The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ebook โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าราชบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukphayodtakul_t, 2021-09-03 02:46:40

ebook โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าราชบุรี

ebook โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าราชบุรี

การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารเรียนร้คู วามหลาก
หลายทางวัฒนธรรมและการเป็นมัคคเุ ทศก์
ท้องถิน่ จังหวัดราชบรุ ี
25 มนี าคม 2564
ณ โรงเรียนดรณุ าราชบุรี และแหล่งมรดก
วัฒนธรรมในพน้ื ทอ่ี �ำ เภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี

การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเรยี นรคู้ วามหลาก ทักษะการพูดและการนำ�เสนอข้อมูลในพ้ืนท่ี
หลายทางวัฒนธรรมและการเป็นมัคคุเทศก์ สาธารณะ ทักษะการฟังและวิเคราะห์ รวมไป
ทอ้ งถน่ิ จงั หวดั ราชบรุ ี มีวัตถุประสงคเ์ พื่อนำ� ถงึ การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ เพอ่ื ใหส้ ามารถอธบิ าย
ข้อมูลทุนทางวัฒนธรรมเมืองราชบุรีที่ได้ค้น และสอื่ สารเรอื่ งราวทนุ ทางวฒั นธรรมไดอ้ ยา่ ง
พบจากการศึกษาวิจัยมาเผยแพร่และสื่อสาร เป็นระบบ โดยมีผเู้ ข้าร่วมโครงการ จ�ำ นวน 50
ให้เป็นท่ีรู้จักในวงกว้าง ผ่านการสร้างแผนที่ คน และไดท้ ดลองน�ำ ตวั แทนบคุ ลากรในองคก์ ร
ทางวัฒนธรรม (Cultural Mapping) เพื่อ ภาครัฐและภาคเอกชน ส่ือมวลชน และผู้ที่
เรยี นรคู้ วามหลากหลายทางวฒั นธรรมจากการ เก่ียวข้อง ท่องเที่ยวตามเส้นทางราชบุรีและ
สำ�รวจ บนั ทกึ ระบตุ ำ�แหน่งมรดกวัฒนธรรม ชาวจนี โพน้ ทะเลทโี่ ครงการจดั ขน้ึ ท�ำ ใหส้ ามารถ
และนำ�เสนอตัวตนของชุมชน เช่น อาคาร นำ�องคค์ วามร้แู ละทกั ษะทไี่ ดร้ ับจากการอบรม
ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศาสนสถาน เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารไปใช้ประโยชน์ต่อเน่อื ง และเกดิ
รา้ นอาหาร พิพิธภัณฑ์ ความเชือ่ และประเพณี เครือข่ายมัคคุเทศก์ท้องถ่ินที่มีองค์ความรู้
ตำ�รับอาหาร ความทรงจำ� กลุ่มผู้คน เป็นต้น สามารถรองรบั การทอ่ งเทยี่ วอยา่ งสรา้ งสรรค์
พร้อมทั้งฝึกอบรมทักษะท่ีจำ�เป็นสำ�หรับ และยง่ั ยนื บนฐานขอ้ มลู ทนุ ทางวฒั นธรรม
มัคคุเทศก์ อาทิ ทักษะการเรียบเรียงข้อมูล

80

81

การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการเรยี นร้คู วามหลากหลาย
ทางวฒั นธรรมและสร้างสรรคว์ ธิ ีการสือ่ สาร
ทางศลิ ปะ จังหวดั ราชบรุ ี
31 มนี าคม 2564
ณ วิทยาลยั เทคนคิ ราชบุรี และแหลง่ มรดก
วัฒนธรรมในพนื้ ทีอ่ ำ�เภอเมือง จังหวัดราชบุรี

การอบรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ความ วฒั นธรรมผ่านการสร้างสรรคง์ านศิลปะ อาทิ
หลากหลายทางวัฒนธรรมและสร้างสรรค์ ทักษะการประยุกต์ใช้ข้อมูล ทักษะการสื่อสาร
วิธีการสื่อสารทางศิลปะ จังหวัดราชบุรี และการน�ำ เสนอขอ้ มลู ในพน้ื ทส่ี าธารณะ ทกั ษะ
มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื น�ำ ขอ้ มลู ทนุ ทางวฒั นธรรม การฟังและวิเคราะห์ เพื่อนำ�มาใช้ผลิตช้ินงาน
เมืองราชบุรีท่ีได้ค้นพบจากการศึกษาวิจัยมา ตน้ แบบความคดิ เชงิ วฒั นธรรมและเกดิ แนวทาง
เผยแพรใ่ นรปู แบบของการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ การสรา้ งสรรคว์ ธิ กี ารสอ่ื สารทางศลิ ปะไดอ้ ยา่ ง
ซงึ่ เปน็ อกี วธิ กี ารหนงึ่ ทส่ี ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ าร เขา้ ใจขอ้ มลู ทนุ ทางวฒั นธรรมเมอื งราชบรุ ี โดย
ออกแบบเพื่อสร้างจุดดึงดูดความสนใจและ มผี ู้เขา้ ร่วมโครงการ จ�ำ นวน 50 คน และได้นำ�
นำ � เ ส น อ ข้ อ มู ล ทุ น ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ด้ ใ น ผลงานต้นแบบความคิดเชิงวัฒนธรรมมาจัด
หลากหลายมติ มิ ากขนึ้ ภายใตก้ ารเรยี นรแู้ นวคดิ แสดงในพน้ื ทเ่ี มอื งราชบรุ ี ท�ำ ใหผ้ คู้ นในพนื้ ทเี่ กดิ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของเมือง ความเขา้ ใจและตระหนกั ถงึ ความจ�ำ เปน็ ในการ
ราชบุรี ทั้งในแง่มุมประวัติศาสตร์ ผู้คน งาน อนรุ กั ษ์ พฒั นา และตอ่ ยอดทนุ ทางวฒั นธรรม
ศลิ ปกรรม ความเชอื่ และประเพณี พรอ้ มทงั้ ฝกึ ใหเ้ กดิ การพฒั นาเศรษฐกจิ อยา่ งสรา้ งสรรคใ์ น
อบรมทักษะการนำ�เสนอเรื่องราวของทุนทาง เมืองราชบรุ ี

82

83

เส้นทางทอ่ งเท่ยี วที่มีพ้ืนฐาน
มาจากทนุ ทางวัฒนธรรมเมืองราชบุรี

การศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นโบราณคดี ประวตั ศิ าสตร์ ลุ่มแม่น้ำ�แม่กลอง ซ่ึงการจัดทำ�เส้นทางการ
ศิลปะ และมานุษยวิทยาในพื้นที่เมืองราชบุรี ท่องเที่ยวมีพ้ืนฐานมาจากทุนทางวัฒนธรรม
ทำ�ให้ค้นพบความสำ�คัญและคุณค่าของมรดก เมอื งราชบรุ จี ะเปน็ สว่ นชว่ ยขบั เคลอ่ื นชมุ ชนและ
วัฒนธรรมในหลายมิติของเมืองราชบุรีท่ียัง แหลง่ มรดกวฒั นธรรมในเมอื งราชบรุ ใี หก้ ลาย
ไมเ่ คยมกี ารกลา่ วถงึ ทง้ั ในเรอื่ งงานศลิ ปกรรม เปน็ เมอื งทมี่ คี วามเขม้ แขง็ ทางดา้ นวฒั นธรรม
วิถีชีวิตชุมชน ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ และเศรษฐกิจ โดยโครงการได้เสนอเส้นทาง
ชาตพิ นั ธ์ุ ฯลฯ โดยเฉพาะบรเิ วณตลาดเกา่ เมอื ง ทอ่ งเทย่ี วน�ำ รอ่ ง “ราชบรุ แี ละชาวจนี โพน้ ทะเล”
ราชบุรีที่เป็นพ้ืนที่สำ�คัญท่ียังปรากฏร่องรอย ซึ่งประกอบไปดว้ ยวดั ช่องลม - ซุ้มประตจู ีน -
ของแหล่งมรดกวัฒนธรรม กลุ่มผู้คน และ ศาลเจ้าพ่อกวนอู ราชบุรี - พิพิธภัณฑสถาน
วิถีชีวิตด้ังเดิมของเมืองราชบุรี ซึ่งสามารถ แหง่ ชาตริ าชบรุ ี - ตลาดเกา่ เมอื งราชบรุ ี พรอ้ ม
สะท้อนถึงอัตลักษณ์ทางด้านประวัติศาสตร์ ทง้ั ด�ำ เนนิ การทดสอบเสน้ ทางทอ่ งเทยี่ วดงั กลา่ ว
วิถีชีวิต และงานศิลปกรรมของชุมชนชาวจีน ร่วมกับตัวแทนบุคลากรในองค์กรภาครัฐและ
ผา่ นขอ้ มลู การตง้ั ถนิ่ ฐานของชาวจนี โพน้ ทะเลที่ ภาคเอกชนในพื้นที่จังหวัดราชบุรี ส่ือมวลชน
เรม่ิ เขา้ มาในเมอื งราชบรุ ตี ง้ั แตส่ มยั รชั กาลท่ี 4 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องจนสามารถนำ�มาใช้
กรุงรัตนโกสินทร์ โดยมีการสร้างศาสนสถาน เป็นต้นแบบเครื่องมือเพื่อพัฒนาพ้ืนท่ีทาง
ตามความเชอื่ ของตนเอง รวมถงึ พฒั นาพนื้ ทใี่ ห้ วัฒนธรรมอ่ืน ๆ ในจงั หวัดราชบรุ ตี อ่ ไปได้
กลายเปน็ ศนู ยก์ ลางทางการคา้ ทสี่ �ำ คญั บรเิ วณ

