The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือตรวจสอบการเงิน การคลัง อปท(ล่ม 2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukanyahong0908, 2021-03-26 00:32:49

คู่มือตรวจสอบการเงิน การคลัง อปท(ล่ม 2)

คู่มือตรวจสอบการเงิน การคลัง อปท(ล่ม 2)

➢ องค์กรประชาชน
❖ จัดตัง้ โดยถกู ต้องตามกฎหมาย ระเบียบ หรอื ขอ้ บังคบั ของหน่วยงานของรฐั
❖ ดาเนนิ การอยา่ งต่อเนอ่ื งมาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 1 ปี

➢ องคก์ รการกศุ ล
❖ จดั ต้งั โดยถูกตอ้ งตามกฎหมาย หรอื ระเบียบ หรือขอ้ บังคบั ของหน่วยงานของรฐั
❖ วัตถปุ ระสงค์หลักมใิ ช่การมุ่งแสวงหากาไร

ทง้ั นี้ หน่วยงานทขี่ อรับเงนิ อดุ หนุนตอ้ งมีระเบียบ ขอ้ บงั คับการนาเงนิ ไปใช้จ่าย

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบิกจ่ายเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจ่าย
2. งบประมาณรายจา่ ยประจาปี และแผนพฒั นาท้องถิ่น
3. โครงการท่ขี อรับเงินอุดหนุนจากองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
4. บนั ทึกขอ้ ตกลงการรบั เงนิ อดุ หนุน
5. รายงานผลการดาเนนิ งาน และเอกสารประกอบ

วิธกี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบการต้ังงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนได้ไม่เกินอัตราส่วนของรายได้จริงในปีงบประมาณ

ท่ีผ่านมาโดยไม่รวมเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้ โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัด ไม่เกินร้อยละ 10 เทศบาลนคร ไม่เกิน
ร้อยละ 2 เทศบาลเมือง/เทศบาลตาบล ไมเ่ กินร้อยละ 3 และองค์การบริหารส่วนตาบล ไมเ่ กินร้อยละ 5

2. ตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินอุดหนุน โครงการที่ขอรับเงินอุดหนุนอยู่ในอานาจหน้าที่ขององค์ปกครอง
สว่ นทอ้ งถิ่นผูส้ นบั สนุนและประชาชนได้รับประโยชน์หรอื ไม่

3. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้มีการกาหนดโครงการท่ีเป็นการซ้าซ้อนกับโครงการ
ที่ขอรับเงินอดุ หนนุ หรอื ไม่

4. ตรวจสอบฎีกาเบิกจ่ายเงินอุดหนุน เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิก
จ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2547 และแก้ไข
เพ่ิมเติมถึง (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2561 หรอื ไม่

5. กรณีอุดหนุนส่วนราชการ ตรวจสอบโครงการที่ขอรับเงินอุดหนุนว่า ในโครงการแสดงให้เห็นถึง
กจิ กรรม และมกี ารแบ่งสว่ นงบประมาณของตนเอง และส่วนท่ีจะขอรบั การอุดหนุนหรอื ไม่

6. ตรวจสอบการจัดทาบนั ทึกขอ้ ตกลงวา่ เปน็ ไปตามที่กระทรวงมหาดไทยกาหนดหรือไม่
7. ตรวจสอบว่าหน่วยงานท่ีขอรับการสนับสนุนได้ออกใบเสร็จรับเงินหรือใบสาคัญรับเงินให้องค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิน่ หรอื ไม่
8. ตรวจสอบรายงานผลการดาเนินงานที่หน่วยงานท่ีขอรับการอุดหนุนรายงานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทราบภายใน 30 วันนับแต่โครงการแล้วเสร็จ และมีสาเนาใบเสร็จรับเงิน หรือเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วน
กรณมี เี งินคงเหลอื ได้มกี ารสง่ คนื ครบถ้วนตามระเบยี บหรือไม่
9. ตรวจสอบการติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน หากหน่วยงานท่ีขอรับเงินอุดหนุนไม่ดาเนินการ
ใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเรียกเงินเท่าจานวนทอี่ ุดหนนุ ไปท้ังหมดคนื

44 คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที อ้ งถนิ่

การเบกิ จา่ ยเพอื่ สนบั สนนุ กิจการอาสาสมคั รป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรือน

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื สงั่ การ ทเ่ี กี่ยวข้อง
๑. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยกจิ การอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น พ.ศ.๒๕๕๓
๒. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2560
3. ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ว่าด้วยค่าใช้จ่ายของอาสาสมัคร

ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2560
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ท่ี มท ๐๘๐๘.๒/ว 7271 ลงวันท่ี 26 ธันวาคม ๒๕60 เรื่อง ระเบียบ

กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2560

กฎหมาย ระเบยี บ และหนงั สอื สั่งการข้างตน้ สรปุ สาระสาคัญได้ ดังนี้
- กรณี อปท. มีคาสั่งใช้ อปพร. ให้ดาเนินการตามภารกิจอานาจหน้าที่งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

หรือการรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามกฎหมาย อาสาสมัคร มสี ิทธิได้รับค่าใช้จา่ ยเพ่ือเป็นค่าป่วยการ
เพอ่ื สนับสนุนการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี ได้แก่

1. อาสาสมคั รของ อปท. แหง่ พน้ื ทที่ ่ีไดร้ ับคาสงั่ ชว่ ยสนบั สนุนการปฏิบัติหน้าท่จี ากผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ แห่งน้ัน
2. อาสาสมคั รของ อปท. แห่งพ้ืนทอี่ ่ืนท่ีไปสนับสนุนการปฏิบัติหนา้ ทตี่ ามคาร้องขอจากผูบ้ รหิ ารท้องถ่นิ แห่งนัน้
สาหรับค่าใช้จ่ายดังกล่าวข้างต้น ให้เป็นไปตามอัตราค่าใช้จ่ายที่กาหนดไว้ตามระเบียบคณะกรรมการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ว่าด้วยค่าใช้จ่ายของอาสาสมัครในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. 2560 โดยได้รับค่าใช้จ่ายในอัตราต่อคนต่อวันในกรณีการปฏิบัติหน้าท่ี ไม่เกิน 4 ช.ม. ให้ได้รับค่าใช้จ่าย จานวน
100 บาท กรณีปฏิบัติหน้าท่ีเกิน 4 ช.ม. แต่ไม่เกิน 8 ช.ม. ให้ได้รับค่าใช้จ่าย จานวน 200 บาท และเกิน 8 ช.ม.
ข้นึ ไป ใหไ้ ดร้ บั ค่าใชจ้ า่ ย จานวน 300 บาท

- การตั้งงบประมาณ ให้ต้ังไว้ในหมวดค่าตอบแทน ประเภทค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติราชการ อันเป็นประโยชน์

แก่ อปท. โดยคานงึ ถงึ ฐานะทางการเงินการคลงั ของ อปท.

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบกิ จา่ ยเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจ่าย
2. คาส่ังใชใ้ ห้อาสาสมัครป้องกันภัยฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) ปฏิบตั หิ น้าท่ี

วิธีการตรวจสอบ
1. กรณี การสั่งใช้ อปพร. ตรวจสอบการเบิกเบิกค่าใช้จ่ายเป็นค่าป่วยการ ให้เป็นไปตามระเบียบ

กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2560

2 ตรวจสอบว่าการเบิกจ่ายค่าป่วยการ ปฏิบัติหน้าท่ีตรงตามท่ีกาหนดไว้ตามคาสั่ง และมีการลงเวลา
ปฏบิ ัติหนา้ ที่ครบถ้วน และมคี าสงั่ ใช้ อปพร. และเอกสารประกอบฎกี าครบถ้วนหรอื ไม่

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ าน 45

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถน่ิ

การเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั งานต่าง ๆ

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสงั่ การ ที่เกยี่ วขอ้ ง
1. พระราชบญั ญัตกิ าหนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่ อปท. พ.ศ.2542
2. พระราชบัญญตั อิ งค์การบริหารส่วนจังหวดั พ.ศ. 2540 แก้ไขเพมิ่ เตมิ ถึงฉบับที่ พ.ศ. 2552
3. พระราชบัญญตั ิ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ถึงฉบับท่ี ๑๓ พ.ศ. ๒๕๕๒
4. พระราชบัญญตั ิสภาตาบลและองคก์ ารบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ถงึ ฉบบั ที่ 6 พ.ศ. 2552
5. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการเบิกจ่ายค่าใช้จา่ ยในการจัดงาน การจดั การแข่งขันกีฬา

และการส่งนักกีฬาเขา้ ร่วมการแข่งขนั กีฬาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2559

กฎหมาย ระเบยี บ และหนงั สอื ส่ังการขา้ งต้น สรุปสาระสาคญั ได้ ดังน้ี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการเบิกจ่ายคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกฬี าและการส่ง

นกั กฬี าเข้ารว่ มการแขง่ ขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 สรปุ สาระสาคัญได้ดงั นี้
1. การจัดงานต่าง ๆ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ จะต้องอยู่ในอานาจหน้าท่ีตามกฎหมาย โดยกาหนด

ไว้ในแผนงาน โครงการ ท้ังในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดเองหรือจัดร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
อื่นหรอื จัดร่วมกบั หน่วยงานอื่น

2. “การจัดการแข่งขันกีฬา” หมายความว่า การจัดการแข่งขันกีฬาของ อปท. ตามอานาจหน้าท่ี
ตามกฎหมายโดยกาหนดไว้ในแผนงาน โครงการ ทั้งในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเองหรือจัดร่วมกับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่นหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอ่ืน และให้รวมถึงการแข่งขันกีฬาตามนโยบาย
ของกระทรวงมหาดไทย

3. “การส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน” หมายความว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่จัดการส่งนักกีฬา
ของตนเข้าแข่งขันกีฬาที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดเอง หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอนื่ เปน็ ผู้จัดหรอื องคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถ่ินอื่นจัดร่วมกันหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่นและให้รวมถึงการแข่งขันกีฬาตามนโยบายของ
กระทรวงมหาดไทย

4. “ค่าใช้จา่ ยพธิ ีทางศาสนา” หมายความว่า คา่ ใช้จ่ายในการประกอบพิธที างศาสนาที่จาเป็นท่ีเก่ียวเนือ่ ง
กับลักษณะของงานที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ จดั

5. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถต้ังงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขัน
กฬี าและการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา โดยเบกิ จ่ายตามงบประมาณทต่ี ง้ั ไว้ได้ไม่เกินอัตราส่วนของรายไดจ้ ริง
ในปีงบประมาณท่ีผ่านมา ทั้งน้ี ไม่รวมเงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้ อบจ. ไม่เกินร้อยละสิบ ทต.และ อบต.ไม่เกิน
ร้อยละห้า กรณีมีความจาเป็นต้องใช้งบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่ง
นั ก กี ฬ า เข้ า ร่ ว ม ก า ร แ ข่ ง ขั น กี ฬ า เกิ น อั ต ร า ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ ข อ อ นุ มั ติ จ า ก ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด เป็ น ร า ย ก ร ณี
กอ่ นการดาเนนิ การตงั้ งบประมาณ และให้ระบุเหตผุ ลความจาเปน็ เพอื่ ประกอบการพจิ ารณา

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎกี าการเบิกจา่ ยเงนิ และเอกสารประกอบการเบิกจา่ ย
2. โครงการจดั งาน ประมาณการค่าใชจ้ า่ ย ขอ้ บัญญัติ เทศบัญญตั ิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
และแผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ

46 คู่มอื การปฏิบตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที อ้ งถน่ิ

วธิ กี ารตรวจสอบ
ตรวจสอบโครงการจดั งาน โดยตอ้ งคานึงถึงเรื่องดงั ต่อไปน้ี
- โครงการจัดงาน ต้องตั้งอยู่ในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ขององค์กรปกครอง

ส่วนท้องถ่ิน อยู่ในอานาจหน้าที่ตามกฎหมาย โครงการจะต้องระบุวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างชัดเจน หากการ
จดั งานจาเป็นตอ้ งมีพธิ ีทางศาสนา ให้เบกิ ค่าใชจ้ ่ายไดค้ รั้งเดยี วเทา่ ทจี่ า่ ยจริงแต่ไมเ่ กิน 30,000 บาท เว้นแต่ในกรณี
จาเป็น ตอ้ งมกี ารทาพธิ ีทางศาสนาตง้ั แต่ 2 ศาสนาขนึ้ ไป ให้เบกิ จา่ ยไดค้ รั้งเดยี วเท่าท่ีจ่ายจรงิ แต่ไมเ่ กนิ 50,000 บาท

- หากการจัดงานมีการเบิกค่ารับรอง ให้เบิกจ่ายค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม ในอัตราไม่เกินคนละ
50 บาทต่อวนั และค่าอาหารและเคร่ืองดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ในอตั ราไมเ่ กนิ คนละ 100 บาทตอ่ วนั

- ค่าใช้จา่ ยเกย่ี วกบั สถานที่และคา่ ใช้จ่ายอืน่ ๆ ทีจ่ าเปน็ และเกี่ยวข้อง ให้เบิกจ่ายไดเ้ ทา่ ท่จี ่ายจรงิ
- หากการจัดงานมีการประกวดหรือแข่งขัน ให้เบิกจ่ายค่าตอบแทนกรรมการตัดสินสาหรับเจ้าหน้าที่
ของรฐั ให้เบิกจ่ายไดใ้ นอัตราคนละไม่เกิน ๔๐๐ บาทต่อวนั สาหรับบุคคลอ่ืนไม่เกิน 800 บาทต่อวัน ค่าโล่หรือถ้วย
รางวัลให้เบิกจ่าย ได้ชิ้นละไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท เงินหรือของรางวัล ให้เบิกจ่ายได้ไม่เกินร้อยละ ๓๐
ของประมาณการค่าใช้จ่ายตามโครงการ
- ค่ามหรสพการแสดงและค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์งาน ให้เบิกจ่ายได้ไม่เกินร้อยละ ๒๐
ของประมาณการค่าใชจ้ า่ ยตามโครงการ ค่าจ้างเหมาจดั นิทรรศการและค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ ท่ีจาเป็นและเกยี่ วขอ้ งในการ
จดั งาน ให้เบกิ จา่ ยได้เท่าที่จาเป็นและประหยัด
- ฎกี าเบิกจา่ ยเงนิ ตอ้ งมเี อกสารประกอบการเบิกจา่ ยอย่างครบถว้ น

การเบิกจา่ ยเงนิ คา่ ใชจ้ ่ายในการแข่งขันกีฬา

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสง่ั การ ท่เี ก่ียวข้อง
1. พระราชบัญญตั กิ าหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอานาจให้แก่ อปท. พ.ศ.2542
2. พระราชบัญญตั อิ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั พ.ศ. 2540 แกไ้ ขเพม่ิ เติมถึงฉบบั ที่ พ.ศ. 2552
3. พระราชบัญญตั ิ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แกไ้ ขเพิ่มเติมถงึ ฉบบั ท่ี ๑๓ พ.ศ. ๒๕๕๒
4. พระราชบัญญตั ิสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2552
5. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบกิ จ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั งาน การจดั การแข่งขันกีฬา

และการสง่ นักกีฬาเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั กีฬาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2559

กฎหมาย ระเบยี บ และหนังสือส่ังการขา้ งต้น สรปุ สาระสาคญั ได้ ดงั นี้
ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการแขง่ ขนั กฬี า
๑. กรณกี ารแขง่ ขันกีฬาระหว่างองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ให้เบิกค่าใช้จ่ายได้ ดงั น้ี
- ค่าเช่าหรือคา่ เตรยี มสนามแข่งขนั ใหเ้ บิกจา่ ยไดเ้ ท่าทีจ่ ่ายจรงิ
- คา่ อุปกรณ์กฬี า ใหเ้ บิกจ่ายไดเ้ ท่าท่จี าเปน็ และประหยดั
- ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ประจาสนาม ให้เบิกจ่ายในอัตราคนละไม่เกิน 200 บาทต่อวัน เฉพาะวัน

ทมี่ ีการแขง่ ขันกีฬา

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน 47

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีทอ้ งถน่ิ

- ค่าตอบแทนเจ้าหนา้ ที่จดั การแข่งขันกีฬา ใหเ้ บกิ จา่ ยในอัตราคนละไมเ่ กิน 400 บาทต่อวนั
- ค่าตอบแทนกรรมการตัดสิน

1) เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ท่ีได้รับแต่งต้ังเป็นกรรมการตัดสินและไม่มีหน้าท่ีความรับผิดชอบในการ
จดั การ

แข่งขันกฬี า ให้เบิกจ่ายได้ในอัตรา คนละไมเ่ กนิ 400 บาทต่อวัน
2) บุคคลทมี่ ไิ ด้เป็นเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ท่ไี ด้รบั แตง่ ตง้ั เปน็ กรรมการตัดสนิ ใหเ้ บิกจ่ายได้ในอัตราคนละ

ไม่เกิน 800 บาทต่อวัน
- ค่าจัดทาป้ายชื่อหรือทีมผู้เข้าร่วมแข่งขันและหรือค่าจัดทาเกียรติบัตรหรือประกาศเกียรติคุณ

เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจา่ ยจรงิ
- ค่าโล่หรือถว้ ยรางวลั ช้นิ ละไมเ่ กนิ 3,0๐๐ บาท
- เงินหรือของรางวัลนอกเหนือจากคา่ โลห่ รือถว้ ยรางวัลที่มอบให้ผู้ชนะการแข่งขนั เบกิ จ่ายไดไ้ มเ่ กินร้อยละ 30

ของประมาณการค่าใชจ้ ่ายตามโครงการ
- ค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ เช่น การจัดพิธีเปิด – ปิดการแข่งขันกีฬา ริ้วขบวน กีฬาสาธิต ค่าเวชภัณฑ์และอุปกรณ์

เวชภณั ฑ์ ให้เบกิ จ่ายได้เท่าทจี่ า่ ยจรงิ ตามความจาเป็น เหมาะสมและประหยดั
2. กรณีการจัดการแข่งขันกีฬาสาหรับนักเรียนของโรงเรียนหรือสถานศึกษาสังกัด อปท. กีฬาสาหรับ

เยาวชน หรือกีฬาประชาชน ในเขต อปท.ให้เบิกจ่ายคา่ ใช้จา่ ยของนกั กฬี าได้ดงั นี้
- คา่ ชุดกีฬา ในอตั ราชุดละไม่เกนิ 200 บาท
- คา่ อาหารวา่ งและเครอ่ื งดม่ื ในอตั ราคนละไมเ่ กนิ 50 บาทต่อวนั
- คา่ อาหารและเครือ่ งด่มื ไมม่ แี อลกอฮอล์ ในอัตราไม่เกนิ คนละ 100 บาทต่อวนั

