The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukphayodtakul_t, 2021-10-19 22:20:28

TRE62 MEMO

TRE62 MEMO

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
(Corrado Feroci)

ผ้กู ่อต้งั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร และ บดิ าแหง่ ศิลปะรว่ มสมัยของไทย

ศลิ ปากร
เป็นมหาวิทยาลยั ชน้ั นำ�

แห่งการสร้างสรรค์

Silpakorn University
is a Leading

Creative University

มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นสถาบันการ เติบโตเป็นลำ�ดับเรื่อยมา  จนกระทั่งได้รับการ
ศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดทบวง ยกฐานะขึ้นเป็น  มหาวิทยาลัยศิลปากร
มหาวิทยาลัย  เดิมคือ  โรงเรียนประณีต เมือ่ วนั ท่ี 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 คณะ
ศิลปกรรม สังกดั กรมศิลปากร เปดิ สอนวชิ า จิตรกรรมและประติมากรรม  ได้รับการจัด
จิตรกรรมและประติมากรรมให้แก่ข้าราชการ ต้ังขึ้นเป็นคณะวิชาแรก  (ปัจจุบันคือ  คณะ
และนักเรียนในสมยั นน้ั โดยไม่เกบ็ คา่ เล่าเรยี น จิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์)  ในปี
ศาสตราจารยศ์ ลิ ป ์ พรี ะศร ี (เดมิ ชอ่ื Corrado พ.ศ.  2498  จัดต้ังคณะสถาปัตยกรรมไทย
Feroci)  ชาวอิตาเลียนซ่ึงเดินทางมา (ซ่ึงต่อมาได้ปรับหลักสูตรและเปล่ียนชื่อเป็น
รับราชการในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาท คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร)์ และคณะโบราณคดี
สมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว รชั กาลท่ี 6 หลังจากน้ันได้จัดต้ังคณะมัณฑนศิลป์ข้ึนในปี
เป็นผู้ก่อต้ังโรงเรียนแห่งนี้ขึ้น  และได้เจริญ ต่อมา

5

6

ปี พ.ศ. 2509 มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2540 มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้
มีนโยบายท่ีจะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาท่ี ขยายเขตการศึกษาไปจัดตั้งวิทยาเขตแห่ง
หลากหลายขึ้น  แต่เนื่องจากบริเวณพื้นท่ีใน ใหม่ท่ีจังหวัดเพชรบุรี  เพ่ือกระจายการ
วังท่าพระคับแคบมาก  ไม่สามารถจะขยาย ศึกษาไปสู่ภูมิภาค  ใช้ชื่อว่า  “วิทยาเขต
พื้นท่ีออกไปได้  จึงได้ขยายเขตการศึกษาไป สารสนเทศเพชรบุร”ี จดั ตง้ั คณะสัตวศาสตร์
ยังพระราชวังสนามจันทร์  จังหวัดนครปฐม และเทคโนโลยกี ารเกษตร ในปี พ.ศ. 2544
โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์  พ.ศ.  2511 คณะวทิ ยาการจดั การ ในปี พ.ศ. 2545 คณะ
คณะศกึ ษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร  ในปี
วทิ ยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามล�ำ ดบั หลงั จาก พ.ศ. 2546 และวทิ ยาลัยนานาชาติ ในปี พ.ศ.
นั้น จัดต้ังคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะ 2546  มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขยายงานใน
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม พ.ศ. 2534 (ปัจจบุ นั ระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2515 โดยการจัด
คือ  คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ต้ังบณั ฑติ วทิ ยาลัยข้ึน เพื่อรับผดิ ชอบในการ
อตุ สาหกรรม) และจัดต้ังคณะดุริยางคศาสตร์ ดำ�เนนิ การ
ขน้ึ เมื่อ พ.ศ. 2542 เพ่อื ให้เป็นมหาวทิ ยาลยั
ท่มี ีความสมบูรณ์ทางดา้ นศลิ ปะมากย่งิ ขน้ึ

7

8

การพัฒนาเมอื งวฒั นธรรมอัจฉริยะ : กรณีศึกษาย่านเยาวราช - เจรญิ กรงุ

9 มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Smart Cultural City Development : A Case Study of Yaowarat - Charoen Krung Area

18 Silpakorn University

การพัฒนาเมอื งวฒั นธรรมอัจฉรยิ ะ :
กรณศี กึ ษาย่านเยาวราช - เจรญิ กรุง

Smart Cultural City Development :
A Case Study of

Yaowarat - Charoen Krung Area

ทป่ี รกึ ษาโครงการ
ศาสตราจารย์ ดร.พรศกั ดิ์ ศรอี มรศกั ดิ์
ผรู้ กั ษาการแทนรองอธกิ ารบดีฝา่ ยวิชาการและวจิ ัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

