The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by napa_jeew, 2021-04-26 12:59:15

Best Practice Sompoi 64 - Ebook

Best Practice Sompoi 64 - Ebook

BEST

PRACTICE

ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น สู ค ว า ม เ ป น เ ลิ ศ

นางสาวว�ร�นทรญ า อิสรย� าเลศิ สขุ
ครู กศน.ตำบลสมปอย
การสรางคุณคา
เครอ�่ งปนดนิ เผาบานโก

BestPractice
ดา นการศึกษาเพอื่ พฒั นาอาช�พ ชอ�่ ผลงาน การสรา งคุณคา เคร�่องปนดินเผาบานโก

กศน.ตำบลสมปอ ย

ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอราษีไศล สำนักงาน กศน.จงั หวัดศรส� ะเกษ
สำนกั งานสง เสรม� การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธก� าร กระทรวงศึกษาธก� าร

คำนำ

การรายงานผลการปฏิบัติงานสูความเปนเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลสมปอย สังกัดศูนย
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอราษีไศล สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ ชื่อผลงาน : การสรางคุณคาเครื่องปนดินเผาบานโก เปนแนวปฏิบตั ิท่ีดี
ดา นการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ จากหลักการที่วา “ถาไดน ำความรูไปใช ความรนู ้นั ก็ยิ่งเพม่ิ คุณคา เพราะทำใหเกิด
การตอยอดความรูใหแตกแขนงออกไปอยางกวางขวาง” ดังนั้น เปาหมายสำคัญประการหนึ่งในการเผยแพรแนว
ปฏบิ ตั ิทีด่ ี ดานการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ กลุมการทำเครอื่ งปน ดนิ เผาบา นโก เปนแนวทางในการสรางแนวปฏิบัติ
ที่ดีในดานการพัฒนาอาชีพ การสรางมูลคาเครื่องปนดินเผา การบริหารจัดการกลุม การเพิ่มมูลคาและการเพิ่ม
ทักษะในการผลิตเครื่องปน ดนิ เผา ใหมีรูปแบบผลิตภณั ฑใหมๆ ที่หลากหลาย ตรงตามความตอ งการของผูซ้ือและ
ความตองการของตลาด และเพื่อใหสมาชิกในกลุม มีความรูความเขาใจและมีแนวทางในการสรางแนวปฏิบัติที่ดี
ในดานการพฒั นาอาชพี ตลอดจนสรางความเขม แขง็ ใหก ับกลมุ อาชีพของคนในชุมชนตอไป

นางสาววริ ินทรญ า อิสรยิ าเลศิ สขุ
ครู กศน.ตำบล

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอ ย

สารบัญ หนา

เรื่อง 1
คำนำ 1
สารบัญ 1
1
- ชื่อผลงาน
- ผเู สนอผลงาน 2
- หนว ยงาน/สถานศกึ ษา/กศน.ตำบล 3
- ความสอดคลองกบั ยุทธศาสตรแ ละจุดเนนการดำเนนิ งาน กศน. วสิ ัยทัศน/พนั ธกจิ 3
ระบบประกนั คุณภาพสถานศึกษา 5
- ที่มาและความสำคัญของผลงาน 5
- วัตถุประสงค 6
- วธิ ีดำเนนิ การ 9
- ตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ 9
- ผลการดำเนินงาน 10
- บทสรปุ 10
- กลยทุ ธและปจจยั ที่ทำใหป ระสบความสำเร็จ
- การประชาสมั พันธ / เผยแพรผลงาน
- ขอ เสนอแนะ
- เอกสารอางองิ

ภาคผนวก
- ภาพประกอบ
- ผูจดั ทำ

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอย

1

ผลการปฏบิ ตั งิ านสคู วามเปน เลิศ (Best Practice) : กศน.ตำบลสม ปอย

: ดา นการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ

1. ช่อื ผลงาน การสรา งคณุ คาเครื่องปน ดนิ เผาบา นโก

2. ชอื่ สถานศึกษา กศน.ตำบลสม ปอย

ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอราษไี ศล

สำนักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดศรสี ะเกษ

3. ชอื่ เจาของผลงาน นางสาววริ นิ ทรญ า อสิ ริยาเลศิ สขุ ครู กศน.ตำบลสมปอย

4. ความสอดคลองกับยุทธศาสตรและจุดเนนการดำเนินงาน กศน. วิสัยทัศน/พันธกิจ ระบบประกันคุณภาพ
สถานศึกษา

• สอดคลอ งยุทธศาสตรและจดุ เนน การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปง บประมาณ 2564

ภารกจิ ตอเนอื่ ง ขอที่ 1. ดา นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู ขอ 1.3 การศึกษาตอ เนอ่ื ง 1) จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือ

การมีงานทำอยางยั่งยืน โดยใหความสำคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำในกลุมอาชีพเกษตรกรรม

อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการรวมถึงการเนนอาชีพชางพื้นฐาน

ทส่ี อดคลอ งกับศักยภาพของผูเรียน ความตอ งการและศักยภาพของแตล ะพื้นทมี่ ีคุณภาพไดมาตรฐานเปนท่ียอมรับ

สอดรับกับความตอ งการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแขง็ ใหกบั ศนู ยฝกอาชีพ
ชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การพัฒนาหนึ่งตำบลหนึ่งอาชีพเดน การประกวดสินคา

ดีพรีเมี่ยม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริมและจัดหาชองทางการจำหนายสินคาและผลิตภัณฑ

และใหม ีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทำอยา งเปนระบบและตอเนือ่ ง

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอ ย

2

5. ทม่ี าและความสำคัญของผลงาน

• แนวปฏบิ ตั ิที่ดีดา นอาชีพ เร่ืองการสรา งคุณคาเครอื่ งปน ดนิ เผาบานโก ตำบลสมปอ ย อำเภอราษไี ศล
จังหวัดศรสี ะเกษ มุง พัฒนาสมาชิกกลมุ เครอื่ งปนดนิ เผาซ่ึงเปน ผูใหญแ ละเด็กควบคูกันไปโดยมีวัตถุประสงค
1) เพ่ือพฒั นากลมุ อาชพี เคร่ืองปนดินเผาบา นโกใหสามารถผลติ และจำหนา ยไดอยางมีคุณภาพ และมีรายไดเพม่ิ ขึ้น
2) เพื่อใหก ลุมเครือ่ งปน ดนิ เผาบานโก มรี ูปแบบผลิตภณั ฑใหมๆ ซงึ่ เดมิ เคร่ืองปน ดนิ เผาบานโกจะผลติ เฉพาะการ
ปนหมอดินเทานั้น

การดำเนินงานโครงการนี้ไดประสานงานดำเนินการรวมกับภาคีเครือขาย ไดแก ผูนำชุมชนบานโก
วิทยากรผมู ีความรูความเชีย่ วชาญดานภูมปญญาทอ งถ่ินการปนหมอบานโก และกลุม อาชีพเคร่ืองปนดินเผาบานโก
เพือ่ พฒั นากลมุ เคร่ืองปน ดนิ เผาและภมู ปิ ญญาทองถิน่ รวมดำเนนิ การจัดกระบวนการเรยี นรูเร่ืองเครื่องปนดินเผาให
มรี ูปแบบผลิตภณั ฑแ บบตา งๆ ที่เปน ความตอ งการของตลาดตอไป

ผลการดำเนนิ งานพบวา สมาชกิ กลุมเครอื่ งปนดินเผาบา นโก จำนวน 18 คน มีความรูค วามเขาใจ
เรอ่ื งการบริหารจัดการกลมุ และดำเนินธุรกิจของกลมุ ในรูปแบบกลุมอาชีพ สามารถนำผลติ ภัณฑท่ีผลิตไดในหลาย
รูปแบบ มาปนเปน กระถางตนไม แจกัน หมอแจวรอน เตาถาน เปนการอนุรักษเครื่องปนดินเผา และเพิ่มมูลคา
จากการผลิตชิ้นงานในรูปแบบใหมๆ ที่เปนความตองการของตลาด ชาวบานมีรายไดเพิ่มขึ้นจากการจำหนาย
ผลิตภณั ฑเคร่อื งปน ดินเผาบานโก ซึ่งเปนแหลง จำหนา ยของหมบู า นและตำบล และยงั จำหนายใหก บั ชุมชนใกลเ คียง
และแหลง จำหนา ยอืน่ ๆ