84

เสน้ ทางทอ่ งเที่ยวบนฐานข้อมลู ทนุ ทางวัฒนธรรม
จังหวดั ราชบุรี “ราชบุรแี ละชาวจีนโพน้ ทะเล”

85

86

โครงการ “การอนุรกั ษ์และพัฒนาเมืองเกา่ ราชบุรีเมอื งสร้างสรรค์
และนา่ อยู่เพ่ือการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานวฒั นธรรมและความเปน็ อยูท่ ี่ยัง่ ยืน”

มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

The Conservation and Development of Ratchaburi Old Town towards Creative
and Livable City for Cultural-based Economic Advancement and Sustainable Living

Silpakorn University

โครงการการน�ำ ระบบโลจิสติกส์มา
พัฒนาเมอื งเกา่ ราชบรุ เี พอื่ พัฒนา
เศรษฐกจิ และการทอ่ งเทยี่ ว
อยา่ งย่ังยนื

หวั หน้าโครงการ : อาจารย์ ดร.ภฤศญา ปิยนุสรณ์
ผูร้ ่วมวิจยั : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ระชานนท์ ทวผี ล
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นธิ ิกร ม่วงศรเขยี ว
อาจารย์ ธเนศ เกษรสริ ธิ ร
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนัสสินี บุญมีศรีสงา่

คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

แนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพ่ือ การเชอื่ มโยงแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วระหวา่ งเขตเมอื ง
ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจและการท่องเทย่ี ว เก่าราชบุรีกับแหล่งท่องเท่ียวในเขตพ้ืนท่ีต่อ
โครงการวิจัยน้ีมีเป้าหมายเพื่อศึกษา เนื่อง โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวใหม่ท่ีกำ�ลัง
ศักยภาพ องค์ประกอบและแนวทาง ได้รับความสนใจจากหน่วยงานต่าง ๆ (เช่น
การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ เพื่อรองรับการ หุบผาสวรรค์) รวมท้ังการใช้ข้อได้เปรียบจาก
ทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนดว้ ยการสรา้ งแอปพลเิ คชนั ดา้ น นโยบายการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่มีการ
การทอ่ งเทย่ี ว เพอ่ื รองรบั การทอ่ งเทยี่ วชมุ ชน สร้างทางหลวงพิเศษหรือมอเตอร์เวย์เชื่อม
สู่เศรษฐกิจชุมชน ภายใต้การมีส่วนร่วมของ โยงถนนสายสำ�คัญระหว่างจังหวัดนครปฐม
ภาคส่วนต่าง ๆ ท้งั ภาครฐั และเอกชน ในพื้นท่ี และอ�ำ เภอชะอ�ำ จงั หวดั เพชรบรุ ี สามารถดงึ ดดู
เมอื งเกา่ ราชบรุ ี จากขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสมั ภาษณ์ นักท่องเท่ียวกลุ่มใหม่ได้เพ่ิมมากข้ึนในอนาคต
ผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจ ขณะเดียวกันทางจังหวัดราชบุรีมีแนวทางที่
(อาทิ ประชาสัมพันธ์จังหวัดราชบุรี พาณิชย์ จะพัฒนาจุดดึงดูด (Landmark) แห่งใหม่
จังหวัดราชบุรี สำ�นักงานการท่องเที่ยวแห่ง ด้วยงานประติมากรรมโอ่งมังกรพ่นน้ำ�ท่ีสื่อ
ประเทศไทยสำ�นักงานราชบุรี เทศบาลเมือง ถงึ อัตลักษณข์ องจังหวัดราชบรุ ี เปน็ จุดหมาย
ราชบรุ ี หอการคา้ จงั หวดั ราชบรุ ี คณะกรรมการ ปลายทางแหง่ ใหมใ่ นการรบั รขู้ องนกั ทอ่ งเทย่ี ว
พัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่หอการค้าจังหวัด พร้อมกับการขยายเส้นทางการท่องเที่ยว
ราชบุรี) ทำ�ให้พบว่าจังหวัดราชบุรีมีนโยบาย ทางน�้ำ ทส่ี ามารถใชเ้ รอื และแพในการสญั จรไป
ยังสถานท่ีท่องเทีย่ วต่าง ๆ

99

100

สำ�หรับรูปแบบการท่องเที่ยวภายใน
เขตเมืองเก่าราชบุรีมีทรัพยากรท่ีโดดเด่นทาง
ด้านประวัติศาสตร์ ซ่ึงแม้ว่าจะไม่ตรงตาม
คณุ ลกั ษณะทางดา้ นพฤตกิ รรมของนกั ทอ่ งเทย่ี ว
ท่ีเป็นกลุ่มวัยรุ่น แต่อาจเหมาะกับกลุ่มนัก
ท่องเทีย่ วช่วงอายตุ ง้ั แต่ 25 ปขี ้นึ ไป ทีเ่ ริม่ ตน้
ทำ�งานมาสักระยะเวลาหน่ึงและมีรถยนต์ส่วน
บุคคลใช้เดินทาง รวมทั้งไม่ต้องการที่จะพัก
อาศัยแบบค้างคืนหรือพักผ่อนแบบระยะยาว
(Long Stay) เนื่องจากกิจกรรมในเขตเมือง
เก่ามีแหล่งท่องเท่ียวท่ีสำ�คัญในบริเวณใกล้
เคียงกัน จึงใช้เวลาเพียงแค่ไม่ก่ีช่ัวโมงในการ
ท่องเท่ยี ว ตัวแทนของภาคส่วนตา่ ง ๆ ขา้ งตน้
ยังเสนอให้เขตเมืองเก่าราชบุรีเป็นพ้ืนที่ที่ภาค
เอกชนสามารถเข้ามาลงทุนในรูปแบบบริษัท
จดั น�ำ เทย่ี วภายในตวั เมอื งขนาดเลก็ ทจี่ ะเปน็ อกี
หนงึ่ ปจั จยั ส�ำ คญั ในการเชอื่ มโยงทรพั ยากรการ
ท่องเท่ียวและการอำ�นวยความสะดวกในการ
เดนิ ทางไปยงั สถานทสี่ �ำ คญั รวมทงั้ การประสาน
ไปยงั กลุ่มผ้ปู ระกอบการในธรุ กจิ บริการตา่ ง ๆ
ให้เกิดเครือข่ายที่มีความพร้อมต่อการต้อนรับ
นักท่องเที่ยวต่อไปในอนาคต

กิจกรรมการลงพืน้ ทวี่ เิ คราะห์บริบทและศักยภาพทางการ
ทอ่ งเทีย่ วกับผแู้ ทนของหนว่ ยงานต่าง ๆ ไดแ้ ก่ หอการคา้
จังหวดั ราชบุรี เทศบาลเมืองราชบรุ ี ประชาสัมพนั ธ์จงั หวัด
ราชบรุ ี พาณชิ ย์จงั หวดั ราชบุรี พัฒนาชมุ ชนจงั หวดั ราชบรุ ี
คณะกรรมการพฒั นาผู้ประกอบการรุน่ ใหม่หอการคา้ จงั หวัด
ราชบุรี โยธาธิการและผงั เมอื งจังหวัดราชบุรี วัฒนธรรม
จังหวดั ราชบุรี การทอ่ งเทย่ี วแห่งประเทศไทย ททท.
สำ�นักงานราชบุรี

