การพฒั นาผลติ ภัณฑส์ รา้ งสรรค์ต้นแบบ
เพือ่ การท่องเท่ยี วอยา่ งย่ังยืน
ในย่านเยาวราช – เจรญิ กรงุ
โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรี วฒั น์ สริ ิเวสมาศ
คณะมณั ฑนศิลป์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
ภายใตโ้ ครงการ การพฒั นาเมืองวัฒนธรรมอัจฉริยะ :
กรณีศึกษาย่านเยาวราช – เจรญิ กรุง
การวิจัยน้ีต้องการศึกษาความเช่ือมโยง
ระหว่างศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ย่าน
เมืองเก่า วถิ ชี วี ติ ชุมชน ทร่ี วมไปถงึ การเกิดขึ้น
ของโครงสรา้ งสาธารณปู โภคใหม่ เช่น การ
เข้ามาของรถไฟฟ้าใต้ดินที่จะนำ�พามาซ่ึงการ
เปล่ียนแปลงในมิติของการท่องเท่ียว ว่าส่ง
ผลกระทบตอ่ วถิ ชี มุ ชนอยา่ งไร และจะปรบั ตวั
รบั มือกันอยา่ งไร ในกรณนี ี้ คณะผ้วู ิจัยได้
กำ�หนดพ้ืนท่ีและขอบเขตของการศึกษาไว้
คือ ย่านเจรญิ กรงุ เยาวราช โดยมีจดุ ประสงค์
ดังนี ้
1) ศกึ ษาความเปน็ ไปไดข้ องผลติ ภณั ฑ์
ในท้องถ่ิน โดยใช้กรณศี ึกษา : กลมุ่ ผลิตภณั ฑ์
ยา่ นเยาวราช – เจริญกรุง
2) วิเคราะห์สังเคราะห์ศักยภาพของ
ผลติ ภัณฑ์ทีเ่ หมาะสมกบั การพฒั นายกระดับ
3) ออกแบบพัฒนาและสร้างต้นแบบ
ผลติ ภัณฑ์ เพื่อเป็นแบบอย่างแนวทางในการ
ผลติ แก่ชมุ ชน
จากการบูรณาการการศึกษา และการ
วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันระหว่างคณะโบราณคดี
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะจิตรกรรม
ประติมากรรมและภาพพิมพ์ และคณะ
มัณฑนศิลป์ เป็นข้อมูลท่ีช้ีชัดลงมาผ่านการ
ศกึ ษาแล้ววา่ ในขอบเขตพนื้ ที่ย่านเยาวราช
- เจรญิ กรุงนน้ั มพี ้ืนที่ตวั อย่างไหนให้ลงไป
ทำ�งานได้ และ ทำ�งานอย่างไร ในกรณนี ี้ กลุ่ม
ชมุ ชน “ย่านเจรญิ ไชย” ไดถ้ กู หยบิ ยกมาเป็น
กรณีศึกษาและปฏิบัติงานวิจัยร่วมกันระหว่าง
คณาจารย์ นกั ศกึ ษา และคนในชมุ ชน
การลงพนื้ ที่ส�ำ รวจและเก็บขอ้ มลู เกี่ยวกับงานหตั ถกรรม
สนิ ค้าและผลติ ภัณฑ์ในพน้ื ท่ยี ่านเยาวราช – เจริญกรงุ และบรเิ วณใกล้เคยี ง
101
การลงพืน้ ทพี่ ดู คยุ กับผู้รแู้ ละชมุ ชนเกย่ี วกับผลิตภัณฑ์โคมไฟ
กระดาษแก้วในพนื้ ทยี่ า่ นชุมชนเจริญไชย และหอศิลปก์ รุงไทย
102
มุมมองของวัฒนธรรมในชุมชนไทยเช้ือ
สายจีน ได้ถูกเล่าขานและหยิบยกตัวแทน
ข้ึนมา คือ “กระดาษไหว้เจ้า” ที่ชาวบ้าน
ในชุมชนเจริญไชยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
ค้าขายวัตถุดิบเหล่านี้ ที่เช่ือมโยงกับเหล่า
เทศกาล ทั้งมงคลและอวมงคลตลอดทั้งปี
กิจกรรมการซื้อขายและการใช้กระดาษเหล่าน้ี
ต่างเช่ือมโยงกบั ความเชื่อ ฤดูกาล เทศกาล
ประเพณีท่ีปฏิบัติสืบทอดต่อๆ กันมาของ
ชาวไทยเช้อื สายจีน ที่หลายเทศกาลได้กลาย
