The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jjlovemom678, 2022-10-20 09:09:53

แผนการจัดการเรียนรู้บทที่9เรื่องสมดุลเคมี

E-Book3

แผนการจดั การเรียนรู้
วิชา เคมีเพิ่มเติม 3 (ว30222)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นวงั สามหมอวิทยาคาร

ชื่อ-สกลุ นายสริ วิชญ์ คาตรง
รหัสประจาตวั นกั ศกึ ษา 61100141111

สาขาวชิ า วทิ ยาสาสตร์ (เคม)ี

การฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 1
รหสั วชิ า ED18501 (INTERNSHIP IN SCHOOL 1)

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565



คำนำ

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าเคมีเพ่มิ เตมิ 3 รหัสวิชา ว30222 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เล่มนี้ จัดทาขึ้น
เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และให้นักเรียนบรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู/้ ตวั ชี้วดั ที่กาหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)
ผจู้ ดั ทาจงึ ไดศ้ ึกษาสาระการเรียนรู้พ้ืนฐานให้เข้าใจ จากน้ันนาปัญหาท่ีพบจากประสบการณ์ และความรู้ที่ได้
จากการอบรมสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคนิค วิธีการสอน การวัดผลประเมินผล จิตวิทยาการเรียนรู้
ตลอดจนความรูท้ ไี่ ด้จากการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง มาจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ในครง้ั นี้

แผนการจัดการเรียนร้ใู นเลม่ 3 น้ี ประกอบไปดว้ ย แผนการจดั การเรยี นรู้ บทที่ 9 เร่ือง สมดุลเคมี สื่อ
และนวัตกรรมท่ีใช้ในการเรยี นการสอน เพื่อให้ผู้เรยี นบรรลมุ าตรฐานการเรียนร้ไู ด้เต็มศกั ยภาพอย่างแท้จรงิ

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้สอนเอง รวมทั้งเป็น
ประโยชน์ตอ่ ผ้สู อนในรายวชิ าเดยี วกัน และผู้สอนแทนเปน็ อย่างมาก

สริ วิชญ์ คาตรง
15 ตลุ าคม 2565

สารบญั ข

คานา หน้า
สารบญั ก
บทที่ 9 สมดุลเคมี ข
1
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 17 2
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 18 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 20
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 20 28
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 21 35
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 22 42
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 23 49
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 24 56
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 25 63
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 26 70

แผนการจัดการเรยี นรู้
บทท่ี 9

เรอื่ ง สมดุลเคมี

แผนการจัดการเรียนรู้ 17-26

2

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 17

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
รายวิชา เคมี 3 รหัส ว30222 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5
จานวน 2 ช่วั โมง
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี สมดุลเคมี ผ้สู อน นายสริ วชิ ญ์ คาตรง

เรือ่ ง ภาวะสมดุล

สอนวันท่ี ....... เดือน .......... พ.ศ.2565

1. สาระการเรียนรูแ้ ละผลการเรียนรู้
ผลการเรยี นรู้
ทดสอบ และอธิบายความหมายของปฏกิ ริ ยิ าผนั กลบั ได้และภาวะสมดุล

2. สาระสาคญั
ปฏกิ ิรยิ าเคมที ่ีสามารถดาเนนิ ไปขา้ งหน้าและยอ้ นกลบั ได้เรยี กว่า ปฏกิ ริ ิยาผันกลบั ไดเ้ มือ่ ปฏกิ ิริยาดาเนิน

ไปความเข้มข้นของสารตั้งต้นและอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะลดลงส่วนความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
และอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับจะเพิ่มข้ึน เม่ืออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการ
เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ระบบจะอยู่ในภาวะสมดุลท่ีมีความเข้มข้นของสารต้ังต้นและผลิตภัณฑ์คงท่ีเรียกว่า
สมดลุ พลวตั
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายความหมายของปฏิกิริยาผนั กลบั ไดแ้ ละภาวะสมดลุ ได้(K)
2. ทากจิ กรรมทดสอบปฏิกริ ยิ าผันกลับไดแ้ ละภาวะสมดลุ ได้ (P)
3. มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ งานทไี่ ด้รบั มอบหมายและสามารถทางานรว่ มกับผอู้ นื่ ได้ (A)
4. สาระการเรยี นรู้
1 ปฏกิ ิรยิ าผนั กลับได้
2 ภาวะสมดลุ
5. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ดว้ ยรปู แบบ 5E
ขน้ั ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)

1. ครูยกตัวอยา่ งการเปลีย่ นแปลงของสารที่สังเกตเห็นได้ง่ายเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
เกดิ ขน้ึ คอ่ นขา้ งเร็วและดาเนินไปในทิศทางเดียว เช่น การเผาไหม้น้ามันเช้ือเพลิง การบูดเน่าของอาหาร การ
ระเหิดของนา้ แข็งแหง้ จากนั้นยกตัวอย่างปรากฏการณใ์ นธรรมชาตหิ รอื ในชวี ิตประจา วันทด่ี ูเสมือนว่าไม่มีการ

3

เปลี่ยนแปลงของสารเกดิ ขึน้ เชน่ หินงอกหนิ ย้อยท่พี บเหน็ ในถ้า ระดบั น้า ทบี่ รรจอุ ยใู่ นภาชนะปิด จากนั้นครูใช้
คาถามนาเพ่ือเข้าสบู่ ทเรียนโดยครไู ม่คาดหวงั ในความถูกต้อง ดังนี้

- นักเรียนคิดว่าปรากฏการณ์เหล่าน้ีมีการเปล่ียนแปลงของสารเกิดข้ึนหรือไม่ และ
ปรากฏการณใ์ ดเกดิ การเปล่ยี นแปลง ปรากฏการณ์ใดไม่เกิดการเปลยี่ นแปลง

- เพราะเหตใุ ดจึงไม่สามารถสังเกตเหน็ การเปลย่ี นแปลง
- หากตอ้ งการตรวจสอบวา่ มกี ารเปล่ียนแปลงของสารอยู่หรือไมจ่ ะทาได้อย่างไร
ขัน้ ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)
2. นักเรียนพิจารณาระดับน้าในภาชนะที่เปิดฝา(ระบบเปิด) และระดับน้าในภาชนะท่ีปิดฝา
(ระบบปิด) เมอื่ เวลาผา่ นไปดงั รูป จากนน้ั อธิบายการลดลงของระดับน้าที่อยู่ในภาชนะเปิด แล้วใช้คาถามนาว่า
น้าในภาชนะปิดมีการระเหยเปน็ ไอนา้ หรือไม่ มกี ระบวนการใดที่ทาให้น้าในภาชนะท่ีปิดฝามีระดับคงท่ี โดยครู
ยังไมเ่ ฉลยคาตอบ เพ่อื นาเขา้ สูก่ จิ กรรม 9.1 การเปล่ียนแปลงทผ่ี ันกลบั ได้

(ก) ภาชนะท่ีเปิดฝา (ข) ภาชนะทปี่ ดิ ฝา

3. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งสมาชิกรับอุปกรณ์ท่ีใช้ในการทากิจกรรม กลุ่มละ 1 ชุด ประกอบด้วย

ลูกอมจานวน 40 เม็ด กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเมจิก ใบกิจกรรม 9.1 การเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับได้ และใบ

รายงานผลการทากิจกรรม

4. นักเรียนลงมือทากิจกรรม 9.1 การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ พร้อมทั้งบันทึกผลลงกระดาษ

