The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือตรวจสอบการเงิน การคลัง อปท(ล่ม 2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukanyahong0908, 2021-03-26 00:32:49

คู่มือตรวจสอบการเงิน การคลัง อปท(ล่ม 2)

คู่มือตรวจสอบการเงิน การคลัง อปท(ล่ม 2)

การจัดการความรู้ : คู่มือการปฏิบตั ิงานการตรวจสอบการคลงั การเงนิ การบญั ชี
และการพัสดุ อปท.

จัดทำโดย กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที อ้ งถน่ิ
กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถนิ่
ถนนนครราชสีมา แขวงดุสิต เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300
โทร. 0-2241-9026
www.dla.go.th/organize/local_audit

คำนำ

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีท้องถิน่ มีบทบาทภารกจิ ที่สำคัญ ในการสง่ เสรมิ สนบั สนุนองคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน เพ่ือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความเข้มแข็งและมีศักยภาพในการบริการสาธารณะ และให้
คำปรึกษา แนะนำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการดำเนินงานด้านการคลัง การเงิน การบัญชี และการพัสดุ
รวมทั้งการจัดวางระบบการตรวจสอบการคลัง การเงิน การบัญชี และการพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ดังนั้น เพ่ือให้บุคลากรที่มีหน้าที่ในการปฏิบัติงานตรวจสอบด้านการคลัง การเงิน การบัญชี และการพัสดุ มีความรู้
ความเข้าใจ และมีแนวทางในการปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการที่เก่ียวข้อง และเป็นไป
ในแนวทางเดียวกัน กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถิ่นจึงได้จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานการตรวจสอบการคลัง
การเงนิ การบัญชี และการพสั ดุองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ขึน้

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชีท้องถ่ินหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือการตรวจสอบการคลัง การเงนิ การบัญชี
และการพัสดุองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จะเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานต่อบุคลากรที่มีหน้าท่ีในการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบการคลัง การเงนิ การบัญชี และการพัสดุขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและผ้ทู ่ีสนใจ นำไปใช้เปน็ แนวทาง
ในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการที่เก่ียวข้อง ได้อย่าง
มีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล เกดิ ผลสัมฤทธิ์ คมุ้ ค่า โปร่งใส และตรวจสอบได้

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที อ้ งถิน่
สิงหาคม 2562



สารบญั หนา้

1. ด้านการคลัง 2
1.1 การจดั ทำแผนทีภ่ าษแี ละทะเบียนทรพั ย์สนิ 4
1.2 ลูกหน้ีค้างชำระ 6
1.3 การจัดทำแผนพฒั นาของ อปท. 8
1.4 การจดั ทำงบประมาณ
13
2. ดา้ นการเงิน 13
2.1 จำนวนเงนิ คงเหลือ ณ วนั เข้าตรวจสอบ 14
2.2 การจดั ทำรายงานสถานะการเงนิ ประจำวัน 15
2.3 การปฏบิ ัตหิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตา่ งๆ 16
2.4 การรับเงิน – สง่ เงินขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น 18
2.5 การใชใ้ บเสรจ็ รบั เงิน 20
2.6 การเบิกจา่ ยเงิน 21
2.7 การเขียนเช็คสัง่ จา่ ย 23
2.8 การยืมเงินงบประมาณ 27
2.9 การเบิกจ่ายเงนิ สวัสดกิ ารคา่ เช่าบ้าน 29
2.10 การเบกิ จา่ ยเงนิ สวัสดิการเกี่ยวกับคา่ รักษาพยาบาล 31
2.11 การเบกิ จา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกี่ยวกบั การศึกษาของบตุ ร 33
2.12 ทนุ การศกึ ษา 35
2.13 การเบิกเงนิ ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ 36
2.14 การเบิกจ่ายเงินคา่ ตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ 38
2.15 การเบกิ คา่ ใช้จา่ ยในการฝกึ อบรมและศึกษาดูงาน 40
2.16 การเบกิ จา่ ยเงนิ ค่ารบั รองหรือคา่ เล้ียงรบั รอง 41
2.17 การเบกิ จา่ ยเงนิ คา่ วัสดุเครือ่ งแตง่ กาย 43
2.18 ระบบการแพทย์ฉกุ เฉินขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ 45
2.19 การเบิกจา่ ยเงินอดุ หนุนใหแ้ กห่ น่วยงานอนื่ 46
2.20 การเบกิ จ่ายเพ่ือสนบั สนนุ กจิ การอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรือน 47
2.21 การเบิกค่าใช้จา่ ยในการจัดงานตา่ ง ๆ 49
2.22 การเบกิ จา่ ยเงินคา่ ใชจ้ ่ายในการแข่งขันกฬี า 51
2.23 การจัดซ้อื น้ำมันเชอ้ื เพลิงเพ่ือใช้ในการปฏิบตั งิ านตามภารกิจของ อปท. 53
2.24 การเบิกจา่ ยค่าเบี้ยยังชีพผดู้ อ้ ยโอกาส 56
2.25 การเบิกจ่ายเงินเพื่อช่วยเหลือประชาชน 59
2.26 การเบิกจา่ ยเงนิ ประโยชนต์ อบแทนอื่นเป็นกรณพี เิ ศษ (โบนสั ) 62
2.27 เงินสะสมและเงินทุนสำรองเงินสะสม
2.28 การนำเงินสะสมทดรองจา่ ยและการยมื เงนิ สะสม

3. ดา้ นการบญั ชี หนา้
3.1 การจดั ทำบัญชีและรายงานการเงิน
3.2 การจัดทำรายงานการเงิน ณ วนั สนิ้ เดือน 64
3.3 การจัดทำงบแสดงฐานะการเงินและงบอ่นื ๆ 66
67
4. ดา้ นการพัสดุ
4.1 การจดั ซอื้ จัดจ้าง 69
4.2 การตรวจรับพัสดุ ตรวจการจ้างและควบคุมงานกอ่ สร้าง 74
4.3 การเบกิ จ่ายค่าตอบแทน 77
4.4 การควบคมุ พัสดุ 78
4.5 หลักประกนั สัญญา 79
4.6 การตรวจสอบพสั ดุประจำปี 81
4.7 การจำหนา่ ยพสั ดุ 82
84
5. การใชแ้ ละรกั ษารถยนต์ 87
6. ดา้ นการควบคมุ ภายใน 90
7. ด้านการตรวจสอบภายใน 93
8. การดำเนนิ งานเงนิ ทนุ โครงการเศรษฐกจิ ชมุ ชน

คู่มอื การปฏบิ ตั งิ าน 1

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที ้องถนิ่

การปกครองท้องถ่ินเป็นการกระจายอานาจรัฐให้กับประชาชนในท้องถิ่นได้ปกครองตนเอง และบริหาร
จัดการนโยบายของรัฐในพ้ืนที่ของตนเอง รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย รายได้ท่ีองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง รายได้ท่ีรัฐแบ่งให้ และรายได้จากเงินอุดหนุน เงินรายได้ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถน่ิ จะนาไปใช้ในการบรหิ ารจดั การ พัฒนาชมุ ชนในเขตพ้นื ทข่ี องตนเอง จัดการบริการสาธารณะใหเ้ กิดประโยชน์
อยา่ งสงู สดุ ต่อประชาชน

แผนท่ภี าษีและทะเบยี นทรพั ย์สนิ

แผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน คือ เครื่องมือท่ีถูกพัฒนาข้ึนมาเพื่อใช้เพ่ิมประสิทธิภาพในรับชาระภาษี
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีเป้าหมายที่ข้อมูลเก่ียวกับทรัพย์สินภายในท้องถิ่นท่ีเกี่ยวข้องกับภาษี ท่ีจัดเก็บ
และผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินน้ันๆ ที่มีหน้าท่ีชาระภาษี โดยจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน
และครบถ้วน

แผนที่ภาษี คือ ข้อมูลเชิงพ้ืนที่ที่แสดงรูปร่างและตาแหน่งท่ีตั้งของทรัพย์สิน รวมถึงข้อมูลทางกายภาพที่แสดง
ถึงตาแหน่งท่ีต้ังของทรัพย์สินภายในเขตปกครอง โดยมีการจัดแบ่งพื้นที่ภายในเขตปกครองออกเป็น เขต (Zone)
และเขตย่อย (Block) เพอ่ื ใหส้ ะดวกในการจดั เก็บเอกสารและคน้ หา

ทะเบียนทรัพย์สนิ คือ ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้มีกรรมสิทธิ์แต่ละราย โดยมีการจัดเก็บ
อย่างเปน็ ระบบ

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื ส่งั การ ท่เี กี่ยวข้อง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยแผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

พ.ศ. 2550
2. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ด่วนมาก ที่ มท 0808.3/ว 808 ลงวันที่ 17 เมษายน 2551

เร่ือง ซักซ้อมแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยแผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2550

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการข้างตน้ สรปุ สาระสาคัญได้ดังนี้
❖ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการจัดทาแผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินภายใน 180 วัน

นบั ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 นัน้ หมายถึงให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ เร่ิมดาเนนิ การโครงการจดั ทาแผนทภ่ี าษี
และทะเบียนทรัพย์สินภายใน 180 วัน นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 สาหรับระยะเวลาการดาเนินการ
ตามโครงการฯ นั้นอาจจะมากกวา่ 180 วนั กไ็ ด้ ทงั้ น้ี ข้ึนอยกู่ ับความพรอ้ มขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นแต่ละแห่ง

❖ การดาเนินการจัดทาแผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถ
จดั ลาดับการดาเนินการได้ 3 ระดบั ดังน้ี

(1) การดาเนินการจัดทาแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินด้วยระบบมือ (Manual) ซึ่งเหมาะสม
กับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ท่มี ีขนาดเล็กมีผู้เสียภาษีนอ้ ยและมีรายได้จากการจดั เก็บภาษีไมม่ ากนัก

2 คู่มือการปฏบิ ตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที อ้ งถน่ิ

(2) การจัดทาแผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer) เป็นการนาข้อมูล
ระวางแผนที่และทะเบียนทรัพย์สินมาจัดเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่มีปริมาณงานมาก ท้ังในด้านพื้นที่ ประชากร และการจัดเก็บรายได้ ซึ่งจะสามารถอานวยความสะดวกให้ทั้ง
ผ้ปู ฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเองและประชาชนได้รวดเรว็ มากย่ิงข้ึน โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ไดป้ รับปรุงโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ พื่อแจกจา่ ยใหก้ ับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินนาไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน

(3) การจัดทาแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( GIS)
เหมาะสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่มีรายได้มาก และมีความจาเป็นที่จะต้องใช้ข้อมูลเพื่อการ
บริหารจัดการ ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ซ่ึงอาจจะต้องจัดจ้างหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานภายนอกท่ีมีความรู้
ความเขา้ ใจเกี่ยวกับระบบงานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรพั ย์สินและระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) เป็นท่ีปรึกษา
เพือ่ ดาเนนิ งาน

❖ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้แผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินเป็นข้อมูลในการจัดเก็บภาษี

ตรวจสอบ ติดตาม และเร่งรัดจัดเก็บภาษีให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นธรรมต่อเจ้าของทรัพย์สิน โดยทุกฝ่าย
ทุกงานที่เกีย่ วขอ้ งเป็นผู้รบั ผดิ ชอบรว่ มกันตามท่ีหวั หนา้ หน่วยงานคลังมอบหมาย

❖ เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการย่ืนแบบแสดงรายการเพ่ือชาระภาษี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคัดรายช่ือ
ผู้ที่ยังไม่มายื่นแบบแสดงรายการเพื่อชาระภาษี หรือยื่นแบบแล้วยังไม่ได้มาชาระภาษีให้ครบถ้วน จากทะเบียน
คุมผู้ชาระภาษี แล้วจดั ทาหนงั สือเรง่ รดั โดยเรว็

❖ เม่ือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดทาแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินแล้วให้หน่วยงานคลัง
เปน็ หน่วยงานรบั ผิดชอบปรบั ขอ้ มูลในแผนที่ภาษีและในทะเบยี นทรพั ย์สนิ ใหเ้ ปน็ ปัจจุบันอยเู่ สมอ

วิธีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบการจัดทาแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน ว่าดาเนินการจัดทาเสร็จแล้วหรือไม่ อยู่ระหว่าง

ดาเนนิ การจดั ทา หรือยังไม่ไดด้ าเนนิ การจัดทา
2. กรณีอยรู่ ะหว่างดาเนินการ ใหต้ รวจสอบว่าอยู่ระหว่างดาเนนิ การข้ันตอนใด ดงั นี้
2.1 การจดั ทาแผนที่แม่บท (ผ.ท.7)
2.2 การคัดลอกข้อมูลทด่ี ินบันทกึ ลงในแบบสารวจขอ้ มูลที่ดนิ (ผ.ท.1)
2.3 การสารวจขอ้ มลู ภาคสนาม
3. ตรวจสอบการปรบั ปรุงขอ้ มูลแผนท่ภี าษแี ละทะเบยี นทรพั ย์สิน วา่ ได้ปรับปรุงข้อมูลเป็นปจั จบุ นั หรือไม่
4. ตรวจสอบการนาข้อมูลแผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินมาใช้ในการจัดเก็บภาษี ว่านาข้อมูลมาใช้

ในการประเมินภาษคี รบถว้ นทุกรายการหรือไม่

คมู่ อื การปฏิบตั ิงาน 3

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที ้องถน่ิ

ลกู หนี้คา้ งชาระและการจาหน่ายหน้สี ูญ

1) ลูกหนี้ภาษีค้างชาระ
ทุกวันสิ้นปีงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสารวจรายชื่อผู้ค้างชาระภาษีประเภทต่าง ๆ

ตามปีที่ค้างชาระทุกรายพร้อมด้วยจานวนเงินตามท่ีปรากฏในรายละเอียดผู้ชาระภาษี (แบบ กค.1) นามาจัดทา
รายละเอียดลูกหนี้ (แบบ กค.2) เพื่อใช้ในการจัดเก็บภาษีในปีถัดปี และให้จัดทา ใบผ่านรายการบัญชีทั่วไป
เพื่อต้ังยอดเงินที่ค้างชาระภาษีแต่ละประเภทเป็นลูกหน้ี

2) ลูกหนี้รายได้อื่น ๆ
ทุกวันสิ้นปีงบประมาณ หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้จัดเก็บเองที่รู้จานวนเงิน

ระยะเวลาการชาระเงิน หรือท่ีมีหลักฐานหรือสัญญาที่ระบุการชาระที่แน่นอน ซ่ึงเรียกเก็บไม่ได้ในปีงบประมาณ
ที่เกิดรายได้ ให้จัดทารายละเอียดลูกหนี้แยกตามประเภทรายได้ (แบบ กค.4) เพื่อใช้ในการจัดเก็บรายได้
ในปีถัดไป และจัดทาใบผ่านรายการบัญชีท่ัวไป เพ่ือต้ังยอดเงินที่ค้างชาระเป็นลูกหนี้

3) ลูกหน้ีอื่น ๆ
ลูกหนี้อ่ืน ๆ ได้แก่ ลูกหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากรายได้จากการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ให้บันทึกรับรู้ลูกหนี้อื่น ๆ เมื่อสามารถระบุผู้รับผิดชอบได้ โดยเปิดเผยรายละเอียดลูกหนี้อื่น ๆ ไว้ในหมายเหตุ
ประกอบงบแสดงฐานะการเงนิ

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสัง่ การ ที่เก่ียวขอ้ ง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน

และการตรวจเงนิ ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2547 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเตมิ
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๓๑๓.๖/ว ๐๒๐๘ ลงวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๑ เร่อื ง การเร่งรัด

จดั เกบ็ รายได้และลกู หน้ีคา้ งชาระ และการจาหนา่ ยหน้สี ูญ
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.3/ว 3431 ลงวันท่ี 19 ตุลาคม 2552 เรื่อง แนวทาง

การพัฒนาประสิทธิภาพการจดั เก็บรายไดข้ ององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.3/ว 4522 ลงวันท่ี 11 สิงหาคม 2558 เร่ือง แนวทาง

การพฒั นาประสิทธิภาพการจดั เกบ็ รายไดข้ ององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่
5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0311.3/ว 18 ลงวันท่ี 4 มกราคม 2537 เรื่อง การดาเนินการ

เกย่ี วกบั ภาษบี ารงุ ทอ้ งท่ีค้างชาระ
6. หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/ว 4772 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2552 เรื่อง หลกั เกณฑ์

การจาหน่ายหนสี้ ญู การลดยอดลกู หน้ีค้างชาระและวิธกี ารบันทึกบญั ชีขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. รายละเอยี ดลูกหน้ีภาษีค้างชาระ
๒. ทะเบียนลูกหนี้
๓. เอกสารหลักฐานการตดิ ตามเรง่ รัดลกู หนใี้ ห้ชาระหน้ี

4 คูม่ ือการปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที ้องถน่ิ

วิธกี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบลูกหน้ีค้างชาระ เพ่ือให้ทราบยอดลูกหนี้ทั้งหมด และตรวจสอบกับทะเบียนลูกหน้ีให้ครบถ้วน

และเป็นปจั จุบนั โดยให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นตดิ ตามเรง่ รดั ลูกหนใ้ี ห้ชาระหนี้โดยเรว็
2. ตรวจสอบการจาหน่ายหน้ีสูญ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะจาหน่ายหนี้สูญได้เม่ือได้ดาเนินการ

ตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี
2.1 สารวจลูกหน้ีค้างชาระค่าภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และรายได้อ่ืนๆ ตลอดจนลูกหน้ีอย่างอ่ืน

อยา่ งทว่ั ถงึ พรอ้ มทั้งจดั ทาทะเบียนลูกหน้ีครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน ตามท่ีกฎหมาย ระเบยี บ และหนงั สือสง่ั การกาหนด
2.2 ได้มีการติดตามเร่งรัดให้มีการชาระหนี้ แต่ไม่สามารถจัดเก็บได้ เนื่องจากลูกหน้ีกลายเป็นบุคคล

ลม้ ละลาย ยากจน ไม่มีทรพั ยส์ นิ ทจ่ี ะเรียกชาระหนีไ้ ด้ หรอื ด้วยเหตอุ ื่น
3. ตรวจสอบการอนุมัตจิ าหนา่ ยภาษีบารงุ ท้องที่ค้างชาระเกินกว่า 10 ปี โดยตรวจสอบว่าผู้ว่าราชการจังหวัด

เป็นผู้อนุมัติการจาหน่ายภาษีบารุงท้องท่ีค้างชาระเกินกว่า 10 ปี ในเขตเทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล
ออกจากทะเบียนหรือไม่

4. กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดเก็บข้อมูลลูกหน้ีค้างชาระโดยไม่มีมูลหน้ีหรือจัดเก็บข้อมูลผิดพลาด
และได้บันทึกบัญชีเป็นรายได้ประจาปีไว้แล้ว ทาให้ยอดลูกหน้ีค้างชาระไม่ตรงตามความเป็นจริง ให้ตรวจสอบว่า
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินปรับลดยอดลูกหน้ีค้างชาระตามความเป็นจริง โดยมีการเสนอผู้บริหารท้องถ่ินอนุมัติ
และแจ้งใหส้ ภาทอ้ งถิ่นทราบหรอื ไม่

ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ าน 5

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีท้องถนิ่

การจดั ทาแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

แผนพัฒนาท้องถ่ินเปน็ การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาไปสูการปฏบิ ัตโิ ดยมีหลักคดิ ท่ีวา่ ภายใต้ยุทธศาสตร์
การพัฒนาหน่ึง ๆ จะมีแนวทางการพัฒนาไดมากกว่าหน่ึงแนวทาง และภายใต้แนวทางการพัฒนาหนึ่ง จะมีโครงการ/
กิจกรรมไดมากกว่าหน่ึงโครงการ/กิจกรรมท่ีจะต้องนามาดาเนินการเพื่อให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ที่ต้องการในแต่ละยุทธศาสตร์การพัฒนา ซึ่งจะมีผลต่อวัตถุประสงค์ เป้าหมาย จุดมุ่งหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
และสามารถนานโยบายและข้อส่งั การของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยไปปฏบิ ัติไดอ้ ย่างรวดเรว็ และสอดคล้อง
กับแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาภาค ซ่ึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนา
ท้องถ่ินเป็นกรอบในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม และงบประมาณ
จากเงินสะสม โดยนาโครงการพัฒนาในแผนพัฒนาท้องถ่ินไปจัดทางบประมาณตามปีท่ีกาหนด เพ่ือให้กระบวนการ
จัดทางบประมาณเป็นไปด้วยความรอบคอบ และผา่ นกระบวนการการมสี ่วนร่วมของประชาชน

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สอื สง่ั การ ท่ีเกยี่ วข้อง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. ๒๕๔๘

และที่แกไ้ ขเพิม่ เติมถงึ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2561
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0810.3/ว 6046 ลงวันที่ 19 ตุลาคม 2561 เรื่อง ซักซ้อม

แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย
การจดั ทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๘ และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เติมถงึ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2561

3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ท่ี มท 0810.3/ว 0357 ลงวันที่ 19 มกราคม 2561
เรอ่ื ง แนวทาง การดาเนนิ การแผนพฒั นาทอ้ งถิ่นส่ปี ี (พ.ศ. 2561 – 2564) ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0810.3/ว 6247 ลงวันท่ี 3 พฤศจิกายน 2560
เรอ่ื ง แนวทาง การดาเนนิ การแผนพฒั นาท้องถิ่นส่ปี ี (พ.ศ. 2561 – 2564) ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่