ชุมชนบา นโก ตำบลสมปอย อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ มีประชากร 1,707 คน 376 ครวั เรือน
ซึ่งเดิม เดิมประชาชนไดอพยพมาจากอำเภอกลาง (โนนสูง) จังหวัดนครราชสีมา โดยอพยพมาทางเรือมาถึงริมฝง
แมน ำ้ มลู เห็นวาเปนทำเลท่เี หมาะสมและมีความอดุ มสมบรู ณเ หมาะท่จี ะตั้งเปนชุมชนประกอบกบั เปนแหลงที่มีดิน
เหนียวที่จะทำการปน หมอจงึ ไดต้ังหลักฐานอยูท่ีแหงน้ี ประกอบกับบริเวณดงั กลา ว มีตนตะโกใหญขึ้นอยู จึงตั้งชื่อ
หมบู า นวา “บานโก” แรกเรมิ่ มคี รอบครวั ทั้งหมด 14 ครวั เรอื น เม่อื ป พ.ศ. 2422 ซ่ึงมีรายชื่อผูน ำหมูบา น ต้ังแต
อดีตถึงปจจุบัน ภูมิปญญาชาวบานของชาวบานโก ที่สืบทอดกันมาแตบรรพบุรุษในการถายทอดความรูและ
ประสบการณสูลูกหลาน ซึ่งสืบทอดกันมาชานานในการนำแนวคิดและภูมิปญญาชาวบานในการนำดินเหนียว ซ่ึง
เปนทรัพยากรในทองถิ่นที่มีอยูแลว มาใชใหเกิดประโยชน โดยการนำดินเหนียวมาเปนวัสดุในการทำ
เครื่องปนดินเผาประเภทตางๆ ซึ่งเครื่องปนดินเผาที่ขึ้นชื่อที่สุดคือ หมอดินและกระถางดอกไม นอกเหนือจาก
ประเภทนี้ก็จะเปน แจกันดอกไม และเครื่องปนดินเผาประเภทอื่นๆ ที่ชาวบานสามารถที่จะดัดแปลงและทำข้ึน
ตามความตองการของลูกคา ซึ่งแหลงเรียนรูแหงนี้เปนสถานที่ท่ีจะสนับสนุนสงเสริมใหผูเรียนและผูที่สนใจใน
การศึกษาเพอ่ื ใหเ กิดกระบวนการเรียนรูตอไป

(Best Practice) กศน.ตำบลสมปอย

3
กศน.ตำบลสมปอ ยและกลมุ อาชีพเครอ่ื งปน ดนิ เผา ตลอดจนภาคเี ครือขา ยในชมุ ชน ไดเล็งเห็นถงึ
คุณคาของการอนุรักษแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถิ่น จึงระดมความคิดในการเสริมสรางและตอยอดแหลง
เรียนรูภูมิปญ ญาทองถ่นิ เดิมใหเกิดคุณคา และเพ่ิมมลู คา จงึ ไดด ำเนินการพัฒนากลุมเครื่องปน ดินเผาบานโก ตำบล
สม ปอย อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรีสะเกษ เพ่ือดำเนนิ การฝกอบรมพัฒนาเทคนิคและฝมือและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ
และวัตถุดิบ ชวยเหลือเรื่องการตลาด โดยนำผลิตภัณฑของชาวบานไปจำหนายที่ตลาดชุมชน ชุมชนใกลเคียงและ
ตลาดอนื่ ๆ การบริหารจดั การกลมุ ครอบครวั ใหมีรายไดและเรือ่ งการถายทอดองคความรูเร่อื งเครื่องปนดนิ เผาสูเด็ก
และเยาวชนเพื่อสืบทอดสรู ุนลูกหลานตอไป
เพื่อเสนอโครงการ การพัฒนาเครื่องปนดินเผาใหมผี ลิตภณั ฑที่หลากหลายรูปแบบในการสงเสรมิ
อาชีพ จึงมีแนวทางแกปญ หาโดยดำเนินงานโครงการสรางคุณคาผลิตภณั ฑใ นกลมุ เครือ่ งปนดินเผาบา นโกข้ึน

6. วัตถปุ ระสงค
6.1 เพื่อพัฒนากลุมอาชีพเครื่องปนดินเผาบานโก สามารถผลิตและจำหนายผลิตภัณฑจาก

เคร่อื งปน ดนิ เผา ใหม ีผลิตภัณฑท ่หี ลากหลายรปู แบบสรา งคุณคา ผลติ ภัณฑ และมรี ายไดเ พิ่มขนึ้
6.2 เพื่อถายทอดองคความรูจากภูมิปญญาในทองถิ่นสูเยาวชนลูกหลานจากรุนสูรุน สามารถ

นำมาใชในชีวติ ประจำวนั และนำไปประกอบอาชีพได
7. วธิ ดี ำเนินการ

7.1 เชิงปริมาณ
7.1.1 สมาชิกกลุม เครื่องปน ดินเผาบานโก จำนวน 18 คน
7.1.2 เดก็ และเยาวชนบานโก จำนวน 18 คน

7.2 เชิงคณุ ภาพ
7.2.1 สมาชิกกลุม เครื่องปน ดินเผาชมุ ชนบานโก เกิดควารูทักษะในการผลิต การบรหิ าร

จัดการกลุมและการตลาด สามารถนำความรูและรายไดไปใชใ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของครัวเรอื น
7.2.2 เดก็ และเยาวชนมีความรู ทกั ษะการทำเครื่องปน ดินเผาเปนกระบวนการสบื ทอด