3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสถานท่ีให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ดังนี้ ก) ค่าสถานที่จัดงาน ข) ค่าเช่าหรือ
ค่าบริการวัสดุอปุ กรณ์ท่ีจาเป็นในการจัดงาน รวมค่าติดต้ังและค่าร้ือถอน ค) คา่ ใช้จา่ ยเกยี่ วกับการรักษาความปลอดภัย
ง) ค่าจ้างเหมาทาความสะอาด จ) ค่าใช้จ่ายในการตกแต่ง จัดสถานท่ี ฉ) ค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ ช) ค่าเช่าหรือ
คา่ บริการรถสขุ าตลอดระยะเวลาทีจ่ ัดงาน

การสง่ นักกีฬาเข้ารว่ มการแข่งขัน ใหเ้ บกิ จ่ายค่าใช้จา่ ยได้ ดังนี้
1. ค่าใช้จ่ายสาหรับผู้ควบคุม หรือผู้ฝึกสอนที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ และนักกีฬาให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายได้
ตามทจ่ี า่ ยจริงตามสิทธทิ ี่กาหนดไว้ในระเบียบเกี่ยวกบั คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการของเจ้าหนา้ ทที่ ้องถน่ิ
2. ค่าตอบแทนสาหรับบุคคลที่มิใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ท่ี อปท.แต่งต้ังให้เป็นเจ้าหน้าท่ีในการควบคุมหรือ
ผู้ฝึกสอนหรอื เจ้าหน้าทอี่ ื่นทีจ่ าเป็น ในอัตราคนละไมเ่ กนิ 800 บาทตอ่ วัน
3. ค่าใช้จ่ายในการฝึกซ้อมกีฬา จะเบิกจ่ายได้เฉพาะกรณีท่ีมีระยะเวลาฝึกซ้อมไม่น้อยกว่า 4 ช .ม.
ต่อวัน และให้เบิกจ่ายได้ไม่เกิน 7 วัน รายการค่าอาหารและเครื่องด่ืมสาหรับนักกีฬาในอัตราคนละไม่เกิน
100 บาทต่อวัน และค่าตอบแทนผู้ควบคมุ และผ้ฝู ึกสอนแต่ละประเภทกีฬา ให้เบิกจ่ายได้ไม่เกิน 4 คน ในอัตราคนละ
ไม่เกิน 400 บาทต่อวนั
4. กรณีมีความจาเป็นต้องเก็บตัวเพื่อฝึกซ้อมก่อนการแข่งขันในแต่ละครั้ง ให้กระทาได้ไม่เกิน 30 วัน
ในกรณีนี้ให้เบิกค่าใช้จ่ายสาหรับผู้ควบคุมหรือผู้ฝึกสอนและนักกีฬา ตามสิทธิท่ีกาหนดไว้ในระเบียบเกี่ยวกับ
คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการของเจา้ หนา้ ที่ท้องถนิ่ และใหง้ ดเบิกค่าใช้จา่ ยตามข้อ 3
5. ค่าอุปกรณ์การกีฬา ค่าชุมวอร์ม ค่าชุดกีฬา พร้อมรองเท้า ถุงเท้า ของผู้ควบคุมหรือผู้ฝึกสอน
และนกั กฬี า ใหเ้ บิกจ่ายได้เทา่ ทจี่ าเป็นและประหยัด
6. คา่ ใช้จา่ ยอ่ืน ๆ ทใี่ ช้ในการแข่งขนั กีฬา ให้เบิกจา่ ยได้เท่าทจ่ี าเปน็ และประหยัด

48 คู่มอื การปฏิบัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีทอ้ งถน่ิ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบิกจ่ายเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจา่ ย
2. โครงการจัดงานแขง่ ขันกฬี าและประมาณการค่าใช้จา่ ย
3. รายช่อื นักกีฬา
4. กาหนดการแข่งขนั กฬี า

วิธีการตรวจสอบ
๑. ตรวจสอบเบิกจ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่าย

คา่ ใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬาเขา้ ร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2559

๒. การดาเนินการตามโครงการแข่งขันกีฬาจะต้องมีประชาชนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการแข่งขนั กีฬาด้วย
๓. ตรวจสอบการจัดซ้ืออุปกรณ์ ในการแข่งขันกีฬา เส้ือกีฬา ฯลฯ มีการจัดซ้ือจัดจ้างตามระเบียบ
กระทรวงการคลัง วา่ ด้วยการจดั ซ้อื จัดจา้ งและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ หรอื ไม่
4. ตรวจสอบว่ามกี ารจัดทาบัญชีควบคมุ รายรบั – จ่ายวสั ดุ
5. ตรวจสอบการเบิกจ่ายวัสดุ เช่น เสื้อนักกีฬา มีหลักฐานให้ผู้รับลงลายมือช่ือรับไว้ในทะเบียน เพ่ือเป็น
หลักฐานเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงนิ หรือไม่

การจดั ซอ้ื นา้ มนั เช้อื เพลิงเพ่ือใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานตามภารกิจของ อปท.
(กรณีหนว่ ยงานของรฐั ไมม่ ีภาชนะทีใ่ ชส้ าหรับเก็บรักษานา้ มนั เชื้อเพลงิ และจดั ซื้อจากสถานีบริการที่ให้เครดิตแก่
หน่วยงานของรฐั )

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสง่ั การ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
1. พระราชบัญญัติการจัดซ้อื จดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560
2. ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจัดซื้อจดั จ้าง และการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560
3. กฎกระทรวงกาหนดพัสดุท่ีรัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน และกาหนดวิธีการจัดซ้ือจัดจ้างพัสดุ

โดยวธิ คี ดั เลอื กและวธิ เี ฉพาะเจาะจง พ.ศ. 2560
4. กฎกระทรวงกาหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซ้ือจัดจ้างที่ไม่ทา

ข้อตกลงเปน็ หนังสอื และวงเงนิ การจดั ซอื้ จัดจา้ งในการแต่งต้ังผตู้ รวจรับพสั ดุ พ.ศ. 2560
5. หนงั สือกระทรวงการคลัง ดว่ นมาก ท่ี กค 0405.2/ว 89 ลงวันที่ 18 ธนั วาคม 2550
6. หนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ด่วนท่ีสุด

ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 179 ลงวันที่ 9 เมษายน 2561 ลงวันที่ 9 เมษายน 2561

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน 49

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที ้องถนิ่

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสง่ั การข้างตน้ สรุปสาระสาคญั ได้ ดังนี้
1. ขอบเขตการบังคับใช้

- ใช้สาหรับการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงของหน่วยงานของรัฐเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของ
หน่วยงาน โดยครอบคลุมรถราชการและยานพาหนะอย่างอื่น รวมถึงอุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ และเครอ่ื งจักรกล
ครภุ ณั ฑ์หรอื สง่ิ อ่ืนใดทห่ี นว่ ยงานของรฐั มไี ว้เพอื่ ใชใ้ นการปฏบิ ตั ติ ามภารกิจซงึ่ จาเป็นต้องใชน้ า้ มันเช้อื เพลงิ

- นา้ มนั เชอ้ื เพลิง หมายถงึ น้ามนั เช้ือเพลิงตามพระราชบัญญัติการค้านา้ มันเช้อื เพลิง พ.ศ. 2543
- รถของหน่วยงานของรัฐ หมายถึง รถทุกประเภทของหน่วยงานของรัฐท่ีหน่วยงานของรัฐมีไว้เพ่ือใช้
ประจาสานกั งาน หรอื เพ่ือปฏบิ ัติตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐ
- สถานีบริการน้ามันเช้ือเพลิง หมายถึง สถานีบริการตามพระราชบัญญัติการค้าน้ามันเชื้อเพลิง
พ.ศ. 2543
- ผู้จดั ซื้อน้ามันเชือ้ เพลงิ หมายถงึ ผดู้ าเนินการจดั ซื้อนา้ มนั เช้ือเพลงิ จากสถานีบริการนา้ มนั เช้ือเพลงิ

2. การจดั ซอ้ื น้ามนั เชื้อเพลงิ จานวนไมถ่ ึง 10,000 ลิตร
กรณหี น่วยงานของรฐั ไม่มภี าชนะทใ่ี ชส้ าหรบั เกบ็ รกั ษานา้ มันเชอ้ื เพลิง
ให้หน่วยงานของรัฐจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงโดยวิธีเฉพาะเจาะจงจากสถานีบริการน้ามันเช้ือเพลิงใดก็ได้

โดยใหด้ าเนนิ การ ดงั น้ี
(1) การจัดทารายงานขอซ้อื น้ามันเชือ้ เพลิง
ให้เจ้าหน้าท่ีจัดทารายงานขอซ้ือเสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ โดยให้ถือว่ารายงานขอซื้อดังกล่าว

เป็นรายงานขอซื้อน้ามันเช้ือเพลิงสาหรับการจัดซื้อในแต่ละครั้งตลอดระยะเวลาการจัดซ้ือ เม่ือมีวงเงินสะสมครบ
หรือใกล้จะครบวงเงนิ ดังกล่าวข้างต้น ให้จัดทารายงานขอซอื้ ฉบบั ใหม่

(2) การดาเนินการจัดซ้ือน้ามันเชื้อเพลิง กรณีจัดซ้ือจากสถานีบริการน้ามันเช้ือเพลิงที่ให้เครดิตแก่หน่วยงาน
ของรัฐ

- การจัดซอื้ น้ามันเชื้อเพลงิ แต่ละครง้ั ใหห้ วั หน้าเจา้ หน้าท่ีเป็นผู้ลงนามในใบส่ังจ่ายนา้ มันที่สถานีบริการ
น้ามันเช้ือเพลิงเป็นผู้จัดหาให้ กรณีท่ียังไม่ทราบข้อมูลเกี่ยวกับประเภทปริมาณ และราคาน้ามันที่สั่งซ้ือ อาจเว้น
รายละเอียดดังกลา่ วไวก้ อ่ นกไ็ ด้

- ใหห้ ัวหนา้ เจ้าหนา้ ท่สี ง่ มอบใบสั่งจ่ายนา้ มนั เชื้อเพลงิ ส่วนหน่ึงใหแ้ ก่ผจู้ ัดซื้อน้ามนั เชือ้ เพลิง
- ใหผ้ จู้ ดั ซอื้ นา้ มันเช้อื เพลิงเขียนข้อความในใบบันทกึ รายการขาย (sales slip) ท่สี ถานีบริการนา้ มันเชือ้ เพลิง
ออกให้ว่า “ได้รับมอบน้ามันเชื้อเพลิงตามรายการข้างต้นไว้ครบถ้วนถูกต้องแล้ว” หรือข้อความในทานองเดียวกัน
พร้อมทั้งลงชื่อกากับและให้ส่งมอบเอกสารดงั กล่าวให้แกเ่ จ้าหน้าทีพ่ ัสดุเพ่อื เก็บรักษาเป็นหลักฐานไวร้ วมกับใบสั่งจ่าย
น้ามันเชือ้ เพลงิ สว่ นที่เหลอื โดยใหถ้ ือวา่ เอกสารดงั กลา่ วเปน็ หลักฐานการตรวจรบั พัสดุ
(3) การจัดทาทะเบียนคมุ การจัดซอ้ื น้ามันเชือ้ เพลงิ
การจัดซ้ือนา้ มันเช้ือเพลิงแต่ละครั้งให้เจ้าหน้าที่บันทึกรายการในทะเบียนควบคุมการจัดซอื้ น้ามันเชื้อเพลิง
ตามแบบท่ีกาหนดให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพ่ือประโยชน์ในการติดตาม ควบคุม และตรวจสอบการจัดซ้ือ
น้ามนั เช้ือเพลงิ และใหร้ ายงานหวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั ทราบทุก 3 เดอื น
(4) การจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงโดยถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การใช้บัตรเติมน้ามันรถราชการตามหนังสือ
กระทรวงการคลัง ด่วนมาก ท่ี กค 0405.2/ว 89 ลงวันท่ี 18 ธันวาคม 2550 เรื่อง หลักเกณฑ์และขั้นตอนการ
ใชบ้ ตั รเตมิ นา้ มนั รถราชการ
หน่วยงานของรัฐสามารถเลือกดาเนินการจดั ซ้ือน้ามันเชือ้ เพลิงตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนการใช้บัตร
เติมน้ามันรถราชการ (Fleet Card) ช่วยให้หน่วยงานของรัฐมีระบบการบริหารจัดการเก่ียวกับการเติมน้ามัน
รถราชการท่ีมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นในเร่ืองความโปร่งใสและการตรวจสอบ

50 คูม่ อื การปฏบิ ัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีท้องถน่ิ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาเบกิ จา่ ยเงินจดั ซอ้ื นา้ มนั เช้อื เพลงิ และเอกสารประกอบ
2. ทะเบยี นควบคุมการจัดซอ้ื น้ามันเชือ้ เพลงิ
3. งบประมาณรายจา่ ยประจาปี

วธิ กี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบรายงานขอซื้อน้ามันเชื้อเพลิงเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 22 วรรคหน่ึง ในวงเงินตามข้อ 1 ของกฎกระทรวงกาหนดวงเงิน
การจัดซ้ือจัดจ้างพัสดุ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ทาข้อตกลงเป็นหนังสือ และวงเงินการจัดซ้ือ
จัดจา้ งในการแต่งต้งั ผู้ตรวจรับพัสดุ พ.ศ. 2560
2. หัวหน้าเจ้าหน้าที่เป็นผู้ลงนามในใบสั่งจ่ายน้ามันท่ีสถานีบริการน้ามันเช้ือเพลิงเป็นผู้จัดหาให้ และส่งมอบ
ใบสั่งจ่ายน้ามันเช้ือเพลิงส่วนหน่ึงให้แก่ผู้จัดซื้อน้ามันเช้ือเพลิง ผู้จัดซื้อน้ามันเช้ือเพลิงเขียนข้อความในใบบันทึก
รายการขาย (sales slip) ที่สถานีบริการน้ามันเช้ือเพลิงออกให้ว่า “ได้รับมอบน้ามันเชื้อเพลิงตามรายการข้างต้นไว้
ครบถ้วนถูกตอ้ งแล้ว” หรอื ขอ้ ความในทานองเดียวกัน พร้อมทั้งลงชื่อกากับ
3. เจ้าหน้าท่ีได้บันทึกรายการในทะเบียนควบคุมการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงตามแบบท่ีกาหนด โดยถูกต้อง
ครบถ้วน เปน็ ปจั จบุ นั และได้รายงานหัวหน้าหน่วยงานของรฐั ทราบ ทุก 3 เดือน
4. สถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิงที่ให้เครดิตแก่หน่วยงานของรัฐ ออกใบส่ังจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงท่ีมีรายละเอียด
ครบถว้ นตามทก่ี าหนด

การเบิกจา่ ยค่าเบยี้ ยงั ชีพผูด้ ้อยโอกาส

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื สั่งการ ทเ่ี กยี่ วข้อง
1. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชพี ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

พ.ศ. ๒๕๔๘
๒. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

พ.ศ. ๒๕๕๒ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ถงึ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2561
๓. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการให้คนพิการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

พ.ศ. ๒๕๕๓ แก้ไขเพ่ิมเติมถงึ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2561
๔. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๘๙๑.๓/ว ๒๕๐๐ ลงวันท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ เร่ือง แนวทาง

ปฏบิ ัติในการจ่ายเงนิ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบย้ี ยังชีพผู้สูงอายขุ ององค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงนิ เบย้ี ความพิการให้คนพิการขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่นิ พ.ศ. ๒๕๕๓

๕. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ที่ มท ๐๘๙๑.๓/ว ๑๕๘๖ ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๓
เร่ือง แนวทางปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์
และวิธีการจดั สวัสดกิ ารเบย้ี ความพกิ าร (ฉบับ ๒) พ.ศ.๒๕๕๓

คมู่ ือการปฏิบัตงิ าน 51

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที ้องถนิ่

จากระเบียบ และหนังสือสง่ั การข้างตน้ สรปุ สาระสาคัญได้ ดงั น้ี
๑. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอาจจะต้ังงบประมาณของตนเองหรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก

องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั เพอ่ื ใหก้ ารสงเคราะหเ์ บี้ยยังชีพได้ในกรณี ดังน้ี
➢ จ่ายให้แกผ่ ูส้ ูงอายแุ ละคนพกิ ารตามบญั ชรี ายชื่อที่ได้รบั อนมุ ัตจิ ากผู้บรหิ ารท้องถิ่น
➢ จา่ ยใหแ้ กผ่ ้ปู ว่ ยเอดสต์ ามบัญชรี ายชื่อทไ่ี ด้รบั อนุมัติจากผู้บริหารทอ้ งถน่ิ
➢จ่ายสมทบให้แก่ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ป่วยเอดส์ตามบัญชีรายช่ือที่ไดรับการสงเคราะห์

งบประมาณเบย้ี ยงั ชพี จากรัฐอยู่เดิม
2. คณุ สมบัติของผู้มสี ิทธไิ ด้รบั เบ้ยี ยงั ชีพ
➢ มีสญั ชาติไทย
➢ มภี ูมลิ าเนาอยู่ในเขตองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินตามทะเบียนบ้าน
➢กรณีผู้สูงอายุ ต้องมีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และย่ืนคาขอรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแล้ว กรณีเป็น

ผู้พิการมีบตั รประจาตัวคนพิการตามกฎหมาย กรณีเป็นผู้ป่วยเอดส์ตอ้ งมีหนังสอื รับรองแพทยท์ ี่ทาการวนิ ิจฉัยแล้ว
ระบวุ า่ เป็นผ้ปู ่วยเอดส์

➢ ไมเ่ ปน็ ผ้ทู ่ไี ดร้ ับสวสั ดิการหรือสทิ ธปิ ระโยชนอ์ ื่นใดจากหนว่ ยงานของรฐั
3. ตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ให้ผู้สูงอายุที่จะมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป
ในปีงบประมาณถัดไปลงทะเบียนและยื่นคาขอรับเงินเบี้ยยังชีพด้วยตนเองต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยย่ืน
หลักฐานใหค้ รบถ้วน อาจมอบอานาจใหผ้ ู้อ่นื เป็นผูย้ ่นื คาขอแทนก็ได้
4. ให้คนพิการทไ่ี ดจ้ ดทะเบียนคนพกิ ารตามกฎหมายฯ ลงทะเบียนและยืน่ คาขอรับเงินเบย้ี ยงั ชีพ
ดว้ ยตนเองตอ่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยย่ืนหลักฐานให้ครบถ้วน อาจมอบอานาจให้ผู้อื่นเปน็ ผู้ย่ืนคาขอแทน
ก็ได้ และมีสิทธิรบั เงินเบย้ี ความพกิ ารในเดือนถดั ไป
5. ภายในเดือนตุลาคมของทุกปี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการตรวจสอบสถานะ
ของผู้รับเบ้ียยังชีพแสดงการดารงชีวิตอยู่ โดยจะแสดงด้วยตนเองหรือให้มีการรับรองของนายทะเบียนอาเภอ
หรอื นายทะเบียนทอ้ งถนิ่ ก็ได้
6. การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ จะจ่ายเป็นเงินสดหรือโอนเข้าบัญชีก็ได้ อาจมอบอานาจให้ผู้อ่ืนรับเบี้ยยังชีพ
แทนผ้มู ีสิทธไิ ด้ ทงั้ น้ี ตอ้ งตรวจสอบจนแนใ่ จว่าเปน็ บุคคลเดียวกบั ผทู้ ีไ่ ด้รบั มอบอานาจจริง
7. การจา่ ยเบ้ียยังชพี ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ดาเนนิ การจา่ ยภายในวันที่ 10 ของทกุ เดอื น
8. การสิ้นสดุ การไดร้ ับเบีย้ ยงั ชพี มีดังน้ี