หัวหน้าโครงการ :
อาจารย์ ดร.โสภณ ผมู้ ีจรรยา
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

ผู้ร่วมวิจัย : - รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพชัย พสุนนท์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณกิ าร์ สธุ ีรัตนาภิรมย์ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร - อาจารย์พเิ ชฐ เขยี วประเสริฐ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภริ ดี เกษมศขุ คณะจติ รกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
- ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรี วฒั น์ สริ ิเวสมาศ - ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พมิ ลศิริ ประจงสาร
คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
- รองศาสตราจารยจ์ กั รพนั ธ์ วลิ าสนิ ีกุล - อาจารย์ ดร. นพิ ัทธช์ นก นาจพินจิ
คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

ทวิ ทัศนก์ รงุ เทพฯ ยา่ นเยาวราช
(ท่ีมา : สำ�นักหอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ)

ทม่ี าและความสำ�คัญของโครงการ
เกาะรตั นโกสนิ ทร์ เปน็ พน้ื ทป่ี ระวตั ศิ าสตร์
ของกรงุ เทพมหานคร มโี บราณสถาน อาคาร
เก่าท่มี คี ุณคา่ และสถานทสี่ ำ�คญั ทางประวัต-ิ
ศาสตร์มากมาย  ท้งั วัง  วัด  ศาสนสถานอ่ืนๆ
ตามความเช่ือของคนหลากหลายเช้ือชาติท้ัง
ไทย จนี และอนิ เดยี ทอ่ี าศัยอย่ใู นพ้ืนทม่ี า
ตั้งแตอ่ ดตี มีการสบื สานประเพณวี ฒั นธรรม
ประจ�ำ กลมุ่ ในแต่ละชมุ ชน มีสินค้าหัตถกรรม
หรือผลิตภัณฑ์ท่ีชุมชนดำ�เนินกิจการสืบทอด
มาหลายรุ่น  อีกท้ังยังมีแหล่งค้าขายท้ัง
ค้าปลีกและค้าส่งที่สำ�คัญ  เช่น  ปากคลอง
ตลาด เยาวราช เป็นต้น

20

แผนทบี่ รเิ วณกรงุ เทพมหานคร ปี พ.ศ. 2475 (ท่มี า : กรมแผนที่ทหาร)

21

ทิวทัศนก์ รุงเทพฯ
ย่านเยาวราช
(ทีม่ า : สำ�นัก
หอจดหมายเหตุ
แห่งชาติ)

ถนนเยาวราช
(ทีม่ า : สำ�นกั
หอจดหมายเหตุ
แหง่ ชาต)ิ

รถรางไฟฟ้าบรเิ วณ
ถนนเจรญิ กรงุ
(ท่มี า : ส�ำ นัก
หอจดหมายเหตุ
แหง่ ชาติ)

