The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

03 จำลองการเกิดภูเขาไฟ1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sopa, 2019-08-23 01:08:15

03 จำลองการเกิดภูเขาไฟ1

03 จำลองการเกิดภูเขาไฟ1

โครงงานคอมพวิ เตอร์
แอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐาน

โดย เลขที่ 5
นายธนกฤต ไสยสมบัติ เลขท่ี 15
นางสาวเกษตรา แสงเวยี น เลขที่ 22
นางสาวสกุ ฤตยา กนั ภัย เลขท่ี 36
นางสาวชตุ ิมา ดวงเสนาะ

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/4

อาจารย์ทป่ี รกึ ษา
คณุ ครโู สภา พิเชฐโสภณ

อาจารย์ทปี่ รกึ ษารว่ ม
คณุ ครบู รรพชติ โพธ์บิ อน

โรงเรยี นสตรสี ิรเิ กศ
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาศรสี ะเกษ ยโสธร เขต 28
สานกั งานคณะกรรมการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานกระทรวงศกึ ษาธิการ

ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : แอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เรื่อง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎี
แปรสัณฐานธรณี
ชอื่ โครงงาน
(ภาษาอังกฤษ) : Brith of Volcano from Plate tectonics theory
ประเภทโครงงาน
: โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)

ชื่อผจู้ ัดทาโครงงาน : นายธนกฤต ไสยสมบตั ิ เลขท่ี 5
เลขที่ 15
ชอ่ื อาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวเกษตรา แสงเวยี น เลขท่ี 22
ชอ่ื อาจารย์ท่ปี รึกษารว่ ม เลขท่ี 36
ระยะเวลาดาเนนิ งาน นางสาวสุกฤตยา กนั ภยั

นางสาวชุตมิ า ดวงเสนาะ

: นางโสภา พิเชฐโสภณ

: นายบรรพชิต โพธิบ์ อน

: มิถุนายน 2561 – กนั ยายน 2561

บทคัดย่อ

โครงงานแอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกิดภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี คร้ังนี้
มวี ัตถปุ ระสงค์ 1) เพอ่ื สรา้ งแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐาน
2) เพื่อศกึ ษาการจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี 3) เพือ่ ศึกษาการใช้โปรแกรม
Adobe Flash Cs3 เพื่อใช้จาลองทฤษฎี 4) เพื่อศึกษาความพงึ พอใจตอ่ แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี
เร่อื ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐาน นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4/4 โรงเรยี นสิริเกศ
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 จานวน 30 คน
เครอื่ งมือ ได้แก่ แอนิเมชนั การจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกิดภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี และ 2
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจท่ีมีตอ่ แอนิเมชนั การจาลองทฤษฎี เรื่อง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปร
สณั ฐานธรณี สถติ ทิ ี่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลีย่ ( ̅) และ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D.)

ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีมตี ่อแอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกิด
ภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี โดยภาพรวมในทกุ ด้านอยู่ในระดับมาก ( ̅ = 4.62 , S.D =
0.52)

สรุปผลการจัดทาโครงงานชี้ใหเ้ หน็ วา่ ผชู้ มทีไ่ ดด้ ูแอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกดิ
ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี ทาให้ผู้ท่ไี ดร้ บั ชมไดร้ ับแนวทางในการศกึ ษาต่อและทาใหผ้ ทู้ ่ี
ศึกษาเกิดความเขา้ ใจมากยิ่งข้ึน

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานคอมพิวเตอรจ์ าลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสตรีสริ ิเกศ สาเรจ็ ลุลว่ งไดด้ ว้ ยความกรุณาของคณุ ครูโสภา พิเชฐ
โสภณ คุณครผู ูเ้ ช่ียวชาญดา้ นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ คุณครูบรรพชติ โพธบ์ิ อน คุณครู
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเนื้อหาวชิ าโลกสาสตร์และดาราศาสตร์ ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะในการศึกษา
ค้นคว้า แนะนาขั้นตอนและวิธจี ดั ทาโครงงานจนสาเรจ็ ลลุ ว่ งด้วยดี คณะผ้จู ดั ทาจึงขอกราบ
ขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสนี้ ตลอดจนไดใ้ ห้คาปรึกษาแนะนาการจดั ทาโครงงานจนประสบ
ผลสาเรจ็

ขอขอบพระคณุ คณะครูโรงเรียนสตรีสริ เิ กศทุกท่านที่มสี ว่ นชว่ ยเหลอื และเปน็ กาลังใจในการ
ทาจดั ทาโครงงานคอมพิวเตอร์จาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี รวมถงึ
บดิ า มารดาที่คอยให้กาลังใจในการทางานจนกระท่ังโครงงานประสบความสาเร็จ ทัง้ น้ีขา้ พเจา้ ขอ
มอบคุณคา่ และประโยชน์จากการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์จาลองทฤษฎีแดผ่ ู้มีพระคุณทุกทา่ นใน
การอบรมสัง่ สอนประสทิ ธิป์ ระสาทวชิ าทุกท่าน

คณะผู้จดั ทา

สารบัญ หน้า

เรอื่ ง ก

บทคัดย่อ ค
กติ ตกิ รรมประกาศ ง
สารบญั จ
สารบญั รปู ภาพ 1
สารบัญตาราง 1
บทท่ี 1 บทนา 2
2
แนวคิด ท่มี าและความสาคญั 3
วัตถุประสงค์ 3
ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 3
บทที่2 หลักการและทฤษฎี 6
ทฤษฎีการแปรสัณฐานธรณี (Plate Tectonic Theory) 8
8
ทฤษฎีการแปรสัณฐานธรณี (Plate Tectonic Theory) 9
การเกิดภูเขาไฟ 9
การจาลองทฤษฎี 10
แอนเิ มชนั (Animation) 10
โปรแกรม Adobe Flash Cs3 11
โปรแกรม Wondershare filmora 13
ทฤษฎีความพงึ พอใจ 14
ความหมายของความพึงพอใจ 14
ทฤษฎีความพึงพอใจ 14
งานวิจัยท่ีเกยี่ วข้อง 16
บทที่3 วิธกี ารดาเนนิ งาน 17
วัสดแุ ละอปุ กรณ์
ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน
Flowchart
การหาคา่ กลางของข้อมลู และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

