า ทำ�ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นและ
ที่มีความสำ�คัญ และศักยภาพของเมืองเก่า นำ�ไปสู่การสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ใน
พบว่าเมืองราชบุรี เป็นเมืองเก่าท่ีมี เมืองเก่า โดยมหาวิทยาลัยศิลปากรมีการ
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและความหลาก ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ
หลายทางชาติพันธุ์ที่น่าสนใจ คือ เป็นเมือง จังหวัดราชบุรี และเทศบาลเมืองราชบุรี
เก่าทม่ี พี ลวตั และยงั มีการต้ังถนิ่ ฐานอาศยั อยู่ โดยการประสานความร่วมมือในการนำ�ศาสตร์
ในปัจจุบัน ซ่ึงมรดกทางวัฒนธรรมในพ้ืนที่ สาขาทม่ี หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรมคี วามเชย่ี วชาญ
นี้สามารถนำ�มาบริหารจัดการเพ่ิมมูลค่าและ ท้ังด้านศิลปะและการออกแบบ สังคมศาสตร์
เป็นต้นทุนสำ�หรับการพัฒนาของท้องถ่ินได้ และมนษุ ยศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
อีกด้วย แต่ในปัจจุบันท่ีมีการเปล่ียนแปลงไป และวทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ ม มาพฒั นาจงั หวดั
เ ป็ น สั ง ค ม เ มื อ ง อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ทำ � ใ ห้ ราชบรุ ใี นทกุ มติ ิ และประชมุ รว่ มกบั หวั หนา้ สว่ น
ศิลปวัฒนธรรมในเขตเมืองเก่าราชบุรีไม่ได้ ราชการทกุ ภาคสว่ น เพอ่ื น�ำ ความตอ้ งการและ
รับการส่งเสริมและดูแลรักษาเท่าท่ีควร และ ปญั หาของทอ้ งถน่ิ มาก�ำ หนดเปน็ โจทยก์ ารวจิ ยั
สินทรัพย์ทางวัฒนธรรมไม่ได้ถูกต่อยอด เพ่ือให้ผลลัพธ์ของงานวิจัยท่ีคาดว่าจะได้รับ
ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างเต็ม นั้นส่งผลกระทบต่อพ้ืนท่ีเป้าหมายอย่างเป็น
ศักยภาพ ส่งผลให้เกิดความถดถอยของ รปู ธรรม ถกู น�ำ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ และรวดเรว็
เศรษฐกิจของเมืองราชบุรี และจากลักษณะ ทนั ตอ่ ความทา้ ทายดา้ นตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในพน้ื ท่ี

29

การลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ระหวา่ งจังหวัดราชบรุ ีกับมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

การลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ระหวา่ งเทศบาลเมืองราชบุรกี ับมหาวิทยาลยั ศิลปากร