22

ท่ีผ่านมามีหลายหน่วยงานได้ดำ�เนิน มหาวิทยาลัยศิลปากรมีพ้ืนที่ต้ังส่วน
การอนุรักษ์และพัฒนามรดกทางวัฒนธรรม หน่ึงอยู่ในพื้นท่ีเกาะรัตนโกสินทร์  และ
อย่างย่ังยืนของพ้ืนท่ีเกาะรัตนโกสินทร์  แต่ มีองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญทั้งด้าน
ยังพบปัญหาในหลายภาคส่วน  ท้ังปัญหา ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม  ด้าน
การทำ�งานท่ีทับซ้อนและขาดการบูรณาการ ศิลปะและการออกแบบ  ด้านวิทยาศาสตร์
ของหนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และภาค และเทคโนโลยี  และด้านมนุษยศาสตร์และ
ประชาชนเขา้ ดว้ ยกนั แมจ้ ะมกี ารศกึ ษาวจิ ยั ใน สังคมศาสตร์  ซ่ึงสามารถตอบโจทย์ชุมชน
พน้ื ทจ่ี ากหลายๆ หนว่ ยงานพอสมควร แตย่ งั ในพื้นที่เพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ขาดการจัดการข้อมูลหรือการนำ�ผลจากการ ชุมชน ในการศึกษาคร้งั น้ี คณะผวู้ จิ ยั จงึ เลอื ก
วิจัยมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มท่ี  จึงควรมีการ พ้ืนท่ีในยา่ นเยาวราช – เจริญกรุง บรเิ วณ
ศึกษาเพ่ือวางระบบการบริหารจัดการพ้ืนท่ี รอบสถานีรถไฟฟ้าวัดมังกร  ซึ่งเป็นส่วน
อยา่ งบรู ณาการระหวา่ งหนว่ ยงาน  นอกจากน้ี ต่อขยายโครงการรถไฟฟ้าสายสีนำ�้ เงิน ชว่ ง
ยงั ขาดการศกึ ษาวจิ ยั ทบ่ี รู ณาการแบบองคร์ วม หัวลำ�โพง - บางแค และชว่ งบางซื่อ - ท่าพระ
(Integrated Research) ท่เี ปน็ ระบบท้งั ใน ตั ว ส ถ า นี ร ถ ไ ฟ ฟ้ า วั ด มั ง ก ร ตั้ ง อ ยู่ ที่ ถ น น
ดา้ นสถาปัตยกรรม ชมุ ชน สงิ่ แวดล้อม และ เจริญกรุง บริเวณสี่แยกแปลงนาม ใกล้ “วัด
วัฒนธรรมท้ังท่ีจับต้องได้และจับต้องไม่ได้ มังกรกมลาวาส” หรือ “วดั เล่งเน่ยย”่ี เพราะ
ดังน้ันการศึกษาวิจัยเพ่ือเป็นข้อมูลสนับสนุน พ้ืนท่ีบริเวณนี้มีความสำ�คัญท้ังทางเศรษฐกิจ 
การขับเคล่ือนเชิงนโยบาย  และการวิจัยเพื่อ สังคม ศลิ ปะ และวัฒนธรรมของประเทศมา
การจัดการพ้ืนท่ีเมืองและชุมชนให้อยู่ร่วมกัน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  และมีต้นทุนทาง
ได้อย่างยั่งยืนและให้เกิดความร่วมมือในการ ศิลปวัฒนธรรมท่ีจะสร้างแนวทางในการ
รักษามรดกทางวัฒนธรรมจึงเป็นสิ่งจำ�เป็น พัฒนาศักยภาพเพื่อพัฒนายกระดับแหล่ง
และสำ�คัญสำ�หรับพ้ืนท่ีเกาะรัตนโกสินทร์ ท่องเท่ยี วเชิงวัฒนธรรมสรา้ งสรรค์ได้

23

ถนนเจรญิ กรุง (ท่มี า : ส�ำ นกั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาต)ิ

24

วัตถปุ ระสงค์
1. ศกึ ษาศกั ยภาพของพน้ื ทก่ี รงุ รตั นโกสนิ ทร์
ในมติ ิของชมุ ชน ศิลปะ วัฒนธรรม โดยใชย้ ่าน
เยาวราช - เจรญิ กรุง เป็นกรณศี กึ ษา เพื่อ
การปรบั ตวั การอนรุ กั ษ์ และความเปน็ ไปได้
ต้ังแตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ นั
2.  แนวทางการพัฒนาเป็นแหล่ง
ท่องเท่ียวโดยการนำ�เสนอข้อมูลเก่ียวกับ
แหล่งโบราณคดี  ประวัติศาสตร์  และ
ศลิ ปวัฒนธรรม
3.  เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
จากภาคสว่ นต่างๆ ท้ังภาครัฐ เอกชน และ
ชมุ ชน ในการมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การ
และพัฒนาศักยภาพของตนเองที่มีอยู่ให้มี
ศักยภาพเพิม่ มากขน้ึ และชมุ ชนยั่งยืน
4.  พัฒนาส่ือสารสนเทศเพื่อนำ�เสนอ
แนวทางและศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว
ควบคู่กับชุมชน เพอ่ื เปน็ แนวทางในการศกึ ษา
วิจัยและพัฒนาตอ่ ยอดไปในมติ ิต่างๆ

เยาวราช-เจรญิ กรงุ (ปัจจบุ นั )

25

1
2

3
4

แผนทีแ่ สดงขอบเขตพ้นื ที่ศกึ ษาวจิ ยั ของโครงการ หมายเลข 1 : ชมุ ชนวงั แดง หมายเลข 2 : ชมุ ชนบ่อนบริพตั ร
หมายเลข 3 : ชมุ ชนเลือ่ นฤทธิ หมายเลข 4 : ชมุ ชนเจริญไชย (ทมี่ า : สำ�นกั ผงั เมอื ง กรงุ เทพมหานคร)