สารบัญ (ต่อ)

เร่อื ง หน้า

บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 19
แอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสณั ฐาน 19

ธรณี 20
ความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ แอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจาก
21
ทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี 21
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 21
21
สรุปผล 22
อภิปรายผล 23
ขอ้ เสนอแนะ 25
บรรณานุกรม 27
ภาคผนวก ก 31
ภาคผนวก ข
ภาคผนวก ค
ประวตั ิผู้จัดทา

สารบัญรปู ภาพ หนา้

รปู ภาพ 4
5
ภาพท่ี 1 รอยต่อที่แผ่นเปลอื กโลกจะแยกจากกนั (Divergent Boundary) 5
ภาพที่ 2 แผน่ เปลอื กโลกใตม้ หาสมุทร 2 แผน่ มาชนกนั (Collision) 6
ภาพท่ี 3 แผน่ เปลือกโลกใต้มหาสมุทรชนกบั แผน่ ทวีป 6
ภาพที่ 4 แผน่ ทวปี ชนกบั แผ่นทวปี 7
ภาพที่ 5 รอยต่อที่แผน่ เปลอื กโลกเคลือ่ นท่ีสวนกัน (Transform Boundary) 19
ภาพท่ี 6 สาเหตุการเกิดภเู ขาไฟ
ภาพที่ 7 หน้าปกของแอนิเมชนั การจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎี
แปรสัณฐานธรณี

สารบัญตาราง หนา้

ตาราง 20

ตารางที่ 1 ความพึงพอใจทีม่ ีต่อแอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกิดภเู ขาไฟ
จากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี

บทท่ี 1
บทนา

แนวคดิ ท่ีมาและความสาคัญ
นักธรณีวิทยาชาวแคนาดาชือ่ นายทโู ซ วลิ สนั (Tuzo Wilson) ศาสตราจารย์ แหง่

มหาวทิ ยาลยั โทรอนโต (Toronto University) เมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๘ เช่อื ว่า แผน่ เปลอื กโลกมกี ารสรา้ ง
ข้ึนใหม่ และถกู ทาลายอยู่ตลอดเวลา ลกั ษณะเช่นนี้ สง่ ผลให้แผน่ เปลอื กโลกเกิดการเปล่ียนลักษณะ
และการดัดแปลง) อยูเ่ สมอ เราเรียกกระบวนการที่ทาใหแ้ ผ่นเปลือกโลก เกดิ การเปล่ยี นแปลง
โครงสร้าง อนั เป็นผลเนอื่ งมาจากแรงภายในโลกวา่ การแปรสณั ฐานแผน่ เปลอื กโลก (plate
tectonics) ในปจั จบุ ันเชือ่ วา่ กระบวนการทางธรณวี ทิ ยาตา่ งๆ ของโลกเปน็ ผลเสีย เนือ่ งมาจากการ
แปรสณั ฐานเปลอื กโลกแทบท้ังสน้ิ (สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เล่มที่ ๓๓ เรือ่ งท่ี 6)

จากการสารวจทางธรณวี ทิ ยาพบว่าภูเขาไฟท่ีพบในประเทศไทยท้ังหมดเปน็ ภูเขาไฟท่ีส้นิ
พลังแล้วทัง้ ส้นิ จากการสารวจพบว่าเป็นภเู ขาไฟที่มีอายุอย่างนอ้ ยทส่ี ุดประมาณ 7 แสนปีทแ่ี ล้ว สว่ น
ใหญม่ สี ณั ฐานแบบรปู โล่ (Physical Geography : Chapter 6 Diastropic and Landform) ทาให้
การศึกษาเร่ืองการเกิดภูเขาไฟในประเทศไทยศกึ ษาไดย้ าก การศกึ ษาเนอ้ื หาน้ไี มส่ ามารถจาลองให้
เปน็ สถานการณจ์ ริงไดเ้ พราะอาจมีอันตรายต่อผ้ทู าการทดลองและค่าใชจ้ ่ายในการไปศึกษาจากแหล่ง
ทเี่ กิดในต่างประเทศมีราคาที่ค่อนข้างสงู สาหรบั แนวทางในการแก้ปัญหานส้ี ามารถแก้ไขปญั หาได้
ดว้ ยการสร้างแอนเิ มชันในการจาลองทฤษฎกี ารเกดิ ภเู ขาไฟ เน่อื งจากแอนเิ มชนั คือ กระบวนการท่ี
เฟรมแตล่ ะเฟรมของภาพยนตร์ ถูกผลิตข้ึนต่างหากจาก กันทลี ะเฟรม แล้วนามารอ้ ยเรียงให้
ต่อเนื่องกัน โดยวิธีการใชค้ อมพวิ เตอร์ ตง้ั แต่ 16 เฟรมต่อวินาที ขนึ้ ไปจะเห็นเหมือนวา่ ภาพดังกล่าว
เคลอื่ นไหวไดต้ อ่ เนอื่ งกัน อีกท้ังแอนิเมชันสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับงานอืน่ ๆไดอ้ ีกมากมายและ
สามารถอธิบายส่ิงที่เป็นนามธรรมใหเ้ ปน็ รปู ธรรมมากยิ่งขึ้น นอกจากน้ีแอนิเมชนั ยังมีภาพประกอบ
เสียงทีท่ าให้ผทู้ ี่เข้ามาศกึ ษามีความน่าสนใจมากยงิ่ ขน้ึ ดงั นั้นแอนเิ มชันจึงเหมาะทจี่ ะนามาใชใ้ นการ
แก้ปัญหาดังกลา่ วได้