➢ ตาย
➢ ขาดคณุ สมบัติตามขอ้ 2
➢ แจ้งสละสทิ ธกิ ารขอรบั เบีย้ ยังชีพ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎกี าการเบกิ จ่ายเงนิ และเอกสารประกอบการเบิกจ่าย
2. เอกสารหลกั ฐานการรบั เงินของผู้มีสิทธิได้รับเบย้ี ยงั ชพี
3. หลักฐานการมอบอานาจ
4. คาสงั่ แตง่ ตงั้ คณะทางานในการรับ – จา่ ยเงนิ เบ้ียยังชพี
5. เอกสารการลงทะเบยี นและยนื่ คาขอรับเงินเบ้ยี ยงั ชีพ

52 ค่มู ือการปฏิบตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

วิธีการตรวจสอบ
๑. ตรวจสอบว่าผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพมีการลงทะเบียนและยื่นคาขอรับเงินเบ้ียยังชีพด้วยตนเอง

ตอ่ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินหรือไม่
๒. ตรวจสอบวา่ ภายในเดือนตุลาคมของทุกปี องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการตรวจสอบสถานะของ

ผู้รับเบ้ียยังชีพแสดงการดารงชีวิตอยู่หรือไม่ และกรณีที่ผู้มีสิทธิบางรายได้รับสิทธิจากหน่วยงานของรัฐ เช่น ได้รับ
เงินบานาญ ตรวจสอบว่าองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ยังมีการจา่ ยเงินเบีย้ ยงั ชีพให้อีกหรือไม่

๓. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการต้ังคณะทางานในการดาเนินงานรับ – จ่ายเงินเบี้ยยังชีพ
รวมถงึ การตรวจสอบสถานการณ์มีชีวติ อยู่ คณุ สมบตั ิของผู้รับเบี้ยยังชีพหรอื ไม่

๔. ตรวจสอบการจ่ายเบ้ียยังชีพ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการจ่ายภายในวันท่ี 10 ของทุกเดือน
หรือไม่

๕. ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการรับเงินเบ้ียยงั ชีพ มีการลงลายมอื ชื่อผู้รบั เงนิ หรือไม่ และหากเป็นกรณีท่ีมี
การมอบอานาจให้ผู้อื่นมารับเงินแทนผู้มีสิทธิ ให้ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการมอบอานาจว่าเป็นบุคคลเดียวกัน
หรอื ไม่

การเบิกจา่ ยเงนิ เพือ่ ช่วยเหลือประชาชน

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือส่งั การ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพ่ือช่วยเหลือประชาชนตามอานาจหน้าท่ีขององค์กรปกครอง

ส่วนทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2560 แก้ไขเพ่มิ เติมถึง (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2561
2. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0406.3/ว 35 ลงวันที่ 26 มีนาคม 2556 เรื่อง ปรับปรุง

แกไ้ ขหลกั เกณฑ์และวธิ ีดาเนินการให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยพบิ ตั ิกรณฉี ุกเฉิน
3. หลกั เกณฑ์วิธปี ฏิบัติปลีกยอ่ ยเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรผู้ประสบภยั พิบัติกรณฉี กุ เฉิน

พ.ศ. 2556

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื สั่งการข้างตน้ สรุปสาระสาคญั ได้ดงั นี้
การช่วยเหลือประชาชน หมายถึง การให้ความช่วยเหลือประชาชนท่ีได้รับความเดือดร้อน หรือไม่สามารถ

ช่วยเหลือตนเองไดใ้ นการดารงชพี โดยอาจใหเ้ ปน็ สงิ่ ของหรือจ่ายเปน็ เงินหรือการจัดบรกิ ารสาธารณะเพอื่ ให้การชว่ ยเหลือ
ประชาชนในระดับเขตพื้นที่หรือท้องถิ่น ตามอานาจหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหลักการช่วยเหลือ
ประชาชนดังต่อไปน้ี

1. การช่วยเหลือประชาชน จะต้องดาเนินการในขอบเขตอานาจหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ตามกฎหมาย โดยคานงึ ถงึ สถานะทางการคลัง

คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน 53

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถนิ่

2. กรณีเกิดสาธารณภัยในพ้ืนท่ี ไม่ว่าจะมีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
กรณีฉุกเฉินหรอื ไม่กต็ าม องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ สามารถดาเนินการช่วยเหลือประชาชนในเบื้องต้น โดยฉับพลัน
ทนั ทภี ายใต้ของอานาจหน้าทต่ี ามกฎหมาย โดยไม่ต้องเสนอคณะกรรมการพจิ ารณา

3. กรณีมีความจาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือประชาชนเพ่ือเยียวยาหรือฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัย
ให้ดาเนนิ การดงั นี้

➢ กรณีมีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นท่ีเกิดภัย
ให้รายงานอาเภอ หรือจังหวัด หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือพิจารณานาเงินทดรองราชการเพ่ือการช่วยผู้ประสบภัย
พบิ ัติ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภยั

➢ กรณีมิได้มีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นที่เกิดภัย
ในการช่วยเหลือประชาชน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ
ไมเ่ กินหลกั เกณฑต์ ามระเบยี บฯ

4. ให้แต่งต้ังคณะกรรมการช่วยเหลอื ประชาชนขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน มีหน้าท่ีนารายชื่อประชาชน
ที่ได้รับความเดือนร้อนที่สารวจโดยหน่วยงานของรัฐและรายช่ือประชาชนท่ีย่ืนลงทะเบียนขอรับความช่วยเหลือ
ต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และสถานท่ีกลางมาใช้ในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ และปิดประกาศรายชื่อ
ประชาชนที่จะได้รับความช่วยเหลือ ณ สานักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สถานท่ีกลาง และท่ีทาการหมู่บ้าน
ชมุ ชน ให้ทราบเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสบิ ห้าวัน

5. เม่ือสิ้นสุดการดาเนินการตามโครงการช่วยเหลือประชาชน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินการให้ประชาชนทราบ เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน โดยให้ติดประกาศ
ณ สานักงานองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สถานทก่ี ลาง และทท่ี าการหมูบ่ ้านและชุมชน

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบิกจ่ายเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจา่ ย
2. เอกสารการสารวจและการลงทะเบียนรับเรอื่ งขอความชว่ ยเหลอื จากประชาชน
3. งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
4. คาสั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ การช่วยเหลือประชาชน

การช่วยเหลือประชาชน แบ่งออกเปน็ 4 กรณี ดงั นี้
❖ กรณีท่ี 1 การให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านสาธารณภัย เป็นการช่วยเหลือที่จาเป็นที่ต้องแก้ไข

โดยฉับพลันในการดารงชีพและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือเป็นการซ่อมแซมให้คืนสู่สภาพเดิม อันเป็นการ
บรรเทาความเดือนร้อนเฉพาะหน้า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถให้ความช่วยเหลือได้ทันที ภายใต้ขอบ
อานาจหน้าที่ตามกฎหมาย

❖ กรณีท่ี 2 การใหค้ วามช่วยเหลอื ประชาชนด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากกรณี
การช่วยเหลือด้านสาธารณภัยฉุกเฉิน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินประกาศให้ประชาชนที่จะประสงค์ขอรับความ
ช่วยเหลือ ยื่นลงทะเบียนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อเสนอคณะกรรมการฯ ในกรณีเกิดอัคคีภัยที่ไม่เข้าข่าย
ภัยพิบัติในการช่วยเหลือประชาชน ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการฯ พิจารณาให้ความช่วยเหลือ
ตามความจาเปน็ เหมาะสม แตไ่ มเ่ กินอัตราตามหลกั เกณฑ์ท่ีกระทรวงการคลงั กาหนด

54 คู่มือการปฏิบตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที อ้ งถนิ่

❖ กรณีท่ี 3 การให้ความช่วยเหลอื เกษตรกรผ้มู ีรายไดน้ อ้ ยที่ประสบปัญหาในการประกอบอาชีพ
ในเรือ่ ง

➢ จดั หาหรือปรับปรุงแหลง่ นา้ เพอ่ื การเกษตร
➢ การสนับสนุนอุปกรณ์ เครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ในการปรบั ปรงุ แหลง่ นา้
➢ ประสานกับหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องเพอื่ ใหก้ ารสนับสนนุ ดา้ นการเกษตร
➢ ค่าใช้จา่ ยอ่ืนๆ ท่เี ก่ยี วข้อง ตามที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาใช้จ่ายงบประมาณช่วยเหลือประชาชน ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ โดยอนโุ ลม
❖ กรณีท่ี 4 การป้องกนั และความคมุ โรคตดิ ต่อ ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินดาเนนิ การหรือสนับสนุน
ใหม้ กี ารป้องกัน การควบคมุ การแพร่ และการระงับการระบาดของโรค หรือสรา้ งภมู ิคุ้มกนั โรคใหก้ ับผู้ที่มีภาวะเส่ียง
รวมท้ังการประชาสัมพันธ์ องค์ความร้เู กี่ยวกบั โรคติดตอ่ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถเบกิ คา่ ใช้จา่ ยต่างๆ
ดังนี้
➢ ยา เวชภัณฑ์ และวสั ดุทใ่ี ช้ในการปอ้ งกนั ควบคุมโรคติดต่อ เชน่ ถงุ มือยางหรอื หนัง ผ้าปิดปากหรือ
ปดิ จมูก รองเทา้ ยางหุม้ สน้ สูงใตเ้ ขา่ (รองเทา้ บู๊ต) หรอื เสอ้ื กนั ฝน
➢ เคร่ืองแต่งกายและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน โดยคานึงถึงความจาเป็น
เหมาะสม และประหยัด

วธิ กี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบว่ารายจ่ายทใ่ี หก้ ารช่วยเหลืออย่ใู นอานาจหนา้ ท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือไม่
2. ตรวจสอบว่ากรณีที่ต้องจัดทาในลักษณะของโครงการ โครงการดังกล่าวมีปรากฏในแผนพัฒนา

ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น และมีการต้ังงบประมาณรายจา่ ยถูกต้องตามหมวดและประเภทรายจ่ายหรอื ไม่
➢ ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการช่วยเหลือประชาชนตามโครงการและควบคุมการปฏิบัติ

ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์โครงการหรอื ไม่
➢ ปิดประกาศรายช่ือประชาชนผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือ ณ สานักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สถานท่กี ลาง และที่ทาการหมู่บา้ น ชุมชนใหท้ ราบเป็นเวลาไม่น้อยกวา่ สบิ ห้าวันหรอื ไม่
3. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย

หรือภัยพิบตั ฉิ ุกเฉิน เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงการคลงั หรือไม่
4. ตรวจสอบว่าองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ มกี ารเบิกจา่ ยงบประมาณเพื่อการช่วยเหลอื ประชาชนด้านการส่งเสริม

และพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงมหาดไทยกาหนดหรือตามหลักเกณฑ์ของกระทรวง
การพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยห์ รือไม่

5. ตรวจสอบวา่ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นมกี ารเบิกจ่ายงบประมาณเพ่ือการช่วยเหลือประชาชนดา้ นการปอ้ งกัน
และระงับโรคติดตอ่ เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสขุ หรอื ไม่

6. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการช่วยเหลือเกษตรกรผู้มีรายได้น้อย
เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือไม่

7. ตรวจสอบวา่ เมื่อสนิ้ สดุ การดาเนินการตามโครงการช่วยเหลอื ประชาชน มกี ารประชาสัมพนั ธ์ผลการดาเนินการ
ใหป้ ระชาชนทราบ เปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกว่าสบิ ห้าวันหรอื ไม่

คมู่ ือการปฏิบัตงิ าน 55

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที อ้ งถนิ่

การเบกิ จา่ ยเงนิ ประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษ (โบนสั )

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสั่งการ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
1. พระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารงานบคุ คลส่วนทอ้ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๕
2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการกาหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษอันมีลักษณะ

เป็นเงนิ รางวัลประจาปแี ก่พนักงานส่วนทอ้ งถิ่นให้เปน็ รายจา่ ยอน่ื ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น พ.ศ. 2557
๓. หนังสือสานักงาน กจ.,กท.,และก.อบต. ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๘๐๙.๓/ว 380 ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ๒๕

58 เรื่อง กาหนดมาตรฐานท่ัวไปเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการกาหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณี
พิเศษ อันมีลักษณะเป็นเงินรางวัลประจาปี สาหรับพนักงานส่วนตาบล ลูกจ้าง และพนักงานจ้างขององค์การบริหาร
สว่ นตาบล พ.ศ. 2558

จากกฎหมาย ระเบยี บ และหนังสอื สั่งการขา้ งต้น สรปุ สาระสาคัญได้ ดงั น้ี
1. คณุ สมบัติ และเงอ่ื นไขขององค์กร มดี ังนี้
➢องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะต้องมีวงเงินคงเหลือจากค่าใช้จ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง และประโยชน์ตอบแทน

อน่ื ทีก่ าหนดไว้ไม่สงู กวา่ ร้อยละ 40 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปที ีข่ อรบั การประเมิน
➢ องค์ กรป กครองส่ วน ท้ องถิ่ น ต้ องได้ รั บ ผ ลคะแนน การป ระเมิ นมาตรฐานการป ฏิ บั ติ ราช การ

(Core Team) ในปีงบประมาณทีผ่ ่านมาของปที ่ขี อรบั การประเมนิ ทุกดา้ น ด้านละไม่ตา่ กว่า รอ้ ยละ 60
➢ ในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีต้องมีงบประมาณรายจ่ายเพื่อการพัฒนา

ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 10 ของงบประมาณรายจา่ ยประจาปที ข่ี อรบั การประเมนิ
➢ดาเนินการจัดทางบแสดงฐานะการเงิน ปิดบัญชีรายรับ – รายจ่าย และรายงานผลให้กับหน่วยงาน

ต่างๆ ทราบตามท่ีระเบียบกระทรวงมหาดไทยกาหนด
2. คุณสมบตั ิของผ้มู ีสทิ ธิ
➢ผูซ้ ่ึงได้รับการบรรจุแต่งต้ังให้ปฏบิ ัติราชการโดยได้รับเงินเดอื นจากงบประมาณขององค์กรปกครอง

สว่ นทอ้ งถ่ิน หรอื งบประมาณหมวดเงินอดุ หนนุ ทร่ี ฐั บาลจดั สรรให้
➢มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน ณ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ขอรับการประเมินแห่งนั้นไม่น้อยกว่า

8 เดอื น
➢ต้องเป็นผู้ที่มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานท้ังปี 2 คร้ัง ได้แก่ คร้ังท่ี 1 ( 1 ตุลาคม

ถึง 31 มีนาคม ของปีถัดไป) และครั้งท่ี 2 (1 เมษายน ถึง 30 กันยายน ของปีเดียวกัน) ในปีงบประมาณท่ีขอรับ
การประเมินและต้องได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือค่าจ้างทั้งปีไม่น้อยกว่า 1 ข้ัน สาหรับพนักงานจ้างต้องเป็น
ผมู้ คี ะแนนผลการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านทั้งปีของปงี บประมาณทข่ี อรับการประเมินเฉล่ยี อยู่ในระดับดีข้นึ ไป

3. ขน้ั ตอนและวิธีการประเมิน
➢องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยื่นเสนอขอรับการประเมินฯ เพ่ือขอรับเงินประโยชน์ตอบแทนอื่น

เป็นกรณีพิเศษตอ่ คณะกรรมการภายในเดือนกันยายนของทกุ ปี
➢องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเสนอโครงการ/กิจกรรม ที่สอดคล้องกับนโยบายหรือยุทธศาสตร์

ของจังหวัด จานวน 1 โครงการ ตามมิติด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 6 และโครงการ/กิจกรรม
ดีเด่นหรือมคี วามสาคญั จานวน 1 โครงการ ตามมติ ิด้านคุณภาพการให้บรกิ าร ตวั ชีว้ ดั ที่ 4

56 คู่มือการปฏบิ ัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที ้องถนิ่

➢การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ มีคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน
แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังน้ี ส่วนที่ 1 การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการตามตัวชี้วัด จานวน
90 คะแนน ส่วนที่ 2 การประเมินมาตรฐานในการปฏิบตั ิราชการ (Core Team) ของทกุ ด้านรวมกัน 10 คะแนน

➢รายงานการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีทาการสารวจ โดยสถาบันการศึกษา
ระดบั อดุ มศกึ ษาตามบัญชรี ายชอื่ ทีค่ ณะกรรมการกาหนด

➢องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดทาแบบแสดงค่าใช้จ่ายด้านเงินเดือน ค่าจ้าง และประโยชน์ตอบแทนอ่ืน
ในปีทข่ี อรับการประเมินเสนอคณะกรรมการ

4. หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจา่ ยเงนิ
➢ ตรวจสอบผลคะแนนประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ท่ีได้รับความ

เห็นชอบจาก ก. จังหวดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ต้องมผี ลการประเมินต้ังแตร่ ะดับคะแนน 75 คะแนนข้ึนไป
➢ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษ

พจิ ารณาจดั สรรเงนิ ประโยชน์ตอบแทนอน่ื เปน็ กรณพี เิ ศษตามหลกั เกณฑท์ ีก่ าหนด
➢ การจ่ายเงนิ ประโยชน์ตอบแทนอน่ื เปน็ กรณพี ิเศษ แบง่ เกณฑ์ตามช่วงคะแนน ดังนี้
- ตั้งแต่ 75 คะแนน แต่ไม่ถึง 85 คะแนน = ไม่เกิน 0.5 เท่าของอัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างหรือ

ค่าตอบแทน
- ตั้งแต่ 85 คะแนน แต่ไม่ถึง 95 คะแนน = ไม่เกิน 1 เท่าของอัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างหรือ

ค่าตอบแทน
- ตั้งแต่ 95 คะแนนขึ้นไป = ไม่เกิน 1.5 เท่าของอัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างหรือค่าตอบแทน

หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดได้รับผลคะแนนต้ังแต่ 95 คะแนนขึ้นไป และประสงค์จะจา่ ยเงินรางวัลประจาปี
ในอัตราไม่เกิน 1.5 เท่าของอัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างหรือค่าตอบแทน จะต้องเสนอคณะกรรมการจังหวัดพจิ ารณา
ใหค้ วามเหน็ ชอบกอ่ น

➢ ให้นาฐานอัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างหรือค่าตอบแทน ณ วันท่ี 30 กันยายนของปีงบประมาณ
ที่ขอรับการประเมินมาเป็นฐานในการจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษ ทั้งนี้ ต้องไม่จ่ายจากเงินรายได้
ทไ่ี มร่ วมเงินอดุ หนุนและเงนิ กู้อื่นใด และไม่ให้จา่ ยจากเงนิ สะสม