ปรู๊ฟตามแบบทนี่ ักเรียนออกแบบตกแต่งให้สวยงาม โดยครูช้ีแจงว่าให้นักเรียนทากิจกรรมตอนที่ 1 พร้อมกัน

เพื่อให้มีความเข้าใจตรงกันก่อน จากนั้นจึงทากิจกรรมตอนท่ี 2 โดยให้นักเรียนแข่งขันกันเติมข้อมูลลงใน

กระดาษปรฟู๊ และตอบคาถามท้ายกจิ กรรมลงในใบรายงานผลการทากิจกรรม

ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)

5. สุ่มนักเรียนมา 3-4 กลุ่ม ให้ออกมานาเสนอเร่ืองท่ีได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลและผลงานการจัดทา

ข้อมลู ของกลุ่มตนเองหนา้ ชัน้ เรียนทลี ะกลุ่มเพอื่ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ กนั จนครบทุกกลุ่ม

6. นักเรียนและครรู ่วมกันอภปิ รายลงขอ้ สรปุ เก่ียวกับการทากจิ กรรม พร้อมท้ังครูอธิบายเพ่ิมเติม

ในส่วนที่ยังไมค่ รอบคลมุ เนือ้ หา โดยใช้แนวคาถามดงั ตอ่ ไปนี้

4

- แนวโน้มจานวนลูกอมท่ียา้ ยจากกลมุ่ A ไป B และจาก B ไป A มีแนวโน้มอย่างไร (แนวคาตอบ
คอื จานวนลกู อมทย่ี า้ ยจากกลุ่ม A ไป B มแี นวโน้มลดลงแล้วคงท่ี ในขณะท่ีจานวนลูกอมที่ย้ายจากกลุ่ม B ไป
A มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ แลว้ คงท่)ี

- จานวนลูกอมท่ีย้ายระหว่าง 2 กลุ่ม มีจานวนเท่ากันในการย้ายครั้งท่ีเท่าไร (แนวคาตอบ คือ
ครัง้ ท่ี 4)

- หากให้จานวนลูกอมในกลุ่มA และกลุ่มB เป็นปริมาณสารA และสารB และให้จานวนลูกอมที่
ยา้ ยจากแต่ละกลุ่มในแต่ละคร้ังเป็นอัตราการเปล่ียนแปลงไปข้างหน้าจากสาร A ไปเป็นสาร B และอัตราการ
เปล่ียนแปลงยอ้ นกลับจากสาร B ไปเป็นสาร A อาจสรุปได้ว่าปริมาณของสาร A และสาร B คงท่ีเม่ือใด (แนว
คาตอบ คือ ปริมาณของสาร A และสาร B คงที่เมื่ออัตราการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการ
เปลี่ยนแปลงยอ้ นกลบั เรียกสภาวะนี้ว่า สภาวะสมดลุ (equilibrium state) )

ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
7. นักเรียนรับความรู้เพิ่มเติมจากครูว่า สภาวะสมดุลที่เกิดข้ึนในกิจกรรม 9.1 สารยังมีการ

เปลีย่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา โดยมอี ตั ราการเปลยี่ นแปลงไปข้างหน้าเทา่ กับอตั ราการเปลีย่ นแปลงย้อนกลับจึงทา
ให้ปรมิ าณสารแตล่ ะชนดิ คงท่ี สมดุลลักษณะนเ้ี รียกวา่ สมดลุ พลวัต (dynamic equilibrium) หรืออาจเรียกสั้น
ๆ วา่ สมดุล (equilibrium)

ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
8. นักเรยี นตอบคาถามเดิมในข้ันท่ี 2 น้าในภาชนะปดิ มีการระเหยเป็นไอนา้ หรือไม่

มีกระบวนการใดที่ทาให้น้าในภาชนะที่ปิดฝามีระดับคงท่ี (แนวคาตอบ คือ น้าในภาชนะปิดเม่ือระเหย
กลายเปน็ น้าแตไ่ มส่ ามารถออกจากภาชนะได้ จึงมีปริมาณของไอนา้ เพ่มิ ข้นึ ทาให้อัตราควบแน่นเพ่ิมขึ้นด้วย ดัง
รปู เมื่อปรมิ าณไอน้าเพมิ่ ข้นึ จนกระท่งั อตั ราการควบแนน่ ของไอนา้ เท่ากับอตั ราการระเหยของน้า ระบบจะเข้า
สสู่ มดุล ทาใหร้ ะดับนา้ ในแก้วคงท)ี่

9. นักเรยี นสรปุ สิง่ ท่ีไดเ้ รียนรู้ เก่ยี วกับสภาวะสมดลุ ลงในสมุด
10. ตรวจการตอบคาถามในใบรายงานผลการทากจิ กรรม

5

6. ส่ือการเรียนการสอน/แหล่งเรยี นรู้
1. ลูกอมจานวน 40 เม็ดตอ่ กลมุ่
2. กระดาษปรู๊ฟ และปากกาเมจิก
3. ใบกจิ กรรม 9.1 การเปลย่ี นแปลงที่ผันกลบั ได้
4. ใบรายงานผลการทากจิ กรรม
5. หนังสอื เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ เคมี เลม่ 3 สสวท. (ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน

พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

7. การวดั และการประเมนิ ผล

จุดประสงค์ วิธวี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K)

1. นักเรียนสามารถ - การตอบคาถาม - แบบประเมินการ ไดค้ ะแนนร้อยละ
อ ธิ บ า ย ค ว า ม ห ม า ย
ของปฏิกิริยาผันกลับ ตอบคาถาม 70 ข้นึ ไป

ได้และภาวะสมดุลได้

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

2. นักเรียนสามารถทา - ตรวจ ใบกิจกรรมที่ แบบสังเกตการทดลอง -ได้คะแนนในระดับ 3

กิ จ ก ร ร ม ท ด ส อ บ 8.1 เรอ่ื ง การทดลอง (ดี) ขน้ึ ไป

ปฏิกิริยาผันกลับได้ ศกึ ษาการเกดิ แก๊ส

และภาวะสมดุลได้ ไฮโดรเจนจาก

ปฏิกิรยิ าระหว่างโลหะ
แมกนีเซยี มกบั กรด

ไฮโดรคลอรกิ

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)

4. มีความรับผิดชอบ -การสังเกต - แบบประเมิน - ได้คะแนนในระดับ

ต่ อ ง า น ที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง 3 (ด)ี ขึน้ ไป

หมายและสามารถ ประสงค์

ทางานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้

6

7

8

แบบประเมินพฤตกิ รรมการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณ์อันพงึ ประสงค์

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพ่มิ เติม 3 (ว3022) โรงเรียนวังสามหมอวทิ ยาคาร

คาชแ้ี จง ใหค้ รผู ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรยี นตามรายการทก่ี าหนด แล้วเขยี นเคร่อื งหมาย ✓ ลงในช่องที่

ตรงกบั พฤตกิ รรมนกั เรียนเป็นรายบคุ คล

ดา้ นความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

เลขท่ี คะแนนเต็ม ผลการประเมิน คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมิน

3 ผา่ น ไม่ผา่ น 3 ผา่ น ไมผ่ า่ น 3 ผ่าน ไมผ่ ่าน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

9

ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

เลขที่ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเต็ม ผลการประเมิน คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ

3 ผ่าน ไม่ผา่ น 3 ผ่าน ไมผ่ า่ น 3 ผ่าน ไม่ผา่ น

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

ดา้ นความรู้ ตารางสรุปผลการประเมนิ
ผ่าน (คน) ไม่ผา่ น (คน)
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ผา่ น (คน) ไม่ผ่าน (คน) ผ่าน (คน) ไมผ่ ่าน (คน)

รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

ลงชือ่ …………………….…………….ผสู้ อน
(นายสิรวชิ ญ์ คาตรง)

วนั ท่ี………..เดอื น.….....………พ.ศ……….....