101

การอภปิ รายกลุ่มเพื่อพฒั นาระบบคมนาคม
และการเชอ่ื มต่อภายในเขตเมอื งเก่าราชบุรี

คณะผู้วิจัยได้ร่วมกับคณะผู้วิจัยจาก
คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร (ทด่ี �ำ เนนิ
โครงการพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการ
ท่องเที่ยวเมืองน่าอยู่ราชบุรี) ในการจัด
กิจกรรมภายใต้การอบรมเชิงปฏิบัติการ
“การสร้างแนวคิดเมืองวัฒนธรรมจังหวัด
ราชบุรี” เพ่ือรวบรวมประเด็นท่ีเกี่ยวข้อง
บริบทและศักยภาพทางการท่องเท่ียวใน
ชุมชนพื้นที่เมืองเก่าราชบุรี โดยใช้วิธีการ
ศึกษาแบบมีส่วนร่วม (Participatory
Action Research – PAR) จากตัวแทนของ
ภาคประชาชนที่เป็นคนรุ่นใหม่และหน่วยงาน
ต่าง ๆ ที่มีส่วนในการผลักดันกิจกรรมการ
ท่องเที่ยวซึ่งประกอบด้วย นักเรียนระดับชั้น
มธั ยมตน้ มธั ยมปลายและอาชวี ศกึ ษา ตวั แทน
ชมุ ชน ผปู้ ระกอบการและเจา้ หนา้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั
นโยบายการท่องเท่ียว โดยมีประเด็นท่ีสำ�คัญ
ดังนี้

102

1. รปู แบบของระบบคมนาคมและการเชอ่ื มตอ่ ความล่าช้ากว่ากำ�หนดประมาณ 1-2 ชั่วโมง
ภายในเขตเมืองเกา่ ราชบรุ ี นอกจากนค้ี ณุ ภาพของหอ้ งโดยสารทท่ี รดุ โทรม
กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักจากโรงเรียนในฐานะ ตลอดจนกระบวนการให้บริการที่มีความ
เยาวชนคนรุ่นใหมน่ ำ�เสนอว่า การเลือกใช้ยาน บกพร่องอยู่บ่อยครั้ง เช่น การใช้ถ้อยคำ�ที่ไม่
พาหนะประเภทรถยนตส์ ว่ นตวั เดนิ ทางรว่ มกบั สภุ าพกับผ้โู ดยสาร การใหข้ ้อมลู ทไ่ี ม่เท่ยี งตรง
ผู้ปกครองเป็นการทางเลือกท่ีมีความสะดวก เป็นต้น สำ�หรับการเลือกเดินทางด้วย
สบายมากที่สุด สามารถเลือกจุดหมายปลาย ยานพาหนะประเภทรถขนสง่ ประจ�ำ ทางรวมถงึ
ทางอย่างอิสระภายในระยะเวลาท่ีต้องการ กลุ่มรถยนต์โดยสารดัดแปลงท่ีได้รับสัมปทาน
โดยมีจุดหมายปลายทางที่จะเดินทางไปยัง จากหน่วยงานของรฐั กล่มุ เยาวชนได้ช้ปี ัญหา
กรุงเทพมหานครและอำ�เภอสวนผ้ึงภายใน ท่ีสำ�คัญ คือ การมีจำ�นวนรอบให้บริการท่ีไม่
ตัวจังหวัดราชบุรี ในขณะเดียวกันยังพบว่า เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการในชว่ั โมงเรง่ ดว่ น และ
เยาวชนจำ�นวนมากตัดสินใจจะเลือกเดินทาง การเดนิ รถในแตล่ ะรอบทใี่ ชเ้ วลานาน (มากกวา่
ไปด้วยยานพาหนะระบบรางอย่างรถไฟ เพื่อ 20-30 นาท)ี ซึง่ เปน็ ปัญหาทีพ่ บเชน่ เดียวกับ
เดินทางไปยังจังหวัดใกล้เคียงในภาคตะวัน การเดนิ ทางดว้ ยรถไฟ ในขณะทกี่ ลมุ่ ผใู้ หข้ อ้ มลู
ตกที่มีอาณาเขตใกล้กับจังหวัดราชบุรี อาทิ หลักจากตัวแทนกลุ่มวัยทำ�งานที่ไม่ใช่เยาวชน
จังหวัดเพชรบุรี เน่ืองจากสามารถเดินทาง ได้อธิบายมุมมองเพ่ิมเติมเก่ียวกับยานพาหนะ
ร่วมกับกลุ่มเพ่ือนร่วมชั้นเรียนเป็นจำ�นวน ประเภทรถจกั รยานยนตร์ บั จา้ งทม่ี กี ารตง้ั ราคา
มาก พร้อมกับการได้สมั ผสั กบั สภาพแวดล้อม สูงตามความพอใจของผู้ให้บริการขับขี่ ซ่ึงผู้
ทางธรรมชาติที่ช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย ให้ข้อมูลจะเลือกใช้ยานพาหนะประเภทน้ีเป็น
ในระหว่างเดินทาง ถึงแม้ว่าปัญหาของการ ตัวเลือกสุดท้ายหากไม่มีความจำ�เป็นในการ
เดินทางด้วยรถไฟอาจพบกับข้อจำ�กัดในเรื่อง เดินทางเนื่องจากส่วนใหญ่จะมีรถยนต์ส่วน
ความไม่แน่นอนของรอบเวลาการให้บริการ บุคคลท่ีใช้อยูใ่ นขีวิตประจ�ำ วนั อยูแ่ ล้ว
จากจุดเร่ิมต้นสู่จุดหมายปลายทางท่ีอาจมี

103

กจิ กรรมการอภิปรายกลมุ่ ในหัวข้อ “เมอื งและการเชื่อมตอ่ ” กบั
นกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษา นกั เรยี นอาชวี ศกึ ษา ครอู าจารย์
หนว่ ยงานราชการ ชุมชน และผู้ประกอบการภาคเอกชน

104

2. การส�ำ รวจพฤตกิ รรมการใชแ้ อปพลเิ คชนั Booking เป็นต้น ซึ่งพบว่ามีข้อจำ�กัดด้าน
ส�ำ หรับการทอ่ งเทย่ี วและบริการ ของภาพของท่ีพักแรมที่สวยงามเป็นระเบียบ
กลมุ่ ผใู้ หข้ อ้ มลู หลกั ทเี่ ปน็ เยาวชนมกี ารใช้ กว่าสถานท่ีจริง รวมถึงปัญหาการชำ�ระ
แอปพลิเคชันสำ�หรับส่ังซ้ือบริการอาหารและ เงินท่ีไม่สามารถดำ�เนินการเรียกคืนเงินได้
เคร่ืองด่ืมจากผู้ประกอบการร้านอาหารในเขต ในทันที โดยผู้ใช้งานจะต้องประสานงานกับ
เมอื งเกา่ ราชบรุ ี อาทิ Food Panda และ Grab สำ�นักงานใหญ่ของผู้ดูแลระบบ ทำ�ให้เกิด
Food ซง่ึ การใชบ้ รกิ ารบางครงั้ พบปญั หาความ ขั้นตอนการใช้งานที่มีความยุ่งยากในกรณี
ไม่เช่ือมโยงกันระหว่างพิกัดในแผนที่ของผู้รับ เกิดปัญหาการสำ�รองบริการท่ีผิดพลาดหรือ
บรกิ ารทมี่ คี ลาดเคลอื่ นอยบู่ อ่ ยครง้ั หรอื สถานท่ี ไม่สมบูรณ์ สำ�หรับการเดินทางท่องเท่ียวผู้ให้
ท่ีเป็นจุดรับสินค้าไม่แสดงพิกัดบนหน้าจอ ข้อมูลหลักส่วนใหญ่จะเลือกใช้งาน Google
การใชง้ าน รวมทง้ั ระบบการใหข้ อ้ มลู ทางภาษาท่ี Map ทส่ี ามารถค�ำ นวณระยะทางพรอ้ มกบั การ
ยากตอ่ ความเขา้ ใจในระดบั การรบั รขู้ องเยาวชน แสดงระบบตัวช่วยในการตัดสินใจด้วยเสียง
ขณะท่ีกลุ่มวัยทำ�งานมีการเลือกใช้บริการใน แต่อย่างไรก็ตามผลลัพธ์ในบางเส้นทางของ
กลุ่มของแอปพลิเคชันที่มีขีดความสามารถ จงั หวดั ราชบรุ แี ละเขตพน้ื ทเ่ี ชอื่ มตอ่ กบั จงั หวดั
ในการสำ�รองห้องพักและเท่ียวบินเดินทาง อ่ืน ๆ จะพบกับปัญหาการคำ�นวณเส้นทาง
ต่างจังหวัด เช่น Agoda Traveloka และ ทผี่ ิดพลาด