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. ฎีกาการเบกิ จ่ายเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจา่ ย
2. ผลคะแนนการประเมนิ มาตรฐานการปฏบิ ตั ริ าชการ
3. งบประมาณรายจ่ายประจาปี
4. งบการเงิน ณ วันส้นิ ปงี บประมาณ
5. รายงานการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
6. คาสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอืน่ เป็นกรณีพเิ ศษ

คมู่ อื การปฏิบัติงาน 57

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

วิธกี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบว่าการเบิกจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

มีคุณสมบัติ และไดด้ าเนินการตามข้นั ตอนและวธิ ีการประเมนิ ข้างต้นหรือไม่
๒. ตรวจสอบการจัดทางบการเงินประจาปี ปิดบัญชีรายรับ – รายจ่าย และการรายงานผลให้กับ

หน่วยงานต่างๆ ทราบ ตามทีร่ ะเบยี บกระทรวงมหาดไทยกาหนด
๓. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีวงเงินคงเหลือจากค่าใช้จ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง และประโยชน์ตอบแทน

อื่นเกนิ รอ้ ยละ 40 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปที ่ีขอรับการประเมนิ หรอื ไม่
๔. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ทาการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีทาการสารวจโดย

สถาบนั การศึกษาระดับอดุ มศึกษาตามบญั ชรี ายช่อื ทค่ี ณะกรรมการกาหนดหรอื ไม่
๕. ตรวจสอบการจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษว่ามีการจ่ายจากเงินรายได้ที่รวมเงิน

อดุ หนุนและเงินกอู้ นื่ ใด หรอื จ่ายจากเงินสะสมหรอื ไม่
๖. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทน

อืน่ เป็นกรณพี ิเศษหรือไม่

58 คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถน่ิ

เงนิ สะสมและเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม
แผนผงั การอนุมตั ใิ ชจ้ ่ายเงินสะสม
เงินสะสม

หัก ยอดเงนิ สะสมท่ไี ด้รบั อนุมัตใิ ห้จ่ายแล้ว
แต่ยังไม่ไดเ้ บิกจา่ ยให้เสร็จส้ิน

กนั สารองค่าใช้จ่าย
- ดา้ นบุคลากรไม่น้อยกวา่ 3 เดอื น
- การบรหิ ารงานและสาธารณภยั ร้อยละ 10
ของงบประมาณรายจา่ ยประจาปนี ั้น

กอ่ หนี้ผกู พนั ยอดเงินสะสมที่สามารถใชจ้ ่ายได้ - อยู่ในอานาจหน้าท่ีด้าน
ไม่เกนิ หนง่ึ ปี สภาอนุมัติ การบริการชุมชนและสังคม,
งบประมาณถดั ไป เป็ นการเพิ่ มพู นรายได้ ของ
ฎกี าเบิกเงนิ รายจ่าย อปท., บาบัดความเดือดร้อน
รายงานการจดั ทาเชค็ ของประชาชน
- ต้องเป็นไปตามแผนพัฒนา
ของ อปท. และให้คานึงถึง
ฐานะการคลงั และเสถยี รภาพ
ในระยะยาว
- ส่งเงินสมทบกองทุนสง่ เสริม
กจิ การ อปท.

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสง่ั การ ที่เกยี่ วขอ้ ง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน

ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แกไ้ ขเพ่ิมเติมถงึ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561 ข้อ 89

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. งบการเงนิ ณ วันส้ินปีงบประมาณ
๒. งบประมาณรายจ่ายประจาปี
๓. สมดุ บัญชแี ยกประเภท
๔. งบทดลองประจาเดือน
5. ฎกี าเบกิ จ่ายและเอกสารประกอบฎกี า
6. รายงานการประชุมสภา

คู่มอื การปฏบิ ัติงาน 59

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที อ้ งถน่ิ

วิธีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบว่าทุกวันส้ินปีงบประมาณ เม่ือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ปิดบัญชีรายรับ รายจ่ายแล้ว

ให้กันยอดเงินสะสมประจาปีไว้ร้อยละสิบห้าของทุกปี เพื่อเป็นทุนสารองเงินสะสมโดยที่ทุนสารองเงินสะสมน้ี
ให้เพิม่ ขน้ึ ร้อยละสิบหา้ ของทกุ ปีหรอื ไม่

2. ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินสะสม โดยตรวจสอบจากบัญชีแยกประเภทและจากงบทดลองประจาเดือน
ว่ามีการใช้จา่ ยเงินสะสมโดยท่ียังไม่ทราบว่ายอดเงินสะสมท่ีเหลืออยู่ถูกต้องหรือไม่ หรอื ไม่ทราบว่ามียอดเงินสะสม
คงเหลือเท่าใด เน่ืองจากไม่มีการปิดบัญชีเมื่อส้ินปีงบประมาณ หรือจัดทาบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน ดังนั้น ก่อนการใช้จ่าย
เงนิ สะสมต้องตรวจสอบยอดเงนิ สะสมคงเหลอื ให้ถกู ต้องกอ่ นการอนมุ ตั ิ

3. ตรวจสอบการใชจ้ ่ายจากเงนิ สะสม เป็นไปตามเงอ่ื นไขดังตอ่ ไปนี้หรอื ไม่
➢ กรณีสภาท้องถิ่นอนุมัติ เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความจาเป็น และไม่สามารถโอนเงิน
งบประมาณรายจ่าย เน่ืองจากงบประมาณมีไม่เพียงพอ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถใช้จ่ายเงินสะสมได้
ภายใต้เงอ่ื นไข ดังต่อไปน้ี
(1) เฉพาะกิจการซึ่งอยู่ในอานาจหน้าที่เกี่ยวกับด้านบริการชุมชนและสังคม หรือกิจการท่ีเป็นการเพ่ิมพูน
รายได้ หรือเพ่ือบาบัดความเดือนร้อนของประชาชน
(2) ต้องเปน็ ไปตามแผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือตามทก่ี ฎหมายกาหนด
(3) ไดส้ ่งเงนิ สมทบกองทนุ สง่ เสริมกิจการขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แต่ละประเภทตามระเบียบแลว้
(4) ได้กันเงินสะสมสารองจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรไม่น้อยกว่าสามเดือนและกันไว้อีกร้อยละสิบ
ของงบประมาณรายจา่ ยประจาปี เพ่ือเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารงานและกรณีท่ีมีสาธารณภยั เกิดข้นึ
(5) เมื่อได้รับการอนุมัติให้จ่ายขาดเงินสะสมแล้ว องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องดาเนินการก่อหนี้ผูกพัน
ให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปีถัดไป หากไม่ดาเนินการภายในระยะเวลาที่กาหนด ให้การจ่ายขาดเงินสะสมนั้น
เปน็ อันพบั ไป
➢ กรณผี ู้บริหารทอ้ งถ่ินอนมุ ตั ิ ใหใ้ ช้จ่ายจากเงินสะสมได้ ดังตอ่ ไปนี้
(1) รบั โอน เล่อื นระดบั เล่ือนขั้นเงนิ เดือนพนักงานส่วนทอ้ งถิน่
(2) สิทธปิ ระโยชนข์ องพนักงาน ลกู จา้ งและผูบ้ รหิ าร ฯลฯ
(3) กรณีฉุกเฉินท่ีมีสาธารณภัยเกิดข้ึน ให้ผู้บริหารท้องถ่ินอนุมัติให้จ่ายขาดเงินสะสมได้ตามความจาเป็น
ในขณะนนั้ โดยให้คานึงถึงฐานะการเงิน การคลงั ขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ นั้น
4. ตรวจสอบการจ่ายเงินทุนสารองเงินสะสม จะกระทาได้กรณียอดเงินสะสมคงเหลือไม่ถึงร้อยละสิบ
ห้าของเงินสะสม ณ วันที่ 1 ตุลาคม ของปีงบประมาณน้ัน โดยขอความเห็นชอบจากสภาท้องถ่ิน และขออนุมัติ
ผู้ว่าราชการจังหวัด ในกรณีที่ปีใด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมียอดเงินทุนสารองเงินสะสมเกินร้อยละสิบห้า
ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีนั้น หากมีความจาเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาจนายอดเงินทุนสารองเงิน
สะสมเฉพาะในส่วนท่เี กนิ ไปใชจ้ า่ ยไดโ้ ดยไดร้ ับอนุมตั ิจากสภาท้องถิน่ ภายใต้เง่ือนไขตามข้อ 3

60 คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

แผนผงั การใช้จา่ ยเงินทนุ สารองเงนิ สะสม

เงนิ ทนุ สารองเงินสะสม

กรณยี อดเงินทนุ สารองเงนิ สะสมส่วนท่ีเกนิ กรณียอดเงนิ ทุนสารองเงนิ สะสมส่วนท่ไี มเ่ กนิ
ร้อยละ 15 ของงบประมาณรายจ่าย ร้อยละ 15 ของบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีนั้น ประจาปีนั้น จะใช้จ่ายได้ตอ่ เมอ่ื

สภาท้องถน่ิ อนุมัติ (ยอดเงนิ สะสมคงเหลือไมถ่ ึงร้อยละ 15
ของเงนิ สะสม ณ 1 ตุลาคม
ของปีงบประมาณน้นั

สภาทอ้ งถ่นิ เหน็ ชอบ

ผ้วู ่าราชการจังหวัดอนุมัติ

คมู่ อื การปฏิบตั งิ าน 61

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที ้องถนิ่

การนาเงินสะสมทดรองจ่ายและการยืมเงินสะสม

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสั่งการ ทเ่ี ก่ียวข้อง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจ

เงนิ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพม่ิ เตมิ ถงึ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2561

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
๒. สมดุ บญั ชีแยกประเภท
๓. งบทดลองประจาเดอื น
4. ฎีกาเบกิ จ่ายและเอกสารประกอบฎกี า
5. รายงานการประชุมสภา

วิธกี ารตรวจสอบ
ตรวจสอบการนาเงนิ สะสมทดรองจ่ายและการยืมเงนิ สะสมว่าได้กระทาในกรณีดังตอ่ ไปนี้ หรอื ไม่
➢ มีงบประมาณรายจ่ายประจาปีอนุญาตให้จ่ายได้แล้ว แต่ระยะ 3 เดือนแรกมีรายได้ไม่เพียงพอ

ใหน้ าเงนิ สะสมทดรองจา่ ยไปก่อนได้
➢ ได้รับแจ้งการจัดสรรเงินอุดหนุนที่รัฐบาลระบุวัตถุประสงค์แต่ยังไม่ได้รับเงินให้ยืมเงนิ สะสมทดรองจ่าย

ได้ และบนั ทกึ บญั ชสี ง่ ใช้เงนิ ยืม ยกเว้นงบลงทนุ
➢ กิจการพาณิชย์ อาจขอยืมเงินสะสมทดรองจ่ายได้โดยความเห็นชอบของสภาท้องถ่ิน และส่งใช้เงินยืม

สะสมเม่ือสิ้นปีงบประมาณ
➢ ผู้รับบานาญย้ายภูมิลาเนาและประสงค์จะโอนการรับเงินบานาญไปท่ีใหม่ องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถ่ินใหม่ อาจยืมเงนิ สะสมทดรองจา่ ยไดโ้ ดยอานาจผบู้ ริหารทอ้ งถิ่น และบนั ทกึ บัญชสี ง่ ใชเ้ งนิ ยมื

62 คู่มือการปฏบิ ัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีท้องถน่ิ

คู่มือการปฏิบตั งิ าน 63

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถน่ิ

การจดั ทาบญั ชีและงบการเงิน
การตรวจสอบบญั ชแี ละงบการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน แบง่ การตรวจสอบออกเปน็ 3 ส่วน คือ
1) ตรวจสอบการจดั ทาสมุดบัญชี และทะเบียนต่างๆ
2) ตรวจสอบการจดั ทารายงานการเงนิ ประจาเดอื น และ
3) ตรวจสอบการจัดทารายงานการเงิน ณ วนั สิ้นปีงบประมาณ ดังน้ี

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. สมุดเงนิ สดรบั -จา่ ย
2. ทะเบยี นเงนิ รายรับ
3. สมุดบัญชแี ยกประเภท
4. รายงานการเงินประจาเดือน
5. รายงานการเงนิ ณ วนั สน้ิ ปงี บประมาณ
6. หนงั สือรับรองยอดเงนิ ฝากธนาคาร ณ วันสิ้นเดือน และงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
7. ข้อบัญญตั /ิ เทศบญั ญตั ิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื สัง่ การ ท่ีเกยี่ วข้อง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน

และการตรวจเงนิ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ พ.ศ. 2547 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ถึงฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0313.6/ว 2573 ลงวันท่ี 15 สิงหาคม 2540 เรื่อง แนวทาง

ปฏิบตั ิเมื่อกรณเี งินขาดบัญชีหรือมกี ารทจุ ริตทางการเงนิ ของหน่วยการบรหิ ารราชการส่วนท้องถนิ่
3. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ท่ี มท 0808.4/ว 685 ลงวันท่ี 2 พฤษภาคม 2557

เรือ่ ง การกาหนดแบบพิมพ์และเอกสารทใ่ี ชใ้ นการปฏิบตั ิงานทางการเงินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/ว 1723 ลงวันที่ 20 มีนาคม 2558 เร่ือง หลักเกณฑ์

และวธิ ีการปฏบิ ตั กิ ารบันทกึ บญั ชี การจดั ทาทะเบยี น และรายงานทางการเงนิ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
๕. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ิน ท่ี มท 0808.4/ว 659 ลงวันที่ 30 มีนาคม 2558

เรอ่ื ง การกาหนดแบบบญั ชี ทะเบียน และรายงานการเงนิ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

วิธกี ารตรวจสอบ
การตรวจสอบบัญชีและงบการเงิน เป็นการตรวจสอบท่ีต่อเน่ืองจากการตรวจสอบด้านการรับเงิน

การนาส่งเงินและการจ่ายเงิน ดังนั้น ในการตรวจสอบการบันทึกบัญชี และการจัดทางบการเงิน จึงเป็นการ
ตรวจสอบหลังจากตรวจสอบการรบั เงนิ การฝากเงิน และการจา่ ยเงิน โดยนาใบนาส่งเงนิ ใบสาคญั สรุปใบนาส่งเงิน
และรายงานการจดั ทาเช็คมาเปน็ เอกสารประกอบการตรวจสอบ โดยมีข้ันตอนตรวจสอบ ดังน้ี

1. ตรวจสอบการจัดทาสมุดบัญชีเงินสดรับ เงินสดจ่าย ทะเบียนรายรับ และสรรพบัญชีต่าง ๆ จัดทา
เป็นปจั จุบันหรอื ไม่

2. ตรวจสอบการบันทึกบัญชี โดยให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง หลักเกณฑ์
และวธิ ีปฏิบตั กิ ารบนั ทกึ บญั ชี การจัดทาทะเบียน และรายงานการเงินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ดังนี้

64 คู่มือการปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีท้องถน่ิ

2.1 ตรวจสอบสมุดเงินสดรบั ตามข้ันตอนตอ่ ไปนี้

เงินรำยไดต้ ่ำงๆ ใบเสร็จรับเงิน ใบนำส่งเงิน
ทะเบียนเงินรำยรับ สมดุ เงนิ สดรับ ใบสำคัญสรุปใบนำสง่ เงิน

บญั ชแี ยกประเภท ใบผ่านรายการบญั ชีมาตรฐาน 3 ใบผา่ นรายการบญั ชมี าตรฐาน 1

2.2 ตรวจสอบสมดุ เงินสดจา่ ย ตามขนั้ ตอนตอ่ ไปนี้

ข้อบัญญตั ิ/เทศ ดำเนินกำรตำมระเบียบท่ีเกยี่ วข้อง ทะเบยี นรำยจ่ำยตำม
บัญญัติ สมดุ เงินสดจำ่ ย งบประมำณ

รำยงำนกำรจัดทำเชค็

บญั ชีแยกประเภท ใบผำ่ นรำยกำรบญั ชมี ำตรฐำน 2

คมู่ อื การปฏิบัติงาน 65

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีทอ้ งถน่ิ

3. ตรวจสอบการจัดทางบการเงิน ณ วันสิ้นเดือน โดยทุกสิ้นเดือน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
จะต้องจัดทางบทดลองและรายงานรับ - จ่ายเงินสด พร้อมงบประกอบอ่ืนๆ เพื่อเสนอผ่านปลัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถน่ิ เพ่ือนาเสนอให้ผบู้ รหิ ารทราบ

4. ตรวจสอบการส่งสาเนางบการเงิน ณ วันส้ินเดือน ให้กับผู้กากับดูแล สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบล
ใหส้ ่งนายอาเภอ

5. ตรวจสอบการจดั ทารายงานการเงิน ณ วันส้ินเดือน ตามแบบท่ีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินกาหนด
ดังนี้

➢ รายงาน รับ – จา่ ยเงนิ
➢ งบทดลอง
➢ รายงานงบกระทบยอดเงนิ ฝากธนาคาร
➢ กระดาษทาการกระทบยอดรายจา่ ยตามงบประมาณ (จา่ ยจากเงนิ รายรบั )
➢ กระดาษทาการกระทบยอดรายจา่ ย (จา่ ยจากเงนิ สะสม)
➢ กระดาษทาการกระทบยอดรายจา่ ย (จ่ายจากเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม)
➢ กระดาษทาการกระทบยอดรายจา่ ย (จ่ายจากเงนิ กู้)
➢ กระดาษทาการกระทบยอดงบประมาณคงเหลอื
➢ กระดาษทาการกระทบยอดการโอนงบประมาณรายจา่ ย

กระบวนการจัดทางบการเงินประจาเดอื น

(1) ใบผ่านรายการบญั ชี (2) ใบผา่ นรายการบัญชี (3) ใบผ่านรายการบญั ชี
มาตรฐาน 1 มาตรฐาน 2 มาตรฐาน 3

(4) รายงานรับ–จา่ ย
เงินสด

บัญชแี ยกประเภท
งบทดลอง

เสนอผูบ้ ริหำรทรำบและส่งสำเนำให้ผ้กู ำกบั ดแู ล

66 ค่มู อื การปฏิบตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชีทอ้ งถน่ิ

6. ตรวจสอบการจัดทางบการเงิน ณ วันส้ินปี ทุกสิ้นปีงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ต้องทาการปดิ บญั ชีเพ่อื แสดงผลการดาเนินงาน และสรุปฐานะการเงิน เสนอใหค้ ณะผบู้ รหิ ารทราบ

7. ตรวจสอบการส่งสาเนางบการเงิน ณ วันส้ินปี ให้กับผู้กับกาดูแล สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบล
ให้ส่งนายอาเภอ และส่งให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภายใน 90 วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ
และประกาศสาเนางบแสดงฐานะการเงนิ และงบประกอบอืน่ ๆ ใหป้ ระชาชนทราบ