อนรุ กั ษและสรา งอาชีพ

(Best Practice) กศน.ตำบลสมปอ ย

4

7.3 กระบวนการดำเนินงาน
7.3.1 สำรวจความตองการ การศึกษาตอ เนื่อง การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาอาชีพ กลุมช้นั เรียนวิชาชพี

กศน.ตำบลสม ปอ ย

7.3.2 จดั ตง้ั วทิ ยากรผมู คี วามรูค วามสามารถในการปนเคร่ืองปน ดนิ เผา

7.3.3 จัดต้งั กลมุ ชน้ั เรยี นวชิ าชีพ การจดั การศกึ ษาตอเน่ือง กศน.ตำบลสมปอย สังกัด กศน.อำเภอ

ราษีไศล

7.3.4 ประสานงานผูน ำชุมชนบา นโก ภาคีเครือขา ยทเ่ี กย่ี วของในการฝกอบรมกลมุ ชัน้ เรียนวิชาชพี

เพ่ือพัฒนาทักษะของกลุม

7.3.5 ดำเนนิ การจัดกิจกรรมตามแผนท่ีกำหนดและสามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมไดต ามความ

เหมาะสม

7.3.6 ติดตามและประเมินผลรวมกบั หนว ยงาน / เครือขายท่เี ก่ยี วของ

7.3.7 สรปุ และจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งาน และเผยพรไปยังหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

7.4 วิธกี ารจัดกจิ กรรม

7.4.1 การดำเนนิ กจิ กรรมการจัดการเรียนรเู รอื่ งเคร่ืองปนดนิ เผา กลมุ เครือ่ งปน ดินเผาในรปู แบบ
ตาง ๆ ที่ศาลาประชาคมและกลุมเครื่องปนดินเผาบานโก โดยครูเชิญวิทยากรภูมิปญญาทองถิ่นในหมูบานมาให
ความรูดานการปนเครื่องปนดินเผาในรูปแบบตางๆ จากนั้นครูแนะนำใหเด็กเยาวชนนำความรูไปฝกการปนเรื่อง
เครื่องปน ดินเผาในรปู แบบตางๆ รว มกบั ผูปกครอง

7.4.2 จัดประชมุ วางแผนการเตรียมผลิตเคร่ืองปน ดินเผา
7.4.3การพฒั นาเทคนคิ การออกแบบผลิตภณั ฑแ บบใหม ที่เปน ความตอ งการของตลาด
7.4.4 การพัฒนารปู แบผลติ ภัณฑใ หมๆ ใหม รี ปู แบบท่ีสวยงาม หลากหลายรูปแบบซึ่งเปนความ
ตองการของตลาด
7.4.5 การบริหารจัดการกลุมอาชีพเครื่องปน ดินเผา และดำเนินการสรปุ ผลการดำเนนิ งานและ
รว มติดตามประเมนิ ผลกลมุ

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอย

5

8. ตัวชี้วดั ความสำเรจ็

8.1 ผเู รียนมคี วามรคู วามเขาใจ และมที ักษะในการผลิตและการทำเครื่องปนดินเผา การบริหาร
จัดการกลมุ และการตลาด สามารถนำความรูและรายไดไ ปใชในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของครวั เรอื น

8.2 ผูเรียนผใู หญ สามารถพัฒนารปู แบบเครื่องปน ดินเผา ในรปู แบบตางๆ และการบริหาร
จดั การกลมุ สามารถนำความรูและรายไดไปใชใ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของครวั เรือน

9. การประเมินผลและเครื่องมอื ประเมนิ ผล
ประเมินผลตามสภาพจริง โดยการประเมินผลงานเคร่ืองปนดินเผา โดยใชแบบประเมินการฝก

ปฏบิ ัติ และจากการบนั ทกึ ของผเู รียน รปู แบบผลิตภณั ฑเครือ่ งปนดินเผาในรูปแบบตางๆ และประเมินความรคู วาม
เขาใจจากการสอบปากเปลาโดยใชแ บบทดสอบหลังเรียน

10. ผลการดำเนนิ งาน

10.1 ผูเรียนเกิดทกั ษะจากกระบวนการ การเรยี นรเู รื่องเครอ่ื งปนดนิ เผาจากภูมิปญ ญาทอ งถนิ่
และแหลงเรียนรูในชุมชน มีเทคนิคและสามารถนำความรูที่ไดมาออกแบบผลิตภัณฑในรูปแบบตาง ๆ พัฒนา
รปู แบบผลติ ภณั ฑใ หมๆ ใหมรี ูปแบบที่สวยงาม หลากหลายรปู แบบซง่ึ เปนความตอ งการของตลาด