10

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 18

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
รายวชิ า เคมี 3 รหสั ว30222 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5
จานวน 2 ชัว่ โมง
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี สมดุลเคมี ผู้สอน นายสิรวิชญ์ คาตรง

เรือ่ ง การเปล่ยี นแปลงท่ผี ันกลับได้

สอนวันที่ ....... เดือน .......... พ.ศ.2565

1. สาระการเรียนร้แู ละผลการเรียนรู้
ผลการเรยี นรู้
ทดสอบ และอธบิ ายความหมายของปฏิกริ ยิ าผนั กลบั ไดแ้ ละภาวะสมดลุ

2. สาระสาคญั
ปฏิกิริยาเคมีทีส่ ามารถดาเนินไปข้างหน้าและย้อนกลบั ได้เรียกว่า ปฏกิ ริ ยิ าผันกลบั ได้เม่ือปฏกิ ริ ิยาดาเนิน

ไปความเข้มข้นของสารต้ังต้นและอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะลดลงส่วนความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
และอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับจะเพิ่มข้ึน เม่ืออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการ
เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ระบบจะอยู่ในภาวะสมดุลท่ีมีความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์คงที่เรียกว่า
สมดลุ พลวตั
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธิบายความหมายของปฏิกิรยิ าผนั กลับได้(K)
2. นักเรียนสามารถทาการทดลองเร่ือง การทดสอบปฏิกิริยาของไอร์ออน (III)ไอออน (Fe3+) และไอร์
ออน (II)ไอออน (Fe2+) ได(้ P)
3. มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและสามารถทางานรว่ มกับผู้อน่ื ได้ (A)
4. สาระการเรียนรู้
1 ปฏกิ ริ ยิ าผันกลบั ได้
5. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
การจดั กจิ กรรมการเรียนรูด้ ้วยรูปแบบ 5E
ขนั้ ที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement)

1. นักเรียนชมภาพที่ครูนามาให้ดูเก่ียวกับน้าท่ีบรรจุอยู่ในภาชนะปิด แล้วใช้คาถามนาโดยครูไม่
คาดหวังในคาตอบวา่ “น้าที่บรรจุอยใู่ นภาชนะปิดน้ี อยู่ในสภาวะสมดุลหรือยงั นกั เรียนทราบไดอ้ ย่างไร”

11

2. ภาพทคี่ รูนามาใหด้ ูเป็นการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ จากน้ันใช้คาถามนาว่า ปฏิกิริยาเคมีเป็น
การเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับได้หรือไม่ เพ่ือนาเข้าสู่กิจกรรม 9.2 การทดสอบปฏิกิริยาของไอร์ออน (III)ไอออน
(Fe3+) และ ไอร์ออน(II)ไอออน(Fe2+)

ข้นั ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 - 4 คน คละตามความสามารถของผู้เรียน เพื่อทาการทดสอบ

ปฏกิ ริ ิยาของไอร์ออน(III)ไอออน(Fe3+) และไอร์ออน(II)ไอออน(Fe2+)
4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งสมาชกิ คนที่ 1 รับอุปกรณก์ ารทดลอง กล่มุ ละ 1 ชดุ ประกอบดว้ ย

สารละลายไอร์ออน(III)ไนเทรต (Fe(NO3)3) 0.05 mol/L, สารละลายแอมโมเนียมไอรอ์ อน(II)ซลั เฟต
((NH4)2Fe(SO4)2) 0.05 mol/L, สารละลายโพแทสเซยี มไอโอไดด์ (KI) 0.05 mol/L, สารละลายไอโอดนี ในเอทา
นอล (I2) 1%, สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์(NaOH) 0.1 mol/L, สารละลายโพแทสเซียมเฮกซะไซยาโนเฟอเรต
(III)(K3Fe(CN)6)0.1mol/Lสารละลายซิลเวอร์ไนเทรต(AgNO3)0.1mol/L นา้ แป้งสกุ 1% หลอดทดลองขนาดเลก็
จานหลุมพลาสติก หลอดหยด ไมจ้ ้มิ ฟัน และใบรายงานผลการทดลอง

5. นักเรียนทกุ กล่มุ ลงมือปฏิบตั กิ ารทดลองตามข้นั ตอนการทดลองในหนังสือหน้า 100 การทดสอบ
ปฏิกิรยิ าของไอรอ์ อน(III)ไอออน(Fe3+) และไอร์ออน(II)ไอออน(Fe2+)

ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
6. สุม่ นักเรยี นมา 3-4 กลมุ่ ใหอ้ อกมานาเสนอเร่ืองท่ีได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลและผลงานการจัดทา

ข้อมูลของกลุ่มตนเองหน้าชนั้ เรยี นทีละกลุ่มเพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันจนครบทุกกล่มุ
7. นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภปิ รายลงข้อสรุปเกย่ี วกบั การทากจิ กรรม พร้อมท้ังครูอธิบายเพิ่มเติม

ในส่วนท่ียังไม่ครอบคลุมเนื้อหา โดยได้ข้อสรุปดังนี้ “Fe3+ ทาปฏิกิริยากับ I- ได้ผลิตภัณฑ์เป็น Fe2+ และ I2
ส่วน Fe2+ ทาปฏิกิริยากับ I2 ได้ผลิตภัณฑ์เป็น Fe3+ และ I- แสดงว่าปฏิกิริยาท้ังสองมีความสัมพันธ์กัน
โดยสารต้ังต้นของปฏิกิริยาหน่ึงจะเป็นผลิตภัณฑ์ของอีกปฏิกิริยาหนึ่ง ดังน้ันปฏิกิริยาดังกล่าวน่าจะมีสมดุล
เกดิ ข้นึ ”

12

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
8. นักเรียนรับความรู้เพิ่มเติมจากครูว่า “ปฏิกิริยาเคมีบางชนิด สารตั้งต้นสามารถเกิดปฏิกิริยา

เคมีเปล่ยี นเป็นผลติ ภณั ฑ์ เรยี กปฏิกิรยิ าน้วี ่า ปฏกิ ริ ิยาไปข้างหน้า (forward reaction) และผลิตภัณฑ์สามารถ
เกิดปฏิกิริยาเคมีเปล่ียนกลับไปเป็นสารต้ังต้น เรียกปฏิกิริยาน้ีว่า ปฏิกิริยาไปย้อนกลับ (reverse reaction)
ปฏกิ ริ ิยาเคมีท่ีมีท้ังปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับ เรียกว่า ปฏิกิริยาผันกลับได้ (reversible reaction) ซ่ึง
เขยี นแสดงดว้ ยลกู ศร

9. นกั เรียนและครูร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกับปฏิกิรยิ าผนั กลบั ไดด้ าเนินไปในระบบปิด จนกระท่ังได้
ข้อสรปุ ดงั นี้ “ปฏกิ ริ ยิ าผนั กลบั ไดด้ าเนนิ ไปในระบบปิด เมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการ
เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ซ่ึงความเข้มข้นของสารไม่เปล่ียนแปลงตามเวลา ระบบจะเข้าสู่สมดุลท่ีเรียกว่า สมดุล
เคมี (chemical equilibrium) ซ่ึงเป็นสมดุลพลวตั ”