105

3. การออกแบบคุณสมบัติพื้นฐานของร่าง - รายชื่อของมัคคุเทศก์ท้องถ่ินและ
แอปพลเิ คชนั เพอ่ื กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วและ หมายเลขติดต่อเพื่อการนำ�เที่ยวภายใน
การเดนิ ทางไปยงั ธรุ กจิ บรกิ ารในเขตเมอื งเกา่ เขตเมืองเกา่
ราชบรุ ี ขอ้ มลู และรปู แบบของแอปพลเิ คชนั ท่ี - การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของการปรบั เปลยี่ น
ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมใหค้ วามส�ำ คญั ประกอบดว้ ย ภาษาเพือ่ รองรบั นกั ทอ่ งเท่ยี วกลุม่ เปา้ หมาย
- ขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตรห์ รอื ความเปน็ มา - การเพิ่มข้อมูลของร้านจำ�หน่ายของ
ของแหลง่ ท่องเทีย่ วในเขตเมืองเกา่ ราชบุรี ฝากของที่ระลึกจากกลุ่มผู้ประกอบการใน
- ขอ้ มลู ทพี่ กั และการแสดงราคาปัจจุบัน เขตเมืองเก่า เน่ืองจากในปัจจุบันกลุ่มสินค้า
ตามช่วงเทศกาลในแหล่งท่องเท่ียวเขตพื้นที่ เหลา่ นย้ี งั ไม่มีการรวมกลมุ่ ของผู้ประกอบการ
ตอ่ เนอ่ื ง - การแสดงผลของระบบการสัญจร
- ข้อมูลรถโดยสารประจำ�ทางพร้อม บนท้องถ่ินแบบ Real-time เพื่อหลีกเล่ียง
เบอร์โทรศัพท์ติดต่อผู้ให้บริการ จำ�แนกตาม ปัญหาการจราจรติดขัดในเขตเมืองเก่าและ
ประเภทของยานพาหนะทมี่ ใี นเขตเมอื งราชบรุ ี การพยากรณส์ ภาพอากาศตามฤดกู าลทส่ี ง่ ผล
เช่น รถสองแถว รถจักรยานยนต์รับจ้าง ตอ่ กจิ กรรมการทอ่ งเที่ยวกลางแจง้
รถเช่าเหมา เปน็ ตน้ - การใช้สีโทนเย็นอย่างสีฟ้าเทาที่เป็นสี
- เสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี วในรปู แบบกจิ กรรม ประจ�ำ จงั หวดั เขา้ มาเปน็ สว่ นประกอบของระบบ
ทจี่ �ำ แนกตามชว่ งอายุ เชอ้ื ชาติ และการเชอ่ื มโยง แอปพลเิ คชนั
ไปยงั สถานทที่ อ่ งเทย่ี วในเขตพนื้ ทตี่ อ่ เนอ่ื ง เชน่ - ข้อมูลของร้านอาหารพ้ืนถ่ินหรือ
คบู วั เขางู วดั เขาแกน่ จนั ทร์ จอมบงึ โพธาราม ร้านอาหารยอดนิยมของผู้ประกอบการ
เป็นต้น ในเขตเมอื งเกา่ พรอ้ มระบรุ ะยะเวลาการเปดิ -ปดิ

106

- การเพมิ่ ฟงั กช์ น่ั การจดั ล�ำ ดบั ความนยิ ม กจิ กรรมการอภปิ รายกลุม่ ในหัวข้อ “เมืองและการเช่ือมต่อ” กับ
ของสนิ คา้ และบรกิ าร เชน่ โรงแรม รา้ นอาหาร นกั เรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษา นักเรียนอาชวี ศกึ ษา ครอู าจารย์
ร้านของฝากของท่ีระลึก เป็นต้น เพ่ือเป็นอีก หน่วยงานราชการ ชุมชน และผูป้ ระกอบการภาคเอกชน
หน่ึงทางเลือกในการประชาสัมพันธ์ท่ีสามารถ
สร้างรายได้จากกลุ่มผู้ประกอบการที่ต้องการ - การรวบรวมข้อมูลหน่วยงานของรัฐ
โฆษณาโดยตรงกบั ผู้ใชง้ านแอปพลเิ คชัน ท่ีเกี่ยวกับกิจกรรมการเที่ยวและหมายเลข
- การเพ่ิมเติมรูปแบบการนำ�เสนอ โทรศัพท์ท่ีสามารถติดต่อ เช่น การท่องเที่ยว
บริการพ้ืนท่ีจอดรถยนต์ชั่วคราว จากบริเวณ และกีฬาจังหวัดราชบุรี การท่องเท่ียวแห่ง
ถ่ินท่ีอยู่อาศัยของประชาชนท้องถิ่นผ่าน ประเทศไทย สำ�นักงานราชบุรี วัฒนธรรม
ระบบแอปพลิเคชัน รวมทั้งแสดงข้อมูลของ จงั หวดั ราชบุรี ต�ำ รวจทอ่ งเท่ยี ว เป็นตน้
พน้ื ทจี่ อดรถยนตท์ คี่ งเหลอื อยใู่ นศนู ยก์ ฬี า หรอื - การนำ�เสนอข้อมูลแหล่งท่องเท่ียวใน
ในพืน้ ทอี่ ่ืน ๆ ภายในเขตเมืองเกา่ ราชบุรไี ด้ เขตเมืองเก่าราชบุรีในรูปแบบของระบบภาพ
- การน�ำ เสนอเสน้ ทางการทอ่ งเทยี่ วภายใน จ�ำ ลองเสมอื นจรงิ (Virtual Reality) ภายในเขต
เขตเมอื งเกา่ ทม่ี รี ะยะทางสน้ั ส�ำ หรบั เดนิ เทา้ และ เมอื งเกา่ เพอ่ื ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วสามารถถา่ ยทอด
จกั รยาน พรอ้ มกบั ระบบแนะน�ำ สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว องคป์ ระกอบทางกายภาพของแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว
ทางประวัติศาสตรไ์ ดอ้ ย่างเตม็ รปู แบบ

107

4. ความคาดหวงั เกยี่ วกบั คณุ ลกั ษณะของนกั - กลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วกฬี าประเภทวง่ิ มาราธอน
ท่องเท่ียวในเขตเมืองเก่าราชบุรี ผู้เข้าร่วม และปั่นจักรยานท่ีเดินทางมาเข้าแข่งขัน
กิจกรรมได้แสดงความคาดหวังในด้าน และการทำ�กิจกรรมท่องเที่ยวในเขตเมืองเก่า
คณุ ลกั ษณะของนกั ทอ่ งเท่ยี ว ไวด้ งั นี้ และพ้ืนทตี่ อ่ เนอ่ื ง
- กลุ่มนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบสถานที่ - กลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วครอบครวั ภายในจงั หวดั
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ศาสนาและ ราชบุรีและจังหวัดอื่น ๆ หรือในภูมิภาคใกล้
ประวัติศาสตร์ รวมถึงการจัดทำ�เส้นทาง เคียงที่เดินทางมาด้วยรถยนต์โดยสารส่วนตัว
ทอ่ งเทยี่ วตามรอยชาตพิ นั ธชุ์ าวไทยเชอ้ื สายจนี ที่ ในรปู แบบรายวนั ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งคา้ งคนื ซงึ่ กลมุ่
บอกเลา่ ถงึ วถิ ชี วี ติ ความเชอื่ และพธิ กี รรมตา่ ง ๆ นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางไปท่องเท่ียวยัง
- กลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ดนิ ทางมาเยย่ี มชม เขตอ�ำ เภอในเขตพนื้ ที่ต่อเนอื่ ง
ศลิ ปะแขนงตา่ ง ๆ เชน่ สถาปตั ยกรรม จติ รกรรม - กลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วรกั สขุ ภาพทเี่ ดนิ ทางไป
หตั ถกรรม เป็นต้น ยงั สถานทที่ อ่ งเทย่ี วในระบบนเิ วศทางธรรมชาติ
- กลุ่มนักท่องเท่ียวเชิงธุรกิจท่ีเดินทาง ทีส่ มบูรณ์ในเขตอำ�เภอตา่ ง ๆ รว่ มกับเส้นทาง
มาเข้าร่วมอบรมและสมั มนา รวมถึงกลมุ่ ของ การทอ่ งเท่ยี วในเขตเมอื งเกา่ ราชบุรี
ผจู้ ดั แสดงสนิ คา้ และนทิ รรศการภายในจงั หวดั - กลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ดนิ ทางมากราบไหว้
ราชบรุ ี ขอพรส่ิงศักดิ์สิทธ์ิในศาสนสถานต่างๆ ภายใน
- กลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วขาจรทเ่ี ดนิ ทางมาเพอ่ื เขตเมืองเก่า เพ่ือเป็นส่ิงยึดเหน่ียวจิตใจและ
วตั ถปุ ระสงคใ์ นการพกั รบั ประทานอาหารกลางวนั การส่งเสริมความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตให้
หรอื อาจเดนิ ทางมาท�ำ กจิ กรรมบางอยา่ งในเขต สมดังปรารถนา
เมอื งเกา่ และมคี วามตอ้ งการทจ่ี ะเดนิ ทางตอ่ ไป - ก ลุ่ ม นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ท่ี ชื่ น ช อ บ ก า ร
ยังเขตอำ�เภออืน่ ๆ รวมท้งั จังหวดั ใกลเ้ คยี งใน รับประทานอาหารริมบาทวิถีในแหล่งชุมชน
เขตภาคตะวนั ตก เมอื งเกา่ ทง้ั ในรปู แบบของรา้ นคา้ แผงลอยและ
- กลุ่มนักทอ่ งเทยี่ วผูส้ ูงอายุทจ่ี งรกั ภักดี ตลาด เพื่อการสัมผัสกับรสชาติของอาหาร
ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ในแต่ละรัชสมัย ท่ี กรรมวิธีการผลิตในแต่ละข้ันตอน และการ
เดินทางไปศกึ ษายงั สถานทีท่ ่องเทย่ี วตามรอย บรรจภุ ณั ฑ์ ซงึ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วสามารถน�ำ กลบั ไป
ประทับ รับประทานหรอื ซ้ือเปน็ ของฝากแก่ผอู้ ่นื