จากแนวคิดและท่มี าทาให้กลมุ่ ของข้าพเจา้ เหน็ ปัญหาจงึ จดั ทา แอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี
เรือ่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี (Plate tectonics) ขึ้น ซึ่งทาใหผ้ ทู้ ่ีศกึ ษาเกิดเปน็
แรงบนั ดาลใจในการศกึ ษาเรื่องราวเก่ยี วกบั ธรณวี ทิ ยา เพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาต่อและทาใหผ้ ทู้ ี่
ศึกษาเกดิ ความเข้าใจมากย่ิงข้ึน

2.วตั ถุประสงค์
2.1 เพ่ือสรา้ งแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐาน
2.2 เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจต่อ แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรื่อง การเกิดภูเขาไฟจาก

ทฤษฎีแปรสณั ฐาน

3. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั
3.1 ไดแ้ อนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี
3.2 คาดว่าจะไดร้ ับความพงึ พอใจจากนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ในระดับมาก

บทท่ี 2
หลกั การและทฤษฎี

จากการศึกษาทาให้ผ้จู ัดทามีแนวคิดในการจัดทาการจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกิดภูเขาไฟจาก
ทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี มีหลักการและทฤษฎีทีเ่ กย่ี วข้องเพ่ือนามาใช้ในการจัดทา ดังน้ี

2.1 ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานธรณี (Plate Tectonic Theory)
2.1.1 ทฤษฎีการแปรสัณฐานธรณี (Plate Tectonic Theory)
2.1.2 การเกิดภเู ขาไฟ

2.2 การจาลองทฤษฎี
2.3 แอนเิ มชนั (Animation)
2.4 โปรแกรม Adobe Flash Cs3
2.5 โปรแกรม Wondershare filmora
2.6 ทฤษฎคี วามพึงพอใจ

2.6.1 ความหมายของความพงึ พอใจ
2.6.2 ทฤษฎคี วามพึงพอใจ
2.7 งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง

2.1 ทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี (Plate techtonics Theory)
2.1.1 ทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี (Plate techtonics Theory)
เกดิ จากการนาทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและทวีปแยกมารวมกนั ตัง้ เปน็ ทฤษฎีใหม่ขึน้ มาโดย

กลา่ วไว้ว่า เปลอื กโลกทั้งหมดแบง่ ออกเปน็ แผน่ ที่สาคัญ จานวน 13 แผ่น โดยแต่ละแผน่ จะมขี อบเขต
เฉพาะได้แก่ แผน่ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ยเู รเซยี แอฟรกิ า อนิ เดยี แปซิฟกิ แอนตาร์กติก ฟิลิปปนิ ส์
อาหรบั สกอเทีย โกโก้ แครเิ บียน และนาซกา้ แผ่นเปลอื กโลกทั้งหมดไมห่ ยดุ น่ิงอยู่กบั ทีจ่ ะมกี าร
เคล่ือนท่ีตลอดเวลาใน 3 แบบ ได้แก่การเคลื่อนท่เี ข้าหากัน แยกออกจากกนั และไถลตัวขนานออก
จากกันซง่ึ ผลของการเคล่ือนที่ของเปลือกโลกทาให้เกิดปรากฎการณต์ ่าง ๆ ข้นึ เช่น แผ่นดนิ ไหว
เทือกเขา ภเู ขาไฟ และกระบวนการเกิดแร่และหนิ

2.1.1.1 ลักษณะการเคลอ่ื นทีข่ องแผน่ เปลือกโลก
2.1.1.1.1 รอยต่อทีแ่ ผน่ เปลือกโลกจะแยกจากกนั (Divergent Boundary) เมอื่

แมกม่าในชั้นแอสทีโนสเฟียร์ดันตวั ข้ึน ทาให้เพลตจะขยายตวั ออกจากกัน เกดิ ขึน้ ตรงรอยต่อระหวา่ ง
แผน่ เปลือกโลก 2 แผน่ ทีอ่ ยู่ใตม้ หาสมทุ รมากกว่าบนทวปี แนวเพลตแยกจากกนั สว่ นมากเกิดขน้ึ ใน
บริเวณสนั กลางมหาสมทุ ร เช่น รอยตอ่ ของแผ่นอเมริกากบั แผน่ ยเู รเซยี น ท่ีเทือกเขาที่มีการแยกตวั
(Spreading Ridge) หรอื รอยต่อที่แยกออกจากกนั จะเกิดแผน่ ดินไหวทร่ี ะดับตน้ื ตามแนวแกนการ
แยกตวั เท่านน้ั และเกิดกลไกการแยกตวั ขึ้น แผ่นดนิ ไหวท่ีเกดิ จากลักษณะการแยกตัวมักจะมีขนาดตา่
กวา่ 8 รกิ เตอร์

ภาพท่ี 1 รอยต่อทแี่ ผ่นเปลือกโลกจะแยกจากกนั (Divergent Boundary)

2.1.1.1.2 รอยตอ่ ทแี่ ผน่ เปลอื กโลกจะเคลื่อนที่ชนกนั และเกยกัน (Convergent
Boundary) มี 3 แบบ คือ

2.1.1.1.2.1 แผน่ เปลือกโลกใตม้ หาสมทุ ร 2 แผ่นมาชนกัน (Collision) โดย
ขอบแผน่ เปลือกโลกในแต่ละแนวทม่ี คี วามหนาแนน่ สูงกวา่ จะสอดมุดตวั (Subduction Zones) ลงไป
ใตอ้ กี แผ่นเปลอื กโลกอีกแผ่นหนึ่งจนถึงช้ันแมนเทิล มีการเล่อื น ขบ กดและดัน ซง่ึ กันและกนั ยังผลให้
มกี ารปรับตัวตลอดเวลา จากนนั้ จะหลอมละลายกลายเป็นหนิ หลอมละลายท่ีมีการสะสมพลงั งาน
แรงดันมหาศาลภายในดันตวั ควบคู่กันไปขน้ึ มาตามชั้นหนิ ของเปลอื กโลก หากพลงั งานนั้นสูงมาก
จนถงึ ระตับก็จะมีการปลดปล่อยพลงั งานออกมาในรปู การเกิดแผน่ ดินไหว ซ่งึ ในส่วนทีไ่ ม่แข็งแรงท่อี ยู่
ดา้ นบนเกิดเป็นปล่องภเู ขาไฟ และแนวตามขอบแผน่ เปลือกโลกเป็นร่องลกึ ทางยาวที่เรยี กวา่ Trench