8. ตรวจสอบการจัดทารายงานการเงิน ณ วันส้ินปี ตามแบบท่ีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกาหนด
ดงั นี้

➢ งบแสดงฐานะการเงนิ และหมายเหตุประกอบ
➢ รายงานรายจา่ ยในการดาเนนิ งานท่จี า่ ยจากเงินรายรับตามแผนงาน
➢ รายงานรายจ่ายในการดาเนนิ งานทจ่ี ่ายจากเงินรายรบั ตามแผนงานรวม
➢ รายงานรายจา่ ยในการดาเนินงานจ่ายจากเงนิ สะสม
➢ รายงานรายจ่ายในการดาเนินงานจา่ ยจากเงินทุนสารองเงินสะสม
➢ รายงานรายจา่ ยในการดาเนนิ งานจา่ ยจากเงินกู้
➢ งบแสดงผลการดาเนินงานจา่ ยจากเงนิ รายรบั
➢ งบแสดงผลการดาเนินงานรวมจา่ ยจากเงนิ รายรับและเงินสะสม
➢ งบแสดงผลการดาเนินงานรวมจ่ายจากเงินรายรับ เงินสะสม และเงินทนุ สารองเงนิ สะสม
➢ งบแสดงผลการดาเนินงานรวมจ่ายจากเงินรายรับ เงินสะสม เงนิ ทุนสารองเงินสะสม และเงนิ กู้
9. ทุกสิ้นปีงบประมาณ เมื่อปิดบัญชีรายรับรายจ่ายแล้ว ให้กันยอดเงินสะสมประจาปีไว้ร้อยละ 15
ของทุกปี เพอ่ื เป็นทุนสารองเงนิ สะสม โดยทีท่ นุ สารองเงนิ สะสมน้ใี หเ้ พ่มิ ข้ึนร้อยละ 15 ของทุกปี

กระบวนการปดิ บัญชี ณ วันส้ินปงี บประมาณ

(๑) งบทดลองก่อนปดิ บัญชี

(๒) รำยรบั จรงิ ตำมประมำณกำร (๓) รำยจำ่ ยจรงิ ตำมประมำณกำร
(รำยได้ค้ำงรบั ลกู หน้ภี ำษีคำ้ งชำระ) (เบิกตดั ปี รำยจำ่ ยคำ้ งจ่ำย รำยจ่ำยรอจ่ำย)

(๒) – (๓)

(๔) เงนิ สะสมทเี่ กิดขึน้
ระหว่ำงปี

(๑๕% ทนุ สำรอง + ๘๕% เงนิ สะสม)

(๕) งบทดลองหลงั ปดิ บญั ชี

(๖) งบแสดงฐำนะกำรเงนิ และงบอื่นๆ

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ าน 67

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

68 ค่มู ือการปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีทอ้ งถน่ิ

การจดั ซอ้ื จัดจา้ ง

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือส่งั การ ที่เกย่ี วข้อง
1. พระราชบญั ญตั ิการจดั ซอ้ื จัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560
2. ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการจดั ซื้อจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ. 2560
3. กฎกระทรวง กาหนดให้หน่วยงานอ่ืนเป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้าง

และการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐
4. กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์เกยี่ วกับผูท้ ่ีมีสทิ ธิขอข้นึ ทะเบียนผปู้ ระกอบการ พ.ศ. ๒๕๖๐

5. กฎกระทรวง กาหนดพัสดุท่ีรัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน และกาหนดวิธีการจัดซ้ือจัดจ้างพัสดุ

โดยวธิ คี ัดเลือกและวิธเี ฉพาะเจาะจง พ.ศ. ๒๕๖๐

6. กฎกระทรวง กาหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซ้ือจัดจ้างที่ไม่ทา

ขอ้ ตกลงเป็นหนงั สอื และวงเงนิ การจัดซ้อื จดั จ้างในการแต่งตงั้ ผูต้ รวจรับพัสดุ พ.ศ. ๒๕๖๐
7. กฎกระทรวง กาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่อื นไขการขน้ึ ทะเบยี นท่ปี รกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐
8. กฎกระทรวง กาหนดอตั ราคา่ จา้ งผู้ให้บรกิ ารงานจา้ งออกแบบหรอื ควบคุมงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๖๐
9. กฎกระทรวง กาหนดเรอ่ื งการจดั ซ้อื จดั จา้ งกับหนว่ ยงานของรฐั ทีใ่ ช้สทิ ธิอุทธรณไ์ ม่ได้ พ.ศ. ๒๕๖๐

10. กฎกระทรวง กาหนดกรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดโุ ดยวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ. ๒๕๖1

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. ฎกี าเบกิ จา่ ยเงิน และเอกสารประกอบ
๒. แผนการจดั ซ้อื จดั จ้างประจาปี
3. ประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
4. รายงานการขอซื้อขอจา้ ง
5. คาส่งั แตง่ ต้ังคณะกรรมการซอ้ื หรอื จ้าง

วิธกี ารซอื้ หรือการจ้าง
การซื้อหรอื การจา้ ง มี 3 วิธี คอื

➢ วิธีประกาศเชิญชวนทว่ั ไป
➢ วธิ ีคดั เลอื ก
➢ วิธีเฉพาะเจาะจง

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ าน 69

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที อ้ งถนิ่

วธิ กี ารตรวจสอบ

1. ตรวจสอบวา่ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ มกี ารจัดทาแผนการจัดซ้ือจัดจ้างหรือไม่

เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับความเห็นชอบวงเงินงบประมาณที่จะใช้ในการจัดซ้ือจัดจ้าง
จากผู้มีอานาจในการพิจารณางบประมาณแล้ว ให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจัดทาแ ผนการจัดซ้ือ
จดั จ้างประจาปี เสนอผบู้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ เพอ่ื ขอความเห็นชอบ โดยมรี ายการอยา่ งน้อย ดงั ตอ่ ไปนี้

➢ ช่ือโครงการที่จะจดั ซอ้ื จดั จ้าง
➢ วงเงินท่ีจะจดั ซ้อื จัดจา้ งโดยประมาณ
➢ ระยะเวลาทค่ี าดว่าจะจัดซ้อื จดั จา้ ง
➢ รายการอืน่ ตามทกี่ รมบญั ชีกลางกาหนด

2. ตรวจสอบวา่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินมีการประกาศเผยแพร่แผนการจัดซ้ือจดั จ้างหรือไม่

เมือ่ ผ้บู ริหารท้องถ่ินให้ความเห็นชอบแผนการจัดซ้ือจัดจา้ งประจาปีแล้วให้หวั หนา้ เจา้ หน้าทป่ี ระกาศ
เผยแพร่แผนในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามวิธีการ
ทก่ี รมบัญชีกลางกาหนด และใหป้ ิดประกาศ ณ สถานท่ีปดิ ประกาศขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

3. ตรวจสอบวา่ มีการจัดทารายงานขอซ้ือหรือขอจ้างทกุ วธิ ีหรอื ไม่

ทุกคร้ังในการซ้ือหรือการจ้างแต่ละวิธี นอกจากการซ้ือท่ีดินหรือส่ิงปลูกสร้าง ให้เจ้าหน้าที่จัดทา
รายงานขอซอื้ หรอื ขอจ้างเสนอผู้บริหารทอ้ งถน่ิ เพ่ือขอความเหน็ ชอบ โดยเสนอผา่ นหวั หนา้ เจา้ หนา้ ท่ี ดงั น้ี

(1) เหตผุ ลและความจาเปน็ ทีต่ ้องซ้อื หรือจ้าง
(2) ขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุหรือแบบรูปรายการงานก่อสร้าง

ท่จี ะซ้อื หรอื จา้ ง แลว้ แต่กรณี
(3) ราคากลางของพัสดุที่จะซอ้ื หรือจา้ ง
(4) วงเงินทจ่ี ะซอื้ จะจ้าง
(5) เวลาท่ตี ้องใชพ้ สั ดุ
(6) วธิ ีทีจ่ ะซื้อหรือจา้ งและเหตผุ ลทต่ี อ้ งซอ้ื หรอื จ้างโดยวิธนี น้ั
(7) หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาคดั เลือกข้อเสนอ
(8) ขอ้ เสนออ่ืน เช่น ขอแต่งตัง้ คณะกรรมการ การออกประกาศและเอกสารเชิญชวน และหนงั สอื เชญิ ชวน

4. ตรวจสอบการแต่งตงั้ คณะกรรมการซือ้ หรือจา้ ง
ในการดาเนินการซื้อหรือการจ้างแต่ละคร้ังให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการซ้ือหรือจ้างข้ึน

เพือ่ ปฏิบัติการตามระเบียบนพี้ ร้อมกบั กาหนดระยะเวลาในการพิจารณาของคณะกรรมการ แลว้ แตก่ รณี คอื
(1) คณะกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์
(2) คณะกรรมการพจิ ารณาผลการสอบราคา
(3) คณะกรรมการซ้อื หรือจา้ งโดยวิธคี ัดเลือก
(4) คณะกรรมการซ้ือหรอื จา้ งโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง
(5) คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ

5. ตรวจสอบองค์ประกอบคณะกรรมการ ตอ้ งเปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ ดังน้ี
(1) ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคนและกรรมการอย่างน้อยสองคน โดยให้แต่งตั้ง

จากข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานของรัฐ หรือพนักงาน
ของหน่วยงานของรัฐที่เรียกช่ืออย่างอื่น โดยให้คานึงถึงลักษณะหน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ท่ีได้รับแต่งตั้ง
เป็นสาคัญ ในกรณีจาเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน จะแต่งต้ังบุคคลอ่ืนร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้
แตจ่ านวนกรรมการจะตอ้ งไม่มากกวา่ จานวนกรรมการดังกลา่ วข้างตน้

70 คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที ้องถน่ิ

(2) ในการซื้อหรือจ้างคร้ังเดียวกัน ห้ามแต่งต้ังผู้เป็นกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
กรรมการพิจารณาผลการสอบราคา หรือกรรมการซ้ือหรือจ้างโดยวธิ คี ัดเลือกเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ

(3) การประชุมของคณะกรรมการแตล่ ะคณะ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน
กรรมการทั้งหมด โดยประธานกรรมการต้องอยู่ด้วยทุกคร้ัง หากประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้
ผบู้ ริหารท้องถิน่ แต่งตั้งประธานกรรมการคนใหม่เป็นประธานกรรมการแทน มติของคณะกรรมการให้ถอื เสียงข้างมาก
ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานกรรมการออกเสียงเพ่ิมข้ึนอีกเสียงหน่ึงเป็นเสียงชี้ขาด เว้นแต่คณะกรรมการตรวจรับ
พสั ดใุ ห้ถือมตเิ อกฉนั ท์

6. ตรวจสอบการจดั ซอื้ หรือการจา้ งวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
การซอ้ื หรือจ้างโดยวธิ ีประกาศเชญิ ชวนท่วั ไป มี 3 วธิ ี ดังน้ี
(1) วิธีตลาดอิเลก็ ทรอนกิ ส์
(2) วิธีประกวดราคาอเิ ล็กทรอนกิ ส์
(3) วธิ ีสอบราคา
➢ วธิ ตี ลาดอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-market )
(1) ต้องเป็นการซื้อหรือจ้างท่ีมีรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ไม่ซับซ้อนหรือเป็นสินค้า

หรืองานบริการที่มีมาตรฐาน และได้กาหนดไว้ในระบบข้อมูลสินค้า (e-catalog) โดยให้ดาเนินการในระบบตลาด
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Market : e-Market)

(2) ตรวจสอบการจัดทารายงานขอซื้อหรือขอจ้างเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
(3) ผู้บรหิ ารท้องถ่ินตอ้ งให้ความเห็นชอบตามรายงานที่เสนอ
(4) หัวหน้าเจ้าหน้าท่ีพัสดุจัดทาประกาศเอกสารเผยแพร่ลงในระบบ e-GP และทางเว็บไซต์
ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น พร้อมปิดประกาศหรือไม่
(5) ตรวจสอบการเสนอราคา กรณีวงเงนิ เกนิ 5 แสนบาท แตไ่ มเ่ กิน 5 ลา้ นบาท ใชแ้ บบใบเสนอราคาหรือไม่
(6) ตรวจสอบการเสนอราคา กรณีวงเงนิ เกิน 5 ล้านบาท ใชแ้ บบการประมลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ รือไม่
(7) เมือ่ สน้ิ สุดการเสนอราคาให้เจา้ หน้าทพ่ี ิจารณาผู้ชนะการเสนอราคาจากผ้ทู เ่ี สนอราคาตา่ สดุ
(8) เจ้าหนา้ ท่ีรายงานผลการพิจารณา พรอ้ มเสนอความเหน็ ต่อผู้บริหารท้องถนิ่ ผา่ นหวั หน้าเจา้ หน้าท่ี
(9) ผู้บรหิ ารทอ้ งถนิ่ อนมุ ตั ิการซอ้ื หรือจา้ ง
(10) เจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณาในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง และปิดประกาศ
พร้อมทง้ั แจ้งให้ผู้เสนอราคาทุกรายทราบผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-mail)
(11) ลงนามในสัญญา หรอื ขอ้ ตกลง ตามแบบที่กาหนด

➢ วิธปี ระกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-bidding)
(1) ต้องเป็นการซ้ือหรือจ้างคร้ังหน่งึ ซ่งึ มวี งเงินเกิน 500,000 บาท และเป็นสนิ ค้าหรอื งานบริการ

ที่ไม่ได้กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุไว้ในระบบข้อมูลสินค้า (e – catalog) โดยให้ดาเนินการ
ในระบบประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e – bidding) ตามวิธกี ารท่ีกรมบญั ชีกลางกาหนด

(2) ตรวจสอบการจดั ทารายงานขอซ้ือหรือขอจ้างเสนอผู้บริหารทอ้ งถ่นิ
(3) ผบู้ รหิ ารท้องถน่ิ ต้องให้ความเห็นชอบตามรายงานทีเ่ สนอ
(4) หัวหน้าเจ้าหน้าท่ีพัสดุนาร่างประกาศเอกสารเผยแพร่ลงเว็บไซต์ โดยมีหลักเกณฑ์ หากการซ้ือ
หรือจ้างครั้งหนึ่ง มีวงเงินเกิน 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท ให้อยู่ในดุลยพินิจของหน่วยงานจะให้
มีการเผยแพร่เพื่อรับฟังความคิดเห็นหรือไม่ก็ได้ แต่หากการซ้ือหรือจ้างคร้ังหนึ่ง มีวงเงินเกิน 5,000,000 บาท
ให้หน่วยงานนาร่างประกาศเอกสารเผยแพร่เพ่ือรับฟังความคิดเห็นจากผู้ประกอบการ เป็นเวลาติดต่อกัน
ไม่นอ้ ยกวา่ 3 วันทาการ

คู่มอื การปฏิบัติงาน 71

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที อ้ งถน่ิ

(5) ผ้เู สนอราคาเขา้ เสนอราคาผา่ นระบบ e-GP โดยเสนอราคาไดเ้ พียงครั้งเดยี ว
(6) คณะกรรมการพิจารณาผลฯ จัดทารายงานผลการพิจารณาพร้อมความเห็นเสนอต่อผู้บริหาร
ทอ้ งถ่นิ เพ่ือให้ความเห็นชอบ
(7) ผ้บู ริหารทอ้ งถิ่นอนุมัตกิ ารซอื้ หรือจ้าง
(8) เจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณาในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
และปิดประกาศ พร้อมทงั้ แจง้ ใหผ้ ู้เสนอราคาทุกรายทราบผา่ นทางจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-mail)
(9) ลงนามในสญั ญา หรือข้อตกลง ตามแบบทก่ี าหนด

➢ วิธสี อบราคา
(1) ต้องเป็นการซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่ง ซึ่งมีวงเงินเกิน 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท

ให้กระทาได้ในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐนั้นต้ังอยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีข้อจากัดในการใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ต ทาให้
ไม่สามารถดาเนนิ การผ่านระบบตลาดอิเลก็ ทรอนิกส์หรือระบบประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ได้ ทั้งนี้ ใหเ้ จ้าหน้าท่ี
ระบุเหตุผลความจาเปน็ ไว้ในรายงานขอซือ้ หรอื ขอจ้างดว้ ย

(2) ตรวจสอบการจัดทารายงานขอซ้ือหรือขอจ้างเสนอผบู้ ริหารทอ้ งถนิ่
(3) ผ้บู ริหารท้องถน่ิ ตอ้ งใหค้ วามเห็นชอบตามรายงานท่เี สนอ
(4) หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุนาร่างประกาศเอกสารเผยแพร่ลงเว็บไซต์ เป็นเวลาติดต่อกัน

ไมน่ ้อยกวา่ 5 วันทาการ

(5) กาหนดวัน เวลาย่นื ขอ้ เสนอ และการเปิดซองข้อเสนอ

(6) เมื่อถึงกาหนดวัน เวลาการเปิดซองข้อเสนอ ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคา

จดั ทารายงานผลการพจิ ารณาพรอ้ มความเหน็ ตอ่ ผู้บรหิ ารท้องถนิ่ เพอื่ ให้ความเหน็ ชอบ

(7) ผบู้ ริหารทอ้ งถิ่นอนุมตั ิการซอ้ื หรอื จา้ ง

(8) เจ้าหน้าท่ีแจ้งผลการพิจารณาในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
และปดิ ประกาศพรอ้ มท้ังแจง้ ใหผ้ เู้ สนอราคาทุกรายทราบผ่านทางจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-mail)

(9) ลงนามในสญั ญา หรือขอ้ ตกลง ตามแบบท่ีกาหนด
7. ตรวจสอบการจดั ซือ้ หรอื การจ้างวิธีคัดเลอื ก จากขั้นตอนการดาเนินการ ดงั น้ี

ภายใต้เงอ่ื นไข
➢ ดาเนินการดว้ ยวธิ ีประกาศเชญิ ชวนทัว่ ไปแลว้ แต่ไม่มผี ู้ยื่นข้อเสนอ
➢ พัสดุท่ีต้องการจัดซื้อจัดจ้างมีลักษณะเฉพาะเป็นพิเศษหรือซับซ้อน ต้องให้ฝีมือโดยเฉพาะ

ความชานาญเป็นพิเศษ มีทักษะสงู หรอื ผปู้ ระกอบการมีจานวนจากดั
➢ มีความจาเปน็ เร่งด่วน
➢ เป็นพัสดุท่ีลักษณะการใช้งาน หรือมีข้อจากัดทางเทคนิคท่ีจาเป็นต้องระบุย่ีห้อ
เปน็ การเฉพาะ
➢ เป็นพสั ดทุ จี่ าเป็นตอ้ งซ้อื โดยตรงจากตา่ งประเทศ
➢ เปน็ พัสดทุ ใ่ี ชใ้ นราชการลับ
➢ เป็นงานจ้างซ่อมพัสดทุ ี่จาเป็นต้องถอนตรวจ เพ่ือประเมนิ ค่าใชจ้ า่ ย
➢ กรณอี นื่ ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