30

โครงการนี้มีเป้าหมายในการอนุรักษ์ วัตถุประสงค์ของโครงการ
ฟื้ น ฟู ท รั พ ย า ก ร ท่ี มี ค ว า ม สำ � คั ญ ท า ง 1.อนุรักษ์และฟ้ืนฟูสินทรัพย์ทาง
ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรมของ วฒั นธรรมอนั ทรงคณุ คา่ ในเมอื งเกา่ ราชบรุ ี เพอ่ื
เมืองเก่าราชบุรี ต่อยอดไปสู่การพัฒนา ตอ่ ยอดไปสกู่ ารพฒั นาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรคฐ์ าน
เศรษฐกจิ สรา้ งสรรคบ์ นพน้ื ฐานทางวฒั นธรรม วฒั นธรรม
พัฒนาศักยภาพชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง 2. พฒั นาศกั ยภาพของชมุ ชนในเขตเมอื ง
พัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริม เกา่ ราชบรุ ใี หม้ คี วามเขม้ แขง็ มจี ติ ส�ำ นกึ เชงิ บวก
การใชเ้ ทคโนโลยแี ละรปู แบบเศรษฐกจิ ใหม่ ผา่ น ในการบำ�รุงรักษาคุณค่าของเมืองเก่า และมี
กระบวนการเรยี นรแู้ ละการบรหิ ารจดั การพน้ื ที่ ส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองเก่าภายใต้กรอบ
อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม น�ำ ไปสกู่ ารพฒั นาเมอื งราชบรุ ี การอนุรกั ษ์ เพอ่ื พัฒนาเมอื งเกา่ ราชบรุ ใี ห้เปน็
สู่เมอื งสรา้ งสรรค์ นา่ อยู่ และยั่งยนื เมืองนา่ อย่ทู ป่ี ระชาชนมีคุณภาพชีวติ ท่ีดี
โดยมีการดำ�เนนิ งาน 3 ดา้ น คอื 3. สร้างกระบวนการเรียนรู้ และการ
1. การอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูทรัพยากรที่มีความ จัดการความรู้ ในการส่งเสริมการดูแลรักษา
ส�ำ คญั ทางประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปะ และวฒั นธรรม สืบทอดสินทรัพย์ทางวัฒนธรรมและพัฒนาสู่
ของเมืองเก่าราชบรุ ี เครอ่ื งมอื กลไกและกระบวนการบรหิ ารจดั การ
2. การน�ำ ทนุ ทางประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปะ และ พนื้ ทเ่ี มอื งเกา่ อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม เพอ่ื รกั ษาคณุ คา่
วัฒนธรรมมาพฒั นาเพ่มิ มลู ค่าทางเศรษฐกิจ ของเมืองจากต้นทุนทางด้านศิลปวัฒนธรรม
3. การยกระดับคุณภาพชีวิต เพื่อการ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และสง่ิ แวดลอ้ ม แลว้ สง่ ตอ่
พฒั นาสคู่ วามเปน็ เมอื งนา่ อยู่ ในการด�ำ เนนิ งาน ใหป้ ระชาชนได้ใชป้ ระโยชน์อยา่ งยัง่ ยืน
นักวิจัยนำ�ข้อมูลความต้องการของชุมชนมา 4. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและรูปแบบ
แก้ปญั หาของพนื้ ท่ี ในด้านต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู เศรษฐกจิ ใหม่ ทเ่ี ออื้ อ�ำ นวยตอ่ การอนรุ กั ษแ์ ละ
ส�ำ คญั ทางประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปะ วฒั นธรรม และ พฒั นาเมอื งเกา่ ราชบรุ ไี ปสเู่ มอื งนา่ อยแู่ ละเมอื ง
ผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน ข้อมูลระบบขนส่งในพ้ืนที่ สร้างสรรค์
ข้อมูลทางดา้ นคณุ ภาพชวี ติ รวมไปถงึ ทศั นคติ
ในการจดั การปญั หามลพษิ และขยะในครวั เรอื น
ของคนในพื้นที่ โดยได้รับความร่วมมือจาก
เครอื ขา่ ยภาครฐั เอกชน สถาบนั ทางการศกึ ษา
และชุมชนในพนื้ ทีเ่ มอื งเก่าราชบุรี

31

แผนท่เี ขตเมอื งเก่าราชบรุ ี (ท่มี า : คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร)

โครงการ “การอนุรกั ษ์และพัฒนาเมืองเกา่ ราชบุรีเมอื งสร้างสรรค์
และนา่ อยู่เพ่ือการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานวฒั นธรรมและความเปน็ อยูท่ ี่ยัง่ ยืน”

มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

The Conservation and Development of Ratchaburi Old Town towards Creative
and Livable City for Cultural-based Economic Advancement and Sustainable Living

Silpakorn University

โครงการ “การอนุรักษแ์ ละพฒั นาเมอื งเกา่ ราชบุรี
เมืองสร้างสรรค์และนา่ อยูเ่ พ่อื การพัฒนา

เศรษฐกิจฐานวฒั นธรรมและความเป็นอยูท่ ่ยี งั่ ยืน”