5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท่ี มท 0810.3/ว 5797 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2559
เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการจัดทาและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ถึง (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2559

6. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท 0810.3/ว 1617 ลงวันที่ 16 สิงหาคม 2560
เรื่อง เผยแพร่เอกสาร ประเด็นคาถาม – แนวทางปฏิบัติในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินส่ีปี (พ.ศ. 2561 – 2564)
ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ชดุ ท่ี 1

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
2. แผนพฒั นาทอ้ งถนิ่
3. งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
4. แผนการดาเนินงาน

6 คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชีทอ้ งถนิ่

วิธีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาหรือไม่ โดยต้องมาจาก

การจัดประชาคมเพื่อรับทราบปัญหาความต้องการ ประเด็นการพัฒนา แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่
เพือ่ กาหนดแนวทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพฒั นา

2. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องมีการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินหรือไม่ โดยต้องมาจากการ
จัดประชาคมท้องถิ่น กาหนดประเด็นหลักการพัฒนาให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพ่ือการ
พัฒนาในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา รวมท้ังสอดคล้องกับปัญหา ความต้องการของประชาคมและชุมชน โดยให้นา
ข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่างๆ และข้อมูลในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทาแผนพัฒนา
ท้องถนิ่

3. ตรวจสอบการอนุมตั ิแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนพฒั นาท้องถิ่น มีการอนุมัติจากผู้บรหิ ารท้องถ่ิน
และมกี ารประกาศใชแ้ ผนแลว้ หรอื ไม่

4. ตรวจสอบการจัดทาแผนพัฒนาว่ามีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (คสช.) นโยบายของรัฐบาล แผนงานด้านความมั่นคง ภารกิจท่ีได้รับการถ่ายโอนจากส่วนราชการ
และนาคา่ นยิ มพ้ืนฐานของคนไทยมาปรบั ใช้ในแผนพัฒนาหรือไม่

5. ตรวจสอบจดั ทาและทบทวนแผนพฒั นาแล้วเสรจ็ ภายใน ดังนี้
5.1 องค์การบริหารสว่ นจงั หวัด แล้วเสรจ็ ภายในเดือนพฤศจกิ ายนก่อนปีงบประมาณถัดไป
5.2 เทศบาล/องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล แล้วเสร็จภายในเดือนตลุ าคมก่อนปีงบประมาณถดั ไป

6. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนาท้องถิ่นเป็นแนวทางในการจัดทางบประมาณ
หรือไม่

7. ตรวจสอบความสัมพันธ์เช่ือมโยงและสอดคล้องกันระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนา
ท้องถิ่น และงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาต้องมีห้วงระยะเวลาที่สอดคล้องและ
ครอบคลมุ แผนพัฒนาท้องถ่นิ

8. การกาหนดจุดมุ่งหมาย ตัวชี้วัด และเป้าหมายของการพัฒนาท้องถิ่นในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ตอ้ งสามารถวดั ผลของการพัฒนาท้องถิ่นให้เปน็ ไปตามพันธกิจและวสิ ัยทศั น์ได้

9. กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการสารวจและจัดเก็บข้อมูลเพ่ือใช้ในการวางแผนและจัดทา
แผนพัฒนาท้องถิ่น ให้ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งงบประมาณตามความจาเป็นและเหมาะสม
โดยคานึงถึงสถานการณ์คลังของตนเองเป็นหลัก และการเบิกจ่ายในการดาเนินการสารวจและจัดเก็บข้อมูลเป็นไป
ตามระเบยี บที่เก่ียวขอ้ งหรือไม่

10. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการจัดทาแผนการดาเนินงานหรือไม่และมีการปิดประกาศ
แผนการดาเนินงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีประกาศ เพ่ือให้ประชาชนในท้องถ่ินทราบโดยทั่วกันและต้องปิด
ประกาศไวอ้ ยา่ งนอ้ ยสามสบิ วัน

11. ตรวจสอบแผนการดาเนินงานต้องจัดทาเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีประกาศใช้งบประมาณ
รายจ่ายประจาปี งบประมาณรายจ่ายเพม่ิ เตมิ งบประมาณจากเงินสะสม หรอื ได้รับแจง้ แผนงาน/โครงการจากหนว่ ย
ราชการส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค รัฐวิสาหกิจหรอื หน่วยงานอ่ืน ๆ ทตี่ ้องดาเนนิ การในพืน้ ที่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
ในปีงบประมาณนน้ั

12. ตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นวา่ มีการแตง่ ต้งั คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
ท้องถนิ่ หรือไมแ่ ละมีการรายงานผลซึ่งได้จากการติดตามและประเมนิ ผลแผนพัฒนาต่อผบู้ ริหารท้องถ่นิ สภาท้องถ่ิน
และคณะกรรมการพัฒนาทอ้ งถนิ่ หรือไม่

13. ตรวจสอบประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา ต้องปิดประกาศอย่างน้อยปีละสองครั้ง
ให้ประชาชนในท้องถ่ินทราบโดยท่วั กัน ภายในเดือนเมษายนและตุลาคมของทุกปี โดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสบิ วนั

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงาน 7

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที อ้ งถน่ิ

การจัดทางบประมาณ

กระบวนการในการจดั ทางบประมาณประจาปี

เจ้าหนา้ ท่ีงบประมาณ หนว่ ยงานต่างๆ
- ตรวจสอบ ประมาณการรายรบั - รายจา่ ย
- วเิ คราะห์
- จดั ทางบประมาณ หน่วยงานคลงั
- รายงานการคลัง
- สถิติ

คณะผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ นาเสนอตอ่ สภา สภาท้องถ่ินให้ความเหน็ ชอบ
- พิจารณาอนมุ ตั ิให้ (ภายในวนั ที่ 15 สงิ หาคม)

ตั้งงบประมาณ

ประกาศโดยเปดิ เผย ผูว้ า่ ราชการจังหวดั /นายอาเภอ
ใหป้ ระชาชนทราบ - พิจารณาอนุมตั ิ

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื สั่งการ ท่เี ก่ยี วข้อง
๑. พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

พ.ศ. ๒๕๔๒
2. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบคุ คลสว่ นท้องถนิ่ พ.ศ. 2542 มาตรา 35
3. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดั ทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๘

และที่แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ถงึ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2561
4. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๑

และที่แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ถึง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕4๓
5. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน

และการตรวจเงินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๗ และทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เติม ถงึ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561
6. หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๘๐๘.๒/ว 0746 ลงวันที่ 1 กุมภาพนั ธ์ ๒๕62 เรือ่ ง หลักเกณฑ์

และอัตราค่าใช้จ่ายประกอบการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจาปีท่ีเบิกจ่ายในลักษณะค่าใช้สอย วัสดุ
และคา่ สาธารณูปโภค

7. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๘๐๘.๒/ว 1536 ลงวันที่ 19 มีนาคม ๒๕61 เรื่อง หลักเกณฑ์
และอัตราค่าใช้จ่ายประกอบการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจาปีที่เบิกจ่ายในลักษณะค่าใช้สอย วัสดุ
และค่าสาธารณปู โภค

8 คู่มอื การปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีท้องถนิ่

8. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ด่วนมาก ท่ี มท 0808.2/ว 1134 ลงวันท่ี 9 มิถุนายน 2558
เร่ือง การปรับปรุงหลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

9. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 1752 ลงวันท่ี 6 สิงหาคม 2556
เรื่อง แนวทางปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั รูปแบบและการจาแนกประเภทรายรบั –รายจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจาปีขององคก์ ร
ปกครองสว่ นท้องถิ่น

10. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ท่ี มท 0808.2/ว 1248 ลงวันท่ี 27 มิถุนายน 2559
เร่ือง แนวทางการพจิ ารณาสิง่ ของทจี่ ดั เป็นวัสดุและครภุ ัณฑต์ ามหลักการจาแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณปัจจบุ นั และงบประมาณรายจา่ ยเพ่ิมเติม
2. เอกสารการโอนเปลย่ี นแปลงงบประมาณ
3. ประกาศใช้งบประมาณ และประกาศการอนุมัติหรือเปลีย่ นแปลงงบประมาณ

วธิ กี ารตรวจสอบ
๑. ใช้แผนพัฒนาท้องถนิ่ เป็นกรอบในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
2. งบประมาณรายจ่ายประจาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาจจาแนกเป็นงบประมาณรายจ่ายท่ัวไป

และงบประมาณรายจา่ ยเฉพาะการ โดยไดร้ ับความเหน็ ชอบจากสภาท้องถ่นิ
3. ตั้งประมาณการรายรบั รายจา่ ยให้ครบทุกหมวด
3.1 หมวดรายรับ
- ภาษีอากร
- ค่าธรรมเนียม ค่าปรบั และใบอนุญาต
- รายไดจ้ ากทรัพย์สนิ
- รายไดจ้ ากสาธารณูปโภค และกจิ การพาณชิ ย์
- เงนิ อดุ หนนุ
- รายได้เบด็ เตล็ด
3.2 หมวดรายจ่าย
- รายจ่ายงบกลาง
- รายจา่ ยประจา
- รายจา่ ยเพื่อการลงทุน
4. การตรางบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม จะกระทาได้ต่อเม่ืองบประมาณรายจ่ายประจาปีท่ีได้รับอนุมตั ิแล้ว

ไม่พอแก่การใช้จ่าย หรือมีความจาเป็นต้องตั้งรายจ่ายข้ึนใหม่ทั้งน้ี ต้องแสดงให้ปรากฏในงบประมาณรายจ่าย
ดังกล่าวด้วยว่าจะจ่ายจากเงินรายได้ที่มิได้ต้ังรับไว้ในประมาณการรายรับ หรือจากเงินรายได้ที่เกินยอดรวมทั้งส้ิน
ของประมาณการรายรบั ประจาปี

5. ตรวจสอบอานาจในการอนมุ ตั ิการโอนและแกไ้ ขเปลีย่ นแปลงงบประมาณ ดังนี้
➢ การโอนเงินงบประมาณรายจ่ายต่างๆ ให้เป็นอานาจอนุมัติของคณะผู้บริหารท้องถ่ิน กรณีเป็นการ

โอนเงินงบประมาณรายจ่ายในหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและส่ิงก่อสร้างที่ทาให้ลักษณะ ปริมาณ คุณภาพเปล่ียน หรือ
โอนไปต้ังจ่ายเปน็ รายการใหม่ ใหเ้ ปน็ อานาจอนมุ ตั ิของสภาท้องถน่ิ

คมู่ ือการปฏิบัตงิ าน 9

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที อ้ งถนิ่

➢ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคาชี้แจงประมาณการรายรับหรืองบประมาณรายจ่าย ให้เป็นอานาจอนุมัติ
ของคณะผู้บริหารท้องถิ่น ถ้ากรณีท่ีแก้ไขเปล่ียนแปลงคาช้ีแจงงบประมาณรายจ่ายในหมวดค่าครุภัณฑ์ท่ีดินและ
ส่ิงก่อสร้าง ท่ีทาให้ลักษณะ ปริมาณ คุณภาพเปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงสถานท่ีก่อสร้าง ให้เป็นอานาจอนุมัติของ
สภาท้องถ่นิ

➢ การโอนและแก้ไขเปลี่ยนแปลงคาชี้แจงงบประมาณ ในรายการที่เบิกตัดปีหรือขยายเวลา
เบิกจ่าย ใหเ้ ปน็ อานาจของผู้อนุมัตใิ หเ้ บิกตดั ปหี รืออนุมัตใิ หข้ ยายเวลาเบิกจ่าย

➢ เม่ือได้รับการโอนหรือแก้ไขเปล่ียนแปลงคาชี้แจงงบประมาณ ให้ปิดประกาศให้ประชาชนทราบ
และแจง้ ผ้กู ากับดแู ลภายใน ๑๕ วนั

➢ รายการจ่ายที่โอนไปตั้งจ่ายในหมวดอื่นแล้ว ต่อมาพบว่ามีการโอนเงินมาตั้งจ่ายในรายการท่ีโอน
ไปแลว้ อีกคร้งั ให้เจ้าหนา้ ทง่ี บประมาณชี้แจงเหตุผลความจาเปน็ ในการกระทาดังกล่าว

6.ตรวจสอบการเบิกจา่ ยเงนิ จากงบประมาณรายจ่ายประจาปี
➢ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จะจา่ ยเงิน หรือก่อหน้ีผูกพันได้ตามข้อความที่กาหนดไว้ในงบประมาณ

รายจ่ายประจาปี หรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ทั้งนี้ ต้องมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่งหรือหนังสือ
สัง่ การกระทรวงมหาดไทยอนุญาตให้จ่าย และมเี งินรายไดเ้ พียงพอทจ่ี ะเบิกจา่ ยได้

➢ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ หากงบประมาณรายจ่ายมีเหลืออยู่ และได้มีการเบิกตัดปีหรือขยายเวลา
เบิกตดั ปีไวแ้ ลว้ ในกรณีนใี้ ห้เบิกจา่ ยได้โดยอาศัยงบประมาณรายจา่ ยฉบบั เดิมตอ่ ไปได้อกี ภายในระยะเวลาท่ีขอเบิก
ตดั ปี หรอื ขยายเวลาเบิกตัดปไี ว้

➢ หากตรวจสอบพบว่างบประมาณรายจ่ายประจาปีมีการตั้งรายการจ่ายไม่ถูกต้อง เช่น ต้ังรายการ
จ่ายผิดหมวดรายจ่าย ต้ังรายการจ่ายท่ีไม่ใช่อานาจหน้าท่ี หรือรายการจ่ายที่ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ เนื่องจากไม่มี
กฎหมาย ระเบียบ หรอื หนงั สอื สัง่ การกาหนดให้เบิกจ่ายได้ ให้ผู้ตรวจสอบดาเนนิ การ ดงั น้ี

(1) รายการจ่ายที่ตั้งไว้ไม่ถูกต้อง แต่ขณะเข้าตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ได้
เบิกจ่ายเงินงบประมาณตามรายการดังกล่าว ให้ทาบันทึกเสนอให้ผู้บริหารท้องถิ่นทราบ เพื่อระงับไม่ให้
เบกิ จา่ ยเงนิ ตามรายการทไ่ี ม่ถูกต้องนั้น

(2) รายการที่ตั้งไว้ในงบประมาณรายจ่ายไม่ถูกต้อง แต่ได้เบิกจ่ายเงินงบประมาณไปแล้ว ให้ทา
บันทกึ เสนอให้ผู้บรหิ ารท้องถ่นิ ทราบ เพือ่ ต้ังคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงวา่ การเบิกจา่ ยเงนิ ดังกลา่ วทอ้ งถ่ินได้รับ
ความเสียหายหรือไม่ อยู่ในความรับผิดชอบของใคร โดยให้ดาเนินการตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ที่ มท 0313.6/ว 2092 ลงวันท่ี 1 กรกฎาคม 2540 เร่ือง หลักเกณฑ์การปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ีหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น แล้วรายงานผลให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
และกรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่นทราบ

7. รายละเอยี ดและจานวนเงนิ ในการต้งั งบประมาณรายจ่ายท่ีควรตรวจสอบ
➢ รายจ่ายหมวดเงินเดอื นคา่ จา้ ง เงินประโยชน์ตอบแทนอ่ืนของข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถนิ่ ที่มา
จากรายไดโ้ ดยไม่รวมเงนิ อุดหนนุ ตอ้ งไมส่ งู กวา่ ร้อยละส่ีสบิ ของงบประมาณรายจา่ ยประจาปี
➢ หมวดค่าใช้สอย รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ค่าจ้างเหมาบริการ) ต้องดาเนินการตามข้ันตอน
ระเบียบพสั ดุ ไมส่ ามารถต้งั จา่ ยเปน็ คา่ ตอบแทนลูกจา้ งขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินตามกฎหมายแรงงานได้
➢ หมวดเงินอุดหนุน หลักเกณฑ์การตั้งงบประมาณต้องเป็นไปตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ที่ มท 0808.2/ว 3616 ลงวันท่ี 24 มิถุนายน 2559 เร่ือง ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินอุดหนุน
ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2559
➢ งบกลาง ตอ้ งต้ังให้เพยี งพอสาหรบั การช่วยเหลอื ประชาชน ส่งสมทบกองทุน
ต่างๆ และตามข้อผูกพันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ชาระหนี้เงินกู้ เงินกองทุน
บาเหน็จบานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น เปน็ ต้น

10 คมู่ ือการปฏิบตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที อ้ งถนิ่

คู่มือการปฏิบตั งิ าน 11

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถน่ิ

ด้านการเงิน
การตรวจสอบด้านการปฏบิ ัตงิ านด้านการเงินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ แบ่งการตรวจสอบ
เป็น 5 หวั ข้อ ดังนี้
1. การจดั ทารายงานสถานะการเงินประจาวนั
2. การปฏบิ ัติหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการตา่ งๆ และผตู้ รวจสอบการรบั เงนิ
3. การรับเงิน – สง่ เงนิ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
4. การนาส่งเงินและการนาฝากธนาคาร
5. การใชใ้ บเสร็จรับเงนิ

แผนผังการรบั เงนิ และการนาสง่ เงิน

(๑) (๒) (๓)
กำรจัดเกบ็ รำยได้ ใบเสร็จรบั เงนิ ใบนำส่งเงนิ / ใบสำคญั สรุป

ของท้องถนิ่ ใบนำสง่ และใบนำฝำก คณะกรรมกำรรบั ส่งเงิน
ธนำคำร ตำมระเบยี บเบิกจำ่ ยเงนิ ฯ

คณะกรรมกำรตรวจสอบ (๕) ข้อ ๓๕ , ๓๖
กำรรบั เงนิ ตำมระเบยี บเบกิ จ่ำยเงนิ ฯ รำยงำนสถำนะกำรเงนิ
(๔)
ข้อ ๑๒ ประจำวัน ธนำคำร

คณะกรรมกำรเกบ็ รกั ษำเงนิ เสนอผบู้ รหิ ำรทรำบ
ตำมระเบยี บเบกิ จ่ำยเงิน ฯ

ข้อ ๒๒ , ๒๓ , ๒๔

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสั่งการ ท่ีเกีย่ วข้อง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน

และการตรวจเงินขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2547 และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเติม ถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0313.6/ว 2573 ลงวันท่ี 15 สิงหาคม 2540 เร่อื ง แนวทางปฏิบัติ

เมือ่ กรณเี งนิ ขาดบัญชหี รือมีการทจุ รติ ทางการเงนิ ของหนว่ ยการบรหิ ารราชการสว่ นท้องถ่นิ
3. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ที่ มท 0808.4/ว 685 ลงวันที่ 2 พฤษภาคม 2557

เร่อื ง การกาหนดแบบพมิ พ์และเอกสารทีใ่ ช้ในการปฏบิ ตั ิงานทางการเงินขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0808.4/ว 1723 ลงวันท่ี 20 มีนาคม 2558 เรื่อง หลักเกณฑ์

และวธิ ีการปฏบิ ตั ิการบนั ทึกบญั ชี การจดั ทาทะเบยี น และรายงานทางการเงินขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
5. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ที่ มท 0808.4/ว 659 ลงวันท่ี 30 มีนาคม 2558

เรอื่ ง การกาหนดแบบบัญชี ทะเบยี น และรายงานการเงนิ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ

12 คู่มอื การปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที ้องถนิ่

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. รายงานสถานะการเงินประจาวัน
2. หนงั สือรับรองยอดเงนิ ฝากธนาคาร / Bank Statement / สมดุ เงนิ ฝากธนาคาร
3. งบกระทบยอดเงนิ ฝากธนาคาร
4. คาสงั่ แตง่ ตงั้ กรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ กรรมการตรวจสอบจานวนเงนิ ท่ีจดั เกบ็ และนาสง่ คณะกรรมการรับสง่ เงนิ
1) ใบนาสง่ เงนิ ใบสาคญั สรปุ ใบนาส่งเงนิ สาเนาใบนาฝากธนาคาร
2) ตน้ ขัว้ เช็ค รายงานการจดั ทาเชค็
3) ใบเสรจ็ รบั เงนิ ทะเบยี นคมุ ใบเสร็จรับเงนิ รายงานการใช้ใบเสร็จรับเงิน
4) งบประมาณรายจ่ายประจาปี ทะเบยี นคุมเงินรายรบั

จานวนเงนิ คงเหลอื ณ วันเขา้ ตรวจสอบ

วธิ ีการตรวจสอบ
1. ณ วันเข้าตรวจสอบ ให้ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเงินสดคงเหลือในตู้นิรภัยหรือไม่

หากพบว่ามใี ห้ทาการตรวจนับ โดยตอ้ งตรงกับยอดเงนิ สดคงเหลอื ที่ปรากฏในรายงานสถานะการเงนิ ประจาวนั
2. ตรวจสอบยอดเงินฝากธนาคารในรายงานสถานะการเงินประจาวัน ณ วันที่เข้าตรวจสอบ

โดยตรวจสอบกับหนังสือรับรองยอดเงินฝากธนาคาร หากไม่ตรงกันให้เจ้าหน้าท่ีจัดทางบกระทบยอดเงินฝาก
ธนาคารเพอื่ หาสาเหตขุ องผลตา่ ง