ภาพที่ 2 แผน่ เปลอื กโลกใต้มหาสมทุ ร 2 แผน่ มาชนกัน (Collision)

2.1.1.1.2.2 แผน่ เปลือกโลกใต้มหาสมุทรชนกบั แผ่นทวีป แผน่ มหาสมุทรท่ี
หนักกว่าจะมุดลงใต้แผ่นทวปี และหลอมละลายกลายเป็นหินหลอมละลายและถูกดันออกมาตามรอย
แยกในช้นั หนิ ของแผ่นทวปี เกิดเปน็ แนวภูเขาไฟ

ภาพท่ี 3 แผ่นเปลอื กโลกใตม้ หาสมุทรชนกับแผ่นทวปี

2.1.1.1.2.3 แผน่ ทวปี ชนกับแผน่ ทวปี ทาให้เพลตที่มีความหนาแนน่ น้อย
กวา่ เกดิ การโกง่ ตัวเกยสูงขึ้นกลายเปน็ เทือกเขา เชน่ เทือกเขาหิมาลัย เกดิ จากการชนกนั ของเพลต
อินเดยี และเพลตเอเชยี เทอื กเขาแอลป์ (Alps) ในทวีปยโุ รป เทอื กเขาร็อกกี้ (Rocky) และเทอื กเขา
แอปปาเลเชยี น (Appalachian) ในทวีปอเมริกาเหนือ เกดิ จากการชนกันของเพลตอเมริกาเหนือกบั
เพลตแอฟริกา และเทอื กเขาภพู านในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทย

ภาพที่ 4 แผ่นทวีปชนกับแผน่ ทวีป

2.1.1.1.3 รอยตอ่ ที่แผน่ เปลอื กโลกเคล่ือนท่ีสวนกัน (Transform Boundary)
เมือ่ แผน่ เปลือกโลก 2 แผ่นเคลอื่ นที่สวนกนั ทาให้เกิดเป็นรอยเลอื่ นขนาดใหญ่ขนึ้ มักเกดิ ขนึ้ ใน
บริเวณเทอื กเขากลางมหาสมุทร แตบ่ างครง้ั ก็เกิดข้ึนบริเวณชายฝงั่ หากเปลือกโลกเคล่ือนทกี่ ระทบ
กนั อยา่ งรุนแรงจะทาใหเ้ กดิ การส่นั สะเทือน และเกิดแผน่ ดินไหวได้

ภาพท่ี 5 รอยตอ่ ทแ่ี ผน่ เปลอื กโลกเคล่อื นท่สี วนกัน (Transform Boundary)

2.1.2 สาเหตุการเกดิ ภเู ขาไฟ
เนือ่ งจากเปลือกโลกช้ันนอกของโลกเรามพี ื้นทไ่ี ม่เรียบเสมอกนั เปลอื กโลกชน้ั ในมลี กั ษณะ

เป็นหินเมื่อได้รบั ความร้อนท่ีแผ่ออกมาจากแก่นโลกทาใหก้ ลายเป็นหินเหลวหนดื ที่เรยี กวา่ แมกมา(หิน
หนืดทีอ่ ย่ภู ายใต้แผน่ เปลอื กโลกจะถูกเรียกวา่ แมกมาเมื่อมีการดันตัวมาสู่ชนั้ บรรยากาศของโลกจะถูก
เรียกวา่ ลาวา) และเม่ือไดร้ บั ความรอ้ นจากแกน่ โลกมากเขา้ กจ็ ะไหลวนเวยี นเฉกเช่นเดยี วกับน้าในกา

ต้มน้ารอ้ นท่วี ง่ิ ไปรอบกานา้ พร้อมกับสง่ ควนั พวยพุ่งออกมาตามชอ่ งระบายภเู ขาไฟก็เชน่ กันและใน
ท่สี ดุ กพ็ ุ่งทะลักออกมาตามรอยแยกของแผ่นเปลือกโลก

โดยทัว่ ไปแลว้ การเกิดภเู ขาไฟประมาณ 95 เปอร์เซน็ ตเ์ กดิ จากการเคลื่อนท่ีของแผน่
เปลอื กโลกมาเกยกันหรือทเ่ี รียกตามศัพท์ทางวชิ าการวา่ subduction zone เปลือกโลกของเราเป็น
ชน้ั หนิ ท่ีมีความแข็ง มีความหนาประมาณ 40-60 กโิ ลเมตร ผวิ โลกมลี กั ษณะเปน็ แผ่นไม่ได้รวมเปน็
เนือ้ เดยี วกนั ตลอดทงั้ โลก เปลือกโลกถูกแบง่ ออกตามลักษณะทางภมู ิศาสตรไ์ ด้เปน็ 2 ประเภท
Oceanic plate คือแผ่นเปลือกโลกท่ีอยใู่ ต้มหาสมุทรกบั Continental plate หรอื แผ่นทวีป ซึ่ง
ปรากฏอยตู่ ามส่วนทเ่ี ปน็ พ้ืนดิน ดงั นั้นเมือ่ ได้รบั ความร้อนจากแกน่ โลกก็จะทาใหแ้ ผน่ โลกเกิดการ
เคลือ่ นท่ีอย่ตู ลอดเวลาโดยกะประมาณว่าแผ่นโลกของเราจะมีการเคล่ือนทีป่ ระมาณ 10 เซนตเิ มตร
ต่อปี และเมอื่ แผ่นเปลือกโลกสองแผน่ เคล่ือนท่ีชนกันก็จะทาใหแ้ ผน่ โลกแผ่นหนงึ่ มดุ ลงใต้แผ่นโลกอกี
แผ่นหนึ่ง แผ่นท่ีมุดต่าลงจะเข้าสูช่ ั้นเปลอื กโลกท่ีมคี วามร้อนสงู ดงั นัน้ เกิดเปน็ พลงั งานความรอ้ นที่
พยายามดนั ตวั ออกมาสภู่ ายนอก ลักษณะของการเกยกันของแผน่ เปลือกโลกนี้เองท่เี ราเรยี กว่า
subduction zone ภูเขาไฟมักจะเกดิ ตามแนว subduction zoneนี้