(1) ตรวจสอบการจดั ทารายงานขอซอ้ื หรอื ขอจา้ งเสนอผู้บรหิ ารท้องถิ่น
(2) ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ ต้องใหค้ วามเหน็ ชอบตามรายงานทีเ่ สนอ

72 ค่มู ือการปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที ้องถนิ่

(3) ต้องจัดทาหนังสือเชญิ ชวนไปยังผ้ปู ระกอบการท่ีมคี ุณสมบตั ิตรงตามเงอื่ นไขไมน่ ้อยกวา่ 3 ราย

(4) ให้คณะกรรมการพิจารณาฯ เปิดซองข้อเสนอ ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน และจัดทารายงานผล

การพจิ ารณาพรอ้ มความเหน็ ต่อผูบ้ รหิ ารทอ้ งถิ่นเพื่อให้ความเห็นชอบ
(5) ผูบ้ รหิ ารท้องถน่ิ อนุมัติการซอื้ หรอื จา้ ง

(6) เจ้าหน้าท่ีแจ้งผลการพิจารณาในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง และปิดประกาศ
พร้อมท้งั แจง้ ใหผ้ เู้ สนอราคาทุกรายทราบผ่านทางจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-mail)

(7) ลงนามในสัญญา หรอื ขอ้ ตกลง ตามแบบทีก่ าหนด

8. ตรวจสอบการจัดซื้อหรือการจา้ งวิธีเฉพาะเจาะจง จากขนั้ ตอนการดาเนนิ การ ดังนี้ ภายใต้เงื่อนไข
➢ ทีด่ าเนนิ การดว้ ยวธิ ปี ระกาศเชญิ ชวนท่วั ไปและวิธคี ัดเลือก หรือใช้วธิ คี ัดเลอื กแลว้ แตไ่ ม่มีผยู้ ่นื ขอเสนอ
➢ มวี งเงนิ ในการจดั ซ้อื จดั จ้างครง้ั หนึง่ ไม่เกนิ 500,000 บาท
➢ มีความจาเป็นเร่งด่วน
➢ มีความจาเป็นต้องใช้พัสดฉุ ุกเฉนิ เนอื่ งจากเกดิ อบุ ัตภิ ยั หรือภยั ธรรมชาตหิ รือเกดิ โรคติดตอ่
➢ พัสดทุ ีท่ าการจัดซือ้ จัดจา้ งเป็นพสั ดุท่เี ก่ยี วพันกบั พัสดทุ ี่ได้ทาการจัดซ้ือจัดจ้างไว้กอ่ นแลว้
➢ เปน็ พัสดุท่จี ะขายทอดตลาดโดยหน่วยงานของรัฐ
➢ เป็นพัสดุท่ีเปน็ ที่ดินและสิง่ ปลกู สรา้ งซึง่ จาเปน็ ต้องซื้อเฉพาะแหง่
➢ กรณีอื่นตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวง

(1) ตรวจสอบการจดั ทารายงานขอซื้อหรือขอจ้างเสนอผบู้ รหิ ารทอ้ งถิ่น

(2) ผู้บริหารทอ้ งถิ่นตอ้ งใหค้ วามเห็นชอบตามรายงานท่เี สนอ
(3) ต้องจัดทาหนังสือเชิญชวนไปยังผู้ประกอบการท่ีมีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขรายใดรายหนึ่ง
ใหเ้ ขา้ ยืน่ ขอ้ เสนอหรือใหเ้ ขา้ มาเจรจาตอ่ รองราคา

(4) ให้คณะกรรมการฯ จัดทารายงานผลการพิจารณาพร้อมความเห็นต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพ่ือให้

ความเห็นชอบ

(5) ผบู้ รหิ ารทอ้ งถิ่นอนมุ ัตกิ ารซอ้ื หรอื จ้าง

(6) เจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณ าในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญ ชีกลาง

และปดิ ประกาศพร้อมท้งั แจ้งใหผ้ ู้เสนอราคาทุกรายทราบผ่านทางจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-mail)

(7) ลงนามในสญั ญา หรือข้อตกลง ตามแบบที่กาหนด

9. ตรวจสอบอานาจในการสงั่ ซ้อื หรือส่ังจา้ ง ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี
➢การส่ังซื้อหรือสั่งจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปคร้ังหน่ึง ให้เป็นอานาจของผู้ดารงตาแหน่ง

และภายในวงเงิน ดังตอ่ ไปน้ี

(1) หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐ ไม่เกิน 200,000,000 บาท

(2) ผูม้ ีอานาจเหนอื ข้ึนไปหนึ่งชน้ั เกิน 200,000,000 บาท
➢การส่ังซ้ือหรือสั่งจ้างโดยวิธีคัดเลือกคร้ังหน่ึง ให้เป็นอานาจของผู้ดารงตาแหน่งและภายในวงเงิน

ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) หวั หน้าหน่วยงานของรัฐ ไมเ่ กิน 100,000,000 บาท

(2) ผ้มู ีอานาจเหนือขึ้นไปหนึง่ ชนั้ เกิน 100,000,000 บาท
➢การสั่งซ้ือหรอื สัง่ จ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงคร้ังหน่ึง ให้เป็นอานาจของผ้ดู ารงตาแหน่งและภายในวงเงิน

ดังต่อไปนี้

(1) หวั หน้าห น่วยงานของรฐั ไมเ่ กนิ 50,000,000 บาท
(2) ผูม้ อี านาจเหนอื ขึ้นไปหนึ่งชนั้ เกิน 50,000,000 บาท

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน 73

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีท้องถน่ิ

การตรวจรับพสั ดุ ตรวจการจา้ งและควบคุมงานกอ่ สรา้ ง

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สอื สงั่ การ ท่เี กีย่ วข้อง
1. พระราชบัญญัตกิ ารจัดซอื้ จัดจา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560
2. ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการจดั ซ้อื จัดจา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. หลักฐานเอกสารการตรวจรับพสั ดุ
๒. รายงานการปฏบิ ัตงิ านของผู้รับจ้าง
๓. ใบรับรองผลการปฏิบตั งิ าน

วธิ กี ารตรวจสอบ
➢ ตรวจสอบการแตง่ ตง้ั คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุในงานซื้อหรืองานจ้าง โดยมีหน้าทด่ี ังน้ี
(1) ตรวจรับพัสดุ ณ ท่ีทาการของผู้ใช้พัสดุนั้น หรือสถานที่ซึ่งกาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง

การตรวจรับพสั ดุ ณ สถานทีอ่ ่นื ในกรณที ี่ไม่มสี ญั ญาหรือข้อตกลง จะตอ้ งไดร้ ับอนมุ ตั ิจากหัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั ก่อน
(2) ตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้ สาหรับกรณีที่มีการทดลองหรือ

ตรวจสอบในทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ จะเชิญผู้ชานาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิน้ันๆ ก็ได้ ในกรณีจาเป็น
ทไ่ี ม่สามารถตรวจนับเปน็ จานวนหน่วยทง้ั หมดได้ ใหต้ รวจรับตามหลักวิชาการสถิติ

(3) โดยปกติให้ตรวจรับพัสดุในวันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างนาพัสดุมาส่ง และให้ดาเนินการให้เสร็จส้ิน
ไปโดยเรว็ ท่สี ดุ

(4) เมื่อตรวจถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้รับพัสดุไว้และถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งมอบพัสดุถูกต้อง
ครบถ้วนต้ังแต่วันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างนาพัสดุน้ันมาส่ง แล้วมอบแก่เจ้าหน้าท่ีพร้อมกับทาใบตรวจรับโดยลงชื่อไว้
เป็นหลกั ฐานอยา่ งน้อย 2 ฉบับ มอบแกผ่ ขู้ ายหรือผู้รบั จา้ ง 1 ฉบบั และเจา้ หนา้ ที่ 1 ฉบับ เพอื่ ดาเนนิ การเบิกจ่ายเงิน

(5) ในกรณีที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่งมอบพัสดุถูกต้องแต่ไม่ครบจานวน หรือส่งมอบครบจานวน
แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด ถ้าสัญญาหรือข้อตกลงมิได้กาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนให้ตรวจรับไว้เฉพาะจานวนที่ถูกต้อง
และให้รีบรายงานหัวหน้าหน่วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เพ่ือแจง้ ให้ผู้ขายหรือผรู้ ับจา้ งทราบภายใน 3 วัน
ทาการนับแตว่ ันตรวจพบ

(6) การตรวจรับพัสดุท่ีประกอบกันเป็นชุดหรือหน่วย ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหน่ึงไปแล้ว
จะไม่สามารถใช้การได้โดยสมบูรณ์ ให้ถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างยังมิได้ส่งมอบพัสดุน้ัน และโดยปกติให้รีบรายงาน
หวั หนา้ หน่วยงานของรฐั เพ่ือแจง้ ให้ผู้ขายหรอื ผู้รับจา้ งทราบภายใน 3 วันทาการ นบั แต่วันทต่ี รวจพบ

(7) ถ้ากรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับพัสดุ โดยทาความเห็นแย้งไว้ ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงาน
ของรัฐเพ่ือพิจารณาสั่งการ ถ้าหัวหน้าหน่วยงานของรัฐสั่งการให้รับพัสดุนั้นไว้ จึงดาเนินการตาม (4) หรือ (5)
แลว้ แต่กรณี

74 ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที ้องถน่ิ

➢ ตรวจสอบการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพสั ดใุ นงานจ้างก่อสรา้ ง โดยมหี น้าท่ดี ังน้ี
(1) ตรวจสอบคณุ วุฒิของผคู้ วบคุมงานก่อสร้างของผรู้ ับจ้างใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ อาคาร
(2) ตรวจสอบรายงานการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และเหตุการณ์แวดล้อมที่ผู้ควบคุมงานรายงาน

โดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญาหรือข้อตกลงทุกสัปดาห์ รวมทั้งรับทราบหรือ
พิจารณาการส่ังหยุดงาน หรอื พักงานของผู้ควบคุมงานแลว้ รายงานหัวหน้าหน่วยงานของรฐั เพ่ือพิจารณาส่งั การต่อไป

(3) ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ท่ีกาหนดไว้ในสัญญาหรือท่ีตกลงให้ทางานจ้างนั้น ๆ ตามเวลาที่เหมาะสมและ
เหน็ สมควร และจดั ทาบนั ทกึ ผลการออกตรวจงานจา้ งน้ันไว้เพอื่ เป็นหลกั ฐานดว้ ย

(4) การดาเนินการตาม (1) และ (2) ในกรณีมีข้อสงสัยหรือมีกรณีที่เห็นว่าแบบรูปรายการละเอียด
และข้อกาหนดในสัญญาหรือมีข้อตกลงมีข้อความคลาดเคล่ือนเล็กน้อยหรือไม่เป็นไปตามหลักวิชาการช่าง
ให้มีอานาจสั่งเปล่ียนแปลงแก้ไขเพ่ิมเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตามหลักวิชาการช่าง
เพ่ือให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอยี ด

(5) โดยปกติให้ตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบภายใน 3 วันทาการ นับแต่วันท่ีประธานกรรมการ
ไดร้ ับทราบการสง่ มอบงาน และใหท้ าการตรวจรับให้เสรจ็ สิ้นไปโดยเรว็ ทีส่ ุด

(6) เมื่อตรวจเห็นว่าเป็นการถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนด
ในสญั ญาหรือข้อตกลงแล้ว ให้ถอื วา่ ผู้รับจา้ งส่งมอบงานครบถ้วนต้ังแต่วันท่ีผ้รู ับจ้างส่งงานจ้างน้ัน และให้ทาใบรับรอง
ผลการปฏิบตั ิงานท้ังหมดหรือเฉพาะงวด แล้วแต่กรณี โดยลงช่ือไว้เป็นหลักฐาน อย่างน้อย 2 ฉบบั มอบให้แก่ผู้รับจ้าง
1 ฉบับ และเจ้าหน้าที่ 1 ฉบับ เพื่อทาการเบิกจ่ายเงิน ตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานของรัฐ
และรายงานให้หวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั ทราบ

ในกรณีท่ีเห็นว่าผลงานท่ีส่งมอบทั้งหมดหรืองวดใดก็ตามไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและ
ข้อกาหนดในสัญญาหรือข้อตกลง ให้รายงานหัวหนา้ หนว่ ยงานรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อทราบหรือสั่งการ แล้วแตก่ รณี

(7) ในกรณีท่ีกรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับงานโดยทาความเห็นแย้งไว้ ให้เสนอหัวหน้า
หนว่ ยงานของรฐั เพื่อพจิ ารณาส่ังการ ถา้ หวั หนา้ หน่วยงานของรัฐส่ังการให้ตรวจรับงานจา้ งนนั้ ไว้ จงึ ดาเนินการตาม (6)

➢ตรวจสอบการแตง่ ตัง้ ผูค้ วบคมุ งาน โดยมีหนา้ ท่ดี ังนี้
(1) ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานท่ีท่ีกาหนดไว้ในสัญญา หรือท่ีตกลงให้ทางานจ้างน้ันๆทุกวัน

ให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนดไว้ในสัญญาทุกประการ โดยส่ังเปล่ยี นแปลงแก้ไขเพิ่มเติมหรือ
ตัดทอนงานจ้างได้ตามท่ีเห็นสมควร และตามหลักวิชาชา่ งเพอ่ื ให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนด
ในสัญญา ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ปฏิบัติตามก็สั่งให้หยุดงานนั้นเฉพาะส่วนหน่ึงส่วนใดหรือทั้งหมดแล้วแต่กรณีไว้ก่อน
จนกว่าผู้รับจ้างจะปฏิบัติให้ถูกต้องตามคาสั่ง และให้รายงานคณะกรรมการตรวจการตรวจรับพัสดุหรือผู้ท่ีได้รับ
มอบหมายใหท้ าหน้าท่รี บั ผดิ ชอบการบรหิ ารสญั ญาหรือข้อตกลง และการตรวจรับพัสดุทีเ่ ปน็ งานจา้ งก่อสรา้ งทันที

(2) ในกรณีท่ีปรากฏว่าแบบรูปรายการละเอียด หรือข้อกาหนดในสัญญามีข้อความขัดกันหรือเป็นท่ี
คาดหมายได้ว่า ถึงแม้ว่างานน้ันจะได้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญาแต่เมื่อสาเร็จแล้ว
จะไม่ม่ันคงแข็งแรง หรือไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือไม่ปลอดภัยให้ส่ังพักงานนั้นไว้ก่อน แล้วรายงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ทาหน้าท่ีรับผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและ
การตรวจรับพสั ดทุ ่ีเปน็ งานจา้ งกอ่ สร้างโดยเรว็

(3) จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างและเหตุการณ์แวดล้อมเป็นรายวัน พร้อมทั้งผลการ
ปฏิบัติงาน หรือการหยุดงานและสาเหตุท่ีมีการหยุดงานอย่างน้อย 2 ฉบับ เพื่อรายงานให้คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าท่ีรับผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุที่เป็นงานจ้าง
ก่อสร้างทราบทุกสัปดาห์ และเก็บรักษาไว้เพื่อมอบให้แก่เจ้าหน้าท่ีเม่ือเสร็จงานแต่ละงวด โดยถือว่าเป็นเอกสาร
สาคญั ของทางราชการเพ่อื ประกอบการตรวจสอบของผู้มหี น้าที่

คู่มือการปฏิบตั งิ าน 75

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีทอ้ งถน่ิ

(4) ในวันกาหนดเริ่มงานของผู้รับจ้างตามสัญญา และในวันถึงกาหนดส่งมอบงานแต่ละงวด
ให้รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างว่าเป็นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ท่ีได้รับ
มอบหมายให้ทาหน้าที่รับผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุท่ีเป็นงานจ้างก่อสร้างทราบ
ภายใน 3 วนั ทาการ นับแตว่ ันถึงกาหนดนนั้ ๆ

➢ตรวจสอบการแตง่ ตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดใุ นงานจ้างท่ปี รึกษา โดยมีหนา้ ท่ดี งั น้ี
(1) กากับและตดิ ตามงานจ้างทป่ี รกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามเงอ่ื นไขที่กาหนดไว้ในสญั ญาหรอื ข้อตกลง
(2) ตรวจรับงานจ้างท่ีปรกึ ษา ณ ทท่ี าการของผู้วา่ จ้าง หรือสถานท่ซี ่ึงกาหนดไวใ้ นสัญญาหรือขอ้ ตกลง
(3) โดยปกติให้ตรวจรับงานจ้างท่ีปรึกษาในวันท่ีที่ปรึกษานาผลงานมาส่ง และให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้น

ไปโดยเร็วทีส่ ดุ
(4) เมื่อตรวจถูกต้องและครบถ้วนตามท่ีกาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงแล้ว ให้รับงานจ้างที่ปรึกษาไว้

และถือว่าท่ีปรกึ ษาได้ส่งมอบงานถูกต้องครบถว้ นตั้งแต่วันท่ีที่ปรึกษานาผลงานมาส่งแล้วมอบแก่เจ้าหน้าทพี่ ร้อมกับ
ทาใบตรวจรับ โดยลงชื่อไว้เป็นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบแก่ที่ปรึกษา 1 ฉบับ และเจ้าหน้าท่ี 1 ฉบับ
เพื่อทาการเบิกจ่าย และรายงานใหห้ ัวหน้าหนว่ ยงานรัฐทราบ

ในกรณีท่ีเห็นว่าผลงานท่ีส่งมอบทั้งหมดหรืองวดใดก็ตามไม่เป็นไปตามข้อกาหนดในสัญญาหรือ
ขอ้ ตกลง มีอานาจส่ังให้แก้ไขเปลีย่ นแปลงเพิ่มเติม หรือตดั ทอนซงึ่ งานตามสัญญา แล้วให้รายงานหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ผา่ นหวั หน้าเจา้ หนา้ ทีเ่ พือ่ ทราบ หรือสั่งการแล้วแตก่ รณี

(5) ในกรณีกรรมการตรวจรับพสั ดุบางคนไมย่ อมรบั งาน ใหก้ รรมการดังกลา่ วทาความเห็นแย้งไวแ้ ล้ว
ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเพ่ือพิจารณาส่ังการ ถ้าหัวหน้าหน่วยงานของรัฐส่ังการให้รับผลงานนั้นไว้
จึงดาเนนิ การตาม (4)

➢ ตรวจสอบการแต่งต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
โดยมีหน้าทีด่ ังนี้