เป้าหมายโครงการ
แนวทางหรือตัวอย่างรูปแบบของการพัฒนาพ้ืนที่เพื่อให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว
เชงิ วัฒนธรรมสร้างสรรคจ์ ากต้นทนุ เดิม
พ้นื ที่ศกึ ษาวจิ ัย
พนื้ ที่ยา่ นเยาวราช – เจริญกรุง บริเวณรอบสถานีรถไฟฟา้ วดั มังกร ซึ่งเปน็ สว่ นตอ่ ขยาย
โครงการรถไฟฟา้ สายสีนำ�้ เงิน ช่วงหวั ลำ�โพง - บางแค และช่วงบางซอื่ – ทา่ พระ
ชุมชนเป้าหมายทีส่ นใจศึกษา
ชมุ ชนเล่อื นฤทธ์ิ ชมุ ชนเจริญไชย ชมุ ชนวังแดง และชมุ ชนบอ่ นบริพัตร

26

การพัฒนาเมืองวฒั นธรรมอจั ฉริยะ : กรณีศึกษาย่านเยาวราช - เจรญิ กรงุ

27 มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Smart Cultural City Development : A Case Study of Yaowarat - Charoen Krung Area

36 Silpakorn University

ภาพรวมของการด�ำ เนนิ งานโครงการ

การพฒั นาเมอื งวฒั นธรรมอัจฉรยิ ะ :
กรณีศึกษาย่านเยาวราช – เจริญกรุง

ทปี่ รกึ ษาโครงการและคณะผู้วิจัยลงสำ�รวจพืน้ ท่ยี ่านเยาวราช – เจรญิ กรุงในเบื้องตน้

โครงการวิจยั “ การพัฒนาเมอื งวฒั นธรรมอจั ฉริยะ :
กรณศี ึกษายา่ นเยาวราช – เจรญิ กรุง ”
เป็นการวิจัยแบบบูรณาการองค์ความรู้หลากหลายศาสตร์ท้ังองค์ความรู้ด้าน
โบราณคดี  ด้านสถาปัตยกรรม  ด้านศิลปะและการออกแบบ  ด้านอาหาร  และด้านการ
บริหารจัดการ  เพื่อดำ�เนินงานวิจัยในพ้ืนท่ีย่านเยาวราช  –  เจริญกรุง  อีกท้ังยังมีการ
บูรณาการงานวิจัยเข้ากับการเรียนการสอนเพ่ือให้นักศึกษานำ�ความรู้จากห้องเรียนมาใช้ปฏิบัติ
งานจริงในพื้นท่ี  ซ่ึงเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้และเสริมสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษาได้
เป็นอยา่ งดี