3. ณ วันส้ินเดือน หากตรวจสอบพบว่ายอดเงินคงเหลือเงินฝากธนาคารตามหนังสือรับรองยอดเงินฝาก
ธนาคารไม่ตรงกับยอดเงินคงเหลือในรายงานสถานะการเงินประจาวันให้จัดทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
เพ่ือหาสาเหตขุ องผลตา่ ง

การจดั ทารายงานสถานะการเงนิ ประจาวนั

วธิ ีการตรวจสอบ
1. ณ วันเข้าตรวจสอบ ให้ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทารายงานสถานะการเงินประจาวัน

เป็นไปตามแบบท่กี าหนดและจัดทาเปน็ ปจั จบุ ันหรอื ไม่
2. กรณีเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ จัดทารายงานสถานะการเงินประจาวันไม่เป็นปัจจุบันให้ใช้ยอดเงินคงเหลือ

จากหนังสือรับรองยอดของธนาคารเป็นข้อมูลในการเก็บยอดเงินคงเหลือ หากเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบไม่นาหนังสือ
รับรองยอดของธนาคารมาให้ตรวจสอบ ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบชี้แจงข้อเท็จจริงกรณีไม่ปฏิบัติตามหนังสือที่แจ้งให้
จัดเตรียมเอกสารเพ่ือรอรับการตรวจ หรือใหผ้ ้บู รหิ ารแต่งต้ังคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง แลว้ แตก่ รณี

3. ตรวจสอบรายงานสถานะการเงินประจาวัน เพ่ือตรวจสอบยอดเงินคงเหลือ รายงานสถานะการเงิน
ประจาวันให้จัดทาทุกวันที่มีการรับจ่ายเงิน หากวันใดไม่มีการรับจ่ายเงินให้หมายเหตุไว้ในวันที่มีการรับจ่ายเงิน
วันถัดไป

คู่มือการปฏบิ ัติงาน 13

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชีท้องถนิ่

4. ตรวจสอบว่าเจ้าหน้าที่ได้เสนอรายงานสถานะการเงินประจาวันให้ผู้บริหารท้องถิ่นทราบหรือไม่
โดยต้องเสนอรายงานสถานะการเงินประจาวันผ่านปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และตรวจสอบว่าผู้จัดทา
ปลดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน คณะกรรมการเกบ็ รักษาเงิน และผบู้ ริหารทอ้ งถนิ่ ลงลายมือช่ือครบถว้ นหรือไม่

5. กรณีพบว่าเจ้าหนา้ ทผ่ี รู้ ับผดิ ชอบไม่จดั ทารายงานสถานะการเงินประจาวนั และไม่นาเสนอ ใหผ้ ู้บรหิ ารทราบ
เป็นเวลานาน หรือมีเจตนาละเว้นไม่ปฏิบัติหน้าท่ี ให้ผู้บริหารสอบข้อเท็จจริงและลงโทษทางวินัยตามควรแก่กรณี
แลว้ รายงานผลการดาเนนิ การให้ผูก้ ากบั ดแู ลทราบ

การปฏิบตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการตา่ งๆ และผูต้ รวจสอบการรับเงิน

วธิ ีการตรวจสอบ
กรรมการเก็บรักษาเงนิ
๑. ตรวจสอบวา่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้แตง่ ตั้งคณะกรรมการเกบ็ รักษาเงินหรือไม่
๒. ตรวจสอบการแต่งต้ังคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน อย่างน้อย 3 คน ในจานวนน้ีให้หัวหน้าหน่วยงาน

คลังเป็นกรรมการโดยตาแหน่งหน่ึงคน และกรรมการเก็บรักษาเงินอื่นอีกอย่างน้อยสองคน โดยแต่งตั้งจาก
พนักงานส่วนท้องถ่ิน โดยให้คานึงถึงหน้าท่ีความรับผิดชอบ เว้นแต่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีพนักงาน
สว่ นทอ้ งถิน่ ไม่ครบจานวนที่จะแตง่ ต้ังเป็นกรรมการ ใหแ้ ตง่ ตง้ั ผ้ชู ว่ ยผูบ้ รหิ ารท้องถิน่ เป็นกรรมการให้ครบจานวนก็ได้

๓. การแต่งตั้งกรรมการแทนช่ัวคราว กรณีกรรมการเก็บรักษาเงินผูใดไมสามารถปฏิบัติหน้าท่ีกรรมการได
ใหผู้บรหิ ารท้องถนิ่ พิจารณาแตงตงั้ พนกั งานสวนทอ้ งถิ่น หรอื ผูชวยผูบรหิ ารทอ้ งถนิ่ ตามขอ้ 22 เป็นกรรมการแทน
ช่วั คราวใหครบจานวน การแตงตง้ั ผูที่จะเปนกรรมการแทนจะแตงตง้ั ไวเปนการประจาเพื่อปฏิบัตหิ น้าท่ีแทนชั่วคราวกไ็ ด

๔. ตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการเก็บรักษาเงินว่าปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ ในกรณีที่มี เงินสดคงเหลือ
คณะกรรมการเก็บรักษาเงนิ มีการลงลายมือชื่อในรายงานสถานะการเงนิ ประจาวนั ครบถ้วนหรือไม่

ผู้ตรวจสอบจานวนเงินทจ่ี ดั เก็บ
๑. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดให้มีผู้ตรวจสอบจานวนเงินท่ีเจ้าหน้าท่ีจัดเก็บและนาส่ง
กับหลักฐานและรายการท่ีบันทึกในสมุดเงินสดว่าถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ หรือผู้ที่ได้รับการแต่งต้ังไม่ปฏิบัติหน้าท่ี
ตามท่ีได้รับมอบหมาย
๒. ตรวจสอบวา่ กรณีมใี บเสร็จรับเงนิ หลายฉบับที่ใช้จัดเกบ็ เงินในวันเดียวกันมกี ารรวมจานวนเงินท่ีจัดเก็บ
ได้ในวันนัน้ ไว้ทหี่ ลังสาเนาใบเสรจ็ รบั เงนิ ฉบับสุดท้ายครบถว้ นถูกต้องหรือไม่
กรรมการรับส่งเงิน
1. ตรวจสอบว่าองคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ไดแ้ ต่งตง้ั กรรมการรับส่งเงินหรือไม่
2. ตรวจสอบการแต่งตั้งพนักงานส่วนท้องถ่ินอย่างน้อยสองคน เป็นกรรมการรับผิดชอบร่วมกันควบคุม
การรบั สง่ เงนิ
3. การแตง่ ต้ังกรรมการแทนชว่ั คราว กรณกี รรมการรับส่งเงินไม่สามารถปฏบิ ตั ิหน้าท่ีได้ให้ผ้บู ริหารทอ้ งถิ่น
แต่งตั้งกรรมการแทนชั่วคราว แตงตั้งพนักงานสวนท้องถิ่นเป็นกรรมการแทนชั่วคราว การแตงตั้งผูท่ีจะเป็น
กรรมการแทนจะแตงตั้งไวเปนการประจาเพ่ือปฏิบัติหน้าที่แทนช่วั คราวก็ได

14 คมู่ อื การปฏบิ ัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีทอ้ งถนิ่

การรับเงนิ – สง่ เงินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่

วธิ กี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบเงินท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับไว้ ให้นาส่งเป็นเงินรายได้ท้ังส้ิน ยกเว้นท่ีมีผู้อุทิศให้แก่

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเปน็ การเฉพาะเจาะจงให้ทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรอื กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
จดั หารายไดเ้ ป็นครงั้ คราว

2. การตรวจสอบเงินประจาวัน หน่วยงานคลังต้องจัดให้มีการตรวจสอบจานวนเงินที่เจ้าหน้าท่ีจัดเก็บได้
ในวันน้ันและนาส่งกับหลักฐาน และรายการที่บันทึกไว้ในสมุดเงินสดว่าถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ หากถูกต้อง
ให้ผู้ตรวจรวมเงินที่จัดเก็บได้ในวันเดียวกันไว้ที่หลังสาเนาใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท้ายและลงล ายมือชื่อกากับไว้
และผู้รบั เงนิ ผู้ส่งเงินตอ้ งลงลายมือช่อื ในใบนาส่งเงนิ และใบสาคัญสรุปใบนาสง่ เงินใหค้ รบถ้วนดว้ ย

3. ตรวจสอบยอดเงินรายรับ โดยตรวจสอบยอดเงินที่ลงในบัญชีเงินสดรับกับใบเสร็จรับเงินในแต่ละวัน
กบั ใบนาส่ง และยอดเงินในใบสาคญั สรุปใบนาส่ง

การนาสง่ เงนิ และการนาเงินฝากธนาคาร

วิธีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบวา่ ในการนาส่งเงนิ มีการจดั ทาหลักฐานการจัดทาบันทึกรบั ส่งเงินหรือไม่
2. ตรวจสอบเมื่อมีการรับเงินรายได้ ให้นาฝากธนาคารท้ังจานวนในวันนั้น หากนาฝากไม่ทันให้ส่งมอบเงิน

ให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงินเพ่ือเก็บรักษาไว้ในตู้นิรภัย ซ่ึงต้ังอยู่ในท่ีปลอดภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และให้นาฝากธนาคารทั้งจานวนในวันทาการถัดไป กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีมีพ้ืนท่ีห่างไกลการคมนาคม
ไมส่ ะดวก ไมส่ ามารถนาฝากธนาคารไดเ้ ปน็ ประจาทุกวนั ให้นาฝากธนาคารในวันทาการสดุ ท้ายของสปั ดาห์

3. หากมีเงินสดคงเหลือท่ีไม่ได้นาฝากธนาคารให้เก็บในตู้นิรภัย ให้มีลูกกุญแจอย่างน้อย สองดอก
แต่ละดอกมีลักษณะต่างกัน โดยกรรมการเก็บรักษาเงินถือคนละดอก และให้มีลูกกุญแจอย่างน้อย 2 สารับ
ให้กรรมการเก็บรักษาเงินเก็บรักษาหน่ึงสารับ และอีกสารับให้เก็บฝากในตู้นิรภัยของหน่วยงานอื่นที่เห็นสมควร
ในลกั ษณะหบี หอ่

4. กรณีรับเงินรายได้แล้วไม่นาส่ง หรือนาส่งไม่ครบตามจานวนที่จัดเก็บ หรือนาส่งไม่ตรงกับวันที่จัดเก็บ
หรือนาส่งวันรุ่งขึ้นโดยไม่มีการบันทึกว่ารับเงินหลังปิดบัญชี หรือมีการนาฝากธนาคารน้อยกว่าจานวนที่จัดเก็บได้
ต้องให้ผู้รับผิดชอบนาส่งในวันที่ตรวจพบ และหากนาส่งยังไม่ครบถ้วนถือว่าทาให้เงินขาดบัญชี หรือมีลักษณะการ
หมุนเงนิ ต้องดาเนินการตามแนวทางปฏิบัติเม่ือกรณีเงินขาดบัญชีหรอื มีการทุจริตทางการเงินของหน่วยการบริหาร
ราชการส่วนทอ้ งถน่ิ

คู่มือการปฏบิ ตั งิ าน 15

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที ้องถน่ิ

การใชใ้ บเสรจ็ รับเงิน
วิธีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบใบเสร็จรับเงิน ท่ีเป็นเล่มให้มสี าเนา เยบ็ ติดไว้กับเล่มหนึ่งฉบับ สาหรบั ใบเสร็จรับเงินที่พิมพ์

ด้วยคอมพวิ เตอรต์ รวจสอบวา่ ต้องมสี าเนาหนึ่งฉบบั และมีระบบควบคุมการพมิ พด์ ้วย
2. การเขียนใบเสร็จรับเงิน ห้ามขูด ลบ แก้ไข เพิ่ม เติม หากมีความจาเป็นต้องแก้ไขให้ขีดฆ่า

และให้ผรู้ ับเงนิ ลงลายมอื ช่อื กากบั การขดี ฆา่ ไว้
3. ตรวจสอบทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงนิ มีการจัดทาครบถ้วนสมบูรณ์หรือไม่ ผู้รับและผู้จ่ายลงลายมือชื่อ

รับหรือจ่ายใบเสร็จกันหรือไม่ โดยต้องจัดทาทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินไว้เพ่ือให้สาม ารถตรวจสอบได้ว่า
มใี บเสรจ็ จานวนเท่าใด เลขทใี่ ดถึงเลขทใ่ี ด และการจา่ ยใบเสร็จรบั เงินให้ผู้ใดให้พิจารณาตามความเหมาะสมด้วย

4. ตรวจสอบรายงานการใช้ใบเสร็จรับเงินเม่ือส้ินปีงบประมาณ ตรวจสอบว่าหัวหน้าหน่วยงานคลัง
ได้จัดทารายงานการใช้ใบเสร็จรับเงินท่ีอยู่ในความรับผิดชอบว่ามีจานวนเท่าใด เลขที่ใดถึงเลขท่ีใด และใช้ไปแล้ว
เลขที่ใดถึงเลขท่ีใด มีการเจาะปรุยกเลิกการใช้ เลขท่ีใดถึงเลขที่ใด อย่างช้าไม่เกิน 31 ตุลาคม ของปีถัดไป
โดยเสนอผ่านปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือเสนอผู้บริหารท้องถิ่นทราบ ยกเว้นใบเสร็จรับเงินภาษีบา รุง
ท้องทใ่ี หร้ ายงาน เจาะปรฯุ เม่อื สิน้ เดอื นธันวาคมของทุกปี

5. ตรวจสอบจานวนใบเสร็จรับเงินคงเหลือ หากไม่ตรงกับยอดคงเหลอื ในทะเบียนคุม หรือใบเสร็จรับเงิน
ที่จ่ายออกจากทะเบียนเพื่อนาไปใช้เก็บเงินแล้ว แต่ไม่มีต้นขั้วให้ตรวจสอบ ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบตรวจสอบว่า
เกดิ จากสาเหตุใด และต้องมผี ู้รับผดิ ชอบหรอื ไม่

16 คู่มอื การปฏบิ ัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

การเบิกจ่าย

การเบิกจ่ายเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นเรื่องหน่ึงที่ต้องให้ความสาคัญในการตรวจสอบ
โดยจะต้องตรวจสอบอย่างละเอียดรอบคอบ เพื่อให้การเบิกจ่ายเงินรายจ่ายตามงบประมาณ การเบิกจ่ายเงิน
อุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ หรือการเบิกจ่ายเงินตามนโนบายของรัฐบาล เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหนังสือ
ส่ังการที่เก่ียวข้อง โดยแบ่งการตรวจสอบออกเป็นสามส่วนคือ ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงิน ตรวจสอบเอกสาร
ประกอบฎกี า และตรวจสอบสทิ ธิในการขอรบั เงนิ มแี ผนผงั การตรวจสอบการเบิกจา่ ยเงนิ ดงั น้ี

แผนผงั การเบิกจา่ ยเงนิ และเอกสารประกอบ

รายจ่ายตามงบประมาณ เงินอดุ หนุนเฉพาะกิจหรอื ตามนโยบายรัฐบาล

งบประมาณรายจา่ ย ทะเบียนคุมเงินรายจ่าย หนังสอื แจ้งการ
ตามงบประมาณ จัดสรร/โอนเงนิ

สมดุ คมุ ฎีกาเบิกเงิน
ฎกี าเบกิ จา่ ยเงนิ

หน้าฎีกา เอกสารประกอบฎกี า หลักฐานการจ่าย
รายงานการจดั ทาเช็ค

คู่มือการปฏิบัตงิ าน 17

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที ้องถน่ิ

การเบิกจ่ายเงนิ

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สอื สัง่ การ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน

และการตรวจเงนิ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ถึงฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2561
2. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ท่ี มท 0808.4/ว 685 ลงวันที่ 2 พฤษภาคม 2557

เร่อื ง การกาหนดแบบพิมพแ์ ละเอกสารทใ่ี ช้ในการปฏบิ ัติงานทางการเงินขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

ตามข้อ 67 กาหนดว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะที่กฎหมาย
ระเบยี บขอ้ บงั คบั หรือหนังสือส่ังการท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนดไว้

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ขอ้ บัญญัติ/เทศบญั ญตั ิ
2. แผนการใชจ้ ่ายเงนิ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และของหน่วยงานผู้เบกิ
3. ทะเบียนคุมเงินรายจา่ ยตามงบประมาณ
4. สมดุ ฎีกาเบกิ จา่ ยเงิน
5. ฎกี าเบกิ จ่ายเงิน
6. รายงานการจดั ทาเชค็
7. สมดุ เงินสดจา่ ย ตน้ ขวั้ เช็ค และ Bank Statement

วิธีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบงบประมาณว่าการจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้ต้ังงบประมาณประจาปี หรืองบประมาณ

เพิ่มเติม หรือขอโอนแก้ไขเปล่ียนแปลงคาชี้แจงหรือไม่ เน่ืองจากการจ่ายเงินหรือก่อหน้ีผูกพันจะกระทาได้
แต่เฉพาะทกี่ ฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั หรือหนงั สอื ส่ังการทก่ี ระทรวงมหาดไทยกาหนดไวเ้ ท่านั้น

2. ตรวจสอบแผนการใช้จ่ายเงิน
➢หน่วยงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องวางแผนการเบิกจ่ายเงินตามงบประมาณรายจ่าย

ประจาปี โดยให้วางแผนทุก 3 เดือน (ไตรมาส) ตามแผนการใช้จ่ายเงินที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินกาหนด
สง่ ให้กองคลงั กอ่ นวนั เริ่มตน้ ของแตล่ ะไตรมาสอย่างน้อย 20 วนั

➢กองคลังจะต้องบูรณาการแผนของหน่วยงานให้เป็นแผนการใช้จ่ายเงินรวมประจาไตรมาส เพ่ือให้
แผนการใชจ้ ่ายเงนิ รวมมคี วามสมั พันธก์ บั เงินสดที่หมนุ เวียน และทีจ่ ะได้รับเงินในแต่ละช่วงเวลา

18 คูม่ ือการปฏบิ ตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีทอ้ งถน่ิ

3. การขอเบิกเงินจากหน่วยงานคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณใด ให้เบิกได้แต่เฉพาะในปีงบประมาณน้ัน รวมทั้งเงินอุดหนุนท่ีรัฐบาลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
โดยที่มิตอ้ งจดั ทาขอ้ บัญญัติหรอื เทศบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี เวน้ แต่

➢เป็นเงินงบประมาณรายจ่ายท่ียังมิได้ก่อหน้ีผูกพันในปีงบประมาณนั้น และได้รับอนุมัติให้กันเงินไว้
ตอ่ ผู้มีอานาจตามระเบยี บแล้ว

➢เป็นงบประมาณรายจ่ายที่ได้ก่อหน้ีผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ และได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร
ท้องถนิ่ ใหก้ นั เงินไปจา่ ยในปีงบประมาณถัดไป

➢ กรณีมีเงินอุดหนุนที่รัฐบาลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยท่ีมิต้องจัดทาข้อบัญญัติหรือ
เทศบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ยประจาปีซงึ่ เบิกจา่ ยไมท่ นั ภายในสนิ้ ปงี บประมาณทผี่ า่ นมาและไดบ้ ันทึกบญั ชไี ว้แล้ว

4. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทาทะเบียนคุมฎีกาการเบิกจ่ายเงิน และรายงาน
การจดั ทาเชค็ หรอื ไม่

5. การเบิกเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้หน่วยงานผู้เบิกขอเบิกกับหน่วยงานคลังโดยให้
หวั หน้าหนว่ ยงานผ้เู บิกเปน็ ผ้ลู งลายมอื ชือ่ เบกิ เงนิ และให้วางฎกี าตามแบบท่กี รมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินกาหนด

6. ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงิน โดยตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของหน้าฎีกาเบิกเงิน เช่น การลง
รายการงบประมาณคงเหลือ เลขที่ฎีกา ผู้ขอเบิก ผู้ตรวจฎีกา ผู้อนุมัติฎีกา ผู้รับเงิน และผู้จ่ายเงิน ลงลายมือชื่อ
ครบถ้วนหรือไม่และเอกสารประกอบฎีกาว่าครบถ้วนหรือไม่ โดยตรวจสอบยอดท่ีจา่ ยตามหน้าฎีกากับยอดเดบิตใน
สมุดเงินสดจ่าย แยกตามหมวดรายจ่ายและหลักฐานการเบิก หากเป็นภาพถ่ายหรือสาเนาให้ผู้เบิกรับรอง
ความถกู ตอ้ งด้วย

7. กรณีการซื้อ เช่าทรัพย์สิน หรือจ้างทาของให้หน่วยงานผู้เบิก วางฎีกาอย่างช้าไม่เกิน 5 วัน นับจากวัน
ตรวจรับทรพั ยส์ นิ หรือตรวจรับงาน

8. การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิให้จ่ายเป็นเช็ค กรณีจาเป็นท่ีไม่อาจจ่าย
เป็นเช็คได้ให้จัดทาใบถอนเงินฝากธนาคารเพื่อให้ธนาคารออกต๋ัวแลกเงินสั่งจ่ายให้เจ้าหนี้
หรอื ผู้มีสิทธิ

9. การจ่ายเงินทุกกรณี ถ้าผู้จ่ายมีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องหักภาษีใด ๆ ไว้
ณ ที่จ่าย หรือเงินอ่ืนใดท่ีมีกฎหมายกาหนดให้หักเพื่อนาส่งส่วนราชการหรือหน่วยงานใด
ใหด้ าเนินการตามกฎหมายน้ัน