10.2 กลุมสมาชกิ ทเี่ ปน ผูใหญสามารถนำความรทู ีไ่ ดไ ปพัฒนากลุมและพัฒนาคุณภาพของ
เครอ่ื งปนดินเผาไดอยางตอเน่ือง สมาชกิ เหน็ ความสำคัญของการรวมกลมุ รูบ ทบาทและหนา ทขี่ องตนเอง เกิดการ
มสี ว นรวมมากขึ้น

10.3 กลมุ สมาชิกมีรายไดเ สริมมากข้นึ จากการจำหนา ยเคร่ืองปนดนิ เผา

10.4 ดำเนินการเผยแพร โดยจัดทำเอกสาร ไดแก หลกั สูตรเคร่ืองปน ดินเผาและประเมนิ ผลการ
ดำเนินงานและเผยแพรใ หกับหนวยงานและเครือขายทเี่ กย่ี วขอ งทราบ และชุมชนเปน ฐานแลกเปลยี่ นเรยี นรูเร่อื ง
การผลติ เครื่องปน ดินเผาใหกับผูท ส่ี นใจและชมุ ชนอ่นื ๆ

(Best Practice) กศน.ตำบลสมปอ ย

6

11. บทสรปุ

กลุมอาชีพระยะส้นั การทำเครื่องปนดินเผาบา นโกนี้ ดำเนินการตามคณุ ภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle :
PDCA) ดังน้ี

ดา นการวางแผน (Plan)

1. ศึกษาสภาพปญหาและวิเคราะหขอมูลของชุมชนอยางมีสวนรวมของครู ผูเรียน และชุมชน โดยการ
สำรวจความตองการ การเรียนรูกลุมชั้นเรียนวิชาชีพ การศึกษาตอเนื่อง เพื่อนำมาวางแผนการจัดกิจกรรมที่
สอดคลอ งกับสภาพบริบท ศกั ยภาพของชมุ ชน ปญ หา และความตอ งการที่แทจริงของผเู รียน และคนในชุมชน

2. วิเคราะหงานตามบทบาทหนาที่ และวิเคราะหความสอดคลองที่เกี่ยวของ ยุทธศาสตรและจุดเนนการ
ดำเนินงาน กศน. วิสัยทัศน/พนั ธกิจ ระบบประกันคุณภาพสถานศึกษา ฯลฯ ซึ่งจากการวิเคราะหงาน จะเห็นไดวา
เปนงานตามบทบาทหนาที่ครู กศน.ตำบล ที่จะตองจัดการศึกษาเพื่อสงเสริมการรูหนังสือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศกึ ษาตอเนือ่ ง การศึกษาตามอัธยาศยั สง เสริมการเรียนรูชมุ ชน

3. คนหา Best Practice โดยพจิ ารณาประเดน็ ดังน้ี
 เปน เร่ืองที่เก่ียวของกับภารกิจโดยตรงของบทบาทหนาท่ี
 สนองนโยบาย การแกป ญหา การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของผูเรียน กศน.
 เปนวิธกี ารรเิ ร่ิมสรา งสรรคข ้นึ มาใหม หรอื ประยกุ ตข้นึ ใหม (นวตั กรรม) โดยตง้ั คำถามวา

นวัตกรรมนน้ั คืออะไร (What) ทำอยา งไร (How) ทำเพ่อื อะไร (Why)
 มผี ลผลิต/ความสำเร็จเพิ่มขนึ้
 สามารถนำไปใชเปนมาตรฐานการทำงานตอปไดยงั่ ยืนพอสมควร
 มกี ารพัฒนาปรับปรุงตอไป

จากการพิจารณาประเด็นตางๆ ดังกลาว เพื่อคนหา Best Practice ในการจัดกิจกรรมท่ีสอดคลองกับ
สภาพ ปญหา และความตองการของชุมชน พบวา เปนเรอ่ื งทีเ่ กย่ี วของกบั บทบาทหนาทโ่ี ดยตรงของครู กศน.ตำบล
และเปนการดำเนินงานตามการจัดการศึกษาตอเนื่อง การศึกษาเพื่อพัฒนนาอาชีพ จึงไดวางแผนเพื่อดำเนินการ
ตามบทบาทภารกิจดงั น้ี

1) ครู ผเู รียน และชุมชน มสี วนรว มในการวางแผนและออกแบบกิจกรรมทส่ี อดคลองกบั สภาพ
ปญหา ความตองการของชุมชน โดยการประชุมรวมกันเพื่อวางแผนการดำเนินงาน ชี้แจงวัตถุประสงค ผลที่ผูรวม
โครงการจะไดร ับ ทำใหมีผสู นใจเขารว มโครงการเปนผเู รียนเดก็ 18 คน ผเู รยี นผูใหญ จำนวน 18 คน