(1) ตรวจให้ถกู ตอ้ งตามทร่ี ะบไุ ว้ในสญั ญาหรอื ข้อตกลง
(2) ตรวจรับงาน ณ ท่ีทาการของผูว้ ่าจ้าง หรือสถานทซี่ งึ่ กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
(3) โดยปกติใหต้ รวจรบั งานในวันทีผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารนาผลงานมาสง่ และใหด้ าเนินการให้เสรจ็ สนิ้ ไปโดยเรว็ ทส่ี ดุ
(4) ในกรณีท่ีผลงานบกพร่องหรือไม่เป็นไปตามความประสงค์ของหน่วยงานของรัฐอันเน่ืองมาจาก
ไม่ได้ดาเนินการให้ถูกต้องตามหลักวิชาการทางสถาปัตยกรรม และหรือวิศวกรรม ต้องรีบแจ้งให้ผู้ให้บริการ
ดาเนนิ การแกไ้ ข ให้เป็นที่เรยี บร้อยโดยเรว็
(5) เม่ือตรวจถูกต้องและครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงแล้ว ให้รับงานไว้และถือว่า
ผู้ให้บริการได้ส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนต้ังแต่วันที่ผู้ให้บริการนาผลงานมาส่ง แล้วมอบแก่เจ้าหน้าท่ีพร้อมกับ
ทาใบตรวจรับ โดยลงช่ือไว้เป็นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบแก่ผู้ให้บริการ 1 ฉบับ และเจ้าหน้าท่ี 1 ฉบับ
เพ่ือทาการเบิกจา่ ยเงินและรายงานให้หวั หนา้ หน่วยงานของรฐั ทราบ

ในกรณีท่ีเห็นว่าผลงานที่ส่งมอบทั้งหมดหรืองวดใดก็ตามไม่เป็นไปตามข้อกาหนดในสัญญาหรือ
ข้อตกลง มีอานาจสง่ั ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม หรือตัดทอนซ่ึงงานตามสัญญา หากคู่สัญญาไม่ปฏิบตั ิตามมีอานาจที่จะ
สงั่ ให้หยุดงานน้ันช่ัวคราวได้ หรือให้รายงานหัวหน้าหน่วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพ่ือทราบ หรือส่ังการ แล้วแต่
กรณี

(6) ในกรณีกรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับงาน ให้กรรมการดังกล่าวทาความเห็นแย้งไว้
แล้วให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเพื่อพิจารณาส่ังการ ถ้าหัวหน้าหน่วยงานของรัฐส่ังการให้รับผลงานนั้นไว้
จึงดาเนินการตาม (5)

76 คูม่ ือการปฏบิ ัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถนิ่

การเบิกจา่ ยคา่ ตอบแทน

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื สงั่ การ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
1. พระราชบัญญัตกิ ารจัดซื้อจดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560
2. ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการจดั ซ้อื จัดจ้างและการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560
3. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0402.5/ว 85 ลงวันที่ 6 กันยายน 2561 เรื่อง หลักเกณฑ์

การเบกิ จ่ายค่าตอบแทนบคุ คลหรอื คณะกรรมการ

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. ฎีกาเบกิ จ่าย และเอกสารประกอบฎกี า
๒. หลักฐานการจ่ายเงินคา่ ตอบแทนบุคคลหรือคณะกรรมการ

วิธกี ารตรวจสอบ
๑. ตรวจสอบการเบิกจ่ายค่าตอบแทนบุคคลหรือคณะกรรมการท่ีได้รับแต่งต้ังเป็นกรรมการซ้ือหรือจ้าง

คณะกรรมการดาเนินงานจ้างที่ปรึกษา คณะกรรมการดาเนินงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง และ
คณะกรรมการกาหนดราคากลางงานก่อสร้าง ที่ได้รับแต่งต้ังตามประกาศคณะกรรมการราคากลางและข้ึนทะเบียน
ผูป้ ระกอบการ เรอ่ื งหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารกาหนดราคากลางงานก่อสร้าง ดงั นี้

➢ บุคคล ในอัตราไม่เกนิ คนละ 1,200 บาทตอ่ งาน
➢คณะกรรมการ ในอัตรา ประธานกรรมการไม่เกิน 1,500 บาทต่อครั้งที่มาประชุมและกรรมการ
ไมเ่ กินคนละ 1,200 บาทตอ่ คร้ังที่มาประชมุ
๒. ตรวจสอบการเบิกจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง และผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ดงั น้ี
➢ คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุในงานจา้ งก่อสร้าง ในอัตรา 350 บาทตอ่ คนตอ่ วัน
➢ ผ้คู วบคมุ งานกอ่ สร้าง

(1) หวั หน้าผ้คู วบคุมงานกอ่ สร้าง ในอตั ราไมเ่ กิน 350 บาทต่อวนั ต่องาน
(2) ผคู้ วบคุมงานกอ่ สรา้ ง (ผู้ปฏิบตั กิ าร) ในอตั ราไมเ่ กนิ 300 บาทต่อวันตอ่ งาน

คู่มือการปฏิบตั ิงาน 77

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชีทอ้ งถนิ่

การควบคุมพสั ดุ
กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือส่ังการ ที่เกี่ยวขอ้ ง
1. พระราชบัญญตั กิ ารจดั ซื้อจดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560
2. ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจดั ซอ้ื จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560
เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. ทะเบียนคุมพสั ดุ
๒. ใบเบิกพัสดุ
วิธีการตรวจสอบ
๑. ตรวจสอบว่ามีการลงบัญชีหรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุหรือไม่ โดยแยกเป็นชนิดและแสดงรายการ

ตามตวั อยา่ งที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยใหม้ ีหลกั ฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบยี นไวป้ ระกอบรายการ
๒. ตรวจสอบเก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อยปลอดภัยและให้ครบถ้วนถูกต้องตรงตามบัญชีหรือ

ทะเบียนหรอื ไม่
๓. ตรวจสอบการเบิกพัสดุหัวหน้าหน่วยงานที่ต้องใช้พัสดุเป็นผู้เบิกหรือไม่และผู้จ่ายพัสดุต้องตรวจสอบ

ความถูกต้องของใบเบิกและเอกสารประกอบ (ถ้ามี) แล้วลงบัญชีหรือทะเบียนทุกคร้ังท่ีมีการจ่ายและ
เกบ็ ใบเบิกจ่ายไวเ้ ปน็ หลักฐานด้วย

78 คมู่ ือการปฏบิ ัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีทอ้ งถน่ิ

หลักประกันสัญญา

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื สัง่ การ ทเี่ กี่ยวข้อง
1. พระราชบญั ญัติการจดั ซือ้ จดั จา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560
2. ระเบยี บกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจดั ซือ้ จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
๓. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0808.2/ว 1201 ลงวันท่ี 19 มีนาคม 2562

แจ้งหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ)
0405.2/ว 117 ลงวันที่ 12 มีนาคม 2562 เร่ือง การกาหนดวิธีปฏิบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจสอบความชารุด
บกพร่องก่อนการคืนหลกั ประกันสัญญา

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. สมุดบัญชีแยกประเภท
๒. งบทดลองประจาเดอื น
๓. ทะเบียนคุมหลกั ประกันสญั ญา

วธิ กี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบหลักประกนั การเสนอราคาและหลกั ประกนั สัญญา ใหใ้ ช้หลักประกันอย่างหน่ึงอย่างใด

ดงั ต่อไปนี้
➢ เงินสด
➢เชค็ หรือดราฟท์ทธ่ี นาคารเซ็นส่ังจ่าย ซึ่งเป็นเชค็ หรอื ดราฟท์ลงวนั ท่ีท่ีใชเ้ ช็คหรือดราฟท์น้ันชาระต่อ

เจ้าหนา้ ทห่ี รอื กอ่ นวันน้นั ไม่เกนิ 3 วนั ทาการ
➢ หนังสือค้าประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอย่างที่ คณ ะกรรมการนโยบายกาหนด

โดยอาจเป็นหนังสอื คา้ ประกนั อิเล็กทรอนิกสต์ ามวิธีการท่ีกรมบัญชีกลางกาหนดก็ได้
➢หนังสือค้าประกันของบรษิ ัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทนุ หลักทรพั ยท์ ี่ได้รบั อนุญาตให้ประกอบกิจการ

เงินทุนเพื่อการพาณิชย์ และประกอบธุรกิจค้าประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยตามรายชื่อบริษัท
เงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลม ให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือค้าประกันของธนาคาร
ทค่ี ณะกรรมการนโยบายกาหนด

➢พนั ธบตั รรัฐบาลไทย
2. หลักประกันการเสนอราคาและหลักประกันสัญญา ให้กาหนดมูลค่าเป็นจานวนเต็มในอัตราร้อยละห้า
ของวงเงินงบประมาณหรือราคาพัสดุท่ีจัดซื้อจัดจ้างครั้งน้ัน แล้วแต่กรณีเว้นแต่การจัดซ้ือจัดจ้างท่ีหัวหน้าหน่วยงาน
ของรัฐเหน็ ว่ามีความสาคัญเป็นพิเศษจะกาหนดอัตราสงู กว่าร้อยละหา้ แต่ไมเ่ กนิ รอ้ ยละสิบกไ็ ด้
3. ในกรณที หี่ นว่ ยงานของรัฐเป็นผยู้ ื่นข้อเสนอหรอื เปน็ คูส่ ัญญาไม่ต้องวางหลกั ประกนั

คู่มือการปฏิบัตงิ าน 79

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที อ้ งถน่ิ

๔. ตรวจสอบทะเบยี นคมุ เงนิ หลักประกันสญั ญาไดม้ ีการจัดทาไว้ครบถว้ นหรือไม่ ดงั นี้
4.1 ตรวจสอบยอดตามบัญชีแยกประเภทกับยอดคงเหลือตามทะเบียนคุมเงินหลักประกันสัญญา

ว่าตรงกันหรอื ไม่
4.2 มกี ารแยกหลกั ประกนั ทเี่ ปน็ เงนิ สดออกจากหลักประกันที่เปน็ หนังสือค้าประกันหรือไม่
4.3 มีการระบุวันครบกาหนดจ่ายเงินคืนหลักประกันสัญญา จานวนเงิน และเมื่อมีการส่งมอบงาน

ตรวจสอบลายมอื ชอื่ ผู้รับเงนิ คืน และหรือตราประทบั ครบถ้วนหรือไม่
5. ตรวจสอบการกาหนดหลักประกันสัญญา โดยการจัดหาพัสดุที่มีระยะเวลาผูกพันตามสัญญาเกิน ๑ ปี

และพัสดุน้ันไม่ต้องมีการประกันความชารุดบกพร่องให้กาหนดหลักประกัน ๕% ของพัสดุท่ีส่งมอบในแต่ละปี
หากพัสดุท่ีจะส่งมอบในปีต่อไปมีราคาต่างจากปีก่อนให้ปรับปรุงหลักประกันสัญญาตามอัตราส่วนที่เพิ่ม/ลด
หากคู่สัญญาไม่นาหลักประกันมาเพิ่มให้ครบก่อนการส่งมอบพัสดุงวดสุดท้ายของปีน้ัน ให้ทางราชการหักเงิน
จากค่าพัสดุงวดสุดทา้ ยของปีนน้ั เปน็ หลกั ประกันท่ีเพม่ิ ขึ้น

6. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสภาพงาน ก่อนการสิ้นสุด
ระยะเวลาประกันความชารุดบกพร่องภายใน ๑๕ วนั หรอื ไม่

7. ตรวจสอบการคนื หลกั ประกนั ให้แกผ่ เู้ สนอราคาคสู่ ญั ญาหรอื ผูค้ ้าประกันตามหลักเกณฑ์ดังนี้
➢หลักประกันเสนอราคาให้คืนให้แก่ผู้ยื่นข้อเสนอ หรือผู้ค้าประกันภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่

หัวหน้าหน่วยงานของรัฐได้พิจารณาเห็นชอบรายงานผลคัดเลือกผู้ชนะการซ้ือหรือจ้างเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ผู้ยื่น
ข้อเสนอรายท่ีคัดเลือกไว้ซึ่งเสนอราคาต่าสุดไม่เกิน 3 ราย ให้คืนได้ต่อเม่ือได้ทาสัญญาหรือข้อตกลง หรือผู้ย่ืน
ขอ้ เสนอไดพ้ ้นจากข้อผกู พนั แลว้

➢หลักประกันสัญญาให้คืนให้แก่คู่สัญญาหรือผู้ค้าประกันโดยเร็วและอย่างช้าต้องไม่เกิน ๑๕ วันนับแต่
วนั ท่ีคสู่ ัญญาพ้นจากข้อผกู พันตามสญั ญาแลว้

8.. ตรวจสอบการจ่ายคนื หลักประกันสัญญา กรณีเป็นเงินสดให้ผู้มีสิทธิถอนเงินประกันออกใบเสร็จให้แก่
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน พร้อมทงั้ ลงชือ่ รบั เงินในทะเบียนคุมเงนิ ประกันสัญญาและรายงานการจัดทาเช็ค

80 คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงาน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บัญชที อ้ งถน่ิ

การตรวจสอบพสั ดุประจาปี

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการ ท่ีเก่ยี วข้อง
1. พระราชบัญญตั กิ ารจดั ซอื้ จัดจา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
2. ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจัดซอื้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. คาสั่งแต่งต้ังผู้รบั ผดิ ชอบในการตรวจสอบพัสดุ
๒. เอกสารการรายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจาปี
๓. หนงั สอื จัดสง่ รายงานผลการตรวจสอบพสั ดุประจาปี

วธิ กี ารตรวจสอบ
➢ ตรวจ สอบ ว่าองค์กรป กครองส่วน ท้ องถ่ิน มีการแต่งต้ังกรรมการตรวจสอบ พั สดุ ป ระจ าปี ห รือไม่

โดยต้องแตง่ ต้ังกอ่ นส้นิ เดอื นกนั ยายนของทุกปี
➢ตรวจสอบกรรมการตรวจสอบพัสดุประจาปีต้องมใิ ชเ่ จา้ หนา้ ทีพ่ ัสดุ
➢ ตรวจสอบการปฏิบัติหน้าท่ีของกรรมการตรวจสอบพัสดุประจาปีต้อง ตรวจสอบการรับจ่ายพัสดุ

งวดต้ังแต่วันที่ ๑ ตุลาคมปีก่อนจนถึงวันท่ี ๓๐ กันยายนปีปัจจุบัน และตรวจนับพัสดุประเภทที่คงเหลืออยู่เพียง
วันส้ินงวดน้ันโดยเร่ิมตรวจสอบในวันเปิดทาการวันแรกของเดือนตุลาคมว่าการรับ – จ่ายถูกต้องหรือไม่ พัสดุคงเหลือมี
ตวั ตนตรงตามบญั ชหี รือทะเบียนหรอื ไม่ มพี สั ดุใดชารดุ เสอื่ มคณุ ภาพ หรอื สูญไปเพราะเหตุใด

➢ หากมีพัสดุชารุดเส่ือมสภาพหรือสูญไปหรือไม่จาเป็นต้องใช้ในราชการต่อไปให้ตรวจสอบว่ามีการ
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริงข้ึนคณะหน่ึงเพ่ือหาสาเหตุการชารุดหรือสูญหายหรือไม่ และหากเป็นการ
เส่ือมสภาพเน่ืองมาจากการใช้งานตามปกติหรือสูญไปตามธรรมชาติให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาสั่งการ
ให้ดาเนนิ การจาหนา่ ยต่อไปได้

➢ตรวจสอบการรายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจาปี มีการรายงานให้ผู้แต่งตั้งทราบภายใน ๓๐ วันทาการ
พร้อมกับสง่ สาเนาใหก้ ับสานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน จานวน ๑ ชุด

คู่มือการปฏบิ ัติงาน 81

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

การจาหน่ายพัสดุ

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสง่ั การ ท่ีเกยี่ วข้อง
1. พระราชบญั ญัติการจดั ซือ้ จัดจ้างและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560
2. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจดั ซ้อื จัดจา้ งและการบริหารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. เอกสารการดาเนนิ การจาหน่ายพัสดุ
2. ทะเบียนคุมพัสดุ

วิธีการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบรายงานการตรวจสอบพัสดุ หากมีพัสดุใดหมดความจาเป็นหรือหากใช้ราชการต่อไป

จะสน้ิ เปลอื งคา่ ใชจ้ ่ายมาก ตรวจสอบวา่ เจ้าหนา้ ท่พี สั ดุมีการเสนอรายงานตอ่ หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐหรอื ไม่
๒. ตรวจสอบการดาเนนิ การจาหนา่ ยตามวธิ ีการอย่างหน่ึงอยา่ งใดดังตอ่ ไปน้ี
➢ ขาย ให้ดาเนินการขายโดยวิธีทอดตลาดก่อน แต่ถ้าขายโดยวิธีทอดตลาดแล้วไม่ได้ผลดีให้นาวิธี

ที่กาหนดเกี่ยวกับการซ้ือมาใช้โดยอนุโลม เว้นแต่การขายพัสดุครั้งหนึ่งซ่ึงมีราคาซื้อหรือได้มารวมกันไม่เกิน
500,000 บาท การขายให้แก่หน่วยงานของรัฐหรือการขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ แท็บเล็ต
ให้แก่เจ้าหนา้ ที่ของรัฐที่หน่วยงานมอบให้ใช้งานในหนา้ ที่ จะขายโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคาโดย
ไมต่ ้องทอดตลาดกอ่ นก็ได้

➢ แลกเปล่ยี น ให้ดาเนินการตามวธิ กี ารแลกเปล่ียนที่กาหนดไว้ในระเบียบน้ี
➢ โอน ให้โอนแก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศล ให้มีหลักฐานการส่งมอบ
ไวต้ ่อกันด้วย
➢ แปรสภาพหรือทาลาย ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีหน่วย งานของรัฐกาหนด โดยปกติ
ใหแ้ ล้วเสร็จภายใน 60 วัน นบั แตว่ นั ทหี่ วั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐสั่งการ
3. ในกรณีท่ีพัสดุสูญไปโดยไม่ปรากฏตัวผู้รับผิดหรือมีตัวผู้รับผิดแต่ไม่สามารถชดใช้ หรือมีตัวพัสดุอยู่
แต่ไม่สมควรดาเนินการตามข้อ 1 ให้ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จาหน่ายพัสดุน้ันเป็นสูญ
ตามหลกั เกณฑ์ดังต่อไปนี้หรือไม่
➢ ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซ้ือ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,000,000 บาท ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
เปน็ ผพู้ จิ ารณาอนมุ ตั ิ
➢ ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซ้ือหรือได้มารวมกันเกิน 1,000,000 บาท ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้พิจารณา
อนมุ ตั ิ
4. เมื่อได้ดาเนินการจาหน่ายพัสดุแล้ว ให้ตรวจสอบว่าเจ้าหน้าท่ีลงจ่ายพัสดุน้ันออกจากบัญชีหรือ
ทะเบียน แล้วแจง้ ให้สานักงานตรวจเงนิ แผ่นดินหรอื ทราบภายใน 30 วนั นับแตว่ ันลงจ่ายพัสดุน้นั หรอื ไม่

82 คู่มือการปฏบิ ตั งิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชที ้องถน่ิ

คู่มือการปฏิบตั งิ าน 83

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถน่ิ

การใชแ้ ละรักษารถยนต์ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสอื ส่ังการ ท่เี ก่ียวขอ้ ง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการใชแ้ ละรักษารถยนตข์ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2548