108

การเกบ็ แบบสอบถามความต้องการใชง้ านแอปพลิเคชนั
กลุม่ ผปู้ ระกอบการและนักท่องเทย่ี ว

109

การเกบ็ แบบสอบถามความต้องการใชง้ านแอปพลิเคชนั
กลุม่ ผปู้ ระกอบการและนักท่องเทย่ี ว

110

การออกแบบเส้นทางท่องเท่ยี ว
ทางเดนิ เทา้ และจกั รยาน

คณะผู้วิจัยได้กำ�หนดรูปแบบเส้นทาง 1. สะพานจุฬาลงกรณ์ เป็นสถานที่ท่ีถูก
การท่องเท่ียวเพ่ือเชื่อมโยงสถานท่ีสำ�คัญ สรา้ งขน้ึ พรอ้ มสถานรี ถไฟสายใตส้ มยั พระบาท
ภายในเขตเมืองเก่าตามโครงสร้างผังเมืองท่ีมี สมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ในบริเวณดัง
อาณาเขตและพ้ืนท่ีขนาดเล็ก ดังน้ันระยะทาง กลา่ วยังมรี ถโดยสารประจ�ำ ทาง ป.1 ทีจ่ ะแวะ
ที่กลุ่มนักท่องเที่ยวสามารถเดินเท้าด้วย จอดส่งผู้โดยสาร รวมทั้งยังมีกลุ่มผู้ประกอบ
ตนเองหรือเลือกที่จะนำ�ยานพาหนะประเภท การรถจักรยานยนต์ รถสามล้อและรถตุ๊กตุ๊ก
จักรยานเข้ามาใช้ในการสัญจรได้สะดวก ไว้คอยให้บริการรับส่งนักท่องเท่ียวเข้าสู่เขต
มากย่ิงขึ้น โดยผู้วิจัยใช้แนวคิดทฤษฎีการ เมอื งเกา่ และอ�ำ เภอตา่ ง ๆ ภายในจงั หวดั ราชบรุ ี
ท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมและทรัพยากรให้ 2. วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นสถานท่ี
ตอบสนองกับเส้นทางการท่องเที่ยวสำ�หรับ ทอ่ งเทย่ี วทม่ี กี ารแสดงอารยธรรมสบื ทอดจาก
คนรนุ่ ใหมแ่ ละการน�ำ เสนอมติ ทิ างวฒั นธรรมอยา่ ง ขอมและเป็นสถานทสี่ �ำ คัญทีน่ กั ทอ่ งเทยี่ วชาว
สรา้ งสรรคท์ ปี่ ระกอบดว้ ย (1) ประวตั ศิ าสตรใ์ น ต่างชาติให้ความสนใจเดินทางมาเยี่ยมชม
ราชอาณาจกั รไทยตง้ั แตส่ มยั อาณาจกั รทวารวดี สถาปัตยกรรมขององค์พระปรางค์ภายในวัด
ถึงกรุงรัตนโกสินทร์ (2) วิถีชีวิตของคนใน รวมทั้งยังเป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
ท้องถ่ิน (3) ถิ่นท่ีอยู่อาศัย (4) ศาสนาและ ในวนั ส�ำ คัญต่าง ๆ
พิธีกรรม และ (5) ศิลปะร่วมสมัย ซึ่งคณะ 3. ศาลเจา้ พอ่ กวนอู เปน็ สถานทท่ี ชี่ มุ ชนชาว
ผู้วิจัยได้ประเมินจุดเด่นควบคู่กับโอกาสท่ี จนี ทยี่ า้ ยถน่ิ ฐานมาตงั้ รกรากในราชบรุ มี าแสดง
สามารถนำ�สถานที่ต่างๆ มาใช้เป็นฐานข้อมูล ความเคารพต่อสิ่งศักด์ิสิทธ์ิท่ีนับถือในเวลา
ในการเชอื่ มโยงดงั ต่อไปนี้ ตอ่ มาชมุ ชนชาวจีนดงั กลา่ วไดม้ กี ารขยบั ขยาย
ไปประกอบอาชพี ยังตำ�บลหว้ ยกระบอก
4. วัดช่องลม เป็นอีกหน่ึงศาสนสถานท่ี
ชาวจังหวัดราชบุรีนิยมมาประกอบพิธีกรรม
ในวนั สำ�คญั ทางศาสนา มหี ลวงพอ่ แกน่ จันทร์
หรอื พระพทุ ธรปู ปางอมุ้ บาตรทเ่ี ปน็ ศลิ ปะสมยั
ทวารวดลี อยน�ำ้ มาจากจงั หวดั กาญจนบรุ ตี ง้ั แต่
สมยั อยุธยา

111

5. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ จงั หวดั ราชบรุ ี นอกจากน้ีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักที่เป็น
หรอื จวนผวู้ า่ เกา่ เปน็ สถานทเ่ี กบ็ รวบรวมเรอ่ื ง เยาวชนแนะน�ำ ใหม้ กี ารเพม่ิ ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง
ราวทางประวัติศาสตร์ที่สำ�คัญของจังหวัด ราชบรุ อี ายมุ ากกวา่ 200 ปซี งึ่ เปน็ อกี หนง่ึ สถานที่
ราชบุรี ผ่านหลักฐานทางโบราณคดีที่ระบุถึง ศักด์ิสิทธ์ิที่ชาวเมืองราชบุรีเล่ือมใสศรัทธา
ชาตพิ นั ธุ์ ตลอดจนสิง่ ของเครอื่ งใช้ต้ังแตส่ มัย มาช้านาน และบริเวณของสถานท่ีแห่งนี้ยัง
พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 7 เป็นต้นมา มีการจัดงานเทศกาลประจำ�ปีอย่างต่อเน่ือง
6. โรงงานเถ้าฮงไถ่ เป็นโรงงานท่ีผลิต เช่นเดียวกับกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจคาเฟ่ยังคง
เครื่องปั้นดินเผารายแรกของจังหวัดราชบุรี เป็นท่ีต้องการของกลุ่มเยาวชนและวัยรุ่นท่ี
โดยเฉพาะโอ่งมังกรท่ีมีช่ือเสียงและสร้างการ นอกจากการดมื่ กาแฟหรอื เครอื่ งดมื่ ตา่ ง ๆ แลว้
จดจ�ำ ในฐานะอตั ลกั ษณอ์ นั งดงาม ปจั จบุ นั มกี าร การถ่ายภาพเพื่อบันทึกบรรยากาศภายใน
เพ่ิมเติมสายผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กลงและ ร้านยังเป็นอีกหน่ึงกิจกรรมท่ีได้รับความนิยม
สามารถนำ�ไปใช้เป็นอุปกรณ์ท่ีสอดคล้องกับ ในขณะเดียวกันทางหน่วยงานของภาครัฐได้
พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคยคุ ใหม่ เชน่ กระถาง จาน เสนอให้มีการออกแบบเส้นทางการท่องเท่ียว
อ่าง เป็นตน้ อกี ทั้งยังมีการสาธิตกระบวนการ สีเขียวที่ลดปัญหามลภาวะ รวมท้ังการคำ�นึง
ผ ลิ ต เ ค รื่ อ ง ป้ั น ดิ น เ ผ า ใ ห้ นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ถงึ การบรโิ ภคสนิ คา้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว และการ
ไดร้ ับชมอกี ดว้ ย กระตนุ้ จติ ส�ำ นกึ ของนกั ทอ่ งเทย่ี วรนุ่ ใหม่ ตลอดจน
7. บรเิ วณตลาดโคยกี๊ ตลาดทรพั ยส์ นิ และ การเพมิ่ เตมิ การน�ำ เสนอรายการอาหารพน้ื ถน่ิ
ตลาดสนามหญา้ ทเี่ ปน็ จดุ จ�ำ หนา่ ยสนิ คา้ อปุ โภค แต่ละประเภทจากร้านค้ายอดนิยมภายในเขต
บริโภคให้แก่คนในชุมชนและนักท่องเที่ยวตาม เมืองเกา่ ใหเ้ ป็นทรี่ จู้ ักแกน่ กั ท่องเท่ียวกลมุ่ นี้
ชว่ งเวลาการด�ำ รงชวี ติ ของคนในทอ้ งถน่ิ ราชบรุ ี