2) ศึกษาเอกสารขอมูลเกี่ยวกับการจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชีพในชมุ ชน และการดำเนนิ งาน
กลุมอาชีพในชุมชน โดยครู และผูเรียนรวมกันวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรูสำหรับผูเรียนผูใหญและผูเรียนเด็ก
พรอ มท้งั จัดเตรยี มวัสดุอุกรณ

3) ครแู ละผูเรียนรว มกันกำหนดทิศทางการดำเนนิ การกลมุ การนำผลิตภณั ฑอ อกจำหนา ยใน
ตลาดชุมชน

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอย

7

4. นำขอมูลจากการวิเคราะหและพิจารณาในขอ 1 – 3 มากำหนดกรอบการดำเนินงานทีพ่ ิจารณาแลววา
เปนแนวปฏบิ ัติทีด่ ี (Best Practice) โดยดำเนินการดงั นี้

1) กำหนดวตั ถปุ ระสงคของโครงการ
2) กำหนดตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จ
3) กำหนดวิธดี ำเนนิ การ
4) กำหนดวิธีการประเมินผลและเครื่องมือการประเมินผล

ดานการดำเนนิ งาน (Do)

จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ กิจกรรมการศึกษาตอเนื่อง กลุมชั้นเรียนวิชาชีพที่ไดว างแผนและออกแบบ
กจิ กรรมไว โดยใหก ารใหค วามรูฝกปฏิบตั ดิ งั น้ี

1) จัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชพี กลมุ ชัน้ เรียนวชิ าชพี เรอ่ื ง การทำเครือ่ งปน ดนิ เผา โดยวิทยากรจาก
แหลงเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่นการทำเครื่องปนดินเผา โดยไดบรรยายและสาธิตวิธี และฝกปฏิบัติการทำ
เคร่ืองปน ดนิ เผาในรปู แบบตา งๆ ใหส อดคลอ งกับความตอ งการของกลุมผซู อ้ื

2) ใหผ เู รียนฝก ฝกปฏบิ ตั ิการทำเครอ่ื งปนดินเผาในรปู แบบตางๆ โดยวิทยากรจากแหลงเรียนรูภมู ิปญญา
ทอ งถิ่นการทำเครื่องปนดินเผาบรรยายและสาธติ วิธปี ฏบิ ัติการทำเคร่ืองปนดนิ เผาในรปู แบบตางๆ

3) ใหผ เู รียน มีความรูค วามเขาใจในการบรหิ ารจัดการกลมุ
4) ปลูกฝง จิตสำนกึ ใหส มาชิกในกลม รูจ กั ประหยัด อดออม พ่ึงพาตวั เอง รกั และเห็นคุณคา รวมถงึ
ประโยชนข องธรรมชาติ

ดานการตรวจสอบและประเมนิ ผล (Check)
1. ประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยการประเมนิ ผลงานเคร่ืองปนดินเผา โดยใชแ บบประเมินการฝกปฏิบัติ
และจากการบันทึกของผูเรียน รูปแบบผลิตภัณฑเคร่ืองปน ดินเผาในรูปแบบตา ง ๆ และประเมินความรูความเขาใจ
จากการสอบปากเปลาโดยใชแบบทดสอบหลงั เรียน
2. สรุปผลการดำเนนิ งานกลุม การทำเคร่ืองปน ดินเผา
3. สรปุ ผลการดำเนินงานทไ่ี ดจ ากการติดตามการประเมนิ ผลเม่ือส้นิ สดุ โตรงการ โดยการรวบรวมผลงาน
ทเี่ ปน จดุ เดน และจุดทีค่ วรพัฒนา รวมทง้ั ขอเสนอแนะจากการประเมนิ ผลการนำไปใชป ระโยชน และจัดทำรายงาน
เพอ่ื เสนอแนวปฏบิ ัติทดี่ ี (Best Practice) ดา นการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ
4. เผยแพรผลงานแนวปฏบิ ัติท่ีดี (Best Practice) ดานการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชพี โดยนำเสนอผลงาน
ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะตอที่ประชุม กศน.อำเภอ เพื่อใชเปนขอมูลในการวางแผนจัดกิจกรรมครั้งตอไป
รวมทั้งนำเสนนอผลงานในรูปแบบตางๆ เชน นำเสนอขอมูลใน กศน.ตำบล จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในช้ัน
เรียนวิชาชีพ