เป็นเทศกาลประจำ�ปีของคนไทยเช้ือสายจีน
ในหลายๆ ภมู ภิ าคไปดว้ ย เชน่ เทศกาลไหว้
พระจนั ทร์ เทศกาลกนิ เจ เป็นต้น
นักศึกษาคณะมณั ฑนศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
ทดลองสร้างสรรคผ์ ลติ ภณั ฑ์โคมไฟกระดาษแก้ว
คณะผู้วจิ ัยน�ำ ผลติ ภณั ฑโ์ คมไฟกระดาษแก้วจดั แสดงในงานคนื โคม ชมจนั ทร์ เจรญิ ไชย
ผลิตภัณฑ์กระดาษเงินกระดาษทอง
ท่ีซ้ือขายใช้ไหว้เจ้า ไหว้บรรพบุรุษ แฝงไป
ด้วยความเชื่อของผู้ใช้และผู้ขาย ทางคณะ
ผู้วิจัยได้ทำ�การสำ�รวจข้อมูลในเชิงลึกร่วมกัน
กับตัวแทนของชุมชน ในการวิเคราะห์ถึง
ความเปน็ ไปไดใ้ นการน�ำ ส่ิงตา่ งๆ เหลา่ นมี้ าใช้
เพ่ือพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้กับชุมชน
แนวคิดในการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์กระดาษจึงเกิดขึ้นจากความ
ต้องการของชุมชนผ่านวิธีการแสดงความ
คิ ด เ ห็ น ร่ ว ม กั บ ค ณ า จ า ร ย์ นั ก วิ จั ย แ ล ะ
นักศกึ ษา การเลือกวสั ดกุ ระดาษสวยงามจาก
แหลง่ อ่นื ทห่ี าได้ ท่มี ีคุณสมบัติเหมาะสมและ
ยังมีสีสันสะท้อนความหมายตามความเช่ือ
ประกอบกับรูปแบบของดอกไม้มงคลท่ีได้
ศกึ ษามาเปน็ โจทย์ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ก็
เปิดโอกาสให้ทุกคนได้ใช้สัญลักษณ์ใหม่เพื่อให้
ชุมชนได้มีโอกาสพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางเลือกที่
ผู้คนต่างถ่ินสามารถซ้ือหาออกไปจากชุมชน
ไดด้ ้วยความยนิ ดี
105
การสาธิตและอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ การประดษิ ฐผ์ ลิตภณั ฑ์
จากกระดาษเชงิ สรา้ งสรรค์
106
ผลิตภณั ฑ์ต้นแบบ
เพือ่ ส่งเสรมิ การท่องเทย่ี ว
ในยา่ นเยาวราช - เจริญกรงุ
“งานกระดาษประดิษฐ์” ผลิตภัณฑ์
ต้นแบบเพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวในย่าน
เยาวราช – เจริญกรงุ เกิดจากการมองเห็น
คุณค่าของผลิตภัณฑ์จากกระดาษสำ�หรับ
ไหว้เจ้าและไหว้บรรพบุรุษ ทั้งในด้านความ
เป็นศิลปหัตถกรรมซึ่งแสดงเอกลักษณ์ของ
ชุมชนเจริญไชย และในด้านวัฒนธรรมของ
คนไทยเชื้อสายจีน จึงเกิดความคิดท่ีจะ
ออกแบบผลิตภัณฑ์อันมีท่ีมาจากกระดาษใน
ชุมชนเจริญไชย นำ�มาสร้างสรรค์ให้เกิดรูป
แบบทแ่ี ตกต่างจากเดิม มคี วามรว่ มสมัยและ
น่าสนใจยิ่งขึ้น โดยศึกษาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง
กับการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกระดาษของ
ชุมชนเจริญไชยที่มีรูปแบบตามประเพณีนิยม
แล้วจึงนำ�มาออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์จาก
กระดาษเชิงสร้างสรรค์ เพ่ือเป็นการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ นำ�เสนอเอกลักษณ์ของชุมชน