38

โครงการวจิ ยั ดงั กลา่ วแบง่ การด�ำ เนนิ งาน

ออกเปน็ 6 สว่ น ไดแ้ ก่

1)  โบราณคดีและชุมชน  เน้นศึกษา 4) การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ต้นแบบ สำ�รวจ
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชุมชน  วิถีชีวิต และศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนา
อัตลักษณ์ชุมชน  ยุคสมัยของกลุ่มคนตาม ผลิตภัณฑข์ องชุมชน วเิ คราะห์ สงั เคราะห์
ชว่ งอายุ รวมถึงขอ้ มูลอนื่ ๆ เกย่ี วกับชุมชน และออกแบบพัฒนาและสร้างต้นแบบ
เพ่ือศึกษาถึงศักยภาพหรือโอกาสในการ ผลิตภัณฑ์เพ่ือเป็นแบบอย่างแนวทางในการ
อนรุ ักษแ์ ละการพัฒนาพน้ื ที่
ผลิตแกช่ มุ ชนในพนื้ ที่
2) การใช้พนื้ ทเี่ ชิงสถาปตั ยกรรม ด�ำ เนนิ 5)  อาหาร  เน้นการสืบค้นด้านอาหาร
การศึกษาและเก็บข้อมูลด้านวัฒนธรรม ท่ีมีเอกลักษณ์และศึกษาความเป็นมา  ศึกษา
ของชุมชน  ด้านศิลปะ  ด้านการประกอบ กระบวนการหรือวิธีการทำ�อาหารที่สะท้อน
กิจการ ด้านอาหาร  และด้านสภาพแวดลอ้ ม ถึงความเป็นชุมชนและวัฒนธรรมที่มีคุณค่า
ในขอบเขตพื้นที่กำ�หนด  ทำ�การวิเคราะห์  เพื่อให้ได้แนวทางในการทำ�ให้คนในชุมชน
สังเคราะห์เป็นแบบจำ�ลองการออกแบบ ยุคปัจจุบันพยายามผลิตซ้ำ�กระบวนการ
พื้นท่ีเพ่ือการพัฒนาพื้นที่เมืองในบริเวณย่าน อาหารในครัวเรือนหรือร้านอาหารของชุมชน
เยาวราช  – เจรญิ กรุง
ด้วยคุณค่าของการกินดีอยู่ดี  ภาคภูมิใจ
3) ศลิ ปะชมุ ชนและศลิ ปะสาธารณะ ศกึ ษา มีความม่ันคงทางอาหาร  และเป็นต้นแบบที่
ประวัติศาสตร์ของผู้คนในชุมชนผ่านการเล่า ดีแก่กระบวนการผลิตอาหารที่เป็นการค้าและ
เรื่องหรือถ่ายทอดประสบการณ์ที่สะท้อน ทมี่ กี ารทอ่ งเท่ยี ว
ให้เห็นการเปล่ียนแปลงของวิถีชีวิตและ 6)  การนำ�เสนอผลลัพธ์ของงานวิจัยใน
วัฒนธรรมไปตามยคุ สมัย โดยเร่ืองราวจะได้ รปู แบบตา่ งๆ เชน่ Animation วีดิทศั น์ เป็นต้น
รับการตีความและแสดงออกผ่านผลงาน นอกจากน้ี ยงั ดำ�เนนิ การศกึ ษาเก่ยี วกับแบบ
ทางศิลปะในรูปแบบต่างๆ  รวมท้ังสำ�รวจ จำ�ลองทางธุรกิจท่ีเป็นไปได้หรือที่จะสามารถ
และศึกษาศิลปะประดับตกแต่งอาคาร เกดิ ขึน้ ได้ในพน้ื ท่เี ยาวราช – เจริญกรุง โดย
โบราณ  (Ornaments)  และองค์ประกอบ การดำ�เนินงานโครงการวิจัยมีเป้าหมายเพื่อ
บนถนนประเภท Street furniture และ ให้ได้แนวทางหรือตัวอย่างรูปแบบการพัฒนา
ฝาท่อสาธารณูปโภคชนิดต่างๆ  เพ่ือนำ�ไป พ้ืนท่ีด้วยต้นทุนเดิมทางศิลปะและวัฒนธรรม
สู่การออกแบบผลงานศิลปะที่มีประโยชน์ เพื่อช่วยส่งเสริมการท่องเท่ียวของพ้ืนที่
ใช้สอยและมีอัตลักษณ์  โดยดึงความเป็น บริเวณยา่ นเยาวราช - เจริญกรงุ
เอกลักษณ์ของชุมชนหรือพื้นที่มาใช้ในการ

ออกแบบและพฒั นาเพอ่ื สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว

39

การประชมุ คณะผ้วู จิ ัยด�ำ เนนิ งานโครงการ

การประชมุ แลกเปลีย่ นขอ้ มลู ทไี่ ด้จากการลงสำ�รวจพน้ื ทข่ี องคณะผู้วิจยั และนกั ศกึ ษาจาก
คณะจติ รกรรมประติมากรรมและภาพพมิ พ์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ คณะโบราณคดี คณะมณั ฑนศิลป์
และคณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ซงึ่ เปน็ การบูรณาการการวจิ ยั รว่ มกบั การเรียนการสอน

41

การประชมุ แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการลงสำ�รวจพน้ื ทข่ี องคณะผู้วิจยั และนกั ศกึ ษาจาก
คณะจิตรกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ คณะโบราณคดี คณะมณั ฑนศิลป์
และคณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ซ่งึ เปน็ การบูรณาการการวจิ ยั รว่ มกบั การเรียนการสอน

การพัฒนาเมืองวฒั นธรรมอจั ฉริยะ : กรณีศึกษาย่านเยาวราช - เจรญิ กรงุ

43 มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Smart Cultural City Development : A Case Study of Yaowarat - Charoen Krung Area

52 Silpakorn University

การอนุรักษแ์ ละพัฒนาชุมชนเมือง
ในยา่ นประวตั ิศาสตรต์ ามเสน้ ทาง
รถไฟฟ้าสายสนี �ำ เงิน สว่ นต่อขยาย
บริเวณถนนเจริญกรงุ – เยาวราช

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณกิ าร์ สธุ รี ตั นาภิรมย์
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ภายใต้โครงการ การพัฒนาเมืองวัฒนธรรมอจั ฉรยิ ะ :
กรณีศึกษายา่ นเยาวราช – เจรญิ กรุง