ภาพรวมของการดำ�เนนิ งานโครงการ

โครงการ “การอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาเมอื งเกา่ ราชบรุ ี
เมอื งสรา้ งสรรคแ์ ละนา่ อยู่ เพอื่ การพฒั นา
เศรษฐกิจฐานวฒั นธรรมและความเป็นอยูท่ ี่ยง่ั ยนื ”

เป็นโครงการบูรณาการที่มีการนำ�
องค์ความรู้ และความเชี่ยวชาญ ในศาสตร์
ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้แก่
ด้านโบราณคดี ด้านการจัดการ ด้านศิลปะ
และการออกแบบ และด้านสิ่งแวดล้อม
มาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์บน
พ้ืนฐานทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดราชบุรี
เพ่ือนำ�ไปสู่การพัฒนาเมืองราชบุรี สู่เมือง
สร้างสรรค์ น่าอยู่ และยั่งยืน นอกจากนี้ยังมี
การบรู ณาการการเรยี นการสอนเพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษา
ได้นำ�ความรู้มาปฏิบัติจริงในพ้ืนท่ีจริง เพ่ือ
เปน็ การสรา้ งทกั ษะและประสบการณก์ ารท�ำ งาน
ใหน้ กั ศกึ ษาอีกด้วย
โครงการ “การอนุรักษ์และพัฒนาเมือง
เก่าราชบุรีฯ” ประกอบด้วยโครงการย่อย
4 โครงการ ตามความเชี่ยวชาญของแต่ละ
คณะวิชา ไดแ้ ก่



การพัฒนาทนุ ทาง
วัฒนธรรมเพอื่ การทอ่ ง
เที่ยวเมืองนา่ อยรู่ าชบุรี

โดย คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
การค้นคว้าหาทุนทางวัฒนธรรมของ
จังหวัดราชบุรี เพ่ือเข้าใจและรู้จักรากฐาน
ความเป็นมาของจังหวัดราชบุรีอย่างลุ่มลึก
แล้วนำ�ทุนทางวัฒนธรรมอันเป็นรากของชาว
ราชบรุ เี หลา่ นมี้ าอนรุ กั ษ์ พฒั นายกระดบั หรอื
ตอ่ ยอดเพอ่ื สรา้ งมลู คา่ ทางสงั คม และเศรษฐกจิ
ในพน้ื ที่ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละยงั่ ยนื

48

การลงพ้ืนท่ีส�ำ รวจและรวบรวมขอ้ มูลทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นของชุมชนในเขตเมอื งเกา่ ราชบรุ ี

49

การสมั ภาษณค์ วามคิดเหน็
หัวหน้าหน่วยงานตา่ ง ๆ
และผู้ประกอบการ
ในพ้นื ท่ี จ.ราชบรุ ี

50

การน�ำ ระบบโลจิสตกิ สม์ า
พัฒนาเมืองเก่าราชบรุ ี
เพอ่ื พัฒนาเศรษฐกจิ และ
การท่องเที่ยวอยา่ งยัง่ ยืน

โดย คณะวทิ ยาการจดั การ
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

การพัฒนาศักยภาพทางการท่องเท่ียว
ของจังหวัดราชบุรี โดยการจัดการระบบ
โลจิสติกส์ระบบโครงสร้างพ้ืนฐาน คมนาคม
โลจิสติกส์ เพ่ือรองรับการท่องเท่ียวชุมชน
ดว้ ยการสรา้ งรา่ ง Application ดา้ นทอ่ งเทยี่ ว
นำ�ไปสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการ
ทอ่ งเทยี่ วอยา่ งย่ังยืน

51

การพัฒนาศลิ ปะกบั
ฃุมชนและการพัฒนา
ผลิตภณั ฑ์ท้องถิ่นเพ่ือ
ราชบรุ เี ศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์