10. ตรวจสอบยอดเงินจ่ายที่บัญชีเงินสดจ่ายช่องเครดิตธนาคาร กับ Bank Statement
และต้นขัว้ เช็คทจ่ี า่ ยว่าตรงกนั หรอื ไม่

11. ตรวจสอบหลักฐานการจ่าย ได้แก่ ใบเสร็จรับเงินหรือใบสาคัญรับเงินที่ใช้ประกอบฎีกาเบิกเงิน
ผู้จ่ายเงินประทับตราข้อความว่า “จ่ายเงินแล้ว” โดยลงลายมือช่ือรับรองการจ่าย พร้อมทั้งมี ช่ือ-สกุลตัวบรรจง
พร้อมวันเดือนปีที่จ่ายกากับไว้ในหลักฐานการจ่ายเงินให้แก่เจ้าหน้ีหรือผู้รับเงิน กรณีเป็นใบสาคัญคู่จ่ายหัวหน้า
หน่วยงานคลงั ต้องลงลายมอื ชื่อรับรองความถูกตอ้ งกากับไวด้ ว้ ย

12. กรณีผู้มีสิทธิรับเงินไม่สามารถมารับด้วยตัวเองได้ ต้องมีใบมอบฉันทะหรือหนังสือมอบอานาจ
แลว้ แต่กรณี

13. เงินท่ีเบิกถ้าไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมดให้หน่วยงานผู้เบิกนาส่งคืนหน่วยงานคลังภายในสิบห้าวัน
นบั จากวนั ทีไ่ ดร้ ับเงินจากหนว่ ยงานคลัง

14. การจัดเกบ็ ฎีกา ให้เจา้ หน้าท่ีผู้รับผิดชอบจดั เกบ็ ฎีกาเรยี งตามรายงานการจดั ทาเช็ค

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน 19

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีท้องถน่ิ

การเขียนเชค็ ส่ังจ่าย

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สอื สงั่ การ ท่ีเก่ียวข้อง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการรับเงิน การเบกิ จา่ ยเงิน การฝากเงิน การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจเงิน

ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไ้ ขเพม่ิ เติม ถึงฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือส่ังการขา้ งตน้ สรปุ สาระสาคัญได้ ดังนี้
1. การจ่ายเงินให้เจา้ หน้ีหรอื ผู้มีสิทธิรับเงิน ในกรณีซ้ือทรัพยส์ ิน จา้ งทาของ หรือเช่าทรัพย์สนิ ให้ออกเช็ค

สั่งจ่ายในนามของเจา้ หนห้ี รอื ผูม้ ีสทิ ธิรบั เงนิ โดยขดี ฆา่ คาว่า “หรือผู้ถือ” ออกและขดี คร่อมด้วย
2. การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหน้ีหรือผู้มีสิทธิรับเงิน นอกจากกรณีตาม ข้อ 1. ให้ออกเช็คสั่งจ่าย

ในนามของเจา้ หน้ีหรือผมู้ สี ทิ ธริ บั เงนิ โดยขดี ฆ่าคาว่า “หรอื ผถู้ อื ” และจะขดี ครอ่ มหรอื ไมก่ ไ็ ด้
3. ในกรณสี ั่งจ่ายเงินเพ่ือขอรับเงนิ สดมาจ่าย ใหก้ ระทาไดใ้ นการจา่ ยเงนิ ท่มี วี งเงนิ ไมเ่ กิน

ห้าพันบาท โดยให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามหัวหน้าหน่วยงานคลังหรือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานคลัง
และขดี ฆ่าคาว่า “หรือผถู้ อื ” ออก ห้ามออกเชค็ สง่ั จ่ายเงินสด

4. การเขียนหรอื พิมพจ์ านวนเงนิ ในเชค็ ท่เี ป็นตวั เลขและตัวอักษรเขียนหรือพิมพใ์ หช้ ดิ เส้น และชิด
คาว่า “บาท” หรือขีดเส้นหน้าจานวนเงินท้ังตัวเลขและตัวอักษร โดยไม่มีช่องว่างท่ีจะเขียนหรือพิมพ์
จานวนเงินเพิ่มเติมได้ และให้ขีดเส้นตรงหลังชื่อสกุล ช่ือบริษัท หรือห้างหุ้นส่วน จนชิดคาว่า “หรือผู้ถือ”
โดยมใิ ห้มีการเขยี นหรอื พมิ พช์ ่ือบุคคลอื่นเพิ่มเติมได้อีก

5. ในการเขียนเช็คสั่งจ่ายเงิน ห้ามลงลายมือชื่อสั่งจ่ายในเช็คไว้ล่วงหน้า โดยยังมิได้มีการเขียนหรือพิมพ์
ช่อื ผู้รับเงิน และจานวนเงินท่ีสง่ั จา่ ย

6. การลงนามส่ังจ่ายเงินในเช็คสั่งจ่ายต้องลงนามรว่ มกันอย่างน้อยสามคนและในจานวนน้ีต้องมีผู้บริหาร
ท้องถ่นิ และปลดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ร่วมลงนามด้วยทกุ คร้ัง

7. หากเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินไม่มารับเช็คภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันสั่งจ่าย ให้ยกเลิกเช็คนั้น
หากมกี ารยกเลกิ เช็คดังกลา่ วเกินสองคร้งั ต้องรายงานเหตุผลใหผ้ ้บู รหิ ารทอ้ งถิ่นทราบ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. เชค็ /ตน้ ขวั้ เชค็
2. ฎกี าเบกิ จ่ายเงิน
3. หนังสือแจง้ รายชือ่ ผู้ลงนามในการส่ังจ่ายเช็ค ที่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ส่งใหก้ ับธนาคาร

วธิ กี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบว่าการเช็คสั่งจ่ายในกรณีซ้ือทรัพย์สิน จ้างทาของ หรือเช่าทรัพย์สินในนามของเจ้าหนี้

หรอื ผูม้ ีสิทธริ ับเงิน โดยขีดฆา่ คาว่า “หรอื ตามคาสงั่ ” หรือ “หรือผถู้ อื ” ออก และขีดครอ่ มหรอื ไม่
2. ตรวจสอบการออกเช็คในนามหัวหน้าหน่วยงานคลังหรือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานคลัง เป็นการจ่ายเงิน

กรณีวงเงินต่ากว่า 5,๐๐๐ บาท หรอื ไม่ และได้ขีดฆ่าคาว่า “หรือตามคาส่ัง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออก ห้ามออกเช็ค
สั่งจา่ ยเงนิ สดหรอื ไม่

3. ตรวจสอบการลงนามสงั่ จ่ายเงนิ ในเช็คสัง่ จา่ ยมผี บู้ ริหารทอ้ งถ่นิ และปลัดองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ รว่ มลงนาม
ดว้ ยทกุ ครัง้ หรอื ไม่

20 คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

การยมื เงนิ งบประมาณ

แผนผงั การตรวจสอบการยมื เงินงบประมาณ

ทะเบยี นคุมลกู หนี้ ไมม่ ีเงินยืมคงค้าง
เงินยืมงบประมาณ

สญั ญายืมเงิน - รายการค่าจา้ งแรงงาน ฎีกาเบิกจา่ ย
- รายการค่าตอบแทน

ใช้สอยและวสั ดุ
- รายการค่าสาธารณูปโภค

รายงานการจดั ทาเชค็

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสัง่ การ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน

และการตรวจเงินขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ ถึงฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2561

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสัง่ การขา้ งต้น สรุปสาระสาคญั ได้ ดงั น้ี
1. มงี บประมาณเพื่อการนัน้ แล้ว
2. ทาสัญญายมื เงนิ ตามแบบทีก่ รมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่นกาหนด
3. การอนุมตั ิให้ผ้ยู มื เงนิ เพื่อใช้ในราชการแต่ละราย ให้ผมู้ ีอานาจพิจารณาอนมุ ตั ิให้ยืมเทา่ ที่จาเป็นได้เฉพาะ

ผู้มีหน้าทต่ี ้องปฏิบตั ิงานนั้น ๆ และหา้ มมิใหอ้ นมุ ตั ิใหย้ มื เงินรายใหม่ในเม่ือผู้ยืมมิได้ชาระคืนเงินยมื รายเกา่ ใหเ้ สรจ็ ส้ิน
ไปก่อน

4. กรณีที่ผู้ยืมไม่มีเงนิ ใดๆ อันจะพึงได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีจะหักส่งใช้เงินยืมได้ ให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินกาหนดให้ผู้ยืมหาหลักทรัพย์มาวางเป็นประกัน หรือหาบุคคลที่มีหลักฐานมาทาสัญญา
คา้ ประกันไว้ตอ่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ด้วย

คูม่ อื การปฏบิ ัติงาน 21

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที อ้ งถนิ่

5. เงนิ ทยี่ มื ไป ให้ผูย้ ืมสง่ ใบสาคัญและเงินเหลอื จ่าย (ถา้ มี) ภายในกาหนดระยะเวลา ดังนี้
5.1 กรณีเดินทางกลับภูมิลาเนาเดิม ให้ส่งต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่จ่ายเงินให้ยืมโดย

ทางไปรษณียล์ งทะเบียนหรือธนาณตั ิแลว้ แต่กรณี ภายใน 30 วันนับจากวนั ท่ีไดร้ บั เงนิ
5.2 กรณีเดินทางไปราชการอนื่ ให้สง่ ต่อองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ผู้ให้ยืมภายใน 15 วันนบั จากวัน

กลบั มาถงึ
5.3 การยืมเงินเพ่ือปฏิบัติราชการนอกจากตาม 5.1 หรือ 5.2 ให้ส่งต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

ผ้ใู หย้ มื ภายในสามสิบวนั นบั จากวันที่ได้รับเงนิ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ทะเบียนลกู หน้เี งนิ ยมื งบประมาณ
2. สัญญาเงนิ ยืม
3. ฎีกาเบิกเงินยืมงบประมาณ และเอกสารประกอบ
4. ฎีกาส่งใช้เงนิ ยมื งบประมาณ และเอกสารประกอบ

วธิ กี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบวา่ มีงบประมาณเพอ่ื การนนั้ แลว้ หรือไม่
2. ตรวจสอบว่าผู้ยมื ทาสญั ญายมื เงินตามแบบที่กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่นกาหนดหรอื ไมแ่ ละรับรอง

วา่ จะปฏิบัติตามระเบียบ ขอ้ บังคับ หรือคาส่งั ท่ีได้กาหนดไว้ และจะนาใบสาคัญคู่จ่ายท่ีถกู ตอ้ งรวมท้ังเงนิ เหลอื จา่ ย
(ถา้ มี) ส่งคืน ถ้าไม่ส่งตามกาหนดกจ็ ะชดใช้เงินหรือยนิ ยอมให้องค์กรปกครองท้องถนิ่ หักเงนิ เพอื่ ชดใช้เงินยืมนนั้

3. กรณีทีผ่ ู้ยืมไม่มีเงินใดๆ อันจะพึงได้รบั จากองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินที่จะหักสง่ ใช้เงินยืมได้ ให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนดให้ผู้ยืมหาหลักทรัพย์มาวางเป็นประกัน หรือหาบุคคลที่มีหลักฐานมาทาสัญญา
ค้าประกันไว้ตอ่ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ด้วย

4. ตรวจสอบว่าผ้ยู มื ต้องมเี งนิ ยืมคงค้างชาระหรือไม่และให้ยมื ไดเ้ ฉพาะผมู้ ีหนา้ ท่ตี ้องปฏิบัติงานน้นั ๆ
5. ตรวจสอบฎีกาเบิกเงินยืม และเอกสารประกอบ ต้องได้รับการอนุมัติให้จ่ายเงินยืมตามสัญญาเงินยืม
โดยผู้บริหารทอ้ งถิน่ เปน็ ผู้อนุมัติ
6. ตรวจสอบการบันทึกรายการยืม และรายการส่งใช้เงินยืมในทะเบียนเงินยืมทุกคร้ัง โดยให้ผู้ยืม – ผู้ส่งใช้
ลงช่อื ในทะเบยี นเงินยืมสาหรบั รายการนั้นๆ ด้วย
7. ตรวจสอบกรณีครบกาหนดการส่งใช้เงินยืมแล้ว ผู้ยืมยังไม่ชดใช้เงินยืมให้ผู้บริหารท้องถ่ินมีอานาจ
สงั่ การให้ผู้ค้างชาระเงนิ ยืมสง่ ใช้เงินยืมภายในกาหนดเวลาตามทีเ่ ห็นสมควร อย่างช้าไมเ่ กนิ 30 วัน
8. ตรวจสอบการส่งใช้ใบสาคัญและเงนิ เหลือจ่าย (ถ้าม)ี ส่งใช้ภายในกาหนดระยะเวลาหรือไม่
9. ตรวจสอบกรณีการส่งใช้เงินยืม และมีเงินสดเหลือจ่าย ได้มีการออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ยืม
ไว้เปน็ หลักฐานดว้ ยหรอื ไม่
10. หากผู้ยืมส่งใบสาคัญคู่จ่ายหักล้างเงินยืมแล้วมีเหตุให้ต้องทักท้วง
ตอ้ งแจ้งให้ผู้ยืมทราบโดยด่วน และให้ผู้ยืมปฏิบัติตามคาทักท้วงภายใน 15 วัน
นับจากวันท่ีได้รับคาทักท้วง หากไม่ปฏิบัติตามและมิได้ชี้แจงเหตุผลให้ทราบ
ถอื ว่าผู้น้นั ยังไม่ไดส้ ง่ ใชเ้ งินยืมเท่าจานวนท่ที ักท้วงน้ัน

22 คู่มอื การปฏิบตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถน่ิ

การเบกิ จ่ายเงนิ สวัสดกิ ารค่าเชา่ บา้ น

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือส่ังการ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๘ และแก้ไขเพิ่มเติมถึง

(ฉบับท่ี 4) พ.ศ. ๒๕62
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0808.2/ว 5862 ลงวันท่ี 12 ตุลาคม 2559 เรื่อง หลักเกณฑ์

และวธิ กี ารเก่ียวกบั การเบิกจ่ายเงินค่าเช่าบา้ นของขา้ ราชการส่วนท้องถนิ่
3. หนังสือกระทรวงมหาดไท ยที่ มท ๐ ๘ ๐ ๘ .๒ /ว 0 6 7 9 ลงวัน ที่

6 กุมภาพันธ์ ๒๕61 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจัดข้าราชการ
สว่ นท้องถนิ่ เข้าพักอาศยั ในท่ีพกั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสง่ั การขา้ งตน้ สรปุ สาระสาคัญได้ ดังนี้
๑. ข้าราชการส่วนท้องถ่ิน หมายความว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล และ

พนักงานส่วนตาบล
๒. การได้มาซ่ึงสิทธิได้แก่ ข้าราชการผู้ได้รับคาสั่งให้เดินทางไปประจาสานักงานต่างท้องท่ี และข้าราชการ

ท่ีได้รับคาสั่งให้เดินทางไปประจาสานกั งานในต่างทอ้ งที่ท่เี ป็นทเี่ รม่ิ รบั ราชการครั้งแรก หรอื กลับเข้ารับราชการใหม่
๓. สิทธิในการเบิกค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่นได้แก่ ค่าเช่าบ้าน ค่าเช่าซื้อค่าผ่อนชาระเงินกู้

เพื่อชาระราคาบ้านหรือท่ีค้างชาระ อยู่ในท้องที่ที่ไปประจาสานักงานใหม่ เพ่ือใช้เป็นที่อยู่อาศัยและได้อาศัยอยู่จริง
ในบา้ นนัน้

๔. การย่นื ขอเบิกเงินใหข้ ้าราชการสว่ นท้องถิ่นผมู้ ีสิทธไิ ดร้ ับคา่ เชา่ บา้ น ยืน่ คาขอรับคา่ เช่าบ้าน ตามคาขอรับ
ค่าเชา่ บ้าน (แบบ ๖๐๐๕) พร้อมดว้ ยสัญญาเช่าบา้ น สญั ญาเชา่ ซื้อหรอื สัญญากู้เงินเพือ่ ชาระราคาบ้าน และหลักฐาน
อื่นทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ต่อผมู้ ีอานาจรบั รองการใชส้ ิทธิ

5. ให้ข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้ใช้สทิ ธิจัดส่งรายงานข้อมูลในการขอรับค่าเช่าบ้านพร้อมการยื่นแบบ 6005
และใหผ้ ู้มอี านาจรบั รองการมีสิทธิพจิ ารณารายงานข้อมลู ขา้ ราชการส่วนท้องถนิ่ ในการขอรบั ค่าเช่าบ้านทีย่ ่นื

6. การรับรองการใชส้ ิทธิ
(1) หัวหน้าหน่วยงานซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าประเภททั่วไประดับชานาญงานข้ึนไป ประเภท

วิชาการระดับชานาญการขึ้นไป หรือดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าระดับ 6 หรือเทียบเท่า เป็นผู้รับรองการมีสิทธิของ
ขา้ ราชการสว่ นทอ้ งถิ่นในหนว่ ยงานนน้ั

ให้ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ เป็นผู้รับรองการมีสิทธิของบุคคลตาม (1) ซ่ึงมิได้
ดารงตาแหน่งตามทกี่ าหนดไวใ้ น (2)

(2) ข้าราชการส่วนท้องถ่ินประเภททั่วไประดับอาวุโส ประเภทวิชาการระดับชานาญการพิเศษข้ึนไป
ประเภทอานวยการท้องถ่ินระดับกลางข้ึนไป ประเภทบริหารท้องถิ่น หรือดารงตาแหน่งระดับ 8 ข้ึนไป หรือ
ตาแหนง่ ทเี่ ทียบเท่า เปน็ ผรู้ ับรองการมีสิทธิของตนเอง

7. ผู้อนุมัติการเบิกค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้ท่ี
ได้รบั มอบหมาย

8. การอนุมัติเม่ือมีการรับรองการใช้สิทธิขอรับค่าเช่าบ้านแล้ว ให้ผู้มีอานาจอนุมัติการเบิกค่าเช่าบ้าน
แต่งตั้งข้าราชการส่วนท้องถ่ินจานวนไม่น้อยกว่า ๓ คน เป็นคณะกรรมการเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง
เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงและรายละเอียดครบถ้วนแล้ว ให้จัดทารายงานการผลตรวจสอบการขอรับ
คา่ เชา่ บ้าน เสนอตอ่ ผมู้ อี านาจอนุมตั ิ เพอื่ พิจารณาอนุมตั ิการเบิกจา่ ย

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน 23

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีท้องถนิ่

9. การเบิกจ่ายข้าราชการส่วนท้องถ่ินซึ่งได้รับอนุมัติให้เบิกค่าเช่าบ้านตามสิทธิ ยื่นแบบขอเบิกเงิน
คา่ เช่าบา้ น (แบบ ๖๐๐๖) พร้อมหลักฐานการชาระเงนิ ณ สานกั งานผเู้ บิก

10. การยนื่ แบบขอรับค่าเช่าบ้านใหม่ (ย่ืนแบบ ๖๐๐๕ ) ในกรณดี ังตอ่ ไปน้ี
➢โอนยา้ ยไปประจาสานักงานแห่งใหม่
➢เปลี่ยนแปลงสัญญาเช่าบ้าน สัญญาเช่าซื้อบ้าน หรือสัญญากู้เงินเพื่อชาระราคาบ้าน ในกรณี

นาหลักฐานการชาระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนชาระเงินกู้เพ่ือชาระราคาบ้านในท้องท่ีเดิมมาเบิกต่อในท้องที่ใหม่
ให้คณะกรรมการท่ีได้รบั การแต่งตั้งตรวจสอบหลักฐานท่ีนามาเบิกค่าเชา่ บ้านในชว่ งเวลาที่รับราชการในท้องที่เดิม
และระยะเวลาท่ไี ด้รับอนุมัติใหเ้ บกิ จ่ายคา่ เชา่ บา้ น

11. ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านในอัตราท่ีเพิ่มข้ึน เนื่องจากได้รับเงินเดือนหรือเล่ือน
ตาแหน่งที่สูงข้ึน ให้ยื่นหลักฐานที่เกี่ยวขอ้ งเพ่ือประกอบการเบิกจ่ายโดยไม่ต้องยื่นแบบ 6005 ใหม่ และหากการ
ได้รับเงินเดือนหรือเลื่อนตาแหน่งท่ีสูงข้ึนน้ันมีผลย้อนหลัง ให้ข้าราชการส่วนท้องถิ่นมีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านในอัตรา
ท่เี พมิ่ ข้นึ ย้อนหลังได้

12. ข้าราชการส่วนท้องถ่ินซึ่งได้ใช้สิทธินาหลักฐานการชาระค่าเช่าซ้ือหรือค่าผ่อนชาระเงินกู้เพื่อชาระ
ราคาบ้านมาเบิกค่าเช่าบ้านอยู่แล้วในท้องที่หน่ึง ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้ไปรับราชการในท้องท่ีอื่น ซึ่งตนมีสิทธิ
ได้รับค่าเช่าบ้าน ให้มีสิทธินาหลักฐานการชาระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนชาระเงินกู้เพื่อชาระราคาบ้านในท้องที่เดิม
มาเบกิ ค่าเชา่ บา้ นในท้องทีใ่ หม่ได้

13. ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านได้รับคาสั่งให้โอนย้ายไปรับราชการประจาสานักงาน
ใหม่ แต่ยังไม่ได้ยื่นขอรับค่าเช่าบ้านหรือยังไม่ได้ย่ืนขอเบิกเงินค่าเช่าบ้านในช่วงเวลาที่ตนมีสิทธิ ณ สานักงานเดิม
ใหย้ ่ืนแบบ 6005 และแบบ 6006 ท่สี านักงานเดิม