ภูเขาไฟไม่มคี าบการระเบิดทีแ่ น่นอน ท้ังนี้ขึน้ อยกู่ ับแรงดนั ภายใน คุณสมบตั แิ ละปริมาณ
หนิ ทกี่ ดทับโพรงแมกมา อย่างไรกต็ ามนกั ธรณีวิทยาสามารถทาการพยากรณ์อยา่ งคร่าวๆ โดย

ภาพท่ี 6 สาเหตุการเกิดภเู ขาไฟ

การวิเคราะหค์ วามถี่ของคล่ืนไหวสะเทือน ความรุนแรงของแผ่นดนิ ไหว ความเปน็ กรด
ของน้าใตด้ นิ ซ่งึ เกดิ จากแมกมาอณุ หภูมิสงู ทาใหแ้ ร่ธาตุละลายตัว และความผิดปกตขิ องพฤติกรรม
สตั ว์

การปะทขุ องภูเขาไฟท่ีรนุ แรงเกดิ ขึ้น เมอ่ื แมกมาบะซอลตย์ กตัวข้นึ ลอยตวั ขึ้นจากชั้นฐาน
ธรณภี าค จะทาให้แผ่นเปลือกโลกธรณีซงึ่ เป็นหินแกรนติ หลอมละลายกลายเป็นแมกมาแกรนิต แลว้

ดันพนื้ ผิวโลกให้โกง่ ตวั ขน้ึ แรงอัดของแกส๊ ร้อนดันให้ปากปลอ่ งภูเขาไฟระเบดิ พน่ ฝุ่นเถ้าภเู ขาไฟ
(Pyroclastic flow) ซึง่ มีคามรอ้ นถึง 900 องศาเซลเซยี สข้ึนสูช่ น้ั บรรยากาศ แล้วตกลงมาทบั ถมกันที่
บริเวณเนนิ ภูเขาไฟ ทัง้ ลาวาท่ีไหลออกมาและเศษวสั ดทุ ่ตี กลงมาทับถมกัน ทาให้บรเิ วณรอบปาก
ปล่องภูเขามีนา้ หนักมาก จึงทรดุ ตัวกลายเปน็ แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด (Caldera) เมือ่ เวลาผ่านไป
นา้ ฝนตกลงมาสะสมกัน ทาให้เกิดเปน็ ทะเลสาบ

2.2 การจาลองทฤษฎี
เป็นการใช้คอมพิวเตอรช์ ่วยในการ จาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซงึ่ เป็นงานที่ไม่

สามารถทดลองด้วยสถานการณจ์ รงิ ได้ เชน่ การจดุ ระเบดิ เปน็ ตน้ และเปน็ โครงงานทีผ่ ู้ทาต้องศึกษา
รวบรวมความรู้ หลักการ ขอ้ เท็จจรงิ และแนวคดิ ต่างๆ อย่างลึกซึง้ ในเรื่องท่ีต้องการศึกษาแลว้ เสนอ
เป็นแนวคดิ แบบจาลอง หลักการ ซึง่ อาจอยูใ่ นรูปของสตู ร สมการ หรอื คาอธิบาย พร้อมท้งั การ
จาลองทฤษฏีด้วยคอมพวิ เตอรใ์ หอ้ อกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปล่ยี นไปตามสูตรหรือสมการนนั้ ซ่ึง
จะทาให้ผ้เู รียนมีความเข้าใจไดด้ ียิง่ ขึน้ การทาโครงงานประเภทน้มี จี ดุ สาคญั อยทู่ ผี่ ้ทู าต้องมคี วามรู้ใน
เรอ่ื งน้นั ๆ เป็นอย่างดี ตวั อยา่ งโครงงานจาลองทฤษฎี เชน่ การทดลองเร่ืองการไหลของของเหลว การ
ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปริ นั ยา่ และการทดลองเรื่องการมองเหน็ วัตถแุ บบสามมิติ เป็นต้น

2.3 แอนเิ มช่นั (Animation)
2.3.1 ความหมายแอนิเมชนั (Animation)
แอนเิ มชัน (Animation) หมายถึง กระบวนการทเี่ ฟรมแต่ละเฟรมของภาพยนตร์

ถกู ผลิตขน้ึ ต่างหากจาก กนั ทีละเฟรม แลว้ นามารอ้ ยเรยี งเขา้ ด้วยกัน โดยการฉายต่อเนื่องกนั ไมว่ ่า
จากวธิ กี าร ใช้คอมพิวเตอรก์ ราฟิก ถ่ายภาพรปู วาด หรือ หรอื รปู ถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจาลองท่คี ่อย
ๆ ขยับเมอื่ นาภาพดงั กล่าวมาฉาย ดว้ ยความเร็ว ต้งั แต่ 16 เฟรมต่อวนิ าที ขนึ้ ไป เราจะเห็นเหมอื นว่า
ภาพดังกลา่ วเคลื่อนไหวไดต้ อ่ เนือ่ งกนั ท้ังน้เี นอ่ื งจาก การเหน็ ภาพติดตาในทาง คอมพิวเตอร์ การ
จัดเกบ็ ภาพแบบอนเิ มชนั ทใ่ี ช้กันอย่างแพร่หลายในอนิ เทอร์เนต็ ไดแ้ กเ่ ก็บในรปู แบบ GIF MNG SVG
และ แฟลช