โดย คณะมณั ฑนศิลป์
และคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์
มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินราชบุรี
โดยการสร้างระบบศิลปะนิเวศน์ (Art
Ecology System) ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในชมุ ชน เพอ่ื การ
สรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑ์ โดยเชอ่ื มโยงเอาคณุ สมบตั ิ
คุณลักษณะ แนวคิด วิธีการ ของภูมิปัญญา
ท้องถิ่น อัตลักษณ์ของชาติพันธุ์ การใช้วัสดุ
มาตอ่ ยอดเพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ รวมถงึ
การศึกษาเชิงปฏิบัติการนำ�ร่องไปสู่งานศิลปะ
เพื่อสาธารณะ และงานออกแบบโดยความ
ร่วมมือของชุมชน เพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจ
สรา้ งสรรค์อย่างยั่งยืน

52

การลงพ้นื ทสี่ �ำ รวจผลิตภณั ฑ์ท้องถ่นิ
จ.ราชบรุ ี ได้แก่ เซรามกิ จาก เถ้า ฮง ไถ่
และผา้ ขาวม้ากลมุ่ มนตรพี ัฒนา

53

การพัฒนาคุณภาพส่ิง การพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่
แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ มอื ง ภายใตก้ ารมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาสงั คมและ
เกา่ ราชบรุ สี เู่ มืองนา่ อย่ทู ่ี ภาคเอกชน โดยการส�ำ รวจคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม
ยง่ั ยืน (ขยะและฝุ่น PM2.5) และคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนในพื้นท่ี ควบคู่ไปกับการสร้างความ
โดย คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร ตระหนักโดยจัดให้มีกิจกรรมที่ทำ�ให้เกิดการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน นำ�มาสู่การกำ�หนด
แนวทางการจัดการปัญหามลพิษส่ิงแวดล้อม
เพอื่ การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนใน
พ้นื ท่อี ย่างย่ังยืน

การลงพ้นื ทสี่ มั ภาษณ์และสำ�รวจข้อมูลด้านคุณภาพชีวิต
ของประชาชนในพ้นื ท่ี (ขยะและฝุน่ PM2.5)

54

โครงการ “การอนุรกั ษ์และพัฒนาเมืองเกา่ ราชบุรีเมอื งสร้างสรรค์
และนา่ อยู่เพ่ือการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานวฒั นธรรมและความเปน็ อยูท่ ี่ยัง่ ยืน”

มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

The Conservation and Development of Ratchaburi Old Town towards Creative
and Livable City for Cultural-based Economic Advancement and Sustainable Living

Silpakorn University

โครงการพัฒนาทุนทางวฒั นธรรม
เพื่อการท่องเที่ยวเมืองน่าอยู่ราชบุรี

หวั หน้าโครงการ : ผู้ชว่ ยศาสตราจารยช์ วลติ ขาวเขยี ว
ผ้รู ่วมวจิ ยั : ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อชริ ัชญ์ ไชยพจน์พานชิ
อาจารยศ์ ศธิ ร ศิลปว์ ฒุ ยา
อาจารย์ ดร.กวฎิ ตั้งจรสั วงศ์

คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

จังหวัดราชบุรีในปัจจุบันเป็นที่รู้จักกัน 1. การค้นหา รวบรวมองค์ความรู้ และ
ในฐานะแหล่งผลิตโอ่งมังกรท่ีมีชื่อเสียง สร้างอตั ลักษณ์ของเมอื งราชบรุ ี เพ่ือเผยแพร่
ยาวนาน และถูกนับเป็นเมืองทางผ่านท่ีจะ ในรูปแบบคลังข้อมูลสารสนเทศ และกำ�หนด
เดินทางไปสู่จังหวดั อ่นื ๆ ในภาคตะวันตกและ พ้ืนท่ีตัวอย่างเพื่อจัดทำ�เมืองต้นแบบแหล่ง
ภาคใต้ หากแต่ในความเป็นจริงแล้ว ราชบุรี เรียนรู้ประวัติศาสตร์โบราณคดีของชาติ
ยังมีเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์อีกมากมาย (Living Museum)
ไม่ว่าจะเป็นการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ต้ังแต่ 2. การต่อยอดองค์ความรู้และทุนทาง
สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ ตำ�แหน่งเมอื งราชบุรี วฒั นธรรม ผา่ นการสรา้ งเครอื ขา่ ยองคก์ รและ
ท่ีเคยเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเครือข่าย พลเมอื งทางวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมเสรมิ
การค้าและการเดินทางในระดับภูมิภาคเอเชีย สรา้ งแนวคดิ เมอื งวฒั นธรรม การเรยี นรคู้ วาม
การพบศลิ ปวฒั นธรรมโบราณตง้ั แตส่ มยั ทวารวดี หลากหลายและสรา้ งแผนทที่ างวฒั นธรรมเมอื ง
อยุธยา และรัตนโกสินทร์ รวมไปถึงมรดก ราชบรุ ี และการอบรมมคั คุเทศก์ทอ้ งถนิ่
ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอยู่อย่าง 3. การสร้างเส้นทางท่องเที่ยวทาง
หลากหลายในเมอื งราชบุรี องคค์ วามรูเ้ หลา่ นี้ วฒั นธรรมทม่ี พี น้ื ฐานมาจากทนุ ทางวฒั นธรรม
ยังไม่เคยมีการนำ�มาบูรณาการ ต่อยอด และ เมืองราชบรุ ี ร่วมกับชุมชน องคก์ รภาครฐั และ
พฒั นาใหเ้ กดิ มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ กบั คนราชบรุ ี ภาคเอกชน
รวมไปถึงขาดการประชาสัมพันธ์สื่อสารถึง
กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วและจดุ ดงึ ดดู ความสนใจ
จงึ เปน็ ทม่ี าของการด�ำ เนนิ งานโครงการพฒั นา
ทุนทางวัฒนธรรมเพ่ือการท่องเท่ียวเมือง
นา่ อยรู่ าชบรุ ี (The Development of Cultural
Capital for Tourism in Livable Ratchaburi)
ตามแนวทางดงั นี้

67

การสำ�รวจข้อมูลภาคสนาม
และการประชุมกล่มุ ย่อยใน
พืน้ ทเี่ มืองราชบุรี

การสำ�รวจข้อมูลภาคสนามแหล่งมรดก นอกจากนน้ั ยงั ไดม้ กี ารจดั ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย
วัฒนธรรม อาทิ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยบคุ ลากรทางการศกึ ษาและ
ราชบุรี อาคารเก่าภายในสถานีตำ�รวจภูธร บุคลาการทางวัฒนธรรมในพ้ืนท่ีเมืองราชบุรี
จังหวัดราชบุรี ศาลแขวงเมืองราชบุรี ตลาด อาทิ ส�ำ นกั ศลิ ปากรที่ 1 ราชบรุ ี พพิ ธิ ภณั ฑสถาน
เกา่ เมอื งราชบรุ ี วดั ชอ่ งลม วดั ศรสี รุ ยิ วงศาราม แหง่ ชาติ ราชบรุ ี เทศบาลเมอื งราชบรุ ี ส�ำ นกั งาน
วรวิหาร วัดเขาเหลือ วัดสัตตนารถปริวัตร วัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี หอการค้าจังหวัด
วรวหิ าร วดั มหาธาตวุ รวหิ าร ราชบรุ ี วดั โรงชา้ ง ราชบุรี โรงเรียนสุริยวงศ์ โรงเรียนดรุณา
ศาลเจ้าพ่อกวนอู (โรงเจเหล่าซินเฮงตั๊ว) ราชบรุ ี โรงเรยี นราชโบรกิ านเุ คราะห์ โรงเรยี น
ศาลหลักเมืองและซากกำ�แพงเมืองราชบุรี เบญจมราชูทิศ ราชบุรี เพื่อปรึกษาหารือ
และการสัมภาษณ์พระสงฆ์ ปราชญ์ชาว แนวทางการดำ�เนินงาน รับฟังปัญหา และ
บ้าน และผู้คนในชุมชนคนตลาด ชุมชนมนตรี ความต้องการในพื้นที่ ท้ังจุดแข็ง จุดอ่อน
พัฒนา เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการศึกษา ภยั คกุ คาม และโอกาสในการพฒั นา รวมถงึ การ
และรวบรวมองคค์ วามรู้ โดยใชว้ ธิ กี ารศกึ ษาวจิ ยั ประสานความรว่ มมอื จากองคก์ รภาครฐั และภาค
แบบบรู ณาการสาขาวชิ า ทง้ั ดา้ นโบราณคดแี ละ เอกชน ซึ่งข้อมูลที่ได้รับจากการประชุมกลุ่ม
ประวตั ศิ าสตร์ ดา้ นประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ และดา้ น ย่อยจะถูกนำ�มาวางแผนแนวทางการดำ�เนิน
มานษุ ยวทิ ยา เพอ่ื น�ำ มารวบรวมเปน็ ฐานขอ้ มลู งานใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผมู้ สี ว่ น
ทุนทางวัฒนธรรม ท้ังในแง่มุมประวัติศาสตร์ เกย่ี วข้องในพนื้ ที่
โบราณคดี งานศิลปกรรม เร่ืองเล่า วิถีชีวิต
วัฒนธรรมและประเพณี นำ�ไปสู่การค้นหา
อัตลักษณ์ทุนทางวัฒนธรรมของเมืองราชบุรี
และเผยแพรใ่ นคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศทางมรดก
ศลิ ปวฒั นธรรมราชบุรีตอ่ ไป