การสา้ รวจและสมั ภาษณช์ มุ ชนบ่อนบรพิ ตั ร

54

แผน่ หนิ แสดงการเกบ็ คา่ เชา่ ของชุมชนบ่อนบริพตั ร

โครงการน้ีจัดทำ�ขึ้นเพื่อศึกษาสถานการณ์และผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการพัฒนาเมืองที่มี
ตอ่ ชมุ ชนตามเสน้ ทางรถไฟฟา้ สายสนี ำ�้ เงนิ สว่ นตอ่ ขยาย บรเิ วณช่วงถนนเจรญิ กรุง – เยาวราช
โดยใช้วิธีศกึ ษาจากประวัตศิ าสตรค์ วามเปน็ มาของพน้ื ที่และวถิ ีชมุ ชนในอดตี จนถึงปจั จุบนั และ
ศึกษาทัศนคติของชุมชนถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากการพัฒนาเมืองอย่างรวดเร็วและวิธีการ
เผชิญหนา้ กบั สถานการณท์ ่เี กดิ ขน้ึ โดยศึกษาจาก 5 ชมุ ชน ได้แก่ ชุมชนเวงิ้ นาครเขษม ชุมชน
บอ่ นบรพิ ัตร ชุมชนวงั แดง ชมุ ชนเลอื่ นฤทธิ์ และชมุ ชนเจริญไชย

55

ประธานชมุ ชนวังแดง และนักศกึ ษาคณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ท่ีไดเ้ ขา้ ร่วมสำ�รวจและสัมภาษณ์ชุมชน

จากการศึกษาทำ�ให้ทราบถึงประวัติ รวมไปถึงความกังวลที่มีต่อการพัฒนาจาก
ความเป็นมาของพื้นท่ีที่มีมาต้ังแต่ต้น นายทุนดังท่ีเกิดข้ึนกับชุมชนบ่อนบริพัตร
กรุงรัตนโกสินทร์  ต่อมามีการสร้างตึกแถว และชุมชนวังแดง  ท่ีทำ�ให้ชาวบ้านเริ่มหา
ของพระคลังข้างที่ในรัชกาลที่  6  ชุมชน ลู่ทางต่างๆ  ในการขยับขยาย  การเร่ิมหา
จึงได้อาศัยสืบมาจนถึงปัจจุบัน  โดยมีการ ท่ีอยู่ใหม่นอกชุมชน  ซ่ึงความกังวลดังกล่าว
ผลดั รุ่น เปลีย่ นแปลงเจา้ ของไปตามยคุ สมัย  มีมาจากท่ีชุมชนเวิ้งนาครเขษมอันตั้งอยู่ใกล้
ชุมชนล้วนมีความรู้สึกว่าความเจริญรุ่งเรือง ชิดกันนั้นได้ถูกกลุ่มนายทุนจัดสรรพ้ืนท่ีเพื่อ
ของการค้าขายในอดีตล้วนเป็นอดีตที่แสน รองรับการพัฒนาย่านธุรกิจขนาดใหญ่ซึ่ง
ภาคภมู ิใจของชาวชุมชนต่างๆ เช่น ร้านคา้ ขาย ต้องโยกยา้ ยผู้เชา่ เดมิ ออกทั้งหมด รวมไปถงึ
ทองคำ�  ร้านขายเหล็ก  ในย่านชุมชนวังแดง การผ่านประสบการณ์ในห้วงเวลาสิบกว่าปี
โดยเฉพาะห้างหุ้นส่วนจำ�กัด  บริพัตร ของชุมชนเลื่อนฤทธ์ิที่ทำ�ให้เกิดการรวมกลุ่ม
อตุ สาหกรรม รา้ นขายกระบที่ ่ีมอี ายุยาวนาน และจัดต้ังบรษิ ทั ชุมชนเลอ่ื นฤทธิ์ จ�ำ กดั ขึ้น
กว่า  80  ปี  ท่ียังต้ังอยู่ในชุมชนเพียงร้าน เพื่อให้ชุมชนมีอำ�นาจต่อรองกับเจ้าหน้าที่รัฐ
เดยี ว ตอ่ มาเมือ่ สถานการณ์การพัฒนาเมอื ง อันเป็นเสมอื นต้นแบบใหก้ บั ชมุ ชนอน่ื ๆ
จึงทำ�ให้ชุมชนต้องปรับตัวเข้าสู่สมัยใหม่
ดังตัวอย่างเช่น  การค้าขายกระดาษไหว้เจ้า
ที่ชุมชนเจริญไชยที่เร่ิมใช้ศิลปวัฒนธรรมที่
มีในชุมชนเป็นจุดขายและเป็นการต่อรองกับ
นายทุนภายนอก  เช่น  การตั้งบ้านเก่าเล่า
เรื่องชุมชนเจริญไชย  เป็นเสมือนพิพิธภัณฑ์
ของชุมชน เป็นต้น