เจริญไชย และเป็นการเผยแพรว่ ฒั นธรรมแก่
ผู้ท่ีไดพ้ บเห็น
โดยผลิตภัณฑ์ท่อี อกแบบและสร้างสรรค์
นั้น เป็นของตกแต่งท่ีเป็นเครื่องแขวน ซึ่ง
ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก อ่วงม้ึง (ม่าน)
และก่ง (โคม) แต่เนื่องจากมีการลดขนาด
เป็นช้ินเล็กจึงมีลักษณะคล้ายเคร่ืองรางท่ีมี
พู่ห้อยของจีนด้วย ซึ่งสอดคล้องกับความ
หมายมงคลของดอกไม้ ดังน้ันจึงออกแบบ
ให้ผลิตภัณฑ์มีลักษณะแบบเครื่องรางผสม
ผสานกบั การพบั กระดาษรปู ดอกไม้
เคร่ืองแขวนเบญจมาศ
เป็นการนำ�ดอกเบญจมาศซ่ึงเป็นดอกไม้ที่มี
ความหมายมงคลหลายประการ ทั้งความโชคดี มชี วี ิต
ราบรน่ื ความมอี ายุยนื ความงามนิรันดร ์ มาใช้เปน็
แนวทางในการออกแบบและสร้างสรรค์
(ผูอ้ อกแบบและสรา้ งสรรค์ : วริ นิ เชาวนะ)
109
110
เครอื่ งแขวนโปย๊ เซียน
เป็นการนำ�ดอกโป๊ยเซียนซ่ึงเป็นดอกไม้
มงคลตามความเช่ือของจีนท่ีเชื่อว่าหากปลูกแล้ว
มดี อกครบ 8 ดอก จะน�ำ ความโชคดมี าให้ และ
เป็นดอกไม้ท่ียังไม่พบในผลิตภัณฑ์จากกระดาษ
ในชุมชนมาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและ
สร้างสรรค์
(ผอู้ อกแบบและสรา้ งสรรค์ : วิริน เชาวนะ)
ก่งประยกุ ต์ น�ำ มาผสมผสานกบั เครอ่ื งแขวนดอกไมส้ ดของ
เป็นการออกแบบท่ีแสดงออกถึงความ ไทยทช่ี อ่ื วา่ “โคมจนี ” ซึง่ เปน็ เคร่ืองแขวนทม่ี ี
เปน็ ไทย – จีน โดยไดร้ บั แรงบันดาลใจมาจาก รูปแบบท่ีได้รับอิทธิพลมาจากโคมไฟแบบจีน
กง่ ซง่ึ เป็นโคมทใ่ี ช้ในเทศกาลไหวพ้ ระจันทร์ ในสมัยก่อน
ที่มีองค์ประกอบบางอย่างเป็นลักษณะงาน (ผู้ออกแบบและสรา้ งสรรค์ : วิรนิ เชาวนะ)
ดอกไมไ้ ทยมาตกแต่ง เช่น อุบะ เปน็ ต้น
113
114
115
เครอ่ื งประดับเงนิ รูปดอกไม้
ผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพ่ือส่งเสริมการ
ท่องเทย่ี วในย่านเยาวราช – เจรญิ กรงุ
ซึ่งต่อยอดจากการพัฒนางานกระดาษ
ประดิษฐ์ โดยนำ�รูปทรงของดอกไม้มาเป็น
แรงบันดาลใจในการออกแบบและสร้างสรรค์
เพอื่ เพ่มิ มลู คา่
การพัฒนาเมืองวฒั นธรรมอจั ฉรยิ ะ : กรณศี ึกษายา่ นเยาวราช - เจรญิ กรุง
117 มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
Smart Cultural City Development : A Case Study of Yaowarat - Charoen Krung Area
126 Silpakorn University
“หมดแรงข้าวตม้ ”
ศาสตรแ์ ละศิลปะอาหาร เบื้องหลังการคา้
กบั การเปลยี่ นแปลงชุมชนเยาวราช
โดย อาจารย์ ดร.นพิ ัทธ์ชนก นาจพินิจ
บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสิต
ภายใต้โครงการ การพฒั นาเมืองวัฒนธรรมอจั ฉรยิ ะ :
กรณศี กึ ษาย่านเยาวราช – เจริญกรงุ
ข้าวตม้ “ข้าวต้ม” เป็นสำ�รับข้าวเช้าท่ีเกิดข้ึน