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอย

8
ดานการปรับปรุงและพฒั นาผลการปฏิบัติงาน (Action)
นำผลการจัดกิจกรรมและขอเสนอแนะของผูเรียน ชุมชน และผูเกี่ยวของ มาปรับปรุงรูปแบบและวิธีการ
ดำเนินงานมาพัฒนาและสงเสริมอาชีพ เพื่อเผยแพรใหชุมชนอื่นที่มีสภาพบริบาเหมือนหรือใกลเคียงกัน ไดนำไป
ปรับใชในการจดั กิจกรรมสง เสรมิ และพฒั นาอาชพี ตอ ไป

ผังงานแนวปฏิบัติท่ีดีดา นทักษะการพฒั นาอาชพี “กลมุ เครอื่ งปนดินเผาบา นโก”

1. ศกึ ษาสภาพ ปญหา และสำรวจความตอ งการของชมุ ชนอยางมีสว นรว ม

2. ครูรวบรวมและศกึ ษางานตามบทบาทหนาท่ี และภารกิจ

P 3. วิเคราะหความ
สอดคลองที่เก่ยี วขอ ง

4. นำขอ มลู จากการวิเคราะหม ากำหนดกรอบและวางแผนการดำเนนิ งาน

5. จัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี กลมุ ชนั้ เรียนวิชาชีพ เรอ่ื ง การทำเคร่อื งปน ดินเผา โดย
วทิ ยากรจากแหลงเรยี นรภู ูมปิ ญญาทอ งถ่ิน การทำเครอื่ งปน ดินเผา บรรยายและสาธติ วิธี
และฝก ปฏบิ ัตกิ ารทำเครื่องปน ดินเผาในรูปแบบตา ง ๆ ใหสอดคลอ งกับความตองการของ

D กลมุ ผูซ้อื
6. ใหผเู รยี นฝก ปฏบิ ัติการทำเคร่ืองปนดนิ เผาในรปู แบบตาง ๆ โดยวิทยากรจากแหลงเรียนรู
ภมู ิปญญาทองถิ่น การทำเครอื่ งปน ดนิ เผา บรรยายและสาธติ และฝก ปฏิบตั ิการทำ
เครื่องปน ดนิ เผาในรปู แบบตาง ๆ
7. ใหผ เู รียน มีความรคู วามเขาใจในการบรหิ ารจดั การกลมุ
8. ปลกู ฝงจิตสำนกึ ใหสมาชิกในกลมุ รูจ กั ประหยดั อดออม พ่ึงพาตวั เอง รกั และเหน็ คุณคา
รวมถงึ ประโยชนข องธรรมชาติ

9. ประเมนิ ผลการเรียนรตู ามสภาพจริง โดยการตดิ ตามผลการปฏบิ ัติงานและการ
ดำเนินการของกลุม เคร่ืองปน ดนิ เผาบา นโก
10. ประเมนิ ผลการเรียนรตู ามสภาพจริง โดยการติดตามผลการปฏบิ ัติงานและการ
บริหารจดั การกลุม

C 11. สรปุ ผลการดำเนนิ งาน/โครงการ และจัดทำรูปเลม รายงาน
12. เผยแพรผลงาน ปญหา อปุ สรรค ตอ ท่ีประชุม กศน.อำเภอ

13.นำผลการจดั กจิ กรรมและขอ เสนอแนะของผเู รียน ชมุ ชน และผเู ก่ียวขอ ง มาปรบั ปรงุ

A รปู แบบและวิธกี ารดำเนินงานมาพัฒนาและสง เสรมิ อาชีพ เพ่ือเผยแพรใ หช ุมชนอ่นื ท่มี ี
สภาพบริบทเหมอื นหรือใกลเคียงกนั ไดน ำไปปรับใชใ นการจดั กจิ กรรมสง เสรมิ และพัฒนา
อาชพี ตอไป

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอย

9
12. กลยุทธห รือปจ จยั ทท่ี ำใหป ระสบความสำเรจ็

12.1 การมีสวนรวมของครู ผูเรียน และชุมชนในการวิเคราะหและสำรวจขอมูลพื้นฐานของชุมชน ทำใหรู
สภาพปญหา และความตองการพัฒนาชมุ ชนของตนเองใหไปสูเปาหมายท่ีตองการได

12.2 การนำเอานวัตกรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนทรัพยากรในชุมชน เปนองคความรูพื้นฐานในการ
ตอ ยอดความรูใหเกดิ การพฒั นาที่ยงั่ ยนื