68

69

คลังขอ้ มลู สารสนเทศ
ศลิ ปวฒั นธรรมเมืองราชบรุ ี

องค์ความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์
โบราณคดี ประวัติศาสตร์ศิลปะ และ
มานษุ ยวทิ ยาของเมอื งราชบรุ ที ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษา
วจิ ยั นนั้ ถกู น�ำ มารวบรวมและสรา้ งสรรคใ์ หเ้ กดิ
เปน็ คลงั ขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมเมอื ง
ราชบรุ ที ปี่ ระกอบดว้ ยขอ้ มลู ทนุ ทางวฒั นธรรม
ประวัติความเป็นมา ตำ�แหน่ง ลกั ษณะส�ำ คัญ
และเส้นทางท่องเที่ยว เพ่ือใช้เป็นฐานข้อมูล
สำ�หรับเผยแพร่ให้ผู้คนสามารถเข้ามาศึกษา
เรียนรู้ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวได้
นอกจากนน้ั สถาบนั การศกึ ษา ชมุ ชน หนว่ ยงาน
ภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นท่ีจังหวัดราชบุรี
ยังได้ทดลองใช้ฐานข้อมูลและสามารถนำ�ไป
พัฒนา ต่อยอด ยกระดับ นำ�ไปสู่การพัฒนา
จังหวัดราชบุรีให้รองรับการท่องเที่ยวเชิง
เศรษฐกจิ สรา้ งสรรคอ์ ยา่ งยง่ั ยนื บนฐานขอ้ มลู
ทนุ ทางวฒั นธรรม และเปน็ ตน้ แบบคลงั ขอ้ มลู
ศิลปวัฒนธรรมท่ีสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ใน
พืน้ ทีอ่ ่ืนได้

70

71

72

ราชบรุ ี: เมืองต้นแบบแหลง่ เรยี นรู้
ประวตั ิศาสตรโ์ บราณคดี
(Living Museum)