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
10. นกั เรยี นสรปุ สง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรู้ เกีย่ วกับปฏกิ ิรยิ าผนั กลบั ไดล้ งในสมุด
11. นักเรยี ตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ หน้า 103

6. ส่อื การเรียนการสอน/แหล่งเรยี นรู้
1.ใบรายงานผลการทดลอง เรื่อง การ ทดสอ บปฏิกิริยาขอ งไอ ร์ออ น(III)ไออ อน( Fe3+)

และไอร์ออน(II)ไอออน(Fe2+)

2. หนังสือเรียนรายวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ พิม่ เตมิ เคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้
พื้นฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

13

7. การวัดและการประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์ วธิ วี ัด เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน

ดา้ นความรู้ (K)

1. นักเรียนสามารถ - การตอบคาถาม - แบบประเมินการ ได้คะแนนรอ้ ยละ 70

อ ธิ บ า ย ค ว า ม ห ม า ย ตอบคาถาม ขน้ึ ไป

ของปฏิกิริยาผันกลับ

ได้

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

2. นักเรียนสามารถทา - ตรวจ ใบกจิ กรรมท่ี แบบสงั เกตการทดลอง -ได้คะแนนในระดับ 3

การทดลองเร่ือง การ 8.1 เร่ือง การทดลอง (ด)ี ข้ึนไป

ทดสอบปฏิกิริยาของ ศกึ ษาการเกิดแกส๊

ไอร์ออน (III)ไอออน ไฮโดรเจนจาก

(Fe3+) และไอร์ออน ปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งโลหะ

(II)ไอออน (Fe2+) แมกนีเซยี มกบั กรด

ไฮโดรคลอริก

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)

4. มีความรับผิดชอบ -การสังเกต - แบบประเมิน - ได้คะแนนในระดับ

ต่ อ ง า น ที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง 3 (ด)ี ข้นึ ไป

หมายและสามารถ ประสงค์

ทางานร่วมกับผู้อื่นได้

14

ชอ่ื ผรู้ ายงาน...........................................................................................เลขที่............................
ช่ือผรู้ ว่ มรายงาน 1..................................................................................... เลขท่ี.......................
ช่อื ผรู้ ่วมรายงาน 2..................................................................................... เลขท่ี.......................
ชอื่ ผู้ร่วมรายงาน 3..................................................................................... เลขที่.......................

จุดประสงคก์ ารทดลอง.................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
แผนภาพแสดงลาดับการทดลอง

15

ผลการทดลอง

การเปลยี่ นแปลงที่สังเกตได้

แถวท่ี คอลัมน์ A คอลมั น์ B คอลัมน์ C คอลัมน์ D
(มีน้าแปง้ สดุ
(มี NaOH สาหรับ (มี K3Fe(CN)6 สาหรับ (มี AgNO3 สาหรบั ทดสอบ I2)
ทดสอบ Fe3+) ทดสอบ Fe2+) สาหรับทดสอบ

1 I-)

เมื่อหยด Fe(NO3)3 เมื่อหยด (NH4)2Fe(SO4)2 เมอ่ื หยด KI เมื่อหยด I2

2

เม่ือหยด Fe(NO3)3 + KI

3

เม่อื หยด (NH4)2Fe(SO4)2 + I2

สรุปและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................

16

17

18

แบบประเมินพฤตกิ รรมการเรียนรู้

ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และดา้ นคุณลักษณ์อันพึงประสงค์

รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ 3 (ว3022) โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร

คาชีแ้ จง ให้ครูผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นตามรายการทกี่ าหนด แล้วเขยี นเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งท่ี

ตรงกับพฤติกรรมนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เลขท่ี คะแนนเตม็ ผลการประเมิน คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ

3 ผ่าน ไม่ผ่าน 3 ผา่ น ไมผ่ า่ น 3 ผา่ น ไมผ่ ่าน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

19

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

เลขที่ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมิน

3 ผ่าน ไม่ผา่ น 3 ผา่ น ไม่ผ่าน 3 ผา่ น ไมผ่ ่าน

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

ดา้ นความรู้ ตารางสรปุ ผลการประเมิน
ผ่าน (คน) ไม่ผ่าน (คน)
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ผ่าน (คน) ไม่ผา่ น (คน) ผ่าน (คน) ไม่ผ่าน (คน)

รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

ลงชื่อ…………………….…………….ผูส้ อน
(นายสิรวิชญ์ คาตรง)

วนั ที่………..เดอื น.….....………พ.ศ……….....

20

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 19

กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
รายวิชา เคมี 3 รหัส ว30222 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5
จานวน 2 ชั่วโมง
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี สมดลุ เคมี ผ้สู อน นายสริ วิชญ์ คาตรง

เรอ่ื ง ความเข้มขน้ ของสารเมื่อระบบเขา้ สสู่ มดุล

สอนวันท่ี ....... เดือน .......... พ.ศ.2565

1. สาระการเรยี นร้แู ละผลการเรียนรู้
ผลการเรยี นรู้
อธิบายการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และอัตราการ

เกดิ ปฏกิ ริ ยิ ายอ้ นกลบั เมื่อเริม่ ปฏิกริ ิยาจนกระท่ังระบบอยู่ในภาวะสมดุล
2. สาระสาคัญ

ปฏิกริ ยิ าเคมีท่สี ามารถดาเนินไปขา้ งหนา้ และย้อนกลับได้เรียกวา่ ปฏิกริ ยิ าผันกลับได้เม่อื ปฏิกริ ิยาดาเนิน
ไปความเข้มข้นของสารตั้งต้นและอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะลดลงส่วนความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
และอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับจะเพิ่มขึ้น เม่ืออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการ
เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ระบบจะอยู่ในภาวะสมดุลท่ีมีความเข้มข้นของสารต้ังต้นและผลิตภัณฑ์คงที่เรียกว่า
สมดลุ พลวัต
3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และอัตราการ
เกิดปฏกิ ริ ยิ าย้อนกลบั เมื่อเร่มิ ปฏิกิริยาจนกระท่งั ระบบอยูใ่ นสมดุลได้(K)

2. นักเรียนสามารถทากิจกรรมเรื่อง ความเข้มข้นของสารเมื่อระบบเข้าสู่สมดุล และเขียนกราฟแสดง
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความเข้มขน้ ของสารตง้ั ต้นและผลิตภัณฑต์ ่อเวลาได(้ P)

3. มคี วามรบั ผิดชอบต่องานทไี่ ด้รับมอบหมายและสามารถทางานร่วมกับผูอ้ ื่นได้ (A)
4. สาระการเรยี นรู้

1 ปฏิกริ ยิ าผนั กลับได้
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้วยรูปแบบ 5E
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement)

1.นกั เรยี นทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกบั สภาวะสมดุล โดยใช้คาถามดังนี้

21

- สารทีย่ ังมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยมีอัตราการเปล่ียนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตรา
เปลี่ยนแปลงยอ้ นกลบั จงึ ทาใหป้ ริมาณสารแตล่ ะชนดิ คงท่ี สมดุลนเ้ี รยี กว่าอะไร (แนวคาตอบ คอื สมดุลพลวัต)

- การเขา้ สู่สมดลุ ของน้าและไอน้า เม่ือระบบอยู่ในระบบสมดุลแล้ว ระดับน้าในระบบปิดจะคงที่
หรอื ไม่ อยา่ งไร และระบบน้ีเป็นสมดุลพลวัตหรือไม่ (แนวคาตอบ คือ คงที่ เน่ืองจากระบบได้เข้าสู่สมดุลแล้ว
เป็นสมดลุ พลวตั )