112

ภาพหนา้ แอปพลเิ คชนั ที่โครงการวจิ ยั ไดพ้ ฒั นาข้นึ

113

ภาพหนา้ แอปพลเิ คชนั ที่โครงการวจิ ยั ไดพ้ ฒั นาข้นึ

114

โครงการ “การอนุรกั ษ์และพัฒนาเมืองเกา่ ราชบุรีเมอื งสร้างสรรค์
และนา่ อยู่เพ่ือการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานวฒั นธรรมและความเปน็ อยูท่ ี่ยัง่ ยืน”

มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

The Conservation and Development of Ratchaburi Old Town towards Creative
and Livable City for Cultural-based Economic Advancement and Sustainable Living

Silpakorn University

โครงการพฒั นาศลิ ปะกบั ชมุ ชนและ
การพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ ้องถนิ่ เพอื่
ราชบุรีเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์

หวั หน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรี วฒั น์ สริ เิ วสมาศ
ผูร้ ่วมวจิ ัย : ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ถนอมจิตร์ ชมุ่ วงค์
รองศาสตราจารย์ประภากร สุคนธมณี
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยธ์ าตรี เมืองแกว้
ผู้ช่วยศาสตราจารยช์ านนท์ ไกรรส
อาจารย์ภูษติ รตั นภานพ
อาจารย์วรษุ า อตุ ระ

คณะมัณฑนศลิ ป์ และคณะจิตรกรรม ประติมากรรม
และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

โครงการวจิ ยั นมี้ จี ดุ มงุ่ หมายทจี่ ะแสดงให้ ระดับพ้ืนท่ี (บพท.) ทางคณะมัณฑนศิลป์
เหน็ ถงึ อตั ลกั ษณข์ องราชบรุ ผี า่ นการบรู ณาการ และคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและ
เชิงปฏิบัติการกับหลายหน่วยงาน โดยมี ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้หารือ
ผลิตภัณฑ์ ผ้า เซรามิก เคร่ืองจักสาน และ ร่วมกันถึงแนวทางในการปฏิบัติงาน คือ
ผลติ ภัณฑ์ เทคนคิ วธิ ีการอน่ื ๆ ของผลติ ภัณฑ์ การจดั ท�ำ หอ้ งทดลองทางศลิ ปะ หตั ถศลิ ป์ และ
หัตถศิลป์ในจังหวัดราชบุรี เป็นเครื่องมือ การออกแบบ โดยค�ำ นงึ ถงึ คณุ คา่ ของอตั ลกั ษณ์
ในการสื่อสารทดลอง เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในแตล่ ะผลติ ภณั ฑท์ ง้ั ในมติ ขิ องศลิ ปวฒั นธรรม
ภายในแนวคิดเมืองราชบุรี เมืองน่าอยู่ สังคม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ความเป็นไปได้
(Livable City) ตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ในการบูรณาการ เพ่ือนำ�ไปสู่การทดลอง
(พ.ศ.2560-2579) และกรอบวิจัยของหน่วย พฒั นาผลติ ภณั ฑต์ น้ แบบเพอ่ื ราชบรุ เี ศรษฐกจิ
บริหารและจัดการทุนวิจัยด้านการพัฒนา สร้างสรรค์อย่างยง่ั ยืน

127

ภาพบรรยากาศกิจกรรมฐานท่ี 5 “เมืองและการสร้างสรรค”์

รองศาสตราจารย์ ดร.นันทนติ ย์ วานชิ าชวี ะ รองอธกิ ารบดีฝ่ายวจิ ัย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
คณุ สุพจน์ อนิ ทรแ์ สง ผอู้ �ำ นวยการสำ�นกั การศกึ ษา สำ�นกั งานเทศบาลเมอื งราชบุรี
คุณอรณุ ี เจรญิ จิตรกรรม ผู้อำ�นวยการโรงเรียนเทศบาล 5 และคณะนกั วจิ ัย

128

โดยมีกระบวนการทำ�งานคอื โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งแนวคดิ
1) การศึกษารวบรวมข้อมูลทุนทาง “เมอื งวฒั นธรรม” จงั หวดั ราชบรุ ี ทจ่ี ดั ขน้ึ เมอ่ื
วฒั นธรรมจากผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่ ผา่ นส�ำ นกั งาน วนั ท่ี 18 กนั ยายน 2563 คณะนกั วจิ ยั โครงการ
วัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี ผู้ประกอบการ ยอ่ ยที่ 3 น�ำ โดยผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วรี วฒั น์
ปราชญ์ชาวบ้าน และตัวแทนศิลปินประจำ� สิริเวสมาศ พร้อมทั้งคณะนักวิจัยจาก
จังหวัด คณะมณั ฑนศลิ ป์รบั ผดิ ชอบในการจดั กจิ กรรม
2) วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางวฒั นธรรม เพอื่ น�ำ ประจำ�ฐานที่ 5 หัวข้อ “เมืองและการ
ผลมาพัฒนาและสร้างกิจกรรมสร้างสรรค์ สรา้ งสรรค”์
3) การทดลอง ประดษิ ฐ์ สรา้ งสรรค์ เพอื่ หลังจากกิจกรรมดำ�เนินการเสร็จลุล่วง
ใหไ้ ด้ผลลัพธผ์ ลติ ภัณฑ์สรา้ งสรรค์ แลว้ คณะผวู้ จิ ยั ไดร้ วบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู
4) ประเมินผลผลิตร่วมกันระหว่าง เพ่ือนำ�ผลความคิดเห็นท่ีได้มาพิจารณาในการ
กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ประกอบการ สร้างสรรค์กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการโดย
สถานศกึ ษา หนว่ ยงานราชการที่เก่ยี วข้อง อาศัยความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน
และสถานศึกษา จนเกิดเป็นโครงการอบรม
เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “RECHARGEกนั นะ RATCHAบรุ !ี
ศิ ล ป หั ต ถ ศิ ล ป์ ท้ อ ง ถ่ิ น เ พ่ื อ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
สรา้ งสรรค”์ ณ โรงเรยี นเทศบาล 5 พหลโยธนิ
รามินทรภกั ดี จ.ราชบุรี เมอ่ื วนั ท่ี 22 มนี าคม
2564

129

ฐานที่ 1
การทอผา้ สร้างสรรค์

: ควบคมุ โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ านนท์ ไกรรส
รองศาสตราจารย์ประภากร สุคนธมณี และ
อาจารยว์ รษุ า อุตระ

นกั เรียนขณะเลอื กสเี สน้ ด้ายมาถกั ทอลงบนเฟรมเซรามิกท่ตี นเลือก
และผลงานการสรา้ งสรรคท์ เี่ กดิ ขนึ้

130

ฐานท่ี 2
การวาดเขยี นสี
และปัน้ เซรามกิ สรา้ งสรรค์

: ควบคมุ โดย อาจารยภ์ ษู ติ รัตนภานพ และ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรวฒั น์ สิริเวสมาศ

ช้ินส่วนเซรามิกเหล่าน้ี สามารถนำ�มา
ทำ�เป็นเคร่ืองประดับได้ อาทิ ต่างหู จี้ สร้อย
พวงกญุ แจรวมถงึ จะเปน็ องคป์ ระกอบส�ำ คญั ในการ
สรา้ งผลงานศลิ ปะสรา้ งสรรคร์ ูปมังกร ทีจ่ ะนำ�
ไปติดต้ังบริเวณริมแม่นำ้�แม่กลอง หน้าตลาด
โคยกี๊ ซ่ึงถอื เป็นผลงานศิลปะในที่สาธารณะ

นกั เรยี นขณะเรยี นรู้ขนั้ ตอนการวาดเขียนสลี งบนเซรามกิ ได้ลงมอื
ตกแตง่ ผลงานของตนใหส้ วยงาม
และ ผลงานท่ไี ดห้ ลงั จากเคลือบเสรจ็ แลว้