เมืองราชบุรี ปรากฏหลักฐานการอยู่ จากขอบเขตพ้ืนที่การศึกษาวิจัยท่ี
อาศยั ของผคู้ นมาตง้ั แตส่ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ ก�ำ หนดเฉพาะเขตเมอื งเกา่ ราชบรุ ตี ามประกาศ
และเจริญขึ้นเป็นชุมชนบนพื้นท่ีราบลุ่มแม่น้ำ� ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ พั ฒ น า ก รุ ง
แมก่ ลอง พรอ้ มทง้ั มกี ารตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ชมุ ชน รัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า พ.ศ. 2560 ทาง
อน่ื ๆ จนมบี ทบาทเปน็ เมอื งทา่ คา้ ขายทสี่ �ำ คญั โครงการจึงได้เสนอพื้นท่ีบริเวณริมแม่นำ้�
ในสมัยทวารวดี สมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา แม่กลอง ตั้งแต่บริเวณวัดช่องลม ศาล
จนกระท่ังในสมัยรัตนโกสินทร์ เมืองราชบุรี เจ้าพ่อกวนอู ราชบุรี จนถึงตลาดเก่าเมือง
มีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านสำ�คัญท่ีคอยรับศึก ราชบุรี ให้เป็นพ้ืนที่เมืองต้นแบบแหล่งเรียน
สงครามกับพม่า โดยมีการกวาดต้อนกลุ่มคน รปู้ ระวัติศาสตร์โบราณคดี (Living Museum)
จีน มอญ เขมร ไทยวน และลาวกลุ่มต่าง ๆ เน่ืองจากปรากฏร่องรอยงานศิลปกรรมและ
เข้ามาอยู่ในพ้ืนท่ีเมืองราชบุรี ความต่อเนื่อง ชมุ ชนชาวจนี โพน้ ทะเลทอี่ พยพเขา้ มาตง้ั ถนิ่ ฐาน
ของการอยู่อาศัยและความหลากหลายของ ในเมืองราชบุรีตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ พร้อม
กลมุ่ คนทเ่ี ดนิ ทางเขา้ มาในเมอื งราชบรุ ี จงึ ท�ำ ให้ ทั้งยังแสดงถึงวิถีชีวิตดั้งเดิมของผู้คน ท้ังใน
ราชบุรีมีความเหมาะสมท่ีจะเป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านความเชอ่ื ประเพณี วฒั นธรรม เศรษฐกิจ
ทางประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดขี องชาติ และสงั คม อาทิ การจดั เทศกาลกนิ เจเปน็ ประจ�ำ
ทกุ ปขี องกลมุ่ คนจนี ทบี่ รเิ วณศาลเจา้ พอ่ กวนอู
ราชบุรี การนับถือพระพุทธรูปแก่นจันทน์
วัดช่องลมที่เป็นพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์ประจำ�
จงั หวดั ราชบรุ ี รวมไปถงึ บรรยากาศความคกึ คกั
ของการคา้ ขายสนิ ค้าริมแม่น้ำ�แม่กลอง ตัง้ แต่
ตลาดเก่าเมืองราชบุรีจนถึงตลาดสนามหญ้า
แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเมืองราชบุรี
ในสมัยรัตนโกสินทร์ที่ยังคงปรากฏหลักฐาน
วิถชี ีวิต ผู้คน และวฒั นธรรมต้งั แต่อดตี มาจน
กระท่ังถงึ ปจั จบุ นั

73

74

75

การอบรมเชงิ ปฏิบัติการสรา้ งแนวคดิ
เมอื งวัฒนธรรม จงั หวดั ราชบรุ ี 18 กันยายน 2563
ณ โรงแรม ณ เวลา อำ�เภอเมอื ง จังหวัดราชบรุ ี

การอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างแนวคิด ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังคม
เมอื งวฒั นธรรม จงั หวดั ราชบรุ ี มวี ตั ถปุ ระสงค์ ที่สงบสุขและยุติธรรม และการสร้างความ
เพื่อทบทวน แลกเปล่ียน สำ�รวจทุนทาง ร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อบรรลุเป้าหมาย
วัฒนธรรมและความเป็นเมืองราชบุรีต้ังแต่ใน การพัฒนาท่ียั่งยืน กระบวนการระดมความ
อดตี ปจั จบุ นั และอนาคต ผา่ นมมุ มองของภาคี คิดเห็นและแลกเปลี่ยนข้อมูลจากทุกภาคส่วน
เครือข่ายทางวัฒนธรรมในจังหวัดราชบุรีและ ทเี่ กยี่ วขอ้ งในพน้ื ทนี่ บั เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ส�ำ คญั ทน่ี �ำ
ผเู้ กยี่ วขอ้ ง อาทิ ตวั แทนครู ตวั แทนนกั เรยี นและ ไปสกู่ ระบวนการอนุรกั ษ์ พัฒนา และยกระดบั
นักศึกษา ตัวแทนบุคลากรจากองค์กรภาครัฐ ทุนทางวัฒนธรรมในจังหวดั ราชบรุ ีต่อไป โดย
และภาคเอกชน ผคู้ นในชมุ ชน ปราชญช์ าวบา้ น มผี ้เู ข้ารว่ มโครงการ จ�ำ นวน 103 คน และเกดิ
ผู้ประกอบการ ภายใต้หลักการเมือง เครือข่ายการดำ�เนินงานด้านศิลปวัฒนธรรม
สร้างสรรค์ (Creative Cities) และการพฒั นา ในพื้นที่ ได้แก่ เทศบาลเมืองราชบุรี โรงเรียน
อย่างย่ังยืน (Sustainable Development เบญจมราชทู ศิ ราชบรุ ี ศาลเจา้ พอ่ กวนอู ราชบรุ ี
Goals–SDGs) ที่ครอบคลุมด้านคุณภาพ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ราชบรุ ี ส�ำ นกั ศลิ ปากร
ชีวิตของผู้คน ความเจริญทางเศรษฐกิจ ท่ี 1 ราชบุรี

76

77

การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารต้นแบบดา้ นการท�ำ
ทะเบยี นวัตถทุ ้องถิน่ พิพธิ ภัณฑสถานศกึ ษา
จังหวดั ราชบุรี
18 ตุลาคม 2563
ณ โรงเรียนเบญจมราชทู ศิ ราชบรุ ี
อำ�เภอเมือง จงั หวดั ราชบุรี

การอบรมเชิงปฏิบัติการต้นแบบด้าน เริ่มต้นของการเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้าน
การทำ�ทะเบียนวัตถุท้องถ่ิน พิพิธภัณฑสถาน ทุนทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ รวมไปถึง
ศกึ ษา มีวัตถุประสงคเ์ พ่อื สรา้ งตน้ แบบการจดั เรยี นรวู้ ธิ กี ารเกบ็ รกั ษาวตั ถทุ อ้ งถนิ่ ตา่ ง ๆ ใหเ้ ปน็
ท�ำ ทะเบยี นวตั ถทุ อ้ งถนิ่ ทพี่ บในพน้ื ทเ่ี มอื งราชบรุ ี หลักฐานแสดงถึงความเป็นมาของเมือง
เนื่องจากโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี ได้ ราชบรุ ี พรอ้ มทงั้ เสนอแนะแนวทางการพฒั นา
มีการจัดต้ังพิพิธภัณฑ์ที่รวบรวมสิ่งของจาก พิพิธภัณฑ์ให้กลายเป็นสถานท่ีท่องเท่ียวทาง
คนในทอ้ งถนิ่ มาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 โดยพบทงั้ วัฒนธรรมแห่งใหม่ของจังหวัดราชบุรี โดยมี
เคร่ืองมือหิน ภาชนะดินเผา ลวดลายปูนป้ัน ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ จ�ำ นวน 65 คน เกดิ เครอื ขา่ ย
กระดูกสัตว์ เอกสารลายลักษณ์อักษร และ องค์กรทท่ี ำ�งานด้านศลิ ปวัฒนธรรม และยังมี
สิ่งของเครื่องใช้ร่วมสมัย การให้ความรู้และ แผนสนับสนุนการดำ�เนินงานท่ีเก่ียวข้องทาง
ทดลองฝกึ ปฏบิ ตั จิ ดั ท�ำ ทะเบยี นวตั ถจุ งึ เปน็ จดุ ด้านพิพธิ ภณั ฑต์ อ่ ไป

78

79


Click to View FlipBook Version