14. ในกรณีท่ีมีการขยายวงเงินกู้หรือขยายระยะเวลาการผ่อนชาระเงินกู้เพ่ือชาระราคาบ้าน
ให้นาหลักฐานการผ่อนชาระมาเบิกค่าเช่าบ้านได้ตามจานวนเงินกู้และระยะเวลาการผ่อนชาระท่ีเหลืออยู่ของ
สญั ญาเงินกู้ฉบับแรกเทา่ น้นั

15. การยน่ื ขอรับค่าเชา่ บ้านหรือขอเบิกเงนิ คา่ เช่าบ้านของขา้ ราชการส่วนท้องถน่ิ ผู้มีสิทธไิ ด้รบั ค่าเช่าบา้ น
ซ่ึงถงึ แกก่ รรม หรือเกษียณอายุราชการ หรอื ลาออกจากราชการไปกอ่ นยนื่ คาขอให้ดาเนนิ การ ดงั นี้

(1) กรณีถึงแก่กรรม ให้ทายาทของข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้นั้นยื่นคาขอ ณ สานักงานที่รับราชการ
คร้งั สุดทา้ ย

(2) กรณีเกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการ ให้ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้น้ันย่ืนคาขอ
ณ สานักงานที่รับราชการครง้ั สุดท้าย

16. คา่ เชา่ บ้านถือเป็นรายจา่ ยท่ีเกิดขึ้นเมื่อองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นไดร้ บั แบบ 6006 และให้เบิกจ่าย
จากงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณที่ได้รับแบบดังกล่าว

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาเบกิ จา่ ยเงินค่าเช่าบา้ นและเอกสารประกอบ
2. ทะเบยี นคุมการเบิกจ่ายเงนิ ค่าเชา่ บ้าน
3. แบบคาขอรับคา่ เช่าบา้ น (แบบ 6005) และหลกั ฐานอน่ื ทเี่ กี่ยวข้อง

24 คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที อ้ งถนิ่

วธิ กี ารตรวจสอบ
ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงนิ คา่ เชา่ บา้ น และเอกสารประกอบ โดยมีรายละเอยี ดการตรวจสอบ ดังน้ี
1. ตรวจสอบว่าผู้เบิกเงินค่าเช่าบ้านเป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการค่าเช่าบ้านหรือไม่ ผู้มีสิทธิได้รับเงิน

สวสั ดกิ ารคา่ เชา่ บา้ น ได้แก่ ข้าราชการองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตาบล
2. ตรวจสอบการได้มาของสิทธดิ ังน้ี
➢ ข้าราชการผู้ไดร้ ับคาสัง่ ใหเ้ ดินทางไปประจาสานกั งานตา่ งทอ้ งที่
➢ ข้าราชการท่ีได้รับคาสั่งให้เดินทางไปประจาสานักงานในต่างท้องท่ีที่เป็นท่ีเริ่มรับราชการครั้งแรก

หรอื กลับเข้ารับราชการใหม่
3. ตรวจสอบการเบกิ คา่ เช่าบ้านของขา้ ราชการส่วนทอ้ งถ่ิน แบ่งเป็นดงั นี้
➢ สญั ญาเช่าบา้ นไมเ่ กนิ 3 ปี หากเกินจะต้องจดทะเบยี นตามกฎหมาย
➢ ค่าเช่าซ้ือ ค่าผ่อนชาระเงินกู้เพ่ือชาระราคาบ้านหรือท่ีค้างชาระ เบิกได้ตามอัตราท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกิน

อตั ราทร่ี ะเบียบกาหนด
➢ คา่ ผ่อนชาระเงินกู้เพื่อชาระราคาบ้านหรือท่ีคา้ งชาระ อยู่ในท้องที่ท่ีไปประจาสานักงานใหม่ เพอื่ ใช้

เป็นทอ่ี ยู่อาศยั และได้อาศยั อยู่จรงิ ในบ้านน้นั
4. ตรวจสอบการย่นื ขอเบกิ เงิน
➢ ตรวจสอบคาขอรับค่าเช่าบา้ น (แบบ ๖๐๐๕) พรอ้ มด้วยสญั ญาเช่าบ้าน สัญญาเชา่ ซ้ือหรือสญั ญาก้เู งิน

เพ่ือชาระราคาบ้าน และหลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง พร้อมทั้งส่งรายงานข้อมูลในการขอรับค่าเช่าบ้านต่อผู้มีอานาจรับรอง
การมสี ิทธิ

➢ กรณีการยื่นหลักฐานที่เป็นสัญญาเงินกู้เพ่ือชาระราคาบ้านต้องแนบสัญญาซ้ือขายบ้าน สัญญา
ซ้ือขายบ้านพร้อมที่ดินหรือสัญญาจ้างปลูกสร้างบ้าน แล้วแต่กรณี เป็นหลักฐานประกอบด้วย หากวงเงินในสัญญา
ดังกล่าวต่ากว่าสัญญาเงินกู้ ข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้ใช้สิทธิต้องยื่นหลักฐานท่ีสถาบันการเงินรับรองว่า หากมีการ
กู้เงนิ ตามวงเงนิ ในสัญญาดังกล่าว จะตอ้ งมีการผ่อนชาระรายเดอื นเป็นจานวนเทา่ ใด

➢ ตรวจสอบข้นั ตอนการอนมุ ตั มิ ีดังนี้
- ตรวจสอบการแต่งต้ังข้าราชการส่วนท้องถ่ินจานวนไม่น้อยกว่า ๓ คน เป็นคณะกรรมการ

เพอื่ ตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ ดังน้ี
(๑) กรณีเช่าบ้าน ให้ตรวจสอบว่าเช่าบ้านและพักอาศัยอยู่จริง ระยะเวลาเร่ิมต้นของการเช่าบ้าน

และการเข้าพักอาศยั ตลอดจนความเหมาะสมของอัตราค่าเช่าบ้านเมื่อเปรียบเทียบกับสภาพแห่งบ้าน
(๒) กรณีเช่าซื้อบ้านหรือกู้เงินเพ่ือชาระราคาบ้าน ให้ตรวจสอบสัญญาเช่าชื้อบ้านหรือสัญญาเงินกู้

เพ่ือชาระราคาบ้าน วงเงินเช่าซื้อหรือวงเงินกู้ เอกสารหลักฐานอ่ืนๆที่เกี่ยวข้อง และวันเร่ิมต้นการเข้าพักอาศัย
อยู่จรงิ ในบา้ น

- ตรวจสอบว่าเมื่อคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงและรายละเอียดครบถ้วนแล้ว มีการจัดทา
รายงานการผลตรวจสอบการขอรับค่าเช่าบา้ น เสนอตอ่ ผมู้ อี านาจอนุมตั ิ เพ่อื พิจารณาอนมุ ตั ิการเบิกจา่ ยหรอื ไม่

➢ ตรวจสอบการยืน่ แบบขอเบิกเงินค่าเช่าบา้ น (แบบ 6006) พรอ้ มฐานการชาระเงนิ ณ หนว่ ยงานผู้เบิก

ค่มู อื การปฏิบตั ิงาน 25

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

5. ตรวจสอบสาระสาคญั ในสญั ญาเชา่ บ้าน

สญั ญาเชา่ บา้ น - วัน เดือน ปี
- ชอ่ื คสู่ ัญญา
- สถานท่เี ช่า
- วันเริ่มต้นแห่งสญั ญา – วันสนิ้ สุดของสญั ญา
- อตั ราคา่ เชา่
- อาการแสตมป์ (พันละ ๑ บาท )

สัญญาเช่าซ้ือหรือสญั ญาเงินกู้ - สัญญาซื้อขาย
เพือ่ ชาระราคาบา้ น - ใชต้ ามแบบสัญญาของสถาบันการเงิน
- ระบุชอื่ คู่สญั ญา
- สถานทีเ่ ชา่ หรอื สถานที่กเู้ งิน
- วนั เริม่ ต้นแห่งสัญญา – วันสิน้ สุดของสัญญา
- ระยะเวลาการชาระคา่ เช่าซ้ือหรือการผอ่ นชาระเงนิ กู้
- จานวนวงเงนิ ทเ่ี ชา่ ซ้อื หรือวงเงนิ กู้
- จานวนเงินทต่ี อ้ งผ่อนชาระรายเดือน

6. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการจัดทาทะเบียนคุมการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าบ้านหรือไม่
หากยังมิได้จัด ควรแนะนาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดทาทะเบียนคุมเพ่ือควบคุมการเบิกจ่ายเงินค่าเช่าบ้าน
ของขา้ ราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ ให้ถูกต้องตามสทิ ธิท่ีควรจะได้รบั และเพือ่ สะดวกในการตรวจสอบ

26 ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชีท้องถนิ่

การเบกิ จ่ายเงินสวสั ดิการเกี่ยวกับคา่ รักษาพยาบาล

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือส่ังการ ทเี่ ก่ยี วข้อง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลของพนักงานส่วนท้องถิ่น

พ.ศ. 2557 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม
2. พระราชกฤษฎกี าเงินสวสั ดกิ ารเก่ียวกบั การรักษาพยาบาล (ฉบับท่ี ๘ ) ลงวนั ที่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๔๕
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท่ี มท 0809.3/ว 4951 ลงวันท่ี 19 ธันวาคม 2556

เรื่อง ซกั ซอ้ มการดาเนนิ การเกย่ี วกับการเบกิ จ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลของพนกั งานสว่ นท้องถนิ่
4. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนทสี่ ุด ที่ มท 0809.3/ว 39 ลงวันที่ 8 มกราคม 2557

เรอ่ื ง ซักซอ้ มการดาเนินการเกยี่ วกับการเบกิ จ่ายตรงคา่ รักษาพยาบาลของพนกั งานส่วนท้องถิ่น

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือส่ังการขา้ งต้น สรปุ สาระสาคัญได้ ดงั น้ี
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลของ

พนักงานส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2557 ข้อ 6 ได้กาหนดให้ ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็น
นายทะเบียนบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินของตน และมีอานาจหน้าท่ีในการดาเนินการ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลผู้มีสิทธิ รวมท้ังให้ความเห็นชอบและรับรองการมีสิทธิของผู้มีสิทธิ
และบุคคลในครอบครัวในโปรแกรมระบบทะเบียนบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไป
ตามระเบียบ

ข้อ 7 ให้นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่งต้ังพนักงานส่วนท้องถิ่นท่ีมีหน้าที่เก่ียวกับงาน
บุคคล หรืองานคลังอย่างน้อยสองคนเป็นเจ้าหน้าท่ีทะเบียนบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการช่วยเหลือ
นายทะเบียน ลงทะเบียน ปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลผู้มีสิทธิและบุคคลในครอบครัว และบันทึกข้อมูลการส่งเบิกเงิน
เกย่ี วกับการชดเชย กรณีผมู้ ีสิทธิสารองจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลในโปรแกรมระบบทะเบียนบคุ ลากรองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถิ่นให้มคี วามถูกต้องและเป็นปัจจบุ นั

๑. ผู้มีสิทธิได้รับเงินได้แก่ ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดพนักงานเทศบาลพนักงานส่วนตาบล
ผู้ได้รับบานาญตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญ ข้าราชการส่วนท้องถิ่นนายกองค์การบริหารส่วนจัง หวัด
นายกเทศมนตรี และนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล

2. ให้ผู้มีสิทธิย่ืนเอกสารหลักฐานการมีสิทธิของตนเอง และบุคคลในครอบครัวของตนต่อนายทะเบียน
บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้นสังกัด พรอ้ มทงั้ รบั รองสาเนาความถกู ตอ้ งของเอกสารหลกั ฐาน

3. สทิ ธิในการเบกิ จา่ ยคา่ รกั ษาพยาบาล
- ขา้ ราชการองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด / พนกั งานเทศบาล / พนกั งานสว่ นตาบล ผมู้ สี ทิ ธิ
- บุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธิ ได้แก่ บิดามารดา คู่สมรส และบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายที่ยังไม่

บรรลุนติ ิภาวะ (บุตรคนท่ี ๑ – ๓ ) ไม่รวมบตุ รบญุ ธรรมหรือทย่ี กเปน็ บุตรบญุ ธรรมผ้อู ื่น
4. การย่ืนขอเบิกเงินให้ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้มีสิทธิได้รับ

ค่ารกั ษาพยาบาล ยืน่ ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของพนักงาน
ส่วนท้องถ่ิน (แบบ ร.บ. 3) และหลักฐานการรับเงิน (ใบเสร็จรับเงิน) พร้อมลง
ลายมอื ชอื่ ในใบเสรจ็ รับเงิน

คูม่ ือการปฏบิ ตั ิงาน 27

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที ้องถน่ิ

5. ผู้มีอานาจรับรองการใช้สิทธิ ได้แก่ ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย
ผู้อานวยการสถานศกึ ษาหวั หน้าหน่วยงานคลงั และนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ

6. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสาหรับตนเองหรือบุคคลในครอบครัวของตน
ในกรณดี งั ต่อไปน้ี

(1) การเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ ทัง้ ประเภทผปู้ ่วยนอกหรือผู้ปว่ ยใน
(2) การเขา้ รับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชน ประเภทผปู้ ่วยใน
(3) การเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชน ทั้งประเภทผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยใน
เฉพาะกรณที ่ีผู้มสี ิทธหิ รอื บุคคลในครอบครวั เป็นผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ ตามกฎหมายว่าดว้ ยการแพทย์ฉกุ เฉิน
(4) การเข้ารับการรกั ษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชน ประเภทผู้ปว่ ยนอกเป็นครง้ั คราวเพราะ
เหตุท่ีสถานพยาบาลของทางราชการมีความจาเป็นต้องส่งตัวให้แก่สถานพยาบาลของเอกชนนั้น ทั้งน้ี ไม่ว่าจะเป็น
สถานพยาบาลของเอกชนตามระเบยี บน้หี รือไมก่ ต็ าม
7. ในกรณีที่บุคคลในครอบครัวมีสิทธิได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิของตนเองจากหน่วยงานอื่นผู้มี
สิ ท ธิ ไม่ มี สิ ท ธิ ได้ รั บ เงิน ส วั ส ดิ การเกี่ ย วกั บ การรั กษ าพ ยาบ าล ส า ห รั บ บุ คคล ใน ครอบ ครั วต ามระเบี ยบ นี้ เว้ น แ ต่
คา่ รกั ษาพยาบาลทไ่ี ด้รบั นั้นตา่ กว่าเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลท่ีมีสทิ ธิจะไดร้ ับตามระเบียบน้ี ใหผ้ ู้มีสิทธิ
ได้รับเงนิ สวสั ดิการเกี่ยวกับการรกั ษาพยาบาลสาหรบั บคุ คลในครอบครัวเฉพาะสว่ นทีข่ าดอยู่
8. หน่วยงานผู้เบิกของผู้มีสิทธิดาเนินการส่งใบเบิกเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลและ
ใบเสร็จรับเงิน ให้หน่วยงานคลังตรวจสอบการมีสิทธิเบิกจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาล แล้วส่งให้นาย
ทะเบียนดาเนินการตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง หากถูกต้องจะดาเนินการบันทึกข้อมูลโปรแกรม
ระบบทะเบียนบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสแกนแนบไฟล์ใบเสรจ็ รบั เงิน แล้วนาหลกั ฐาน
ทัง้ หมดคืนให้กบั หนว่ ยงานคลังเพ่อื เก็บไว้เปน็ หลกั ฐานเบิกจา่ ยเงินให้กับผมู้ ีสิทธิ
9. เมื่อสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติดาเนินการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
และโอนเงินให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้นสังกัด ให้นายทะเบียนตอบกลับทางโปรแกรมฯ
และหน่วยงานคลงั ดาเนนิ การขอเบกิ เงินนอกระบบงบประมาณเพื่อจา่ ยใหก้ บั ผมู้ สี ทิ ธิ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
ฎีกาเบกิ จา่ ยเงินคา่ รักษาพยาบาลและเอกสารประกอบการเบกิ จา่ ย

วิธกี ารตรวจสอบ
ตรวจสอบฎกี าเบกิ จ่ายเงนิ คา่ รกั ษาพยาบาล และเอกสารประกอบ โดยมีรายละเอียดการตรวจสอบ ดงั นี้
1. ตรวจสอบวา่ ผ้ทู เ่ี บกิ เงนิ ค่ารกั ษาพยาบาลเป็นผ้มู สี ทิ ธหิ รอื ไม่ ผูม้ สี ิทธิ หมายถงึ
➢พนักงานส่วนท้องถ่ิน และลูกจ้างประจาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแต่ไม่หมายความรวมถึง

พนกั งานจ้าง
➢ผไู้ ดร้ บั บานาญตามกฎหมายว่าดว้ ยบาเหน็จบานาญขา้ ราชการส่วนท้องถน่ิ
➢นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด นายกเทศมนตรี และนายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบล

** ยกเว้น รองนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มาจากการแต่งตั้ง ไม่มีสิทธิได้รับสวัสดิการดังกล่าว
ตามหนงั สือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๘๐๙.๓/ว ๔๑๘๘ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ ***

28 คู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที ้องถน่ิ

2. ตรวจสอบสิทธิในการเบกิ จา่ ยคา่ รกั ษาพยาบาลของผมู้ สี ิทธิตามข้อ 1
บุคคลในครอบครวั หมายความวา่
➢บุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้มีสิทธิซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือบรรลุนิติภาวะแล้วแต่เป็น

คนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถซ่ึงอยู่ในความอุปการะเล้ียงดูของผู้มีสิทธิ แต่ทั้งน้ีไม่รวมถึง
บตุ รบญุ ธรรมหรือบุตรซ่ึงได้ยกให้เป็นบุตรบญุ ธรรมของบุคคลอื่น

** สิทธิได้รับเงินสวัสดิการสาหรับบุตรได้เพียงคนที่ 1 – 3 ไม่ว่าเป็นบุตรท่ีเกิดจากการสมรสคร้ังใด
หรืออยูใ่ นอานาจปกครองของตนหรือไม่ **

➢คู่สมรสทชี่ อบดว้ ยกฎหมายของผมู้ สี ทิ ธิ
➢บดิ าหรือมารดาทช่ี อบดว้ ยกฎหมายของผมู้ ีสทิ ธิ
3. ตรวจสอบการย่ืนขอเบิกชดเชยกรณีผู้มีสิทธิสารองจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลไปพลางก่อน ผู้มีสิทธิยื่น
ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของพนักงานส่วนท้องถิ่น (แบบ ร.บ. 3) และหลักฐานการรับเงิน
(ใบเสร็จรับเงิน) พร้อมลงลายมือชื่อในใบเสร็จรับเงินว่า “ ข้าพเจ้าขอรับรองว่าได้สารองเงินเพ่ือเป็นค่า
รักษาพยาบาลไปจริงทุกประการ” ในใบเสร็จรับเงินทุกฉบับของสถานพยาบาลหรือไม่ แล้วยื่นต่อผู้บังคับบัญชาผู้มี
อานาจรบั รองการใช้สิทธิ
4. ตรวจสอบว่าผู้รับรองการใช้สิทธิเป็นผู้มีอานาจรับรองการใช้สิทธิหรือไม่ ผู้มีอานาจรับรองการใช้สิทธิ
มีดังนี้
➢ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้มีอานาจรับรองการใช้สิทธิ
ของพนกั งานสว่ นทอ้ งถน่ิ ขา้ ราชการถา่ ยโอน ครูผู้ดูแลเดก็ และลกู จ้างประจาในสงั กดั
➢ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นผู้มีอานาจรับรองการใช้สิทธิสาหรับบุคลากรทางการศึกษา
(ข้าราชการครู และลูกจ้างประจาประจาสถานศกึ ษา) ในสงั กดั
➢หัวหน้าหน่วยงานคลงั เปน็ ผูม้ ีอานาจรบั รองการใช้สทิ ธิสาหรับข้าราชการบานาญ
➢นายกองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ เปน็ ผู้มอี านาจรบั รองการใชส้ ิทธขิ องตนเอง
5. ตรวจสอบเอกสารประกอบฎกี าเบิกจา่ ยมีหลกั ฐานการเบิกจ่ายครบถว้ นหรือไม่

การเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดิการเกี่ยวกบั การศึกษาของบุตร

กฎหมาย ระเบยี บ และหนังสือสัง่ การ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรพนักงานส่วนท้องถ่ิน

พ.ศ. ๒๕๔๑ แก้ไขเพิ่มเตมิ
2. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษา

ของบุตรพนกั งานสว่ นท้องถนิ่ ประกาศ ณ ๑๒ เมษายน ๒๕๔๒
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๘๐๙.๓/ว ๔๑๘๘ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ เร่ือง แนวทางปฏิบัติ

เก่ียวกบั สทิ ธกิ ารเบิกเงนิ สวัสดิการของผู้บริหารทอ้ งถิน่
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0809.3/ว 4522 ลงวันท่ี 9 สิงหาคม 2559 เร่ือง ประเภทและ

อตั ราเงินบารงุ การศกึ ษาและค่าเลา่ เรยี น
5. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ด่วนที่สุด ท่ี มท 0803.3/ว 172 ลงวันที่ 18 มกราคม