131

ฐานที่ 3
สอ่ื ผสมผลิตภัณฑส์ ร้างสรรค์

: ควบคมุ โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ธาตรี เมอื งแกว้
เซรามกิ รปู เรขาคณิตดงั กล่าวจะน�ำ มาจัด
เรียงเป็นลวดลายโดยได้รับแรงบันดาลใจมา
จากลายผา้ จกบา้ นคบู วั และจะน�ำ ไปตดิ ตง้ั ถาวร
ณ บรเิ วณก�ำ แพงรมิ แมน่ �้ำ แมก่ ลอง หนา้ ตลาด
โคยก๊ี เพ่ือเป็นผลงานศิลปะท่ีสะท้อนถึงศิลป
วัฒนธรรมและงานหัตถศิลป์ท่ที รงคุณค่า ให้
ลกู หลานชาวราชบรุ ีไดช้ น่ื ชมรว่ มกนั

นักเรียนขณะช่วยกันน�ำ เซรามกิ รปู
ทรงเรขาคณติ มาจดั วางเป็น
รปู รา่ งต่างๆ ตามท่ีกำ�หนด
หรือตามจนิ ตนาการ

132

ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานนกั วจิ ยั ไดเ้ ขา้ พบ การดำ�เนินงานโครงการวิจัยในครั้ง
ทา่ นรองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ราชบรุ ี นายประกอบ นี้ ไม่เพียงแต่ศึกษาองค์ความรู้ของทุนทาง
วงศม์ ณรี งุ่ เพอื่ น�ำ เสนอภาพรา่ งแบบทจี่ ะท�ำ การ วัฒนธรรม อัตลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรม
วาดบนผนัง โดยร่วมวิจารณ์กับตัวแทน จุดอ่อน จุดแข็ง ทางด้านกระบวนการผลิต
ชุมชน หาข้อสรุปให้เป็นที่พึงพอใจมากท่ีสุด เทา่ นนั้ คณะนกั วจิ ยั ไดท้ ดลองประดษิ ฐผ์ ลงาน
จนได้แบบร่างที่เป็นเอกฉันท์ ออกแบบโดย บูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างหัตถศิลป์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ จนเกิดเป็นการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะราย
และนักศึกษาชั้นปีท่ี 1 ภาควิชาออกแบบ บคุ คลของนักวจิ ยั รวม 7 ชดุ ผลงาน
เคร่ืองประดับ คณะมัณฑนศิลป์ ในรายวิชา
การออกแบบ 2

133

1. ชดุ ผลงานโคมไฟ “แต้มโอง่ ”

โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรี วฒั น์ สิริเวสมาศ
คณะมณั ฑนศลิ ป์

134

2. ประตมิ ากรรมรปู มังกร “ราชากอ้ น”

โดย อาจารย์ภษู ิต รตั นภานพ
คณะมัณฑนศิลป์

3. “ผ้หู ญิงนุ่งซนิ่ -ผ้ชู ายคาดเป๋า”

โดย รองศาสตราจารย์ประภากร สุคนธมณี
คณะมณั ฑนศิลป์

135

4. ผลงาน “The vision of wisdom”

โดย ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ชานนท์ ไกรรส
คณะมัณฑนศลิ ป์

ผลงาน ผลงาน
“Wisdom of identity no.1” “Wisdom of identity no.2”

136

5. ชดุ ผลงานสรา้ งสรรค์
บรเิ วณเขื่อนรมิ แม่น้�ำ แม่กลอง
(หน้าตลาดโคยก๊)ี

โดย ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยธ์ าตรี เมอื งแก้ว
คณะมัณฑนศลิ ป์

6. ผลงาน “ปกั ษาเริงร้”ู

โดย อาจารย์วรษุ า อตุ ระ
คณะมัณฑนศลิ ป์

137

7. ศลิ ปกรรมจากวัสดเุ ซรามิก
เรอื งแสงและวัสดุเหลือใช้

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถนอมจติ ร์ ช่มุ วงค์
คณะจิตรกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์

138

โครงการ “การอนุรกั ษ์และพัฒนาเมืองเกา่ ราชบุรีเมอื งสร้างสรรค์
และนา่ อยู่เพ่ือการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานวฒั นธรรมและความเปน็ อยูท่ ี่ยัง่ ยืน”

มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

The Conservation and Development of Ratchaburi Old Town towards Creative
and Livable City for Cultural-based Economic Advancement and Sustainable Living

Silpakorn University

โครงการพัฒนาคณุ ภาพ
ส่งิ แวดลอ้ มในพื้นที่
เมอื งเกา่ ราชบรุ ี

หวั หนา้ โครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.รฐั พล อ้นแฉง่
ผูร้ ว่ มวิจัย : อาจารย์ ดร.ดาวรงุ่ สงั ข์ทอง

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

มิติที่สำ�คัญในการพัฒนาเมืองเก่าราชบุรี
ให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างย่ังยืนน้ัน คือ การ
ส ร้ า ง เ ส ริ ม ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง ชุ ม ช น เ มื อ ง
ให้มีคุณภาพ ซ่ึงหากจะทำ�ให้สัมฤทธิ์ผล
น้ั น ต้ อ ง อ า ศั ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ค ว บ คู่ ไ ป กั บ
ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก รู้ ข อ ง ทุ ก ภ า ค
ส่วน โครงการ “การพัฒนาคุณภาพส่ิง
แวดล้อมในพ้ืนที่เมืองเก่าราชบุรีสู่เมือง
นา่ อย่ทู ยี่ ั่งยนื ” กจิ กรรมภายใต้โครงการวิจัยน้ี
เรม่ิ ดว้ ยการระดมความคดิ เหน็ ของเยาวชนและ
ชมุ ชนในหวั ขอ้ “เมอื งและสงิ่ แวดลอ้ ม” ภายใต้
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างแนวคิด
“เมืองวัฒนธรรม” จังหวัดราชบรุ ี ทไ่ี ด้ด�ำ เนิน
การร่วมกับคณะผู้วิจัยของคณะโบราณคดี
ซ่ึงผลที่ได้รับทำ�ให้ทราบปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทชี่ มุ ชนใหค้ วามส�ำ คญั ซง่ึ รวมถงึ ขยะครวั เรอื น
และฝุ่น PM2.5

151

เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนอย่างต่อเน่ือง
คณะผวู้ จิ ยั ไดน้ �ำ ขอ้ คดิ เหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม
ข้างต้นมาหารือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับ
การจดั การสิง่ แวดล้อมในพนื้ ที่ ไดแ้ ก่ เทศบาล
เมอื งราชบรุ ี ส�ำ นกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดล้อมจังหวัดราชบุรี สำ�นักงาน
ส่ิงแวดล้อมภาค 8 เพื่อร่วมกันกำ�หนด
กจิ กรรมแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ซงึ่ ตอ่ มาไดม้ ี
การประชมุ รว่ มกบั ตวั แทนชมุ ชนและอาสาสมคั ร
สาธารณสขุ ประจ�ำ หมบู่ า้ น เพอื่ ก�ำ หนดรปู แบบ
การท�ำ กจิ กรรมในการจดั การปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม
ทีเ่ หมาะสมกบั บรบิ ทของพ้ืนท่ี

152

กจิ กรรม“เมืองและสิง่ แวดล้อม”
ในการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร
สร้างแนวคิดเมืองวฒั นธรรม
จงั หวัดราชบุรี

การหารอื กบั หน่วยงานการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนที่และ
การระดมความเหน็ กับตัวแทนชุมชนในการจัดการปัญหา
ส่งิ แวดล้อม