คาวา่ แอนเิ มช่ัน (animation) รวมทัง้ คาว่า animate และ animator มากจากราก
ศพั ทล์ ะตนิ "animare" ซงึ่ มีความหมายว่า ทาให้มีชีวติ ภาพยนตร์แอนเิ มช่ันจึงหมายถึงการ
สรา้ งสรรคล์ ายเส้นและรปู ทรงทีไ่ ม่มชี วี ติ ให้เคล่อื นไหวเกิดมชี วี ิตข้นึ มาได้ (Paul Wells , 1998 : 10 )

แอนิเมช่นั (Animation) หมายถึง "การสรา้ งภาพเคล่ือนไหว" ดว้ ยการนาภาพนงิ่ มา
เรยี งลาดบั กนั และแสดงผลอยา่ งต่อเน่ืองทาให้ดวงตาเห็นภาพทม่ี ีการเคล่อื นไหวในลักษณะภาพติด
ตา (Persistence of Vision) เมอ่ื ตามนุษยม์ องเหน็ ภาพท่ีฉาย อย่างต่อเนอ่ื ง เรตินาระรักษาภาพน้ีไว้
ในระยะสัน้ ๆ ประมาณ 1/3 วินาที หากมีภาพอนื่ แทรกเข้ามาในระยะเวลาดังกลา่ ว สมองของมนุษย์
จะเชอื่ มโยงภาพทงั้ สองเขา้ ดว้ ยกันทาใหเ้ หน็ เปน็ ภาพเคล่ือนไหวที่มคี วามต่อเน่ืองกัน แม้วา่ แอนิเมช่ัน
จะใชห้ ลกั การเดยี ว กบั วิดโิ อ แต่แอนิเมชั่นสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กบั งานต่างๆได้มากมาย เช่น
งานภาพยนตร์ งานโทรทศั น์ งานพัฒนาเกมส์ งานสถาปัตยง์ านก่อสรา้ ง งานดา้ นวทิ ยาศาสตร์
หรอื งานพัฒนาเวบ็ ไซต์ เปน็ ตน้ (ทวีศักดิ์ กาญจนสวุ รรณ : 2552 : 222 )

สรปุ ความหมายของแอนิเมชั่นคือ การสร้างสรรค์ลายเสน้ รปู ทรงตา่ งๆให้เกิดการ
เคลื่อนไหวตามความคดิ หรือจินตนาการ

2.4 Adobe Flash CS3
Adobe Flash CS3 เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ทพ่ี ัฒนามาเพ่ือสนับสนุนการสรา้ งงานกราฟิก ท้ัง

ภาพนง่ิ และภาพเคล่ือนไหว สาหรับการนาเสนอ ผา่ นเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ Flash มีฟังก์ชนั ช่วย
อานวยความสะดวก ในการสร้างผลงานหลากหลายรูปแบบ ตลอดจนชุดคาสั่งโปรแกรมมง่ิ ท่เี รียกว่า
Flash Action Script ทเี่ พิม่ ประสทิ ธิภาพในการทางาน และสามารถคอมไพล์ (Compile) เป็น
โปรแกรมใช้งาน (Application Program) เช่น การทาเปน็ e-Card เพือ่ แนบไปพรอ้ มกับ E-Mail ใน
โอกาสตา่ งๆ

Flash เดิมเป็นของ Macromedia แต่ปจั จุบนั ได้เปลยี่ นมาเปน็ ของ Adobe ซง่ึ ได้ถูก
พัฒนาให้มลี ักษณะการทางานท่สี อดคล้องต่อโปรแกรม ตา่ งๆ ในชุด Adobe มากย่ิงขึ้น

2.5 Wondershare Filmora
โปรแกรมนม้ี ีชือ่ วา่ โปรแกรม Filmora มันเปน็ โปรแกรมตัดตอ่ วดี โี อ จากทางค่าย

Wondershare ผ้พู ฒั นาโปรแกรมสามญั ประจาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ที่เนน้ หนา้ ตาโปรแกรม (User
Interface) ทเ่ี รยี บง่ายและโทนสเี ย็นสวยงามนา่ ใช้งาน โดยโปรแกรมนี้ เป็นอีกหนึ่งโปรแกรมตัดต่อ
วีดีโอทใี่ ช้งานง่าย ไม่วา่ จะเป็นคลิปมอื ถอื ถา่ ยเลน่ ๆ หรือคลปิ จริงจงั จากกล้องตวั ใหญ่ ก็สามารถนามา
ตัดตอ่ ในโปรแกรมน้ีได้

โดยโปรแกรมนี้ จะมีโหมดการใช้งานใหเ้ ลือกใช้ดว้ ยกัน 4 ระดับ ตงั้ แตโ่ หมดง่ายๆ เพียง

ลากคลิป กดธีมท่ีต้องการ ก็จะได้คลปิ วีดีโอสาเรจ็ รูปมาให้ใชง้ าน หรอื จะเปน็ โหมดโปรท่ีสามารถตดั
ตอ่ คลิปเปน็ ข้นั เป็นตอน จัดการเอฟเฟคต่างๆ รวมท้ังเสยี งตา่ งๆ ก็สามารถทาไดอ้ ย่างอิสระ

2.6 ทฤษฎเี กีย่ วกับความพงึ พอใจ
2.6.1 ความหมายของความพึงพอใจ
ทวีพงษ์ หนิ คา (2541 : 8 ) ไดใ้ ห้ความหมายของความพงึ พอใจว่าเป็นความชอบ

ของบุคคลที่มีต่อสงิ่ หน่ึงสิ่งใด ซึงสามารถลดความดงึ เครยี ดและตอบสนองความต้องการของบุคคลได้
ทาใหเ้ กดิ ความพึงพอใจต่อสงิ่ น้ัน