ขัน้ ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
2. นักเรียนตอบคาถามนาโดยไม่คาดหวังคาตอบว่า “ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์

เมื่อเริ่มปฏิกิริยาจนกระท่ังระบบอยู่ในสมดุลเป็นอย่างไร” จากนั้นครูสรุปว่า ความเข้มข้นของสารต้ังต้นและ
ผลิตภัณฑ์เมื่อเร่ิมปฏิกิริยาจนกระท่ังระบบอยู่ในสมดุลมีความสัมพันธ์กันอย่างไร นักเรียนจะได้ศึกษาใน
กิจกรรมตอ่ ไปน้ี

3. นักเรยี นทกุ คนลงมือปฏิบัตกิ จิ กรรม 9.3 หน้า 104 ความเข้มข้นของสารเมื่อระบบเข้าสู่สมดุล
จากน้ันบันทึกผลลงในกระดาษกราฟทค่ี รูแจกให้

ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
4. นักเรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายลงขอ้ สรปุ เกยี่ วกับการทากจิ กรรม พร้อมทั้งครูอธิบายเพิ่มเติม

ในส่วนท่ียังไมค่ รอบคลุมเนือ้ หา โดยใช้คาถามทา้ ยกจิ กรรม ดังน้ี
- ปฏิกิริยาเคมีน้ีเป็นปฏิกิริยาผันกลับได้หรือไม่ ทราบได้อย่างไร และสมการของ

ปฏิกิริยาที่เกิดข้ึนเป็นอย่างไร (แนวคาตอบ คือ ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาผันกลับได้ เน่ืองจาก X2 ทาปฏิกิริยา
เคมกี ับ Y2 ได้ X3Y ขณะเดยี วกนั X3Y สามารถเกดิ เป็น X2 และ Y2 ได้ เขียนสมการเคมีได้ดงั นี้

3X2 + Y2 2X3Y หรอื 2X3Y 3X2 + Y2 )
- ระบบเริ่มเข้าสู่สมดลที่เวลาใด (แนวคาตอบ คือ ระบบท้ังสองเข้าสู่สมดุล ณ เวลา
ช่วั โมงที่ 6 และ 5 ช่วั โมงในระบบที่ 1 และ 2 ตามลาดับ)
- เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลแล้ว ความเข้มข้นชองสารต้ังต้นและผลิตภัณฑ์เป็นอย่างไร
(แนวคาตอบ คือ ความเข้มขน้ ของสารต้ังต้นและผลติ ภณั ฑ์เรมิ่ คงทเี่ มอ่ื ระบบเขา้ สูส่ มดลุ )
5. นกั เรียนรบั ความรู้เพ่ิมเติมจนได้ข้อสรุปดังน้ี “ปฏิกิริยาผันกลับได้ในระบบปิด เมื่อเริ่มปฏิกิริยา
สารต้ังต้นเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าความเข้มข้นของสารต้ังต้นลดลง ในขณะเดียวกันความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
เพิม่ ขึ้นจนกระทง่ั ความเขม้ ขน้ ของสารตั้งตน้ และผลิตภัณฑเ์ ริ่มคงที่ แสดงวา่ ระบบเขา้ สู่สมดุลแล้ว”
ขนั้ ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)

6. นักเรียนศึกษาตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีระหว่างแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) และแก๊สได
ไนโตรเจนเตตรอกไซด์(N2O4) แล้วนา อภิปรายโดยใช้คาถามว่าถ้าเร่ิมต้นปฏิกิริยาโดยใช้ NO2 หรือ N2O4 หรือ
สารทง้ั สองชนดิ ระบบใดสามารถเขา้ สูส่ มดลุ ได้ พร้อมท้ังให้นักเรียนพิจารณารูป 9.3เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าปฏิกิริยา

22

ผนั กลบั ได้ใด ๆ ในระบบปิด ไม่ว่าจะเรมิ่ ตน้ ดว้ ยสารใด ก็สามารถเข้าสู่ไปข้างหน้าและย้อนกลับ เรียกว่า ปฏิกิริยา
ผนั กลบั ได้ (reversible reaction) ซ่งึ เขียนแสดงดว้ ยลูกศรสมดลุ ได้

7. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราการ
เกิดปฏิกิริยาย้อนกลบั ตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้ ปฏกิ ิรยิ าจนเขา้ สสู่ มดุล โดยใชร้ ูป 9.4 ประกอบการอธบิ าย

ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
8. นกั เรยี นสรุปสงิ่ ที่ไดเ้ รยี นรู้ เกย่ี วกับความเขม้ ขน้ ของสารเมือ่ ระบบเข้าสสู่ มดลุ ลงในสมุด
9. นกั เรียนตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ หน้า 107 ลงในสมดุ
10. นกั เรยี นทาแบบฝึกหัด 9.1 เพ่ือทบทวนความรลู้ งในสมุด

6. ส่ือการเรียนการสอน/แหล่งเรยี นรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน

พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

23

7. การวดั และการประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์ วิธีวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ (K)

1.นักเรียนสามารถอธิบาย - การตอบ - แบบประเมนิ การ ได้คะแนนรอ้ ยละ 70

การ เปล่ียน แปลง คว าม คาถาม ตอบคาถาม ข้ึนไป

เข้มข้นของสารอัตราการ

เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าไปข้างหนา้ และ

อัตร าก าร เกิด ปฏิกิริ ย า

ย้อนกลับ เมื่อเริ่มปฏิกิริยา

จนกระทั่งระบบอยใู่ นสมดลุ

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) แบบสังเกตการทดลอง -ได้คะแนนในระดับ 3
2. นักเรียนสามารถทา -การทาการ (ด)ี ขึ้นไป
กิจกรรมเรื่องความเข้มข้น ทดลอง
ข อ ง ส า ร เ มื่ อ ร ะ บ บ เ ข้ า สู่ - แบบประเมิน - ได้คะแนนในระดับ
สมดุลและเขียนกราฟแสดง คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง 3 (ดี) ขึน้ ไป
ความสัมพันธ์ระหว่างความ ประสงค์
เข้มข้นของสารต้ังต้นและ
ผลติ ภัณฑ์ตอ่ เวลาได้
ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
4. มีความรับผิดชอบต่อ -การสังเกต
งานทไี่ ด้รับมอบหมายและ
ส า ม า ร ถ ท า ง า น ร่ ว ม กั บ
ผู้อื่นได้

24

25

26

แบบประเมินพฤตกิ รรมการเรียนรู้

ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และดา้ นคุณลักษณ์อันพงึ ประสงค์

รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ 3 (ว3022) โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร

คาชีแ้ จง ให้ครูผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นตามรายการทกี่ าหนด แล้วเขยี นเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งท่ี

ตรงกับพฤติกรรมนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

เลขท่ี คะแนนเตม็ ผลการประเมิน คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ

3 ผ่าน ไม่ผ่าน 3 ผา่ น ไมผ่ า่ น 3 ผ่าน ไมผ่ ่าน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

27

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

เลขที่ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมิน

3 ผ่าน ไม่ผา่ น 3 ผา่ น ไม่ผ่าน 3 ผา่ น ไมผ่ ่าน

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

ดา้ นความรู้ ตารางสรปุ ผลการประเมิน
ผ่าน (คน) ไม่ผ่าน (คน)
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ผ่าน (คน) ไม่ผา่ น (คน) ผ่าน (คน) ไม่ผ่าน (คน)

รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

ลงชื่อ…………………….…………….ผูส้ อน
(นายสิรวิชญ์ คาตรง)

วนั ที่………..เดอื น.….....………พ.ศ……….....