153

ขยะครัวเรือนกับ
การรับรูข้ องชุมชน

ในประเด็นของขยะนั้น โครงการวิจัยน้ี ข้อมูลท่ีได้จากการสำ�รวจนี้ จึงนำ�มา
มุ่ ง ห วั ง ใ ห้ ค น เ มื อ ง เ ก่ า ร า ช บุ รี เ กิ ด ก า ร สู่การดำ�เนินกิจกรรม “แยก-แลก-ไข่ เมือง
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเกิดจิตสำ�นึก เก่าราช(บุ)รี ใส่ใจลดขยะ” เพื่อกระตุ้น
ที่ ดี ใ น ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ โ ด ย เ ริ่ ม จ า ก ก า ร จติ สำ�นกึ และสร้างความตระหนักใหค้ รวั เรอื น
สำ � ร ว จ ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ ข อ ง ต่าง ๆ ในเมืองเก่าราชบุรีสามารถคัดแยกขยะ
ชุมชนท้ัง 8 แห่ง ที่ต้ังอยู่ในพื้นท่ีเมืองเก่า ท่ีนำ�มารีไซเคิลได้ในชีวิตประจำ�วันจากการ
ราชบุรี ประกอบด้วย ชุมชนประปาร่วมสุข ปฏิบัติจริง โดยนำ�ขยะรีไซเคิล 3 ชนิด
ชุมชนวัดเขาเหลือ ชุมชนสะพานแดง ได้แก่ ขวดพลาสติกใส (PET) ขวดพลาสติก
ชมุ ชนคนตลาด ชมุ ชนวดั ศรสี รุ ยิ วงศาราม ชมุ ชน ขุน่ (HDPE) และกระปอ๋ งน้�ำ อัดลม (กระปอ๋ ง
มหาธาตสุ มุ นั ตา ชมุ ชนมหาธาตสุ มงั คี (ทา่ เสา) อลูมิเนียม) ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือ คละชนิด
และชุมชนมหาธาตุสมานา รวมกว่า 300 ครวั จ�ำ นวนทัง้ หมด 50 ช้นิ มาแสดง ณ จุดด�ำ เนิน
เรอื น ผลแสดงใหเ้ หน็ วา่ สว่ นใหญม่ คี วามรคู้ วาม กิจกรรมในแต่ละชมุ ชน จากนั้นนำ�ขยะรไี ซเคลิ
เขา้ ใจเกยี่ วกบั ปญั หาขยะมลู ฝอย รวมถงึ แนวคดิ แตล่ ะชนดิ คดั แยกใสล่ งในแตล่ ะประเภทถงั ขยะ
ในการลดและการคดั แยกขยะมลู ฝอยเปน็ อยา่ ง ซง่ึ หากด�ำ เนนิ การไดถ้ กู ตอ้ ง ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม
ดี และเหน็ ดว้ ยกบั การใหค้ วามส�ำ คญั ในการลด จะได้รับไข่ไก่จำ�นวน 1 แผงเป็นการตอบแทน
และคัดแยกขยะที่ต้นทาง นอกจากนี้ยังมีการ กิจกรรมดังกล่าวนอกจากทำ�ให้ชาวชุมชน
ปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การจดั การขยะโดยใชแ้ นวคดิ 3R เกิดแรงจูงใจในการจัดการขยะที่ถูกต้องแล้ว
คอื การลดการใช้ (Reduce) การใชซ้ �ำ้ (Reuse) ยังเป็นต้นแบบ ให้เกิดกลไกการแลกเปล่ียน
และการรไี ซเคลิ (Recycle) ซง่ึ ขดั แยง้ กบั ขอ้ มลู สินค้าสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชนในอีก
ทบ่ี ง่ ชว้ี า่ ปรมิ าณขยะครวั เรอื นของเมอื งราชบรุ ี ทางหน่งึ
ยงั คงมแี นวโนม้ เพิ่มขนึ้

154

การสอบถามความร้แู ละทัศนคติในเรอ่ื งการจัดการขยะ
ครัวเรอื นและคุณภาพชวี ติ ของชาวชุมชนเมืองเกา่ ราชบุรี

การประชุมรว่ มกบั ตวั แทนชุมชนในการจัดกิจกรรม “แยก-
แลก-ไข่ เมืองเก่าราช(บ)ุ รี ใสใ่ จลดขยะ”

155

โครงการ “แยก - แลก - ไข่ เมืองเกา่ ราช(บ)ุ รี ใสใ่ จลดขยะ
โควิด-19 สไตล์

กิจกรรมการฝึกปฏิบัติการตรวจวัดฝ่นุ PM2.5 และคณุ ภาพ
สิ่งแวดลอ้ มบรเิ วณตลาดเก่าโคยกี๊ เมอื งราชบุรี

156

คุณภาพชีวิตของชุมชน
และการรบั ร้ถู ึงปัญหาฝุ่น PM2.5

ในด้านคุณภาพชีวิตและการรับรู้ถึง การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์เชิงประจักษ์
ทม่ี าของปญั หาฝุน่ PM2.5 น้นั ได้ด�ำ เนินการ (Experiential Learning) โดยมุ่งเน้นกลุ่ม
ลงพ้ืนท่ีสำ�รวจความเป็นอยู่ของชาวเมืองเก่า เป้าหมายนักเรียนและนักศึกษา ซึ่งเป็นภาคี
ราชบรุ รี วม 400 หลงั คาเรอื น ตามแนวทางของ เครือข่ายสำ�คัญท่ีจะร่วมขับเคล่ือนการสร้าง
องคก์ ารอนามยั โลกพบวา่ ชาวชมุ ชนสว่ นใหญม่ ี จติ ส�ำ นกึ ในการรว่ มกนั ลดการปลดปลอ่ ยมลพษิ
สุขภาพกายและสุขภาพจิต มีความเอ้ืออาทร ทางอากาศในพนื้ ทเี่ มอื งเกา่ และขยายสพู่ นื้ ทอี่ นื่
ต่อกันในระดับท่ีดี แต่พบว่ามีปัญหาในเร่ือง ๆ ของจงั หวดั ราชบรุ ี น�ำ ไปสกู่ ารยกระดบั คณุ ภาพ
การจับจ่ายใช้สอยและภาระหน้ีสินและปัญหา ชวี ติ ของชมุ ชนสกู่ ารเปน็ เมอื งนา่ อยอู่ ยา่ งยงั่ ยนื
คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มในระดบั หนงึ่ ซง่ึ ในประเดน็ โครงการดังกล่าว ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน
คุณภาพส่ิงแวดล้อมนี้คณะผู้วิจัยได้กำ�หนด คือ 1) การเรียนรู้แหล่งกำ�เนิดมลพิษในพ้ืนท่ี
รู ป แ บ บ กิ จ ก ร ร ม เ พ่ื อ ใ ห้ ช า ว เ มื อ ง เ ก่ า ไ ด้ โดยการสำ�รวจ บันทึกข้อมูล ผ่านการระบุ
รั บ รู้ ถึ ง ที่ ม า แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สุ ข ภ า พ ตำ�แหน่งบนแผนท่ี 2) การเรยี นรสู้ ถานการณ์
จากฝุ่น PM2.5 โดยได้ร่วมกับโรงเรียน มลพษิ ในพนื้ ที่ โดยการตรวจวดั ฝนุ่ PM2.5 บรเิ วณ
ดรุณาราชบุรีและเบญจมราชูทิศราชบุรี ที่ไดร้ ะบุต�ำ แหน่งไวบ้ นแผนที่ 3) การอภปิ ราย
จัดโครงการ “ส่ิงแวดล้อมอาสา” เพ่ือสร้าง เพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสรุปออก
ความตระหนักและเฝ้าระวังปัญหาฝุ่นละออง มาเป็นความคิดรวบยอด 4) การให้ผู้เข้าร่วม
ขนาดเล็ก (PM2.5) สเู่ ยาวชน โดยมเี ปา้ หมาย โครงการนำ�ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จาก
เ พ่ื อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ปั ญ ห า ก า ร ขั้นตอนที่ 1–3 มาร่วมกันออกแบบกิจกรรม
ระบายมลพิษจากแหล่งกำ�เนิด โดยสร้าง เพื่อเผยแพร่ความรู้และรณณรงค์เพ่ือลดการ
ปลดปล่อยฝนุ่ PM2.5

157

กจิ กรรมการประกวดโครงการรณณรงคเ์ พื่อ
ลดการปลดปล่อยมลพษิ ทางอากาศในชุมชน

(ขอบคณุ ภาพจากโรงเรียนดรณุ าราชบุร)ี

นอกจากนี้โครงการ “พัฒนาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเมืองเก่าราชบุรี” ยังได้
บรู ณาการกบั โครงการวจิ ยั “การพฒั นาทนุ ทาง
วฒั นธรรมเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี วเมอื งนา่ อยรู่ าชบรุ ”ี
ของคณะโบราณคดี โดยจัดกิจกรรมให้ผู้ท่ีเข้า
ร่วมโครงการ “ส่ิงแวดล้อมอาสา” ได้สำ�รวจ
และประเมนิ ความเหมาะสมของสภาพแวดลอ้ ม
และความปลอดภัยเพื่อสนับสนุนเส้นทางการ
ท่องเท่ียวบนฐานข้อมูลทุนทางวัฒนธรรม
ซ่ึงเป็นผลลัพธ์ที่สำ�คัญของโครงการวิจัย
“การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าราชบุรี
เมืองสร้างสรรค์และน่าอยู่ เพื่อการพัฒนา
เศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ท่ี
ย่งั ยนื ”

158

159


Click to View FlipBook Version