ธนียา ปญั ญาแกว้ ( 2541 : 12 ) ไดใ้ ห้ความหมายว่า ส่ิงที่ทาใหเ้ กิดความพึงพอใจ
ที่เกย่ี วกับลักษณะของงาน ปัจจัยเหล่านี้นาไปสู่ความพอใจในงานที่ทา ไดแ้ ก่ ความสาเร็จ การยกย่อง
ลักษณะงาน ความรบั ผดื ชอบ และความก้าวหนา้ เมื่อปจั จัยเหล่านี้อยตู่ ่ากวา่ จะทาใหเ้ กิดความไม่
พอใจงานทท่ี า ถา้ หากงานให้ความกา้ วหน้า ความทา้ ท้าย ความรบั ผดิ ชอบ ความสาเร็จและการยก
ยอ่ งแกผ่ ้ปู ฏบิ ัติงานแล้ว พวกเขาจะพอใจและมีแรงจงู ใจในการทางานเปน็ อยา่ งมาก

วทิ ย์ เทยี่ งบรู ณธรรม (2541 : 754) ให้ความหมายของความพึงพอใจวา่ หมายถงึ
ความพอใจ การทาให้พอใจ ความสาแก่ใจ ความหนาใจ ความจใุ จ ความแน่ใจ การชดเชย การไถบ่ าป
การแก้แค้นสง่ิ ที่ชดเชย

วริ ฬุ พรรณเทวี (2542 : 11 ) ให้ความหมายไว้วา่ ความพึงพอใจเป็นความรู้สึก
ภายในจิตใจของมนษุ ย์ที่ไมเ่ หมอื นกัน ซึ่งเปน็ อยู่กบั แต่ละบุคคลว่าจะคาดหมายกบั ส่งิ หนึ่ง สิง่ ใด
อยา่ งไร ถ้าคาดหวังหรือมคี วามตง้ั ใจมากและไดร้ บั การตอบสนองด้วยดี จะมีความพึงพอใจมากแต่
ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวงั หรือไม่พึงพอใจเปน็ อย่างยิ่ง เม่อื ไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองตามทค่ี าดหวงั ไว้
ทัง้ น้ีข้ึนอยกู่ บั ส่ิงท่ีตนตง้ั ใจไว้วา่ จะมีมากหรอื น้อย

กาญจนา อรุณสุขรจุ ี ( 2546 : 5 ) กล่าววา่ ความพงึ พอใจของมนุษย์ เป็นการ
แสดงออกทางพฤติกรรมที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปรา่ งได้ การทเี่ ราจะทราบว่า บุคคล
มคี วามพึงพอใจหรือไม่ สามารถสังเกตโดยการแสดงออกท่ีค่อนข้างสลับซับซ้อน และต้องมีสิ่งท่ีตรงต่อ
ความตอ้ งการของบุคคล จึงจะทาใหบ้ ุคคลเกิดความพงึ พอใจ ดงั นน้ั การสร้างสง่ิ เรา้ จงึ เป็นแรงจูงใจ
ของบุคคลนนั้ ใหเ้ กดิ ความพึงพอใจในงานนั้น

Carnpbell ( 1976 : 117 – 124 อ้างถงึ ใน วาณี ทองเสวต, 2548 ) กลา่ ววา่
ความพึงพอใจเป็นความรูส้ ึกภายในท่แี ตล่ ะคนเปรียบเทียบระหว่างความคิดเห็นต่อสภาพการณท์ ี่

อยากให้เป็นหรอื คาดหวัง หรอื รู้สกึ ว่าสมควรจะไดร้ ับ ผลท่ีไดจ้ ะเปน็ ความพึงพอใจหรือไมพ่ งึ พอใจ
เป็นการตดั สินของแต่ละบุคคล

Domabedian ( 1980 , อ้างถงึ ใน วาณี ทองเสวต,2548 ) กล่าววา่ ความพงึ พอใจ
ของผูร้ ับบรกิ าร หมายถงึ ผ้บู รกิ ารประสบความสาเรจ็ ในการทาให้สมดลุ ระหว่างสง่ิ ทผี่ รู้ ับบรกิ ารใหค้ ่า
กับความคาดหวงั ของผรู้ บั บริการ และประสบการณ์นน้ั เป็นไปตามความคาดหวงั

จากความหมายทก่ี ล่าวมาทงั้ หมด สรปุ ความหมายของความพึงพอใจได้วา่ เป็น
ความรู้สึกของบคุ คลในทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสขุ ใจต่อสภาพแวดล้อมในดา้ นต่าง ๆ
หรอื เป็นความร้สู ึกทพ่ี อใจต่อส่งิ ทท่ี าให้เกดิ ความชอบ ความสบายใจ และเป็นความรสู้ ึกที่บรรลถุ ึง
ความตอ้ งการ

2.6.2 ทฤษฎคี วามพงึ พอใจ
Kotler and Armstrong (2002) รายงานวา่ พฤติกรรมของมนษุ ย์เกดิ ข้นึ ต้องมี

สง่ิ จงู ใจ (motive) หรือแรงขับดัน (drive) เป็นความต้องการทีก่ ดดันจนมากพอทจ่ี ะจูงใจใหบ้ คุ คลเกดิ
พฤติกรรมเพ่ือตอบสนองความต้องการของตนเอง ซง่ึ ความตอ้ งการของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ความ
ตอ้ งการบางอย่างเป็นความต้องการทางชีววิทยา(biological) เกิดขึ้นจากสภาวะตึงเครยี ด เชน่ ความ
หิวกระหายหรือความลาบากบางอย่าง เปน็ ความต้องการทางจติ วทิ ยา (psychological) เกดิ จาก
ความต้องการการยอมรับ (recognition) การยกย่อง (esteem) หรอื การเป็นเจา้ ของทรัพยส์ นิ
(belonging) ความต้องการส่วนใหญอ่ าจไมม่ ากพอทจ่ี ะจูงใจใหบ้ ุคคลกระทาในช่วงเวลานัน้ ความ
ต้องการกลายเปน็ สิ่งจงู ใจ เมื่อได้รบั การกระตุน้ อยา่ งเพยี งพอจนเกดิ ความตึงเครยี ด โดยทฤษฎีที่ได้รับ
ความนิยมมากที่สุด มี 2 ทฤษฎี คอื ทฤษฎีของอับราฮัม มาสโลว์ และทฤษฎขี องซิกมนั ด์ ฟรอยด์