28

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 20

กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
รายวิชา เคมี 3 รหัส ว30222 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5
จานวน 2 ชัว่ โมง
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ สมดลุ เคมี ผูส้ อน นายสิรวชิ ญ์ คาตรง

เรื่อง ค่าคงทีส่ มดลุ

สอนวนั ท่ี ....... เดือน .......... พ.ศ.2565

1. สาระการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรู้
ผลการเรียนรู้
คานวณคา่ คงทสี่ มดลุ ของปฏกิ ิรยิ า

2. สาระสาคัญ
ณ ภาวะสมดุล ความสมั พันธร์ ะหว่างความเข้มขน้ ของผลติ ภณั ฑก์ ับสารตั้งตน้ แสดงได้ด้วยค่าคงที่สมดุล

ซึ่งเป็นคา่ คงท่ี ณ อณุ หภมู หิ นง่ึ
3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายความหมายของคา่ คงทสี่ มดุลเคมไี ด้(K)
2. สรา้ งแผนภาพแสดงความสมั พนั ธ์ของคา่ คงทส่ี มดุลจากสมการเคมีได(้ P)
3. มคี วามรับผิดชอบตอ่ งานที่ไดร้ บั มอบหมายและสามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ืน่ ได้ (A)
4. สาระการเรียนรู้
1 ค่าคงทส่ี มดุล
5. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
การจัดกจิ กรรมการเรียนรดู้ ว้ ยรปู แบบ 5E
ข้ันที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)

1. นักเรียนตอบคาถามท่ีครูมอบให้ว่า “จากท่ีเราศึกษามาแล้วว่าปฏิกิริยามีท้ังแบบไปข้างหน้า
ปฏิกิริยาย้อนกลับ และปฏิกิริยาผันกลับได้ แล้วเราสามารถคานวณหาค่าคงท่ีท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ใน
ปฏกิ ริ ยิ าไดอ้ ยา่ งไร (แนวคาตอบ คือ ข้ึนอยู่กับผู้เรียน จากน้ันครูสรุปว่า เราจะได้ศึกษาจากบทเรียนในชั่วโมง
น้)ี ”

ข้ันท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
2. นักเรียนพิจารณาความเข้มข้นของสารท่ีเร่ิมต้นและท่ีสมดุลของปฏิกิริยาเคมีระหว่างแก๊ส

ไฮโดรเจนกับแกส๊ ไอโอดนี ที่ 485 องศาเซลเซยี ส ในตาราง 9.1 แล้วใช้คาถามว่า “อัตราส่วนความเข้มข้นของ
ผลิตภัณฑ์ต่อความเข้มข้นของสารต้ังต้นท้ังสองรูปแบบ และผลลัพธ์ท่ีได้แตกต่างกันอย่างไร ”

29

ซ่ึ ง ค ว ร ไ ด้ ค า ต อ บ ว่ า แ ต ก ต่ า ง กั น ที่ [ HI] ย ก ก า ลั ง ส อ ง แ ล ะ ผ ล ลั พ ธ์ ข อ ง อั ต ร า ส่ ว น

[HI]2 ที่สมดุลมีค่าคงท่ี จากน้ันครูอธิบายเกี่ยวกับค่าคงท่ีสมดุลตามรายละเอียดในหนัง สือเรียน แล้วให้
[H2] [I2]
นกั เรยี นตอบคาถามชวนคิดหนา้ 111

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)

3. นักเรยี นและครูรว่ มอภิปรายโดยครูใช้คาถามว่า “จากตาราง 9.1 ตัวเลขยกกาลังของความเข้ม

ของสารตง้ั ตน้ และผลิตภัณฑ์ สอดคล้องกับตัวเลขใดในสมการเคมี (แนวคาตอบ คือ ตัวเลขยกกาลังของความ

เขม้ ข้นของสารตั้งตน้ และผลิตภัณฑ์เป็นเลขสัมประสทิ ธ์ขิ องสารนนั้ )”

4. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลงข้อสรุปเก่ียวกับค่าคงที่สมดุล จนได้ข้อสรุปดังน้ี “สาหรับ

ปฏกิ ิรยิ าเคมีทว่ั ไป ถา้ สาร A ทาปฏิกริ ยิ าเคมกี ับสาร B ไดส้ าร C และสาร D ดงั สมการเคมี

aA + bB cC + dD

เมื่อ a b c และ d เลขสัมประสทิ ธ์ิ ดงั นั้นคา่ คงท่ีสมดุลของปฏิกิริยาเคมขี า้ งตน้ เขียนแสดงใน

รูปอตั ราส่วนความเข้มขน้ ของสารในปฏกิ ิริยาเคมี โดยเป็นความเขม้ ข้นท่สี มดุล ไดด้ ังน้ี

K = [C]c [D]d ”
[A]a [B]b

5. ครแู สดงสมการเคมีและคา่ คงทส่ี มดลุ ของปฏิกิริยาเคมีทั่วไป จากนั้นครูแสดงการเขียนค่าคงที่
สมดุลตามตัวอยา่ ง 1 จากน้นั อธบิ ายว่าสาหรับสารทคี่ วามเขม้ ขน้ ไม่เปล่ียนแปลง เช่น ของแข็งของเหลว สารที่
เป็นตวั ทาละลาย จะไมน่ ามาใชใ้ นการคานวณค่าคงทส่ี มดุล โดยยกตวั อยา่ ง 2 และ 3 ประกอบการอธิบาย

ข้ันที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
6. นักเรียนรับความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับการใช้ค่าคงท่ีสมดุลเปรียบเทียบปริมาณสารต้ังต้นกับ

ผลติ ภัณฑ์ที่สมดลุ จากนนั้ ยกตัวอยา่ งค่าคงทส่ี มดุลของปฏกิ ริ ิยาเคมีต่าง ๆ ดังตาราง 9.2
ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
7. นักเรยี นสรปุ ส่ิงท่ไี ดเ้ รียนรู้ เกย่ี วกับค่าคงท่สี มดลุ งในสมดุ
8. นักเรยี นตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจและคาถามชวนคดิ หน้า 113 และ114 ลงในสมดุ

6. สอ่ื การเรียนการสอน/แหลง่ เรยี นรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

30

7. การวัดและการประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์ วิธวี ดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน

ด้านความรู้ (K)

1.นั ก เ รี ย น อ ธิ บ า ย - การตอบคาถาม - แบบประเมนิ การ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70

ความหมายของค่าคงท่ี ตอบคาถาม ขึ้นไป

สมดลุ เคมไี ด้

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) แบบสังเกตการทดลอง -ได้คะแนนในระดับ 3
2. นักเรียนสามารถ -การทาการทดลอง (ดี) ขึน้ ไป
สร้างแผนภาพแสดง
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง - แบบประเมิน - ได้คะแนนในระดับ
ค่ า ค ง ที่ ส ม ดุ ล จ า ก คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง 3 (ด)ี ข้นึ ไป
สมการเคมีได้ ประสงค์
ดา้ นคุณลักษณะ (A)
4. นักเรียนมีความ -การสังเกต
รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ง า น ท่ี
ได้รับมอบหมายและ
สามารถทางานร่วมกับ
ผู้อื่นได้

31

32

33

แบบประเมินพฤตกิ รรมการเรียนรู้

ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และดา้ นคุณลักษณ์อันพึงประสงค์

รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ 3 (ว3022) โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร

คาชีแ้ จง ให้ครูผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นตามรายการทกี่ าหนด แล้วเขยี นเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งท่ี

ตรงกับพฤติกรรมนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เลขท่ี คะแนนเตม็ ผลการประเมิน คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ

3 ผ่าน ไม่ผ่าน 3 ผา่ น ไมผ่ า่ น 3 ผา่ น ไมผ่ ่าน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

34

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

เลขที่ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมิน

3 ผ่าน ไม่ผา่ น 3 ผา่ น ไม่ผ่าน 3 ผา่ น ไมผ่ ่าน

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

ดา้ นความรู้ ตารางสรปุ ผลการประเมิน
ผ่าน (คน) ไม่ผ่าน (คน)
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ผ่าน (คน) ไม่ผา่ น (คน) ผ่าน (คน) ไม่ผ่าน (คน)

รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

ลงชื่อ…………………….…………….ผูส้ อน
(นายสิรวิชญ์ คาตรง)

วนั ที่………..เดอื น.….....………พ.ศ……….....