เยาวราชเป็นหน่ึงในดินแดนอาหารโลก อย่างเรียบง่ายในแทบทุกบ้านและเป็นพลัง
แต่ใช่ว่าคนในชุมชนกับอาหารทั้งหมดในย่าน ขบั เคล่อื นชวี ิตตรงนนั้ ถ้าน�ำ้ พรกิ ส�ำ คัญต่อลกู
นั้นเชื่อมโยงกันได้ โดยเฉพาะกลุ่มอาหาร ไทยอย่างไร ขา้ วต้มก็ส�ำ คญั อย่างน้ัน ไมว่ า่ จะ
บาทวิถี (street food) ทเ่ี ป็นปรากฏการณ์ เปน็ ขา้ วตม้ ประเภทไหน ขา้ วตม้ กบั “กบั ขา้ วตม้ ”
การทอ่ งเท่ยี ว ซึง่ ไมว่ า่ จะมีพนื้ ทีส่ อ่ื มากเทา่ ไร หรือข้าวต้มเครื่องเป็นอาหารกับคนที่สะท้อน
หรือมีปริมาณนักท่องเท่ียวจนทำ�ให้เยาวราช กนั และกนั ได้
ไม่หลับไหล ตัวเลขน้ันไม่อาจนำ�ไปสู่ความ แต่ปริมาณและความถี่ของสำ�รับข้าวต้ม
ยง่ั ยนื ทางวฒั นธรรมอาหารของชุมชนไดเ้ ลย ในบ้านก็ดีนอกบ้านก็ดีกลับลดน้อยลงไปกับ
การศึกษาเบ้ืองต้นถึงอาหารท่ีได้รับ การเปล่ียนแปลงของชุมชนที่ย้ายถิ่นฐานพา
ความนิยมจากคนนอกและการพยายามเข้าใจ คนและครัวไปทอี่ ่นื อาหารที่สอื่ ถงึ วัฒนธรรม
คนเยาวราชผ่านอาหารในบ้าน พบว่าอาหาร น้กี ค็ อ่ ยๆ เลือนหายออกไป อาหารเชา้ ถกู ขา้ ม
เพื่อคนในครอบครวั คอื “ข้าวตม้ ” และการใช้ ไปหรอื ทดแทนด้วยอาหารจานดว่ นอน่ื ๆ หรอื
เครื่องมือศึกษาด้วยศาสตร์และศิลปะอาหาร ที่น่าตกใจไปกว่าน้ันในฐานะย่านคนจีนด้ังเดิม
(Gastronomy) เปิดภาพข้าวต้มให้มองท่ี ท่ีสุด...เยาวราชมีร้านข้าวต้มดั้งเดิมเหลืออยู่
อาหารได้เห็นคน มองท่ีคนได้เห็นอาหาร น้อยมาก
อย่างน่าสนใจ ทั้งเรื่องในครัวท้ังในเรือ่ งของ
สังคมท่ีผูกพันความเป็นเกษตรกรรมและ
การค้าไวอ้ ย่างแนบแนน่
129
130
หรือเยาวราช...
ก�ำ ลังจะหมดแรงขา้ วต้ม
ขา้ วต้มอยา่ งเรียบง่ายในมื้อเช้าได้แก่อะไร?
+ข้าวต้ม กบั ข้าวตม้
- นำ้� - เกี่ยมฉ่าย
- ข้าวเปน็ ก้อนๆ - ผักกาดดอง
- ไข่เค็ม
ข้าวต้มในสำ�รับคืออะไรในเชิงศาสตร์ - เตา้ หูย้ ้ี
และศิลปะอาหาร (Gastronomy) - ถวั่ ลสิ งคั่วใส่เกลือเล็กน้อย
การเลอื กวตั ถดุ บิ การจดั การกบั วตั ถดุ บิ - ไชโป๊วยำ�หรือผัดไข่
กระบวนการผลิต (โดยเฉพาะรสนิยมด้าน - ปลาเคม็
รสชาติท่ีมีต่อการปรุงรสท่ีให้ความสำ�คัญท่ี
วตั ถดุ บิ มากกวา่ เครอ่ื งปรงุ รส) ภาษาทบ่ี ง่ บอก ข้าวต้มในสำ�รับคืออะไรในเชิงสังคม
ถึงความอร่อยอย่างผู้สูงอายุกับคนรุ่นใหม่ไม่ วฒั นธรรม
เหมอื นกนั แมแ้ ต่กระบวนการร่วมโตะ๊ อาหาร อาหารจีนแบบดั้งเดิม ซ่ึงรวมถึง
ข้าวตม้ บอกถงึ Cultural Landscape ท่มี ี
เกษตรกรรม กงสี และ การคา้ รอ้ ยรดั ไวด้ ้วย
กนั
“ซาปวั๊ เจก๊ ” หรอื 3 จาน 1 ชาม
หมายถึง กับข้าวกลางวันท่ีมีแกงหน่ึงอย่าง
และกับข้าวอ่นื ๆ อกี 3 อยา่ ง หายไปท้ังอาหาร
ท้ังคนทำ�เพราะธุรกิจที่เปล่ียนรูปแบบไป
จากเดิม