12.3 กลุมเคร่ืองปน ดินเผาบานโก การสรางรายไดกลุมในครั้งน้ี ดำเนินการตามแนวทางวงจรคุณภาพของ
เดมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) ซึ่งเปนการดำเนินการอยางเปนระบบ สามารถตรวจสอบไดในทุกขั้นตอน โดย
เริ่มจากการวิเคราะหศักยภาพ ปญหา สำรวจความตองการของชุมชน รวมทั้งการมีสวนรวมในการวางแผนและ
ออกแบบกิจกรรมของครู ผูเรียน ชุมชน ตลอดจนมีการติดตามประเมินผลทุกขั้นตอน จึงทำใหสามารถพัฒนา
ผูเรยี นกลุมเคร่อื งปน ดินเผาไดบรรลุตามตัวชว้ี ัดความสำเร็จของโครงการได
13. การประชาสมั พนั ธ/เผยแพรผลงาน

13.1 การประชาสัมพันธ/เผยแพร ผลการดำเนินงานกลุม ผานทาง เฟสบุค (Facebook) กศน.ตำบล
สมปอ ย สงั กัด กศน.อำเภอราษไี ศล

QR Code : กศน.ตำบลสมปอย

ล้งิ คเ ฟสบุค : กศน.ตำบลสมปอย https://www.facebook.com/sompoi.sprs/

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอย

10

14. ขอ เสนอแนะ
14.1 ควรสงเสริมใหมีการพัฒนารูปแบบกลุมการทำเครื่องปนดินเผาอยางตอเนื่อง เชน การประยุกตการ

ออกแบบผลิตภณั ฑแบบใหมๆ ที่เปนความตอ งการของตลาด เพือ่ เพ่ิมมูลคา ใหกับผลติ ภณั ฑ
14.2 ควรเผยแพรและขยายความรูรูปแบบผลิตภัณฑเ คร่ืองปน ดินเผาใหมๆ สชู ุมชนอ่ืนๆ
14.3 ควรประชาสมั พันธใหผูที่สนใจสามารถศึกษาขอมูล รูปแบบการทำเครือ่ งปนดนิ เผา แบบใหมๆ จาก

ส่อื การเรยี นรูที่ กสน.ตำบล ไดร วบรวมจดั เกบ็ ไวอยางหลากหลายชองทาง เชน เว็บไซตของสถานศึกษา/หนวยงาน
ตน สงั กดั ส่อื ออนไลน ไดแก Facebook YouTube ฯลฯ

14.4 ควรพัฒนาผูเ รยี นในเร่ืองชอ งทางการจำหนายสนิ คาผานส่อื ออนไลน โดยเรยี นรูจ ากศูนยดิจทิ ลั ชมุ ชน
เพื่อเพมิ่ ชองทางในการจำหนายผลิตภณั ฑเ ครื่องปน ดินเผา ตลอดจนผลิตภัณฑอ่ืนๆ ของชมุ ชน

แนวทางการพฒั นาตอเน่อื ง
ครู กศน.ตำบลสมปอย ทำหนาที่ใหค ำปรึกษาการดำเนินงานของกลุมเคร่ืองปน ดินเผาควบคไู ปกับการ
พัฒนาอาชีพสมาชกิ กลุมเคร่ืองปน ดนิ เผาอยา งตอเน่ือง

15. เอกสารอางอิง
- ขอ มูลแหลงเรยี นรู อำเภอราษไี ศล. (2564)
- ขอ มูลแหลงเรยี นรู ภมู ิปญ ญาทอ งถนิ่ กศน.ตำบลสม ปอย สังกัด กศน.อำเภอราษีไศล. (2564)

ภาคผนวก
- ภาพกจิ กรรม

ลงชอื่ ..................................................ผจู ัดทำ ลงชื่อ...........................................................ผูรับรองขอมูล
(นางสาววริ นิ ทรญา อิสริยาเลศิ สขุ ) (นายกมั พล ทีพารตั น)
ครู กศน.ตำบล
ผอู ำนวยการ กศน.อำเภอราษีไศล

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอ ย

ภาคผนวก

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอ ย

ภาพประกอบกลุมเครื่องปน ดนิ เผาบานโก (1)

1. การเตรียมดิน

2. การปน
3. การขึ้นรูป

(Best Practice) กศน.ตำบลสมปอย

ภาพประกอบกลุมเคร่อื งปน ดินเผาบา นโก (2)

4. นำไปตากแดด

5. นำไปเผา

6. ผลติ ภณั ฑเครอื่ งปน ดนิ เผา

(Best Practice) กศน.ตำบลสม ปอ ย

ผูจ ัดทำ

ชื่อ - สกลุ : นางสาววิรินทรญา อสิ ริยาเลศิ สขุ ครู กศน.ตำบล
หนว ยงาน/สถานศกึ ษา/กศน.ตำบล : กศน.ตำบลสมปอ ย
สังกัด ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอราษีไศล
สำนกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดศรีสะเกษ
สำนักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

(Best Practice) กศน.ตำบลสมปอ ย


Click to View FlipBook Version