35

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 21

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
รายวชิ า เคมี 3 รหสั ว30222 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5
จานวน 2 ชั่วโมง
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ สมดุลเคมี ผูส้ อน นายสิรวิชญ์ คาตรง

เรอ่ื ง การคานวณเกีย่ วกับค่าคงที่สมดุล

สอนวันท่ี ....... เดือน .......... พ.ศ.2565

1. สาระการเรยี นรู้และผลการเรียนรู้
ผลการเรยี นรู้
คานวณคา่ คงทสี่ มดลุ ของปฏกิ ิรยิ า

2. สาระสาคญั
ณ ภาวะสมดุล ความสมั พันธ์ระหวา่ งความเขม้ ข้นของผลิตภณั ฑ์กบั สารตงั้ ต้น แสดงได้ด้วยค่าคงที่สมดุล

ซึง่ เปน็ คา่ คงท่ี ณ อุณหภูมิหนงึ่
3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายการหาค่าคงทส่ี มดลุ ได้จากความเข้มข้นของสารตั้งตน้ และผลิตภัณฑ์ได้K)
2. สามารถคานวณค่าคงทส่ี มดุลของปฏกิ ิริยาต่าง ๆ ได้(P)
3. มีความรบั ผิดชอบต่องานท่ไี ดร้ บั มอบหมายและสามารถทางานรว่ มกับผูอ้ ื่นได้ (A)
4. สาระการเรียนรู้
1 ค่าคงทีส่ มดุล
5. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูด้ ว้ ยรปู แบบ 5E
ขน้ั ท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement)

1. นักเรียนตอบคาถามท่ีครูมอบให้ว่า “จากที่เราศึกษามาแล้วว่าปฏิกิริยามีทั้งแบบไปข้างหน้า
ปฏิกิริยาย้อนกลับ และปฏิกิริยาผันกลับได้ แล้วเราสามารถคานวณหาค่าคงที่ที่เกิดจากความสัมพันธ์ใน
ปฏกิ ริ ยิ าได้อย่างไร (แนวคาตอบ คือ ข้ึนอยู่กับผู้เรียน จากน้ันครูสรุปว่า เราจะได้ศึกษาจากบทเรียนในช่ัวโมง
นี้)”

ข้ันท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
2. แบง่ นักเรยี นออกเปน็ กลุม่ ละ เท่า ๆ กัน (กลุ่มเดิม) เพ่ือให้นักเรียนได้คานวณเก่ียวกับค่าคงท่ี

สมดุลไดจ้ ากความเข้มข้นของสารตั้งตน้ และผลิตภัณฑท์ ีส่ มดุล
3. แตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนมาฉับสลากเพือ่ รับโจทยก์ ารคานวณเก่ียวกบั ค่าคงที่สมดุล

36

4. นักเรียนทุกกล่มุ ชว่ ยกนั คานวณหาคาตอบจากโจทย์ทก่ี ลุ่มตัวเองไดร้ ับ

ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)

5. นักเรียนทุกกลุ่มส่งตัวแทนมาแสดงการคานวณท่ีกลุ่มตัวเองทาได้ จนครบทุกกลุ่มเพื่อ

แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ซ่งึ กันเลยกัน

6. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายจนได้ค่าสรุปดังนี้ “ค่าคงท่ีสมดุลคานวณได้จากความเข้มข้น

ของสารต้งั ตน้ และผลิตภัณฑ์ทสี่ มดุล ในทางกลับกันถ้าทราบค่าคงท่สี มดลุ สามารถคานวณความเข้มข้นของสาร

ที่สมดลุ ได้” พร้อมทง้ั ครใู ชต้ ัวอยา่ งการคานวณประกอบการอธิบาย

ขนั้ ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)

7. นกั เรียนรับความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับกรณีท่ีทราบความเข้มข้นของสาร ณ จุดเร่ิมต้นของปฏิกิริยา

เม่ือปฏกิ ิริยาดาเนนิ ไปจนเขา้ ส่สู มดลุ สามารถใช้ความรจู้ ากเรื่องปริมาณสมั พันธ์ของสารในปฏิกิริยาเคมีมาคานวณ

ค่าคงทีส่ มดุลได้ พร้อมแสดงวิธีทาประกอบการอธบิ าย

8. นักเรียนทบทวนการคานวณโดยใช้สมการกาลังสองว่าต้องจัดรูปสมการให้อยู่ในรูป
ax2+ bx + c = 0 ซงึ่ จะหาคา่ x ได้จากสตู ร

x = -b±√b2-4ac
2a
ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

9. นกั เรียนตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจและคาถามชวนคิด หน้า 121

6. สอ่ื การเรียนการสอน/แหลง่ เรียนรู้

1. หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น

พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

37

7. การวดั และการประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์ วิธวี ัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ (K)

1.นักเรียนอธิบายการ - การตอบคาถาม - แบบประเมินการ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70

หาค่าคงทส่ี มดุลได้จาก ตอบคาถาม ขน้ึ ไป

ความเข้มข้นของสาร

ตง้ั ตน้ และผลติ ภัณฑ์ได้

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) แบบสงั เกตการทดลอง -ได้คะแนนในระดับ 3
2. นักเรียนสามารถ -การทาการทดลอง (ดี) ข้ึนไป
คานวณค่าคงท่ีสมดุล
ของปฏกิ ริ ยิ าต่าง ๆ ได้ - แบบประเมิน - ได้คะแนนในระดับ
ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง 3 (ด)ี ขนึ้ ไป
4. นักเรียนมีความ -การสังเกต ประสงค์
รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ง า น ที่
ได้รับมอบหมายและ
สามารถทางานร่วมกับ
ผูอ้ ืน่ ได้

38

39

40

แบบประเมินพฤตกิ รรมการเรียนรู้

ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และดา้ นคุณลักษณ์อันพึงประสงค์

รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ 3 (ว3022) โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร

คาชีแ้ จง ให้ครูผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นตามรายการทกี่ าหนด แล้วเขยี นเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งท่ี

ตรงกับพฤติกรรมนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เลขท่ี คะแนนเตม็ ผลการประเมิน คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ

3 ผ่าน ไม่ผ่าน 3 ผา่ น ไมผ่ า่ น 3 ผา่ น ไมผ่ ่าน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

41

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

เลขที่ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ คะแนนเตม็ ผลการประเมิน

3 ผ่าน ไม่ผา่ น 3 ผา่ น ไม่ผ่าน 3 ผา่ น ไมผ่ ่าน

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

ดา้ นความรู้ ตารางสรปุ ผลการประเมิน
ผ่าน (คน) ไม่ผ่าน (คน)
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ผ่าน (คน) ไม่ผา่ น (คน) ผ่าน (คน) ไม่ผ่าน (คน)

รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

ลงชื่อ…………………….…………….ผูส้ อน
(นายสิรวิชญ์ คาตรง)

วนั ที่………..เดอื น.….....………พ.ศ……….....