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
๑. บัญชีแยกประเภทรถ (แบบ 1)/(แบบ 2)
๒. การสารวจและกาหนดเกณฑก์ ารใช้สน้ิ เปลอื งน้ามันเช้ือเพลงิ
๓. ใบอนญุ าตใช้รถส่วนกลาง (แบบ 3)
๔. สมุดบันทกึ การใช้รถส่วนกลาง (แบบ 4)
๕. สมดุ แสดงรายการซ่อมบารงุ รถ (แบบ 6)
๖. การกาหนดปริมาณน้ามันเช้ือเพลงิ ท่จี ะจ่ายใหร้ ถยนต์
7. ตราเครอ่ื งหมาย อปท. ขา้ งนอกรถยนต์ส่วนกลาง

วิธกี ารตรวจสอบ
➢ ตรวจสอบว่ามีการจัดทาบัญชีแยกประเภทรถประจาตาแหน่ง (แบบ 1) และรถส่วนกลาง/รถรับรอง

(แบบ 2) หรือไม่
➢ ตรวจสอบว่าในแต่ละปีงบประมาณ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการสารวจและกาหนดเกณฑ์การใช้

สิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิงของรถทุกคันเพื่อเป็นหลักฐานในการเบิกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงและตรวจสอบของเจ้าหน้าที่
ฝา่ ยตรวจสอบหรอื ไม่

➢ ตรวจสอบการขออนุญาตใชร้ ถส่วนกลางและรถรับรอง (แบบ 3) การใชร้ ถปกติให้ใชภ้ ายในเขตองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่ิน หากจะใช้นอกเขตถ้าเป็นรถยนต์ส่วนกลางต้องได้รับอนุญาตจากผบู้ ริหารทอ้ งถิ่นสาหรับรถประจาตาแหน่ง
ให้อย่ใู นดุลพนิ ิจของผูด้ ารงตาแหน่งนนั้ ตามความจาเป็น

➢ ตรวจสอบการจดั ทาสมุดบันทึกการใชร้ ถ (แบบ 4) ให้จัดให้มีสมดุ บันทกึ การใช้รถส่วนกลาง/รถรบั รอง
ประจารถแตล่ ะคนั โดยใหพ้ นักงานขบั รถลงรายการตามความจรงิ

➢ กรณีเกิดการสูญหายหรือเสียหายขึ้นกับรถประจาตาแหน่ง รถส่วนกลาง และรถรับรอง ผู้รับผิดชอบ
มีการรายงานใหผ้ ูบ้ รหิ ารท้องถิน่ ทราบตาม (แบบ 5) หรอื ไม่

➢ ตรวจสอบการแสดงรายการซ่อมบารงุ รถ ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินจดั ทา
สมดุ แสดงรายการซอ่ มบารงุ รถแต่ละคัน (แบบ 6)

➢ ตรวจสอบการเบิกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับรถยนต์ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินกาหนดปริมาณน้ามันเชื้อเพลิงท่ีจะจ่ายให้รถยนต์
แต่ละคันไว้หรือไม่ รถส่วนกลางและรถรับรอง ให้เบิกจ่ายจากงบประมาณขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น สาหรบั รถประจาตาแหนง่ ใหผ้ ใู้ ช้รถเป็นคนจา่ ยค่านา้ มนั เชื้อเพลิง

84 ค่มู อื การปฏิบัติงาน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

➢ ตรวจสอบว่าได้จัดให้มีตราเครื่องหมายประจาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินติดไว้ข้างนอกรถส่วนกลาง
ทั้งสองข้าง และมขี นาดเป็นไปตามที่ระเบียบกาหนดหรือไม่

➢ ตรวจสอบการเก็บรักษารถส่วนกลางและรถรับรอง ว่าได้เก็บรักษาไว้ในสถานที่เก็บหรือบริเวณของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือไม่ กรณีนารถไปเก็บรักษาท่ีอ่ืนเป็นการชั่วคราวหรือเป็นคร้ังคราวได้รับอนุญาต
จากผู้บรหิ ารทอ้ งถิน่ หรอื ผู้ได้รับมอบอานาจจากผู้บริหารท้องถน่ิ หรอื ไม่

คมู่ ือการปฏิบัติงาน 85

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

86 ค่มู ือการปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีทอ้ งถน่ิ

การควบคมุ ภายใน

การควบคุมภายใน เป็นกลไกที่จะทาให้หน่วยงานของรัฐบรรลุวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหน่ึงหรือหลายด้าน
ได้แก่ ดา้ นการดาเนินงาน ด้านการรายงาน และด้านการปฏิบัตติ ามกฎหมาย ระเบยี บ และข้อบังคบั การควบคุมภายใน
เป็นส่วนประกอบที่แทรกอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นสิ่งท่ีต้องกระทา
อย่างเป็นข้ันตอนและต่อเนื่อง เกิดข้ึนได้โดยบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ฝ่ายบริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และ
ผู้ตรวจสอบภายใน เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการทาให้มีการควบคุมภายในเกิดขึ้น สามารถให้ความเช่ือมั่นอย่าง
สมเหตุสมผลวา่ การดาเนนิ การของหนว่ ยงานจะบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ทกี่ าหนด

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสงั่ การ ที่เกยี่ วข้อง
หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท 0805.2/ว 3444 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2561 แจ้งหนังสือ

กระทรวงการคลัง ด่วนมาก ท่ี กค 0409.3/ว105 ลงวันที่ 5 ตุลาคม 2561 เรื่อง หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง
วา่ ด้วยมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ปฏิบัตกิ ารควบคุมภายในสาหรบั หนว่ ยงานของรฐั พ.ศ. 2561

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. แบบรายงาน ปค.1 , ปค.4 , ปค.5 , ปค.6
2. หนังสือนาสง่ รายงานใหน้ ายอาเภอ/สานกั ส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ินจังหวดั

วธิ กี ารตรวจสอบ
1. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดทาคาส่ังแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายใน

หรือไม่
2. ตรวจสอบว่าผู้บริหารท้องถ่ินมีหนังสือแจ้งให้ทุกสานัก/กอง จัดทารายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน

หรอื ไม่
3. ตรวจสอบการรายงานการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน ดังน้ี
➢ ระดบั สว่ นงานย่อย (สานกั /กอง)
(๑) รายงานการประเมินองคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน – แบบ ปค.4
(๒) รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน – แบบ ปค.5
➢ ระดบั องค์กร (อบจ./เทศบาล/อบต.)
(๑) หนังสอื รบั รองการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน – แบบ ปค.๑
(๒) รายงานการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน – แบบ ปค.4
(๓) รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน – แบบ ปค.5
(4) ตรวจสอบรายงานการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน – แบบ ปค.6

(กรณีองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ มีผูต้ รวจสอบภายใน/มคี าส่งั แต่งตัง้ ผดู้ ารงตาแหนง่ อนื่ ทาหน้าทีผ่ ตู้ รวจสอบภายใน)

คมู่ ือการปฏิบตั งิ าน 87

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถนิ่

5. ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ มกี ารวิเคราะหแ์ ละประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุม

ภายใน ตามองคป์ ระกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบ 17 หลักการ หรอื ไม่

➢ สภาพแวดลอ้ มการควบคมุ 5 หลักการ
➢ การประเมนิ ความเสี่ยง 4 หลักการ
➢ กจิ กรรมการควบคุม 3 หลกั การ
➢ สารสนเทศและการสื่อสาร 3 หลักการ
➢ กิจกรรมการติดตามผล 2 หลักการ
6. ตรวจสอบการจดั ส่งรายงานการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน
(แบบ ปค.๑,4,5,6) ให้ผู้กากับดแู ล (นายอาเภอ/สานกั งานสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวดั )
ภายใน ๙๐ วนั นับแตว่ นั สิ้นปงี บประมาณ

การจดั ทารายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน
ตามหลักเกณฑ์ปฏิบตั กิ ารควบคมุ ภายในสาหรับหน่วยงานของรฐั

องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล/ เทศบาลเมือง/เทศบาลนคร รายงานการประเมนิ ผลฯ
เทศบาลตาบล องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ระดบั จงั หวดั

(ปค.1,4,5,6)

รายงานการประเมินผลฯ รายงานการประเมินผลฯ 150 วนั
(ปค.1,4,5,6) (ปค.1,4,5,6) นับแต่สนิ้ ปีงบประมาณ

(ผบู้ รหิ ารท้องถิน่ ลงนาม) (ผ้บู รหิ ารทอ้ งถ่ินลงนาม) ผวู้ า่ ฯ
(คณะกรรมการที่ผู้ว่าจดั ใหม้ ี)
90 วัน
นบั แต่วันสน้ิ ปีงบประมาณ รายงานการประเมินผลฯ
ในภาพรวมจังหวัด
นายอาเภอ สานักงานสง่ เสริมการปกครอง (ปค.2,4,5,6)
(คณะกรรมการทนี่ ายอาเภอจดั ให้มขี ้นึ ) ทอ้ งถิน่ จงั หวัด
180 วัน
รายงานการประเมินผลฯ นับแตว่ นั ส้นิ ปีงบประมาณ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินระดับอาเภอ
กระทรวงการคลัง
(ปค.1,4,5,6)

90 วัน
นบั แต่วันส้ินปงี บประมาณ

88 คมู่ อื การปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชที ้องถนิ่

คู่มือการปฏิบตั งิ าน 89

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถน่ิ

การตรวจสอบภายใน

กฎหมาย ระเบียบ และหนงั สือสั่งการ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยมาตรฐานและหลักเกณฑป์ ฏิบตั กิ ารตรวจสอบภายในสาหรับหนว่ ยงาน

ของรฐั พ.ศ. 2561

หลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ
“การตรวจสอบภายใน” หมายถึง กิจกรรมให้ความเช่ือมั่นและการให้คาปรึกษาอย่างเที่ยงธรรม
และเป็นอิสระ ซึ่งจัดใหม้ ีข้ึนเพ่ือเพ่มิ คุณคา่ และปรับปรุงการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานของรัฐให้ดขี ึ้น และจะช่วยให้
หน่วยงานของรัฐบรรลุถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ด้วยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผล
ของกระบวนการบริหารความเส่ียง การควบคมุ และการกากบั ดแู ลอยา่ งเป็นระบบ
“องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน” ถอื เป็นหน่วยงานของรัฐตามหลักเกณฑ์น้ี
“คณะกรรมการ” หมายถงึ คณะกรรมการท่ีกากับดูแลหนว่ ยงานของรัฐ
“คณะกรรมการตรวจสอบ” หมายถึง คณะกรรมการตรวจสอบท่ีคณะกรรมการแต่งตั้ง
“หัวหน้าหน่วยงานของรฐั ” หมายถงึ ผู้บริหารสงู สุดของหนว่ ยงานของรัฐ
“หนว่ ยงานตรวจสอบภายใน” หมายถึง หนว่ ยงานท่ีรบั ผิดชอบงานตรวจสอบภายในของหนว่ ยงานของรัฐ
“ผตู้ รวจสอบภายใน” หมายถึง ผูด้ ารงตาแหน่งผู้ตรวจสอบภายในของหน่วยงานของรัฐหรอื ดารงตาแหน่ง
อ่นื ทีท่ าหน้าท่เี ชน่ เดยี วกับผ้ตู รวจสอบภายในของหน่วยงานของรัฐ
- ในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายในข้ึนตรง
ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ
- ให้ผู้ตรวจสอบภายในดารงไว้ซ่ึงความเป็นอิสระและไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในกิจกรรม
ทตี่ รวจสอบ และปราศจากการแทรกแซงในการปฏิบตั ิงานและการเสนอความเหน็ ในการตรวจสอบ

หน่วยงานตรวจสอบภายใน มีหน้าที่ และความรบั ผิดชอบดงั น้ี
1. กาหนดเป้าหมาย ทิศทาง ภารกิจงานตรวจสอบภายใน เพ่ือสนับสนุนการบริหารงานและดาเนินงาน
ดา้ นต่าง ๆ ของหนว่ ยงานของรฐั
2. กาหนดกฎบัตรไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและเสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐก่อนเสนอคณะกรรมการ
ตรวจสอบเพอื่ พิจารณาเห็นชอบและเผยแพรห่ น่วยรบั ตรวจทราบ และสอบทานกฎบตั รอยา่ งน้อยปลี ะหน่ึงคร้งั
3. จัดให้มีการประกันคุณภาพงานตรวจสอบท้ังภายในและภายนอก และเสนอรายงานผลประเมิน
ปัญหาและอุปสรรครวมทั้งแผนปรับปรุงการดาเนนิ งาน เสนอหัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั และคณะกรรมการตรวจสอบ
4. จัดทาและเสนอแผนการตรวจสอบประจาปีต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐก่อนเสนอคณะกรรมการ
ตรวจสอบ เพื่อพจิ ารณาอนมุ ตั ิภายในเดือนสุดท้ายของปีงบประมาณ
5. ปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบตามแผนท่ไี ดร้ ับอนุมัติ
6. จัดทาและเสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐและกรรมการตรวจสอบภายใน
เวลาอันสมควรหรืออย่างน้อยทุกสองเดือนนับจากวันท่ีดาเนินการตรวจสอบแล้วเสร็จ กรณีพบเร่ืองที่จะมีผล
เสยี หายต่อทางราชการ ให้รายงานผลการตรวจสอบทนั ที

90 คู่มือการปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงนิ บญั ชีทอ้ งถน่ิ

7. ติดตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะและให้คาปรึกษาแกห่ นว่ ยรับตรวจ
8. ในกรณีทจ่ี าเป็นต้องอาศยั ผเู้ ชี่ยวชาญมารว่ มปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ ใหเ้ สนอขอบเขต รายละเอียดของงาน
คุณสมบตั ิของผ้รู ับจ้าง ระยะเวลาดาเนนิ การ และผลงานที่คาดหวงั รวมท้งั ข้อเสนอโครงการของผู้รับจา้ ง
9. ให้คาปรกึ ษาแกห่ ัวหน้าหนว่ ยงานของรฐั หน่วยรับตรวจและผู้ทเ่ี กีย่ วข้อง
10. ประสานงานกับผสู้ อบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบ และหน่วยงานท่เี กยี่ วข้อง
11. ปฏิบัตงิ านอ่นื ท่เี กี่ยวข้องกบั การตรวจสอบภายใน

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. แผนการตรวจสอบประจาปี
2. รายงานผลการตรวจสอบ
3. คาสั่งแต่งตงั้ ผู้ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีผตู้ รวจสอบภายใน

วิธกี ารตรวจสอบ
1. อปท. มเี จ้าหนา้ ที่ตรวจสอบภายในหรือไม่
2. กรณีไม่มเี จา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบภายใน อปท. ไดม้ คี าสัง่ แตง่ ตง้ั ผู้ปฏิบัตหิ นา้ ที่ผตู้ รวจสอบภายในหรือไม่
3. มีการจัดทาและเสนอแผนการตรวจสอบประจาปีต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐก่อนเสนอคณะกรรมการตรวจสอบ

เพ่ือพจิ ารณาอนมุ ัติภายในเดอื นกนั ยายน
4. มีการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจาปีทีไ่ ด้รับอนมุ ตั ิ
5. ตรวจสอบการจัดทาและเสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐและคณะกรรมการตรวจสอบ

ภายในเวลาอันสมควรหรืออย่างนอ้ ยทุกสองเดอื นนบั จากวนั ทดี่ าเนินการตรวจสอบแล้วเสรจ็ ตามแผน
6. ตรวจสอบการตดิ ตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่หน่วยรับตรวจ เพ่อื ให้การปรับปรงุ แก้ไข

ของหน่วยรับตรวจเปน็ ไปตามข้อเสนอแนะในรายงานผลการตรวจสอบ

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน 91

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีทอ้ งถน่ิ

92 ค่มู ือการปฏิบัตงิ าน

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีทอ้ งถน่ิ

การดาเนินงานโครงการเศรษฐกิจชุมชน

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือส่ังการ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดาเนินงานโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๑

ท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติมถงึ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2557
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0310.3/ว 0132 ลงวันที่ 11 มกราคม 2551

เร่อื ง แจง้ แนวทางการดาเนินงานโครงการเศรษฐกิจชุมชน
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๓๑๓.๓/ว ๒๒๘๗ ลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ เรื่อง ซักซ้อม

แนวทางการดาเนนิ โครงการเศรษฐกิจชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๔๑ ตามผลการตรวจสอบแนะนาของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ ปี
๒๕๕๔

4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๓10.๓/ว 3476 ลงวันท่ี 22 มิถุนายน ๒๕๕8 เร่ือง ซักซ้อม
แนวทางการดาเนินโครงการเศรษฐกิจชุมชน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดาเนินงานโครงการ
เศรษฐกจิ ชุมชน กรณีองค์การบรหิ ารส่วนตาบลยกฐานะเป็นเทศบาล

เอกสารประกอบการตรวจสอบ
1. สัญญายืมเงนิ ทนุ โครงการเศรษฐกิจชุมชน
2. ทะเบยี นคมุ เงินทนุ โครงการเศรษฐกจิ ชมุ ชน
3. สมุดบญั ชีแยกประเภท
4. บญั ชีเงินฝากธนาคารเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน

วธิ กี ารตรวจสอบ
➢ ตรวจสอบคาร้องขอกู้เงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชนและสัญญ ากู้ยืมเงินทุนของกลุ่มอาชีพหรือกลุ่ม

เกษตรกรวา่ มตี ัวตนจรงิ หรือไม่
➢ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการจัดทาบัญชีแสดงรายการการยืมเงิน และการชาระเงินคืน

เงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชนใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั หรือไม่
➢ ตรวจสอบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการจัดทารายงานฐานะทางการเงินของเงินทุนเศรษฐกิจชุมชน

และผลการดาเนินงานรายงานให้อาเภอทราบ ภายในวันท่ี 1 ของเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม
หรือไม่

➢ตรวจสอบความถูกต้องของทะเบียนคุมเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน กับสมุดบัญชีแยกประเภท
และบัญชีเงินฝากธนาคารเงนิ ทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน

➢ตรวจสอบวา่ มีกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มเกษตรกรกลุ่มใดบ้างที่ครบกาหนดชาระหน้ีแล้ว ยังไม่มาดาเนินการชาระหนี้
ใหก้ ับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ จานวนกีร่ าย เป็นเงนิ เท่าใด

➢ ก รณี ก ลุ่ ม อ า ชี พ ห รื อ ก ลุ่ ม เก ษ ต รก รผิ ด นั ด ไม่ ช าร ะ ห นี้ ต าม สั ญ ญ างว ด ใด งว ด ห นึ่ งห รื อ ท้ั งห ม ด
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินมีการเร่งรัดการชาระหน้คี ืนหรือไม่ หากไมช่ าระหรือชาระไม่ครบถ้วน ให้องคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถิ่นต้ังงบประมาณเท่ากับจานวนเงินที่ทางราชการเสียหายชดใช้คืนในทันทีที่มีการต้ังงบประมาณ
ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

คมู่ ือการปฏบิ ัติงาน 93

กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที ้องถนิ่


Click to View FlipBook Version