2561 เร่อื ง ประเภทและอัตราเงินคา่ เล่าเรียนในสถานศึกษาของเอกชนประเภทอาชีวศึกษา

คูม่ ือการปฏบิ ตั ิงาน 29

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที อ้ งถน่ิ

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสง่ั การขา้ งตน้ สรุปสาระสาคัญได้ ดังน้ี
๑. ผู้มีสิทธิได้รับสวัสดิการ ได้แก่ ผู้บริหารท้องถิ่น ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล
และพนกั งานสว่ นตาบล
๒. สิทธิในการเบิกจ่ายเงนิ สวสั ดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ได้แก่ บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย คนที่ ๑ – ๓
ในครอบครวั ของผู้มีสิทธิ อายุครบ ๓ ปี แต่ไม่เกนิ ๒๕ ปี ไมร่ วมถึงบุตรบุญธรรมและบุตรซง่ึ บิดามาดาได้ยกให้เป็น
บตุ รบญุ ธรรมของผูอ้ ืน่ บุตรแฝดทที่ าให้จานวนบุตรเกนิ สทิ ธิ 3 คน ใหน้ บั คนแรกถงึ คนสดุ ท้าย
๓. การเบิกจ่ายเงนิ สวัสดิการเกีย่ วกับการศึกษาบตุ ร

- บุตรท่ีศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการให้เบิกจ่ายเงินประเภทต่าง ๆ ท่ีสถานศึกษาเรียกเก็บตาม
อัตราจากกระทรวงศกึ ษาธิการอนมุ ัติ ส่วนราชการเจ้าสงั กัด หรือที่กากับมหาวทิ ยาลัย อบจ. เทศบาล อบต. กทม.
เมืองพัทยา อปท.อ่ืนท่มี กี ฎหมายจดั ตั้ง หรือองค์การรัฐบาล

บุตรทศี่ กึ ษาในสถานศึกษาของเอกชน เบกิ จ่าย ดังน้ี
- ศกึ ษาในหลกั สูตรระดับไม่สงู กวา่ มัธยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเทา่ ใหไ้ ด้รบั เงินค่าเล่าเรียนเต็มจานวน
ท่ไี ด้จา่ ยไปจรงิ แต่ตอ้ งไม่เกนิ ประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกาหนด
- ศึกษาในหลักสูตรระดับสูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า แต่ไม่สูงกว่าอนุปริญญา
หรือเทียบเท่า และหลักสูตรน้ันแยกต่างหากจากหลักสูตรปริญญาตรี ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียนตามประเภท และอัตรา
ทีก่ ระทรวงการคลังกาหนด แต่ท้ังนี้ต้องไมเ่ กินครึ่งหน่งึ ของจานวนทไ่ี ด้จ่ายไปจริง
- ศึกษาในระดับปริญญาตรี ให้ไดร้ บั เงินเงนิ ค่าเล่าเรยี นคร่ึงหนึง่ ของจานวนที่ได้จ่ายไปจริง ท้งั นี้ ไม่เกิน
ปกี ารศึกษาละ 25,000 บาท

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎกี าเบิกจา่ ยเงินสวัสดิการเกย่ี วกบั การศึกษาของบุตรและเอกสารประกอบ
2. ใบเบกิ เงนิ สวัสดกิ ารเก่ียวกบั การศึกษาของบุตร (แบบ ก.บ.1)
3. หลกั ฐานการรับเงนิ ของสถานศกึ ษา หนังสือรับรอง/ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ

วธิ ีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบฎีกาการเบิกจ่ายเงินและใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตรว่ามีเอกสารประกอบ
ถูกต้อง และครบถ้วนในสาระสาคัญหรือไม่ ตรวจสอบรายละเอียดในใบเสร็จรับเงินที่สถานศึกษาออกให้
ว่าตรงกันกับช่ือของบุตรพนักงานส่วนท้องถ่ินหรือไม่ โดยรายละเอียดท่ีผู้มีสิทธิกรอกในใบเบิกเงินสวัสดิการ
เกย่ี วกบั การศึกษาบุตรจะต้องถูกต้องตรงกนั กบั ทะเบียนคุมสวัสดกิ ารเกยี่ วกับการศึกษาบตุ ร
2. ตรวจสอบว่าเป็นผมู้ ีสทิ ธิหรือไม่ ผ้มู สี ทิ ธิ หมายความวา่
➢ ผู้บริหารท้องถ่ิน พนักงานส่วนท้องถ่ิน และลูกจ้างประจาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินซึ่งได้รับเงิน
คา่ จา้ งประจาตามอตั ราทีก่ าหนดไว้ในงบประมาณรายจ่าย
➢ ผู้ไดร้ ับบานาญตามกฎหมายว่าด้วยบาเหนจ็ บานาญข้าราชการสว่ นทอ้ งถิน่
3. มีการรับรองของผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงาน กรณีข้าราชการตั้งแต่ระดับ 5 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
มสี ทิ ธริ ับรองตนเอง ถูกตอ้ งหรือไม่
4. จานวนเงนิ ทขี่ อเบกิ ไม่เกินประเภทและอตั ราท่ีกระทรวงการคลังกาหนด

30 ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถนิ่

5. ผู้มีสิทธิย่ืนใบเบิกเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาบุตร (แบบ ก.บ.1) พร้อมด้วยหลักฐานของสถานศึกษา
ต่อผู้บังคบั บัญชาภายในกาหนดระยะเวลา 1 ปี นับต้ังแต่วันเปิดภาคเรียนของแต่ละภาค สาหรับสถานศึกษาทเี่ รียกเก็บ
เงินค่าการศึกษาเป็นรายภาคเรียน หรือวันเปิดเรียนภาคต้นของปีการศึกษา สาหรับสถานศึกษาท่ีเรียกเก็บเงิน
คา่ การศึกษาครง้ั เดียวตลอดปี หากพน้ กาหนดเวลาน้แี ล้วใหถ้ ือว่าผู้มสี ทิ ธิหมดสิทธิในการขอรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาของบตุ รสาหรับภาคการศกึ ษานัน้ หรอื ปีการศกึ ษาน้นั แลว้ แต่กรณี

ทุนการศกึ ษา

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สอื ส่งั การ ทเี่ กีย่ วข้อง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยรายจ่ายเกี่ยวกับทุนการศึกษาสาหรับนักศึกษา และการให้

ความช่วยเหลือนักเรียนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2561 แจ้งตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ท่ี มท 0808.2/ ว 1154 ลงวนั ท่ี 20 กมุ ภาพันธ์ 2562

กฎหมาย ระเบยี บ และหนงั สอื สงั่ การขา้ งต้น สรุปสาระสาคัญได้ ดังน้ี
การเบกิ จา่ ยเงินทนุ การศกึ ษา
1. การต้ังงบประมาณรายจ่าย ให้ต้ังไว้ในหมวดค่าใช้สอย ประเภทรายจ่ายที่เก่ียวเนื่องกับการปฏิบัติราชการ

ทไ่ี ม่เข้าลักษณะรายจ่ายอ่ืน ๆ ไม่เกนิ อัตราสว่ นของรายได้จริงในปีงบประมาณที่ผ่านมา โดยไม่รวมเงินอุดหนนุ ท่ีรัฐบาล
จดั สรรให้ ดงั น้ี

➢ รายไดจ้ รงิ ไมเ่ กนิ 50 ลา้ นบาท ตงั้ งบประมาณได้ไมเ่ กนิ ร้อยละ 3 แตไ่ ม่เกนิ 1 ล้านบาท
➢ รายได้จริงเกิน 50 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท ต้ังงบประมาณได้ไม่เกินร้อยละ 2.5
แตไ่ มเ่ กนิ 3 ลา้ นบาท
➢ รายไดจ้ ริงเกิน 200 ล้านบาทข้นึ ไป ตั้งงบประมาณไดไ้ มเ่ กนิ ร้อยละ 2 แตไ่ มเ่ กิน 5 ลา้ นบาท
2. คณุ สมบตั ิของผูม้ สี ทิ ธิไดร้ บั ทนุ การศกึ ษาและไดร้ บั ความชว่ ยเหลือ
➢ มภี มู ลิ าเนาอย่ใู นพนื้ ที่ของ อปท. ระยะเวลาติดตอ่ กันไมน่ ้อยกว่า 1 ปี
➢ เป็นนกั ศึกษาและนกั เรยี นซึ่งเปน็ ผยู้ ากจนหรอื ผู้ด้อยโอกาส
3. ให้นักศึกษา นักเรียน หรือผู้ปกครองท่ีประสงค์จะขอรับทุนการศึกษาหรือการช่วยเหลือ แล้วแต่กรณี
ให้ยื่นคาขอต่อผู้บริหารท้องถิ่น ให้ผู้บริหารท้องถ่ินส่งคาขอให้คณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนของ อปท. พิจารณา
และให้ปิดประกาศรายช่ือผู้ท่ีได้รับทุนการศึกษาและความช่วยเหลือ ณ สานักงาน อปท. และที่ทาการหมู่บ้าน ชุมชน
ใหท้ ราบเปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่า 15 วนั ทาการ
อปท.สามารถใหค้ วามชว่ ยเหลือค่าใช้จา่ ยท่ีจาเปน็ ในการศกึ ษาของนักเรยี นซ่งึ เป็นผ้ยู ากจนหรอื ผู้ด้อยโอกาส
➢ ระดับเด็กเล็ก ระดับเด็กอนุบาล และระดับประถมศึกษา ไม่เกินภาคการศึกษาละ 1,000 บาทต่อคน
แตไ่ ม่เกินปกี ารศกึ ษาละ 2,000 บาทตอ่ คน
➢ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่เกินภาคการศึกษาละ 2,000 บาทต่อคน แต่ไม่เกินปีการศึกษาละ
4,000 บาทต่อคน
➢ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ไม่เกินภาคการศึกษาละ 3,000 บาทต่อคน แต่ไม่เกิน
ปกี ารศึกษาละ 6,000 บาทต่อคน
➢ ให้ผู้มีหน้าท่ีเก่ียวกับการให้ความช่วยเหลือนักเรียนยืมเงินเพ่ือจ่ายให้แก่นักเรียนท่ีมีสิทธิได้รับ
ความชว่ ยเหลอื และให้นักเรียนหรอื ผูป้ กครองลงลายมือช่ือในใบสาคัญรับเงนิ เพ่ือเป็นหลกั ฐานสง่ ใช้เงนิ ยืม

คู่มือการปฏิบตั งิ าน 31

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที อ้ งถนิ่

การให้ทุนการศึกษาแกน่ ักศึกษาซึ่งเปน็ ผ้ยู ากจนหรือผูด้ ้อยโอกาส
➢ ต้องศึกษาในหลักสูตรท่ีสูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า แต่ต้องไม่สูงกว่าระดับปริญญาตรี
หรือเทียบเทา่
➢ ต้องศึกษาอยู่ในสถาบันการศกึ ษาของรัฐ
➢ ให้เบิกค่าใช้จ่ายสาหรับทุนการศึกษา เพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าบารุง ค่าหน่วยกิต
และค่าใช้จ่ายอ่ืนท่ีจาเป็นท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา ตามอัตราท่ีสถาบันการศึกษากาหนด แต่ไม่เกินปีการศึกษาละ
33,000 บาทต่อคน
➢ ให้ผู้มีหน้าท่ีเก่ียวกับการให้ทุนการศึกษา ยืมเงินเพื่อจ่ายให้แก่นักศึกษาท่ีมีสิทธิได้รับทุนการศึกษา
และให้นาใบสาคัญรับเงินมาเป็นหลักฐานส่งใช้เงินยืม รวมทั้งให้ติดตามใบเสรจ็ รับเงินของสถาบันการศึกษาจากผู้มีสิทธิ
ไดร้ บั ทนุ การศกึ ษามาประกอบฎีกาเบกิ จา่ ยเงนิ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบกิ จ่ายเงนิ และเอกสารประกอบการเบิกจา่ ย
2. ขอ้ บัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจาปี
3. คาขอรับทุนการศึกษาหรือการช่วยเหลือ
4. รายงานผลการพิจารณาของคณะกรรมการช่วยเหลอื ประชาชนของ อปท.
5. ประกาศรายช่ือผ้ทู ี่ไดร้ ับทุนการศึกษาและความช่วยเหลอื

วิธกี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบข้อบัญ ญัติ/เทศบัญ ญัติ งบประมาณ รายจ่ายประจาปี ว่าการตั้งงบประมาณ

เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยรายจ่ายเก่ียวกับทุนการศึกษาสาหรับนักศึกษา และการให้
ความชว่ ยเหลือนกั เรยี นขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ พ.ศ.2561 หรอื ไม่

2. ตรวจสอบคาขอรับทุนการศึกษาหรือการช่วยเหลือ รายงานผลการพิจารณาของคณะกรรมการ
ชว่ ยเหลือประชาชนของ อปท. และประกาศรายชื่อผู้ท่ีได้รับทุนการศึกษาและความช่วยเหลือ ว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติ
ครบถ้วนตามหลกั เกณฑ์ หรือไม่

3. ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงินทุนการศึกษาแก่นักศึกษาซึ่งเป็นผู้ยากจนหรือผู้ด้อยโอกาสว่าผู้ยืมเงิน
เพ่อื จ่ายใหแ้ ก่นักศกึ ษาทม่ี ีสทิ ธไิ ดร้ ับทุนการศึกษา ได้นาใบสาคัญรบั เงินมาเป็นหลกั ฐานส่งใชเ้ งินยืม และมีใบเสร็จรบั เงิน
ของสถาบันการศึกษาประกอบฎีกาเบิกจ่ายเงิน หรือไม่ และตรวจสอบอัตราที่สถาบันการศึกษาเรียกเก็บค่าเล่าเรียน
ค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าบารุง ค่าหน่วยกิต และค่าใช้จ่ายอ่ืนท่ีจาเป็นที่เก่ียวข้องกับการศึกษา ไม่เกินอัตราท่ีกาหนด
แตไ่ มเ่ กินปกี ารศึกษาละ 33,000 บาทตอ่ คน

4. ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงินช่วยเหลือค่าใช้จ่ายที่จาเป็นในการศึกษาของนักเรียนซึ่งเป็นผู้ยากจน
หรือผู้ด้อยโอกาส ว่าผู้ยืมเงินเพ่ือจ่ายให้แก่นักเรียนที่มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ ได้นาใบสาคัญรับเงินมาเป็น
หลักฐานส่งใช้เงินยืม และนักเรียนหรือผู้ปกครองลงลายมือชื่อรับเงินในใบสาคัญรับเงินหรือไม่ ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน
อัตราทร่ี ะเบยี บกาหนด

32 คู่มือการปฏบิ ัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที อ้ งถนิ่

การเบกิ เงินคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สอื ส่ังการ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕5

และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เติมถงึ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 6499 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2560

เรื่อง การอนุมัติไปราชการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของเจ้าหน้าที่
ท้องถิ่น พ.ศ. 2555 และท่แี กไ้ ขเพ่มิ เตมิ

3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0808.2/ว 1797 ลงวันที่ 2 เมษายน 2561 เร่ือง หลักเกณฑ์
และแนวทางการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและการเข้ารับฝึกอบรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กฏหมาย ระเบยี บ และหนังสอื สั่งการขา้ งต้น สรปุ สาระสาคัญได้ ดังนี้
หลักเกณฑ์การเบกิ จา่ ยเงนิ คา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ
1. ผู้มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ : ผู้บริหารท้องถิ่น ประธานสภาท้องถ่ิน รองนายกฯ

ที่ปรึกษานายกฯ เลขานุการนายกฯ ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถ่ิน สมาชิกสภาท้องถิ่น ลูกจ้าง พนักงานจ้าง
ของ อปท. และผู้ที่ผบู้ ริหารท้องถน่ิ สง่ั ใหไ้ ปปฏบิ ัติราชการ นับแตว่ ันท่ไี ดร้ บั อนุมัติให้เดินทางไปราชการ

2. ผมู้ อี านาจอนมุ ตั ิการเดนิ ทางไปราชการ
➢ ผู้วา่ ราชการจงั หวดั สาหรับผบู้ ริหารท้องถนิ่ และประธานสภาทอ้ งถิ่น
➢ ผู้บริหารท้องถิ่น สาหรับรองนายกฯ ท่ีปรึกษานายกฯ เลขานุการนายกฯ ข้าราชการและพนักงาน

ส่วนท้องถนิ่ รวมถึงลูกจา้ ง พนกั งานจ้างของ อปท. ตลอดจนผ้ทู ผ่ี ้บู รหิ ารท้องถิ่นสงั่ ใหไ้ ปปฏบิ ัติราชการ
➢ ประธานสภาท้องถนิ่ สาหรับสมาชิกสภาท้องถิ่น โดยผ้บู รหิ ารทอ้ งถ่ินรับรองมีงบประมาณเพยี งพอ
➢ กรณีกระทรวงมหาดไทยหรือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น แจ้งให้ผู้บริหารท้องถ่ิน หรือ

ประธานสภาท้องถ่ินเดินทางไปราชการ ประชุม อบรมหรือสัมมนา ไมต่ อ้ งขออนุมตั ิแต่ตอ้ งแจง้ ให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดทราบ
3. การเดินทางไปราชการชัว่ คราว
➢ เบ้ียเลี้ยงสาหรับตาแหน่งประเภทท่ัวไป ระดับอาวุโสลงมา ประเภทวิชาการระดับชานาญการพิเศษ

ลงมา ประเภทอานวยการท้องถิ่นระดับกลาง ลงมา ประเภทบริหารท้องถ่ินระดับกลาง ลงมา หรือตาแหน่งตั้งแต่ระดับ 8
ลงมา หรือเทียบเท่า อัตรา 240 บาท/วัน/คน สาหรับตาแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ประเภทอานวยการ
ท้องถิน่ ระดับสงู ประเภทบรหิ ารทอ้ งถน่ิ ระดบั สงู หรือตาแหน่งตง้ั แต่ระดับ 9 ขึ้นไป หรือเทียบเทา่ อตั รา 270 บาท/วนั /คน

➢ กรณีพักแรม ให้เลือกค่าท่ีพักแบบเดียวกันทั้งคณะ นับเบี้ยเล้ียง 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน เศษเกิน 12
ชัว่ โมง ให้ถือเปน็ 1 วนั กรณีไม่มีการพักแรม นับได้เกนิ 12 ชว่ั โมง เปน็ 1วนั เกนิ 6ชว่ั โมงแต่ไมถ่ ึง 12 ช่วั โมง ใหถ้ อื เป็นคร่ึงวัน

➢ กรณีไม่มีพาหนะประจาทาง หรือมีแต่ต้องการความรวดเร็วเพ่ือประโยชน์แก่ราชการให้ใช้พาหนะ
อ่ืนได้ แต่ต้องชี้แจงเหตุผลและความจาเป็น ค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด สาหรับเขตติดต่อหรือผ่าน
กรงุ เทพมหานคร เบิกไดเ้ ท่ยี วละไม่เกนิ 600 บาท สาหรบั เขตตดิ ต่อจังหวดั เบิกได้เท่ียวละไม่เกนิ 500 บาท

➢ การใช้พาหนะส่วนตัว เบิกเป็นค่าชดเชยน้ามันรถยนต์ กิโลเมตรละ 4 บาท รถจักรยานยนต์ กิโลเมตรละ
2 บาท ใชเ้ สน้ ทางของกรมทางหลวง กรณีไมม่ เี สน้ ทางของกรมทางหลวงให้ใช้เสน้ ทางของหนว่ ยงานอนื่ ท่ตี ดั ผา่ น

➢ การเดินทางไปราชการโดยเครอื่ งบนิ ให้โดยสารชน้ั ประหยัดตามหลกั เกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับชานาญงานข้ึนไป ประเภทวิชาการระดับชานาญการข้ึนไป

ประเภทอานวยการท้องถิ่น ประเภทบริหารท้องถ่ิน หรือตาแหน่งต้ังแต่ระดับ 6 ขึ้นไปหรือเทียบเท่า กรณีมีความ
จาเป็นต้องโดยสารเคร่ืองบินสูงกว่าชั้นประหยัด ให้สามารถเดินทางและเบิกค่าโดยสารเครือ่ งบินได้ แต่ต้องได้รบั อนุมัติ
จากผ้วู า่ ราชการจงั หวดั

คูม่ ือการปฏบิ ัติงาน 33

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชีทอ้ งถน่ิ

(๒) ตาแหน่งต่ากว่า (1) เฉพาะกรณีท่ีมีความจาเป็นรีบด่วน เพื่อประโยชน์ต่อทางราชการ
และไดร้ ับอนุมตั ิจากผมู้ อี านาจอนมุ ัติ

(๓) การเดินทางซึ่งไม่เข้าหลักเกณฑ์ตาม (๑) (๒) จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินค่าใช้จ่าย
ในการเดินทางภาคพ้ืนดินในระยะเดียวกันตามสทิ ธซิ ่งึ ผูเ้ ดินทางจะพงึ เบิกได้

4. การเดินทางไปราชการประจา ได้แก่ การเดินทางไปประจาต่างสานักงานไปรักษาการในตาแหน่ง
หรือรกั ษาราชการแทน เพ่อื ดารงตาแหนง่ ใหม่ ณ สานักงานแหง่ ใหม่