42

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 22

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
รายวชิ า เคมี 3 รหสั ว30222 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5
จานวน 2 ชัว่ โมง
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี สมดุลเคมี ผู้สอน นายสริ วชิ ญ์ คาตรง

เรื่อง ค่าคงที่สมดลุ กับสมการเคมี

สอนวันที่ ....... เดือน .......... พ.ศ.2565

1. สาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้

คานวณคา่ คงทสี่ มดลุ หรือความเขม้ ขน้ ของสารในปฏกิ ิริยาหลายขั้นตอน

2. สาระสาคญั

ค่าคงท่ีสมดลุ ของปฏกิ ริ ยิ าหลายขน้ั ตอน หาไดจ้ ากผลคณู ของค่าคงทีส่ มดุลของปฏิกิริยาย่อยท่ีนาสมการ

เคมีมารวมกัน โดยถ้ามีการคูณสมการย่อยให้ยกกาลังค่าคงที่สมดุลด้วยตัวเลขท่ีคูณ และหากมีการกลับข้าง

สมการ ใหก้ ลบั คา่ คงท่สี มดุลเป็นตัวหาร

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายและสรปุ การคานวณคา่ คงท่สี มดุลในแบบตา่ ง ๆ ได้K)

2สามารถคานวณคา่ คงทส่ี มดุลหรือความเข้มข้นของสารในปฏิกริ ิยาหลายข้ันตอนได(้ P)

3. มคี วามรับผดิ ชอบต่องานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและสามารถทางานร่วมกับผู้อืน่ ได้ (A)

4. สาระการเรียนรู้

1 ค่าคงทีส่ มดุล

5. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรดู้ ้วยรปู แบบ 5E

ขนั้ ท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)

1. นักเรียนทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกับการหาค่าคงท่ีสมดุลเคมี โดยครูนาสมการเคมีมาให้

นักเรียนดู จากนัน้ ร่วมกันอภปิ รายจนไดข้ ้อสรุปดงั นี้

“aA + bB cC + dD

เมอื่ a b c และ d เลขสมั ประสิทธิ์ ดังนัน้ ค่าคงที่สมดุลของปฏกิ ริ ยิ าเคมขี ้างตน้ เขียนแสดงใน

รูปอัตราส่วนความเขม้ ข้นของสารในปฏิกริ ยิ าเคมี โดยเปน็ ความเข้มข้นท่สี มดุล ได้ดังน้ี

K = [C]c [D]d ”
[A]a [B]b
2. นกั เรียนตอบคาถาม โดยครูใชค้ าถามถามนกั เรยี นท้งั ชนั้ โดยไม่คาดหวงั คาตอบ ดังน้ี

43

- ถ้าการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ของสมการเคมี เช่น การกลับข้างสมการเคมี ซึ่งใช้แสดงปฏิกิริยาเคมีในทิศทาง
ตรงกันข้าม การเปลี่ยนเลขสัมประสิทธิ์ด้วยการคุณสมการเคมี หรือการรวมสมเคมีของปฏิกิริยามากกว่า 1
ปฏกิ ริ ิยา จะส่งผลต่อค่าคงที่สมดลุ อย่างไร (แนวคาตอบ คอื ข้ึนอยกู่ บั ผู้เรียน)

ขัน้ ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)
3. แบง่ นักเรยี นออกเปน็ กลมุ่ กลุ่มละ 3 คน จากน้ันเลือกอันดับภายในกล่มุ ได้แก่

อันดบั 1 อันดับ 2 และ อันดบั 3
4. นักเรียนแต่ละคนจะมีหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องท่ีตนเองได้รับ โดยอันดับ 1 ให้ศึกษา

เก่ียวกับค่าคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยาเคมีท่ีมีทิศทางตรงกันข้าม อันดับ 2 ศึกษาเก่ียวกับค่าคงท่ีสมดุลของ
ปฏิกิริยาเคมีที่มีการเปล่ียนแปลงเลขสัมประสิทธ์ิด้วยการคูณสมการเคมี และอันดับ 3 ศึกษาเก่ียวกับค่าคงที่
สมดลุ ของปฏกิ ิรยิ าเคมีที่เกิดข้ึนจากการรวมปฏกิ ิรยิ า

5. นักเรียนลงมือปฏิบัติการสืบค้นโดยสามารถใช้สื่อออนไลน์หรือตามหนังสือเรียน
เคมี เลม่ 3

ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
6. นักเรียนและครูรว่ มกนั อภิปรายจนไดข้ ้อสรุปดังน้ี
- เมอ่ื กลับข้างสมการเคมคี ่าคงทสี่ มดุลจะเป็นส่วนกลบั ของค่าคงที่สมดุลเดิม
- เม่อื มกี ารคณู เลขสมั ประสทิ ธ์ิในสมการเคมีด้วย n ค่าคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าเท่ากับ

คา่ คงทีส่ มดุลเดิมยกกา ลัง n
- เม่ือมีการรวมสมการเคมีค่าคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยาเคมีรวมจะมีค่าเท่ากับผลคูณของค่าคงท่ี

สมดุลของปฏกิ ริ ยิ าเคมีที่มารวมกัน
7. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การเปล่ียนเลขสัมประสิทธ์ิมีผลต่อค่าคงที่สมดุล ดังน้ันการระบุค่าคงท่ี

สมดลุ จงึ ต้องแสดงสมการเคมขี องปฏิกิริยาเคมนี ้ันด้วย
ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
7. นกั เรียนรับความรเู้ พม่ิ เติมเก่ยี วกบั การคานวณคา่ คงที่สมดลุ หรอื ความเข้มข้นของสารในปฏิกิริยา

หลายขัน้ ตอน โดยใชต้ วั อยา่ ง 10 ประกอบการอธบิ าย
ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
8. นักเรยี นสรปุ สงิ่ ท่ไี ด้เรียนรู้ เก่ยี วกบั คา่ คงทส่ี มดุลกับสมการเคมีลงในสมุด
9. นักเรยี นตอบคาถามแบบฝกึ หัด 9.2 ลงในเพือ่ ทบทวนความรู้

6. สือ่ การเรยี นการสอน/แหล่งเรยี นรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น

พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

44

7. การวัดและการประเมินผล

จุดประสงค์ วธิ ีวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน

ดา้ นความรู้ (K) - แบบประเมินการ ได้คะแนนรอ้ ยละ 70
ตอบคาถาม ขน้ึ ไป
1.นกั เรยี นอธิบายและสรปุ - การตอบคาถาม

การคานวณค่าคงท่ีสมดุล

ในแบบต่าง ๆ ได้

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) แบบสังเกตการทดลอง -ได้คะแนนในระดับ 3
2. นักเรียนสามารถ -การทาการ (ด)ี ข้นึ ไป
คานวณค่าคงท่ีสมดุลหรือ ทดลอง
ความเข้มข้นของสารใน - แบบประเมิน - ได้คะแนนในระดับ
ปฏกิ ิริยาหลายขนั้ ตอน คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง 3 (ดี) ขึน้ ไป
ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) ประสงค์
4. นักเรียนมีความ -การสังเกต
รับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ
มอบหมายและสามารถ
ทางานร่วมกบั ผูอ้ ืน่ ได้

45

46


Click to View FlipBook Version