การสำ�รวจและสัมภาษณ์ ชมุ ชนวงั แดง

57

สถานีรถไฟฟา้ วดั มงั กร ดา้ นหน้าชุมชนเจรญิ ไชยในปจั จุบัน แผน่ หินแสดงการเก็บค่าเชา่ ของชุมชนเลื่อนฤทธ์ิ

ชุมชนเล่อื นฤทธ์ิในระหว่างการปรบั ปรุงเปลยี่ นแปลง

58

การพัฒนาเมืองวฒั นธรรมอจั ฉริยะ : กรณีศึกษาย่านเยาวราช - เจรญิ กรงุ

59 มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Smart Cultural City Development : A Case Study of Yaowarat - Charoen Krung Area

68 Silpakorn University

การศึกษาความเปน็ ไปไดใ้ นการพฒั นา
พืน้ ทเ่ี มืองเก่า เมอื งวฒั นธรรมอัจฉริยะ :
วัฒนธรรมสรา้ งสรรค์ การท่องเที่ยว

และชุมชนยง่ั ยนื

โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภริ ดี เกษมศุข
และ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมลศิริ ประจงสาร
คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

ภายใต้โครงการ การพัฒนาเมอื งวฒั นธรรมอัจฉริยะ :
กรณศี ึกษายา่ นเยาวราช – เจริญกรงุ

ท่ามกลางกระแสแห่งการพัฒนา
แ ล ะ ค ว า ม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ที่ กำ � ลั ง รุ ก คื บ สู่
เยาวราช  ย่านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
ที่ มี เ อ ก ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ คุ ณ ค่ า แ ห่ ง ห นึ่ ง ข อ ง
กรุงเทพมหานคร  เยาวราชจะเป็นพื้นที่
ตัวอย่างของการพัฒนาอย่างย่ังยืนได้อย่างไร
บา้ ง ด้วยกระบวนการวจิ ยั เชงิ พน้ื ท่ี ผา่ นการ
เก็บ วิเคราะห์ และสังเคราะหข์ อ้ มลู ปัจจบุ ัน
ในเรื่องของชุมชน  สังคมและวัฒนธรรม
อาคารท่ีมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และ
สถาปัตยกรรม  สภาพแวดล้อม  การใช้
ประโยชน์อาคารและกิจกรรมต่างๆ ในอาคาร
และพ้นื ทสี่ าธารณะ การเช่ือมโยงกบั พน้ื ท่อี ื่นๆ
และกฎหมายผังเมอื ง ฯลฯ และทดลองเสนอ
แนวทางในการพัฒนาพ้ืนท่ีผ่านกระบวนการ
ออกแบบที่เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนใน
รายวิชาการออกแบบสถาปตั ยกรรม 8 ผลที่
ได้คือ  ความเป็นไปได้ของการพัฒนาพื้นท่ี
ท่ียังคงเอกลักษณ์และคุณค่าทางสังคมและ
วฒั นธรรมของพื้นที่เอาไว้
ในขณะเดียวกันก็เอ้ือให้เกิดการพัฒนา
เกิดข้ึนได้  ส่งผลให้เกิดพลวัตที่น่าจะทำ�ให้
เยาวราชเกิดความย่ังยืนด้านพื้นท่ีต่อไป
ในอนาคต  เป็นตัวอย่างต่อการพัฒนาใน
ลักษณะเช่นนี้สำ�หรับย่านประวัติศาสตร์และ
วัฒนธรรมย่านอ่ืนๆ

ขอบเขตพืน้ ทีศ่ กึ ษาโดยมี
- ด้านทิศเหนอื จรด
ถนนยมราชสุขมุ
- ดา้ นทิศตะวันออกจรด
ถนนมงั กร
- ด้านทศิ ใตจ้ รดซอย
วานชิ 1
- ด้านทศิ ตะวนั ตกจรด
ถนนมหาจักร

นักศึกษาคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ลงส�ำ รวจพ้นื ที่
และเก็บข้อมูล

71

ตวั อยา่ งการออกแบบ
เพอ่ื การพฒั นาพนื้ ทเ่ี มอื ง
เก่าในขอบเขตพืน้ ท่ศี กึ ษา
บริเวณย่านเยาวราช –
เจริญกรงุ