➢ เบิกให้ผู้ติดตามได้ 1 คน สาหรับตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับชานาญงาน ลงมา ประเภท
วิชาการระดบั ปฏิบตั กิ าร และไมเ่ กิน 2 คน สาหรับตาแหน่งประเภททัว่ ไประดบั อาวโุ ส ประเภทวชิ าการระดับชานาญ
การขึ้นไปโดยประหยัด บุคคลในครอบครัวนอกจากผู้ติดตามให้เบิกได้ในอัตราเดียวกับผู้เดินทาง สาหรับผู้ติดตามให้
เบิกไดเ้ ท่ากับเจา้ หน้าที่ท้องถิ่นในตาแหนง่ ระดับต่าสดุ

5. การเดนิ ทางกลับภมู ลิ าเนาเดมิ คือ การเดินทางเพือ่ กลบั ภมู ิลาเนาเดิมของผเู้ ดนิ ทางไปราชการประจา
ในกรณีท่ีออกจากราชการหรอื ถกู สงั่ พักราชการ โดยให้เบกิ จากตน้ สงั กดั เดิม

➢ เจ้าหน้าท่ีท้องถ่ินซ่ึงออกจากราชการ หรือลูกจ้าง ซ่ึงถูกเลิกจ้าง เบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ให้บุคคลในครอบครัวได้เฉพาะค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ และค่าขนย้ายส่ิงของส่วนตัว ตามอัตราสาหรับตาแหน่ง
ระดับคร้ังสดุ ท้ายกอ่ นออกจากราชการหรือเลิกจา้ ง

➢ เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นซ่ึงถูกส่ังพักราชการ หรือลูกจ้าง ซ่ึงถูกส่ังพักการจ้างจะเบิกค่าใช้จ่ายสาหรับ
ตนเองและบุคคลในครอบครวั ไดเ้ ฉพาะคา่ เช่าท่พี ัก ค่าพาหนะ และคา่ ขนย้ายสิ่งของสว่ นตัว เพื่อกลบั ภูมลิ าเนาเดิม
โดยจะไมร่ อผลการสอบสวนถึงทสี่ ุดก็ได้

6. การเดินทางไปราชการตา่ งประเทศชว่ั คราว

➢ เบ้ียเล้ียงให้เบิกได้ในลักษณะเหมาจ่าย สาหรับผู้ดารงตาแหน่งประเภททั่วไป ประเภทวิชาการ

ระดับชานาญการพิเศษลงมา ประเภทอานวยการท้องถิ่นระดับกลาง ลงมา ประเภทบริหารท้องถิ่นระดับกลาง ลงมา
อัตรา 2,100 บาท/วัน/คน สาหรับผู้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ประเภทอานวยการท้องถิ่น
ระดับสงู ประเภทบริหารท้องถ่ินระดบั สูง อัตรา 3,100 บาท/วนั /คน กรณีผู้เดินทางไปราชการต่างประเทศช่ัวคราว
ทม่ี ิได้เบกิ เบีย้ เลยี้ งเดนิ ทางในลักษณะเหมาจา่ ย ใหเ้ บกิ คา่ ใชจ้ า่ ย ตามบญั ชหี มายเลข ๔ ทา้ ยระเบียบ

➢ เบี้ยเล้ียงกรณีมีการพักแรม ให้นับ 24 ช่ัวโมง เป็น 1 วัน ส่วนที่เกิน 24 ช่ัวโมง ให้ถือเป็น 1 วัน

กรณไี มม่ ีการพกั แรม เกนิ 12 สองชวั่ โมง ถอื เปน็ 1 วัน หากไมเ่ กิน 12 ชั่วโมง แต่เกนิ 6 ชวั่ โมงขึ้นไป ใหถ้ ือเป็นครงึ่ วนั

➢ กรณีที่ไม่มียานพาหนะประจาทางหรือมีแต่ต้องการความรวดเร็วเพื่อประโยชน์แก่ราชการให้ใช้

พาหนะอน่ื ได้ แตผ่ ู้เดินทางตอ้ งช้ีแจงเหตุผลและความจาเป็นไว้ในหลักฐานการขอเบิกค่าพาหนะ

➢ การเดินทางไปราชการต่างประเทศโดยเคร่ืองบินที่มีระยะเวลาในการเดินทางตั้งแต่ 9 ชั่วโมงขึ้น

ไปและตา่ กวา่ 9 ชัว่ โมง ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ่รี ะเบยี บกาหนด

➢ ผู้เดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวเบิกค่ารับรองในการเดินทางไปราชการในลักษณะ

เหมาจา่ ย ตามบัญชีหมายเลข ๖
7. “การเบิกค่าเช่าท่ีพักเท่าที่จ่ายจริง” ใช้ใบเสร็จรับเงิน หรือใบแจ้งรายการของโรงแรมหรอื ทพี่ ักแรม

ทมี่ ีข้อความแสดงว่าได้รบั ชาระเงินคา่ เช่าท่ีพักเรียบร้อยแล้ว

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎกี าการเบิกจ่ายเงิน
2. ใบเบกิ คา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ และเอกสารประกอบการเบกิ จ่าย
➢ หนงั สือแจง้ ให้เขา้ รว่ มประชมุ สัมมนา หรอื ฝึกอบรม และโครงการฝึกอบรม (กรณฝี ึกอบรม)
➢ หนงั สืออนมุ ัติให้เดินทางไปราชการ

34 คู่มอื การปฏิบตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถน่ิ

วธิ ีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงนิ คา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ วา่ เป็นการเดนิ ทางไปราชการประเภทใด

และมเี อกสารประกอบการเบิกจา่ ยครบถ้วน หรอื ไม่
2. ตรวจสอบแหล่งงบประมาณ ว่ามงี บประมาณเพยี งพอ และเบิกจา่ ยถูกหมวดและประเภท หรือไม่
3. ตรวจสอบหนังสืออนุมัติให้เดินทางไปราชการ ว่าถูกต้องหรือไม่ และได้รับอนุมัติให้เดินทางไปราชการ

ต้ังแต่วันใดถงึ วนั ใด
4. คานวณเบี้ยเลยี้ งเดินทาง คา่ เชา่ ทพี่ ัก ว่าเปน็ จานวนเทา่ ใดและเบิกเกินอัตราทีร่ ะเบยี บกาหนดหรือไม่
5. ตรวจสอบค่าเช่าท่ีพัก ว่าเป็นการเบิกในลักษณะเหมาจ่ายหรือลักษณะจ่ายจริง ในกรณีเบิกจ่ายจริง

ตอ้ งตรวจสอบใบเสรจ็ รับเงินค่าเช่าท่ีพักและรายละเอยี ดการเข้าพัก วา่ ถกู ต้องหรอื ไม่ และเป็นไปตามระเบียบกาหนด
6. กรณีเดินทางโดยยานพาหนะอ่ืนต้องตรวจสอบว่าได้รับอนุมัติจากผู้มีอานาจ และมีการช้ีแจงเหตุผล

ความจาเป็นไว้ในรายงานการเดินทางหรือหลักฐานการขอเบิกเงินค่าพาหนะ หรือไม่ หากไม่ได้รับอนุมัติ
จากผู้มีอานาจให้เรยี กเงนิ คืนสง่ คลัง อปท. ให้ครบถ้วน

การเบิกจ่ายเงนิ คา่ ตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือส่งั การทีเ่ ก่ยี วข้อง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการขององค์กร

ปกครองส่วนท้องถ่นิ พ.ศ. 2559

กฎหมาย ระเบยี บ และหนงั สือสัง่ การข้างตน้ สรปุ สาระสาคญั ได้ ดังนี้
๑. เงินตอบแทน คือเงินท่ีเบิกจ่ายให้แก่พนักงานส่วนท้องถ่ิน ที่ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีปกติ โดยลักษณะงาน

สว่ นใหญ่ต้องปฏิบตั ิงานท่ีตง้ั สานักงาน และได้ปฏิบัติงานนั้นนอกเวลาราชการในท่ีตง้ั สานกั งาน หรือโดยลกั ษณะงาน
สว่ นใหญ่ต้องปฏิบัตินอกที่ต้ังสานักงาน และได้ปฏิบัติงานน้ันนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งสานักงาน หรอื โดยลักษณะ
งานปกติตอ้ งปฏบิ ตั ิในลักษณะเปน็ ผลดั หรือกะ และได้ปฏบิ ัตงิ านนอกผลัดหรอื กะของตน

๒. มคี าสง่ั อนุมัตใิ หป้ ฏบิ ัติราชการนอกเวลาปกติจากผบู้ ริหาร หรอื ผู้ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
๓. มีงบประมาณเพือ่ การเบิกจา่ ยเงนิ ตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการเพียงพอ
๔. การเบิกเงินค่าตอบแทนการปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และอตั รา ดงั นี้

- ในวนั ทาการ ไมเ่ กนิ วันละ ๔ ชัว่ โมง อตั ราชั่วโมงละ ๕๐ บาท
- ในวันหยดุ ราชการ ไม่เกินวนั ละ ๗ ช่ัวโมง อตั ราชัว่ โมงละ ๖๐ บาท
- กรณีมีความจาเป็น ต้องปฏิบัติงานที่เป็นภารกิจหลักเป็นครั้งคราวหรือตามนโยบายของรัฐบาล
หรือนโยบายกระทรวงมหาดไทยที่มอบหมายให้อปท. ปฏิบัติ โดยมีกาหนดระยะเวลาท่ีแน่นอน มีลักษณะเร่งด่วน
เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายแก่อปท./สาธารณะ ผู้บริหารอาจสั่งการให้อปท. ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการติดต่อกัน
โดยใหม้ สี ิทธเิ บิกเงินคา่ ตอบแทนเป็นรายครัง้ ไม่เกนิ คร้ังละ ๗ ชว่ั โมง อัตราชัว่ โมงละ ๖๐ บาท
- การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการหลายช่วงเวลาภายในวันเดียวกัน ให้นับเวลาปฏิบัติงานนอกเวลา
ราชการทุกชว่ งเวลารวมกัน เพ่อื เบิกเงินตอบแทนสาหรับวันน้นั
- กรณไี ดร้ บั คา่ ตอบแทนอ่นื ในลกั ษณะเดียวกนั สาหรับการปฏิบัติงานนัน้ แล้ว ให้เบกิ ไดท้ างเดยี ว
5. การควบคมุ ดูแลการปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการให้ปฏิบัตดิ งั น้ี
- กรณีมีผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการร่วมกันหลายคน ให้ผู้ปฏิบัติงานคนใดคนหน่ึงเป็นผู้รับรอง
การปฏบิ ตั งิ าน
- ให้รายงานผลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการต่อผู้มีอานาจอนุมัติภายใน 15 วัน นับแต่วันท่ีเสร็จสิ้น
การปฏบิ ตั ิงาน

ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ าน 35

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีท้องถน่ิ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบกิ จา่ ยเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจ่าย
2. แบบหลักฐานการเบิกจา่ ยเงนิ ตอบแทนการปฏิบัตงิ านนอกเวลาราชการ
3. สมดุ ลงเวลาในการปฏิบตั ิงาน

วธิ ีการตรวจสอบ
๑. ตรวจสอบฎีกาการเบิกจ่ายเงินให้แก่พนักงานส่วนท้องถิ่น โดยต้องเป็นการปฏิบัติงานตามหน้าที่ปกติ

โดยลักษณะงานส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติงานท่ีต้ังสานักงาน และได้ปฏิบัติงานน้ันนอกเวลาราชการในท่ีต้ังสานักงาน
หรือโดยลักษณะงานส่วนใหญ่ต้องปฏิบัตินอกที่ต้ังสานักงาน และได้ปฏิบัติงานน้ันนอกเวลาราชการนอกท่ีตั้ง
สานกั งาน หรอื โดยลักษณะงานปกติต้องปฏิบตั ิในลักษณะเป็นผลัดหรือกะ และได้ปฏิบตั ิงานนอกผลดั หรือกะของตน

๒. มเี อกสารอนมุ ัตใิ หป้ ฏบิ ตั ริ าชการนอกเวลาปกตจิ ากผ้บู รหิ าร หรือผทู้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย
๓. มีการต้ังงบประมาณเพื่อการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏบิ ัตงิ านเพยี งพอ
4. ตรวจสอบการลงเวลาในการปฏิบัติงานตามที่ได้รับอนุมัติจากผู้บริหารให้ปฏิบัติงานนอกเวลา
และตามหลกั ฐานการเบกิ จ่ายเงนิ ตอบแทนการปฏบิ ตั ิงานนอกเวลา
5. ตรวจสอบว่ามีการจัดทารายงานการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และมีผู้รับรองการปฏิบัติงานหรือไม่
พร้อมท้ังต้องรายงานผลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการต่อผู้มีอานาจอนุมัติภายใน 15 วันนับแต่วันที่เสร็จส้ิน
การปฏบิ ตั ิงาน

การเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมและศึกษาดูงาน

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื สั่งการ ทเี่ กยี่ วข้อง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม และการเข้ารับการฝึกอบรมของเจ้าหน้าท่ี

ท้องถ่นิ พ.ศ. ๒๕57
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท่ี มท ๐๘๐๘.๒/ว ๓๔๔๖ ลงวันท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๘

เร่ือง การเดินทางไปราชการต่างประเทศและการศึกษาดูงานท้ังในประเทศและต่างประเทศขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถิ่น

3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0808.2/ว 1961 ลงวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 เรื่อง ขอให้กาหนด
มาตรการเพ่ือใช้เป็นแนวปฏบิ ัติ กรณีการเบกิ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและการเบิกค่าใช้จ่ายในการจดั งาน

4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0808.2/ว 4952 ลงวันท่ี 19 ธันวาคม 2556 เร่ือง แนวทาง
ปฏิบตั เิ กี่ยวกบั การเบกิ คา่ ใช้จ่ายในการลงทะเบียนฝึกอบรม กรณหี นว่ ยงานอ่ืนเป็นผู้จัดฝึกอบรม

5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 2747 ลงวันท่ี 18 พฤษภาคม 2559
เรอ่ื ง ขอให้พิจารณาทบทวนการสง่ บคุ ลากรในสังกดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ เขา้ รว่ มการอบรม

6. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ว 1797 ลงวันที่ 2 เมษายน 2561 เรื่อง หลักเกณฑ์และ
แนวทาง การเบกิ ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการและการเขา้ รับการฝึกอบรมขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน

7. หนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ด่วนท่ีสุด ที่ กค
(กวจ) 0405.2/ว 119 ลงวันท่ี 7 มีนาคม 2561 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติในการดาเนินการจัดหาพัสดุ ท่ี
เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ค่าใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม การจดั งาน และการประชมุ ของหนว่ ยงานของรัฐ

36 คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีทอ้ งถนิ่

กฎหมาย ระเบียบ หนังสือสัง่ การข้างต้น สรปุ สาระสาคัญได้ ดังน้ี
คานิยาม
“การฝึกอบรม” หมายความว่า การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาทางวิชาการ

หรือเชิงปฏิบัติการการบรรยายพิเศษการฝึกศึกษา การดูงาน การฝึกงาน หรือท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นท้ังในประเทศ
และต่างประเทศ โดยมีโครงการหรือหลักสูตรและช่วงเวลาจัดที่แน่นอนท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลหรือ
เพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน โดยไมม่ กี ารรับปรญิ ญาหรอื ประกาศนยี บัตรวิชาชพี

“การดูงาน” หมายความว่า การเพ่ิมพูนความรู้หรือประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์ซึ่งได้กาหนดไว้ใน
โครงการหรือหลักสูตรให้มีการดูงานก่อน ระหว่างหรือหลังการฝึกอบรม และหมายความรวมถึงโครงการหรือ
หลกั สูตรทก่ี าหนดเฉพาะการดูงานภายในประเทศท่ีองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินหรอื หน่วยงานอื่นของรัฐจดั ขน้ึ

“การฝึกอบรมประเภท ก” หมายความว่า การฝึกอบรมท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหนึ่งเป็นเจ้าหน้าที่
ท้องถนิ่ ระดบั ๙ ขนึ้ ไป หรือตาแหนง่ ที่เทยี บเทา่

“การฝึกอบรมประเภท ข” หมายความว่า การฝึกอบรมท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นเจ้าหน้าที่
ทอ้ งถ่นิ ระดบั ๑ ถึงระดับ ๘ หรือตาแหนง่ ที่เทียบเท่า

“การฝึกอบรมบุคคลภายนอก” หมายความว่า การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่
เจ้าหนา้ ทีท่ อ้ งถิ่น

“ช่วงระหว่างการฝึกอบรม” หมายความว่า ช่วงเวลาต้ังแต่เวลาส้ินสุดการลงทะเบียน หรือเวลาเร่ิมพิธีเปิด
การฝึกอบรม หรอื เวลาเริ่มการฝึกอบรม จนถงึ เวลาสิ้นสุดการฝกึ อบรมตามโครงการหรอื หลักสูตร

คา่ ใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรมเบกิ จา่ ยได้ ดงั น้ี
➢ ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรมค่าใช้จ่ายในพิธีเปิดและปิดการฝึกอบรม

ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ค่าประกาศนียบัตร ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและส่ิงพิมพ์ ค่าหนังสือสาหรับ
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายอื่นท่ีจาเป็น
ในการฝกึ อบรม ให้เบกิ จา่ ยไดเ้ ทา่ ทีจ่ า่ ยจรงิ ตามความจาเป็นเหมาะสมและประหยดั

➢ ค่ากระเป๋าหรือส่ิงท่ีใช้บรรจุเอกสารสาหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน
ใบละ 300 บาท

➢ ค่าของสมนาคุณในการดูงาน เบิกจา่ ยได้เทา่ ทีจ่ า่ ยจรงิ แตไ่ ม่เกินแห่งละ 1,500 บาท
➢ ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินอัตราตามบัญชี
หมายเลข ๑ทา้ ยระเบยี บ การจัดอาหารใหย้ กเวน้ การปฏิบตั ติ ามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจดั ซื้อจัดจ้าง ฯ
➢ ค่าสมนาคุณวิทยากร การนับช่ัวโมงการฝึกอบรมให้นับตามเวลาที่กาหนดในตารางการฝึกอบรม
โดยรวมเวลาท่ีพักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มการฝึกอบรมแต่ละชั่วโมงต้องมีเวลาไม่น้อยกว่าห้าสิบนาที
ถ้าไม่ถึงห้าสิบนาทีแต่ไม่น้อยกว่ายี่สิบห้านาทีให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ในอัตราคร่ึงช่ัวโมง อัตราค่าสมนาคุณ
วิทยากร

(ก) วิทยากรที่เป็นบุคคลของรัฐไม่ว่าจะสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีจัดการฝึกอบรม
หรือไม่ก็ตามให้ได้รับค่าสมนาคุณสาหรับการฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกินชั่วโมงละ ๘๐๐ บาท ส่วนการฝึกอบรมประเภท ข
และการฝกึ อบรมบคุ คลภายนอกให้ได้รับคา่ สมนาคณุ ไมเ่ กินชว่ั โมงละ ๖๐๐ บาท

(ข) วิทยากรท่ีมิใช่บุคคลตาม (ก) ให้ได้รับค่าสมนาคุณสาหรับการฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน
ชั่วโมงละ ๑,๖๐๐ บาท ส่วนการฝึกอบรมประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ให้ได้รับค่าสมนาคุณไม่เกินช่ัวโมง
ละ ๑,๒๐๐ บาท

➢ ค่าท่ีพัก เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินอัตราตามบัญชีหมายเลข 2 และ 3 ท้ายระเบียบ การจัด
ที่พักให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ให้พักรวมกันต้ังแต่สองคนข้ึนไปโดยให้พักห้องพักคู่ เว้นแต่เป็นกรณีท่ีไม่เหมาะสม
หรอื มเี หตุจาเป็นไมอ่ าจพกั รวมกับผอู้ ื่นได้ ผู้บริหารท้องถิน่ ที่จัดการฝกึ อบรมอาจจดั ใหพ้ กั ห้องพักคนเดยี วได้

คู่มือการปฏบิ ัติงาน 37

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีทอ้ งถน่ิ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎกี าการเบิกจา่ ยเงนิ และเอกสารประกอบการเบิกจ่าย ตวั อย่างเช่น
➢ โครงการฝกึ อบรมและการศึกษาดงู าน
➢ ตารางกาหนดการการฝึกอบรมและการศึกษาดูงาน
➢ หนังสือขอเข้าดงู าน หนงั สอื ตอบรับจากหน่วยงานท่จี ะเขา้ ศึกษาดงู าน
2. รายงานผลการเขา้ รับการฝึกอบรม

วิธกี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบการเบิกจ่ายตามฎีกาเบิกจ่าย ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ หนังสือสั่งการข้างต้น โดยในฎีกา

ต้องมีเอกสารประกอบการเบกิ จ่ายอย่างครบถว้ น
2. ตรวจสอบตารางกาหนดการการฝกึ อบรมและการศึกษาดูงาน ตอ้ งสอดคล้องกบั หลักสูตรการอบรมนัน้ ๆ

สามารถนาความรู้ทีไ่ ด้ไปใช้พัฒนาใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งสูงสดุ ในเขตพน้ื ที่ของตนเอง
3. ตรวจสอบการอนุมัติให้บุคลากรเข้ารับการฝึกอบรม โดยผู้มีอานาจอนุมัติ โดยให้ตรวจสอบว่าผู้ท่ีได้รับ

การอนุมัติให้เข้ารับการฝึกอบรมนน้ั เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิหน้าท่เี กี่ยวข้องกับการฝกึ อบรมในครง้ั นนั้ หรอื ไม่
4. กรณีการส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมกับหน่วยงานอ่ืน ให้ตรวจสอบแบบแสดงเจตจานง

ในการนาความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมไปใช้ในการพัฒนาการปฏิบัติงานต่อผู้มีอานาจอนุมัติ ตามแบบท่ี
กระทรวงมหาดไทยกาหนด เพ่อื ใช้ในการติดตามประเมินผลภายหลงั การฝึกอบรม

5. ตรวจสอบการจัดหาวัสดุในการฝึกอบรม การจ้างเหมายานพาหนะ ฯลฯ ให้ปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้าง ฯ สาหรับการจัดอาหาร ค่าที่พัก ให้ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงการคลัง ว่าดว้ ยการจัดซ้อื จัดจา้ ง ฯ

6. ตรวจสอบการจัดทารายงานผลการเข้ารับการฝึกอบรมเสนอผู้บริหารท้องถิ่นภายใน 60 วัน นับแต่วัน
เดนิ ทางกลบั จากการฝึกอบรมถงึ สถานที่ปฏบิ ตั ิราชการ

การเบกิ จ่ายเงินค่ารบั รองหรือคา่ เลย้ี งรบั รอง

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสงั่ การ ท่ีเก่ียวขอ้ ง
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๘๐๘.๔/ว ๒๓๘๑ ลงวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๘ เร่ือง การต้ังงบประมาณ

และการเบิกจ่ายเงนิ ค่ารับรองหรอื คา่ เลีย้ งรบั รองขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือส่งั การข้างต้น สรปุ สาระสาคญั ได้ ดังนี้
หลักเกณฑก์ ารเบิกจ่ายเงนิ ค่ารับรองหรือค่าเลยี้ งรับรอง
๑. ค่ารับรอง หมายถึง ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม ค่าของขวัญ ค่าพิมพ์เอกสาร ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่อง
ในการเลี้ยงรับรอง รวมทั้งค่าบริการด้วย และค่าใช้จ่ายอ่ืน ซึ่งจาเป็นต้องจ่ายท่ีเกี่ยวกับการรับรองเพ่ือเป็นค่ารับรอง
ในการต้อนรับบุคคลหรือคณะบุคคลที่ไปนิเทศงาน ตรวจงาน หรือเยี่ยมชม หรือทัศนะศึกษาดูงาน และเจ้าหน้าท่ี
ที่เกยี่ วขอ้ ง ซึ่งร่วมต้อนรบั บุคคลหรอื คณะบคุ คล

➢ ตั้งงบประมาณได้ไม่เกินร้อยละ 1 ของรายได้จริงของปีงบประมาณที่ล่วงมา โดยไม่รวมรายได้จาก
เงินอุดหนนุ เฉพาะกิจ เงินกู้ เงินจา่ ยขาดเงินสะสม และเงนิ ทม่ี ผี ้อู ทุ ิศให้

➢ การต้ังงบประมาณรายจ่ายค่ารับรอง ให้ตั้งในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่าย
เกี่ยวกับการรับรองและพธิ กี าร และใหเ้ ขียนคาชี้แจงประกอบงบประมาณรายจา่ ยโดยแยกคา่ รับรองเปน็ 2 ลกั ษณะ

38 คูม่ ือการปฏบิ ัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถนิ่

➢ เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินตามอัตราท่ีกาหนด โดยคานึงถึงความจาเป็นและประหยัด
และใช้หลักฐานการจ่ายเงินตามรายการที่เกิดข้ึนจริงมาประกอบการเบิกจ่าย โดยมีเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องในการดาเนินงาน
เปน็ ผู้รับรองการจา่ ย

๒. ค่าเล้ียงรับรอง หมายถึง ค่าอาหาร ค่าเคร่ืองด่ืมต่าง ๆ เคร่ืองใช้ในการเลี้ยงรับรอง และค่าบริการอื่น ๆ
ซ่ึงจาเป็นต้องจ่ายที่เกี่ยวกับการเลี้ยงรับรองในการประชุมสภาท้องถิ่น หรือคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ
ที่ได้รับแต่งต้ังตามกฎหมาย หรือตามระเบียบ หรือหนังสือส่ังการของกระทรวงมหาดไทย หรือการประชุมระหว่าง
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือการประชุมกับรัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ทั้งน้ีให้รวมถึง
ผูเ้ ขา้ ร่วมประชมุ อน่ื ๆ และเจา้ หนา้ ท่ที ่ีเก่ยี วข้องซ่ึงเขา้ รว่ มประชมุ

➢ผูบ้ รหิ ารท้องถ่ินพจิ ารณาต้งั งบประมาณ โดยยอดเงินตงั้ จ่ายไมร่ วมอยู่ในค่ารบั รอง
➢เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง และให้แนบบัญชีลายมือชื่อจานวนบุคคลและรายงานการประชุม เพ่ือใช้เป็น
หลกั ฐานประกอบการเบิกจา่ ย โดยมเี จา้ หนา้ ท่ที เี่ กีย่ วขอ้ งในการดาเนินงานเปน็ ผรู้ บั รองการจ่าย

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบิกจ่ายเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจา่ ย
2. ข้อบัญญัติ/เทศบญั ญตั ิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
3. รายงานการประชุม
4. บญั ชีลงช่อื เขา้ รว่ มประชุม
5. หนังสอื เชิญประชุม
6. สมุดตรวจเย่ยี ม/หนังสอื แจง้ การเขา้ ตรวจงานหรอื นเิ ทศงาน

วิธีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบข้อบัญญัติ/เทศบัญญตั ิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี ว่าการตง้ั งบประมาณเป็นไปตามหนังสือ

กระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๘๐๘.๔/ว ๒๓๘๑ ลงวันท่ี ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๘ เร่ือง การตั้งงบประมาณและการเบิก
จา่ ยเงินค่ารบั รองหรือคา่ เลยี้ งรบั รองขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น หรอื ไม่

2. ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงินค่ารับรอง ว่าค่ารับรองนั้นสาหรับต้อนรับบุคคลหรือคณะบุคคลท่ีไปนิเทศงาน
ตรวจงาน หรือเยี่ยมชม หรือทัศนะศึกษาดูงาน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง หรือไม่ โดยตรวจสอบสมุดตรวจเยี่ยม/
หนังสอื แจ้งการเข้าตรวจงานหรอื นเิ ทศงาน

3. ตรวจสอบใบเสร็จรับเงินค่าอาหาร ค่าเคร่ืองด่ืม ค่าของขวัญ ค่าพิมพ์เอกสาร ค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวเนื่องใน
การรับรอง รวมทั้งคา่ บริการและค่าใชจ้ า่ ยอืน่ วา่ ถกู ต้องตรงกันกับฎกี าเบกิ จา่ ยเงนิ หรอื ไม่

4. ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงินค่าเลี้ยงรับรอง ว่าค่าเล้ียงรับรองน้ันสาหรับการประชุมสภาท้องถิ่น
คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการท่ีได้รับแต่งต้ังตามกฎหมาย ระเบียบ หนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย
การประชุมระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือการประชุมกับรัฐวิสาหกิจหรอื เอกชน หรือไม่ โดยตรวจสอบ
รายงานการประชมุ และลายมือชอ่ื ผู้เข้ารว่ มประชมุ

5. ตรวจสอบรายงานการประชุม ว่าระยะเวลาสิ้นสุดการประชุมความเหมาะสมในการจัดเล้ียงอาหาร
หรอื ไม่

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ าน 39

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที ้องถนิ่

การเบิกจา่ ยเงนิ ค่าวัสดเุ ครื่องแตง่ กาย

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สอื สงั่ การ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าวัสดุเครื่องแต่งกายของเจ้าหน้าท่ีท้องถ่ิน พ.ศ. 2560

แจ้งตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ว 5916 ลงวันท่ี 17 ตุลาคม 2560 เรื่อง ระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบกิ จ่ายคา่ วัสดเุ ครอื่ งแตง่ กายของเจ้าหนา้ ท่ีทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2560

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือส่ังการขา้ งตน้ สรุปสาระสาคัญได้ ดังนี้

หลกั เกณฑก์ ารเบิกจ่ายเงินค่าวสั ดุเครือ่ งแต่งกาย

1. การจัดหาวัสดุเคร่ืองแต่งกายที่มีไว้ประจาสานักงานหรือประจาห้องปฏิบัติการต่าง ๆ หรือท่ีจาเป็น

ต้องใช้ประกอบการเรียนการสอนของนักเรียนในสถานศึกษาสังกัด อปท. ซึ่งให้เป็นของส่วนกลางหมุนเวียนหรือ

ใช้รว่ มกัน ใหอ้ ยูใ่ นดุลยพนิ ิจของผบู้ ริหารท้องถน่ิ พิจารณาให้เบิกจ่ายได้ตามความจาเป็น เหมาะสม และประหยัด

2. การจัดหาวัสดุเครื่องแต่งกายที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบให้เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นเพื่อสวมใส่

ในขณะปฏิบัติงานตามหน้าที่ โดยจะมอบวัสดุเครื่องแต่งกายให้กับเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นแต่ละคนรับผิดชอบดูแล

ท้ังน้ีใหเ้ บกิ จา่ ยได้คนละไมเ่ กนิ 2 ชุดต่อปี

ประเภท ชนดิ หรอื ลกั ษณะวัสดุเครอ่ื งแตง่ กายใหม้ ลี กั ษณะ ดงั น้ี

➢ เครอ่ื งแต่งกายชดุ ฝึก อปพร. หรือชุดปฏิบัตกิ าร อปพร.

 หมวก  เสือ้  กางเกง

 เข็มขดั  รองเท้า  บัตรประจาตัว อปพร.

 วุฒบิ ัตร อปพร.  เข็มเครื่องหมาย อปพร.

➢ เคร่ืองแตง่ กายชดุ ปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากรหรือเครื่องแบบ ตามมาตรฐานการแพทยฉ์ กุ เฉนิ

➢ วสั ดุอื่นทีจ่ าเปน็ ต้องใช้ในการปฏบิ ัติงาน

 ถุงมือยางหรอื หนงั  ผา้ ปดิ ปาก – ปดิ จมกู

 รองเทา้ ยางห้มุ สน้ สงู ใต้เขา่ (รองเท้าบู๊ต)  เส้ือกนั ฝน ฯลฯ

➢ วัสดุเครอ่ื งแตง่ กายอ่ืนตามทีป่ ลดั กระทรวงมหาดไทยกาหนด

3. เคร่ืองแต่งกายที่ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ : เครื่องแบบข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ชุดฟอร์ม

ชดุ ฟาตกิ และชุดประจาทอ้ งถิน่

4. กรณีมีความจาเป็นต้องจัดหาวัสดุเคร่ืองแต่งกายท่ีใช้ในการปฏิบัติงานนอกเหนือจากหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด

ใหข้ อทาความตกลงกบั ผวู้ ่าราชการจังหวัด เป็นกรณี ๆ ไป

40 คู่มือการปฏิบัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที อ้ งถนิ่

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบกิ จ่ายเงนิ และเอกสารประกอบการเบิกจา่ ย
2. คาสง่ั มอบหมายหนา้ ท่ีการปฏิบัติงาน
3. ทะเบยี นควบคมุ การรับ – จ่ายพัสดุ
4. ใบเบกิ พัสดุ

วธิ ีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงิน ว่าเบิกจ่ายค่าวัสดุเคร่ืองแต่งกายสอดคล้องกับลักษณะของงานที่ต้องใช้

ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าวัสดุเครื่องแต่งกายของเจ้าหน้าท่ีท้องถิ่น พ.ศ. 2560 หรือไม่
โดยตรวจสอบกบั คาสงั่ มอบหมายหนา้ ที่การปฏบิ ัติงาน

2. ตรวจสอบเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง ว่าการจัดหาวัสดุเคร่ืองแต่งกายเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยการจดั ซื้อจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 หรอื ไม่

3. ตรวจสอบใบเสร็จรับเงินค่าวสั ดเุ ครื่องแต่งกาย ว่ารายละเอียดและจานวนเงนิ ถกู ต้องตรงกนั กบั ฎีกาเบิกจ่าย
และเอกสารจดั ซือ้ จัดจ้าง หรือไม่

4. ตรวจสอบทะเบียนควบคุมการรับ – จ่ายพัสดุ ว่ามีการลงบัญชีการรับ – จ่ายวัสดุเครื่องแต่งกาย ถูกต้อง
ครบถว้ น และเปน็ ปัจจบุ ัน หรือไม่

5. ตรวจสอบว่ามีการจัดทาใบเบิกวัสดุเครื่องแต่งกายหรือไม่ และรายละเอียดในใบเบิกถูกต้องตรงกันกับ
ทะเบยี นควบคุมการรับ-จ่ายพสั ดุ หรอื ไม่

6. ตรวจสอบจานวนคร้ังในการเบิกจา่ ยค่าวสั ดุเครอ่ื งแต่งกาย โดยเบกิ จา่ ยไดค้ นละไม่เกิน 2 ชดุ ตอ่ ปี

ระบบการแพทย์ฉุกเฉินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการ ท่เี กีย่ วขอ้ ง
1. พระราชบญั ญัติการแพทย์ฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2551
2. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ ด่วนท่สี ุด ท่ี มท 0891.3/658 ลงวนั ท่ี 25 มกราคม 2553

เร่อื ง ตอบข้อหารือการดาเนนิ งานระบบการแพทยฉ์ ุกเฉินในระดบั ท้องถิ่นหรือพ้ืนท่ี
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0 89 1 .3 /ว 2 8 26 ลงวันท่ี 1 7 กันยายน 2 5 5 3

เร่ือง การดาเนินงานและบรหิ ารจดั การระบบการแพทยฉ์ ุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

กฎหมาย ระเบยี บ และหนงั สือส่ังการขา้ งต้น สรุปสาระสาคัญได้ ดงั น้ี
1. ต้ังงบประมาณโครงการการแพทย์ฉกุ เฉินในงบประมาณรายจา่ ยประจาปี
2. การจัดหารถปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจซื้อรถยนต์หรือเช่ารถยนต์

หรอื ดัดแปลงพสั ดุประเภทครุภัณฑ์หรือใชร้ ถอาสาสมคั รก็ได้
3. ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน ต้องสาเร็จการศึกษาหรือผ่านการอบรมตามหลักสูตรและสอบผ่านได้รับ

ประกาศนยี บตั ร ตามท่กี รรมการการแพทย์ฉุกเฉนิ หรือสถาบันการแพทยฉ์ ุกเฉนิ แหง่ ชาตปิ ระกาศกาหนด
4. การเบิกจ่ายค่าน้ามันเชื้อเพลิงและหล่อล่ืน ค่าซ่อมแซมครุภัณฑ์ต้องจัดซ้ือจัดจ้างตามระเบียบ

กระทรวงการคลงั ฯ
5. การรับเงินค่าชดเชยปฏิบัติการฉุกเฉิน ที่ได้รับจากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ถือเป็นรายได้

ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นในหมวดรายได้เบ็ดเตล็ด

คมู่ ือการปฏบิ ัติงาน 41

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที อ้ งถน่ิ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎกี าการเบกิ จ่ายเงนิ และเอกสารประกอบการเบิกจา่ ย
2. งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
3. คาสง่ั แตง่ ต้ังการปฏิบัตหิ น้าท่ี
4. สัญญาจา้ งผูป้ ฏบิ ัติงานการแพทย์ฉุกเฉิน
5. หลักฐานการส่งมอบงานและการตรวจรับงาน

วธิ ีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบการต้ังงบประมาณ
➢องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินนาแผนงาน/โครงการการแพทย์ฉุกเฉินในแผนพัฒนา ไปต้ังจ่าย

ในเทศบัญญตั /ิ ขอ้ บัญญัตขิ ององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
➢ กรณีไม่ได้ตั้งงบประมาณการแพทย์ฉุกเฉินในเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติ ให้พิจารณาโอนงบประมาณ

ที่เหลอื จา่ ยหรอื ไมม่ คี วามจาเป็นต้องจา่ ย ไปตัง้ จา่ ยเพอื่ การแพทย์ฉุกเฉิน
2. ตรวจสอบการจัดหารถปฏบิ ัตกิ ารแพทย์ฉกุ เฉิน
➢กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซื้อรถยนต์หรือเช่ารถยนต์ ให้ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

ดาเนินการตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
และระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการใชแ้ ละรกั ษารถยนต์ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. 2548 หรอื ไม่

➢กรณีเป็นรถอาสาสมัคร ให้ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใช้วิธีการจ้างเหมาบริการหรือ
เช่ารถยนต์ตามระเบียบกระทรวงการคลัง วา่ ดว้ ยการจัดซ้ือจัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 หรือไม่

3. ตรวจสอบการจา่ ยค่าตอบแทน
➢ตรวจสอบว่าผปู้ ฏิบตั ิงานการแพทย์ฉุกเฉิน ได้สาเร็จการศกึ ษาหรือผา่ นการอบรมตามหลกั สูตรและสอบ

ผ่านได้รับประกาศนียบัตร ตามที่กรรมการการแพทย์ฉุกเฉินหรือสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติประกาศกาหนด
หรอื ไม่

➢ ตรวจสอบว่าบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉินเป็นงานประจา
หรืองานหลกั และคาสัง่ แตง่ ตั้งการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี การเบกิ จา่ ยคา่ ตอบแทนนอกเวลาถกู ต้องตามระเบียบ

➢ บุคคลภายนอกที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีคาส่ังให้มาช่วยเหลือปฏิบัติราชการงานการแพทย์
ฉุกเฉินให้ตรวจสอบว่า การเบิกจ่ายเงินเบี้ยเลยี้ งเดนิ ทางไปราชการ ถูกตอ้ งตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของเจ้าหน้าท่ีท้องถิ่น พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพ่ิมเติมหรือไม่ สาหรับการต้ัง
งบประมาณ ให้ต้ังจา่ ยเป็นคา่ ใช้จา่ ยไวใ้ นโครงการ

➢ผู้ปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉิน ท่ีไม่ใช่บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (บุคลากรภายนอก)
ได้แก่ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ที่เป็นอาสากู้ชีพกู้ภัย อาสาสมัครกู้ชีพ หรือบุคคลท่ัวไป
ต้องสาเร็จการศกึ ษาหรอื ผ่านการอบรมตามหลกั สตู รและสอบผา่ นไดร้ ับประกาศนียบัตร ตามที่กรรมการการแพทย์
ฉกุ เฉินหรือสถาบนั การแพทย์ฉกุ เฉนิ แหง่ ชาตปิ ระกาศกาหนด

➢ตรวจสอบสัญญาจ้างผู้ปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉิน ท่ีไม่ใช่บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
การส่งมอบงานและการตรวจรับงานให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560

42 ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีท้องถนิ่

4. ตรวจสอบการเบิกจา่ ยค่านา้ มนั เชอื้ เพลิงและหล่อลืน่ ค่าบารุงรกั ษา
➢ตรวจสอบการเบิกจ่ายค่าน้ามันเชือ้ เพลิงและหล่อลื่น คา่ ซ่อมแซมครุภัณฑ์ มีการจัดซ้ือจัดจ้างเป็นไป

ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และหนังสือ
คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ด่วนที่สุด ท่ี กค (กวจ) 0405.2/ว 179
ลงวันที่ 9 เมษายน 2561 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดซ้ือน้ามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของ
หนว่ ยงานของรฐั

5. การรับเงนิ ชดเชยปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉิน
➢ตรวจสอบการรับเงินค่าชดเชยปฏิบัติการฉุกเฉิน ที่ได้รับจากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ว่าได้มี

การรับและบนั ทึกบญั ชีเป็นรายไดข้ ององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในหมวดรายไดเ้ บ็ดเตลด็ หรือไม่
➢ตรวจสอบการนาส่งเป็นเงินรายได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะต้องออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ชาระ

เงินหรือผู้โอนเงินไว้เป็นหลักฐานทุกคร้ัง ตามข้อ 7 และข้อ 9 แห่งระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน
การเบกิ จ่ายเงิน การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ พ.ศ. 2547 และท่ีแกไ้ ข
เพ่มิ เตมิ ถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561

การเบิกจ่ายเงินอุดหนนุ ให้แก่หนว่ ยงานอนื่

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสง่ั การ ท่ีเก่ียวข้อง
๑. พระราชบัญญตั ิองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั พ.ศ. ๒๕๔๐ และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเติม
๒. พระราชบญั ญัติเทศบาล พ.ศ. ๒496 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม
๓. พระราชบญั ญตั ิสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕37 และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเติม
๔. พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

พ.ศ. ๒๕๔2 และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเตมิ
๕. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๘๐๘.๒/ว 3616 ลงวันท่ี 24 มิถุนายน 2559 เร่ือง ระเบียบ

กระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยเงินอดุ หนุนขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ พ.ศ. 2559
๖. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๘๐๘.๒/ว 4427 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2561 เรื่อง ซักซ้อม

แนวทางปฏบิ ัตกิ ารต้ังงบประมาณและการเบิกจ่ายเงนิ อุดหนนุ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื ส่งั การข้างต้น สรปุ สาระสาคญั ได้ ดังนี้
หนว่ ยงานท่ีขอรับเงนิ อุดหนุน มีดงั น้ี
➢ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ อนื่ ที่มีกฎหมายจดั ตง้ั
➢ สว่ นราชการ
➢ รฐั วิสาหกิจ

คู่มอื การปฏิบัติงาน 43

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที ้องถน่ิ


Click to View FlipBook Version