แบบจำ�ลองการออกแบบพ้ืนทเ่ี พือ่ การพฒั นาพ้นื ทีเ่ มอื งเกา่
ในขอบเขตพืน้ ที่ศกึ ษาบริเวณย่านเยาวราช – เจรญิ กรงุ

72

การพัฒนาเมืองวฒั นธรรมอจั ฉริยะ : กรณีศึกษาย่านเยาวราช - เจรญิ กรงุ

73 มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Smart Cultural City Development : A Case Study of Yaowarat - Charoen Krung Area

82 Silpakorn University

การสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะชมุ ชน
และศิลปะสาธารณะเพอื่ ส่งเสริม
อตั ลกั ษณ์และตอ่ ยอดวัฒนธรรมชมุ ชน

ย่านเยาวราช – เจรญิ กรุง

โดย รองศาสตราจารย์จักรพนั ธ์ วลิ าสนิ ีกลุ
และอาจารยพ์ เิ ชฐ เขียวประเสรฐิ

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

ภายใตโ้ ครงการ การพฒั นาเมอื งวฒั นธรรมอัจฉริยะ :
กรณีศกึ ษายา่ นเยาวราช – เจริญกรุง

84

การส�ำ รวจพื้นท่แี ละรปู แบบศิลปะประดบั
ตกแต่งอาคาร (Ornaments)

85

การดำ�เนินงานวิจัยด้านศิลปกรรม
ใช้กระบวนการภัณฑารักษ์และโครงการ
สร้างสรรค์ศิลปะชุมชนและศิลปะสาธารณะ
เปน็ เครอ่ื งมอื ในการศกึ ษา ดว้ ยวธิ จี ดั สมั มนา
เชิงปฏิบัตกิ าร สรา้ งกระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกนั
ระหวา่ งชมุ ชน นกั วจิ ยั นกั ศกึ ษา และศลิ ปนิ โดย
คณะผู้วิจัยได้รับความร่วมมือจากผู้อยู่อาศัย
ในชุมชนเลื่อนฤทธ์ิ  อันเป็นชุมชนท่ีมีความ
หลากหลายทางเชื้อชาติอาศัยอยู่ร่วมกัน
อ า ทิ เ ช่ น   ช า ว จี น แ ค ะ   ช า ว จี น แ ต้ จิ๋ ว
ชาวซกิ ข์ ชาวฮินดู  เปน็ ต้น  รว่ มกันถา่ ยทอด
ประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ของผู้คน
และชุมชนในด้านต่างๆ  ท่ีสะท้อนให้เห็น
การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิต  ผู้คน  อาชีพ
วัฒนธรรมไปตามยุคสมัยและพัฒนาการ
ของเมือง  โดยเร่ืองราวจะได้รับการตีความ
แสดงออกผ่านผลงานทางศิลปะในรูปแบบ
ต่างๆ  รวมทั้งผลงานศิลปะท่ีมีประโยชน์
ใช้สอย  เพ่ือนำ�ไปสู่จุดมุ่งหมายในการส่ง
เสริมอัตลักษณ์ท่ีมีความร่วมสมัยและต่อยอด
วัฒนธรรมของชุมชน  อันเกิดจากฐาน
ความร่วมมือของคนในชุมชนเอง  และด้วย
กระบวนการทางภัณฑารักษ์สามารถประสาน
เช่ือมโยงองค์ความรู้ท่ีถูกส่ังสมในชุมชนทั้ง
ด้านสุนทรียศาสตร์  และด้านประวัติศาสตร์
เพ่อื สรา้ งการรับรู้และเผยแพร่ไปสู่สาธารณะ

การสัมภาษณก์ ล่มุ คนจีนแคะในชุมชนเลอื่ นฤทธ์ิ

แผนผังการย้ายถ่นิ ฐานของชาวซกิ ขม์ าชุมชนเลื่อนฤทธ์ิ

87

ตวั อยา่ งผลงานประติมากรรมต้นแบบ ชดุ “วถิ เี ยาวราช”
ทส่ี ร้างสรรคด์ ว้ ยขอ้ มูลชุมชนย่านเยาวราช
โดย คมสนั เพ็ชรสทิ ธ์ิ

88

การพัฒนาเมืองวฒั นธรรมอจั ฉริยะ : กรณีศึกษาย่านเยาวราช - เจรญิ กรงุ

89 มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Smart Cultural City Development : A Case Study of Yaowarat - Charoen Krung Area

98 Silpakorn University


Click to View FlipBook Version