2.6.2.1 ทฤษฎแี รงจงู ใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation)
อับราฮัม มาสโลว์ (A.H.Maslow) ค้นหาวธิ ีทจี่ ะอธิบายวา่ ทาไมคนจึงถกู

ผลกั ดนั โดยความตอ้ งการบางอยา่ ง ณ เวลาหน่ึง ทาไมคนหนงึ่ จึงทุม่ เทเวลาและพลังงานอยา่ งมาก
เพอื่ ให้ไดม้ าซ่งึ ความปลอดภยั ของตนเองแตอ่ ีกคนหนง่ึ กลบั ทาสงิ่ เหลา่ น้นั เพื่อให้ได้รบั การยกย่องนบั
ถือจากผูอ้ ื่น คาตอบของมาสโลว์ คอื ความตอ้ งการของมนุษย์จะถูกเรียงตามลาดับจากส่ิงทกี่ ดดันมาก
ท่สี ุดไปถงึ น้อยท่ีสดุ ทฤษฎีของมาสโลว์ได้จดั ลาดับความต้องการตามความสาคญั คอื

2.6.2.1.1 ความตอ้ งการทางกาย (physiological needs) เป็นความ
ต้องการพนื้ ฐาน คือ อาหาร ที่พัก อากาศ ยารักษาโรค

2.6.2.1.2 ความตอ้ งการความปลอดภัย (safety needs) เปน็ ความ
ตอ้ งการที่เหนือกวา่ ความต้องการเพื่อความอย่รู อด เป็นความต้องการในดา้ นความปลอดภยั จาก
อนั ตราย

2.6.2.1.3 ความต้องการทางสังคม (social needs) เปน็ การตอ้ งการการ
ยอมรบั จากเพื่อน

2.6.2.1.4 ความตอ้ งการการยกยอ่ ง (esteem needs) เปน็ ความตอ้ งการ
การยกย่อง สว่ นตวั ความนับถอื และสถานะทางสงั คม

2.6.2.1.5 ความตอ้ งการใหต้ นประสบความสาเร็จ (self – actualization
needs) เป็นความตอ้ งการสูงสดุ ของแตล่ ะบุคคล ความต้องการทาทุกสิง่ ทุกอยา่ งไดส้ าเรจ็

บคุ คลพยายามท่สี ร้างความพึงพอใจให้กับความต้องการทสี่ าคญั ทีส่ ุดเป็น
อนั ดับแรกก่อนเม่ือความต้องการนั้นไดร้ ับความพึงพอใจ ความต้องการนน้ั ก็จะหมดลงและเป็น
ตัวกระต้นุ ใหบ้ ุคคลพยายามสรา้ งความพึงพอใจให้กบั ความตอ้ งการท่สี าคญั ทีส่ ดุ ลาดบั ต่อไป ตัวอย่าง
เช่น คนท่ีอดอยาก (ความต้องการทางกาย) จะไม่สนใจตอ่ งานศิลปะชนิ้ ล่าสดุ (ความต้องการสงู สดุ )
หรอื ไมต่ ้องการยกย่องจากผ้อู ่ืน หรอื ไม่ต้องการแม้แตอ่ ากาศท่ีบริสทุ ธิ์ (ความปลอดภัย) แตเ่ ม่อื ความ
ตอ้ งการแต่ละขัน้ ไดร้ บั ความพงึ พอใจแลว้ ก็จะมีความต้องการในข้ันลาดบั ตอ่ ไป

2.6.2.2 ทฤษฎแี รงจงู ใจของฟรอยด์
ซิกมนั ด์ ฟรอยด์ ( S. M. Freud) ตง้ั สมมุตฐิ านว่าบุคคลมกั ไม่รูต้ ัวมากนักวา่

พลังทางจิตวิทยามีส่วนช่วยสรา้ งใหเ้ กิดพฤติกรรม ฟรอยด์พบวา่ บุคคลเพ่มิ และควบคุมส่ิงเรา้ หลาย
อยา่ ง สง่ิ เรา้ เหลา่ น้ีอยู่นอกเหนือการควบคุมอย่างส้ินเชิง บุคคลจงึ มีความฝนั พูดคาทีไ่ ม่ต้ังใจพูด มี
อารมณ์อยเู่ หนือเหตผุ ลและมีพฤติกรรมหลอกหลอนหรอื เกิดอาการวิตกจรติ อยา่ งมาก

ขณะที่ ชาริณี (2535) ได้เสนอทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไว้ว่า
บคุ คลพอใจจะกระทาสงิ่ ใดๆทีใ่ ห้มีความสุขและจะหลกี เลี่ยงไม่กระทาในส่ิงท่เี ขาจะไดร้ ับความทกุ ข์
หรือความยากลาบาก โดยอาจแบง่ ประเภทความพอใจกรณีนไี้ ด้ 3 ประเภท คอื

2.6.2.2.1 ความพอใจด้านจิตวทิ ยา (psychological hedonism) เป็น
ทรรศนะของความพงึ พอใจวา่ มนษุ ยโ์ ดยธรรมชาตจิ ะมีความแสวงหาความสุขสว่ นตวั หรือหลีกเลย่ี ง
จากความทุกข์ใดๆ

2.6.2.2.2 ความพอใจเก่ยี วกบั ตนเอง (egoistic hedonism) เปน็ ทรรศนะ
ของความพอใจว่ามนุษย์จะพยายามแสวงหาความสุขสว่ นตัว แตไ่ มจ่ าเป็นว่าการแสวงหาความสขุ ตอ้ ง
เป็นธรรมชาติของมนษุ ย์เสมอไป

2.6.2.2.3 ความพอใจเกีย่ วกับจริยธรรม (ethical hedonism) ทรรศนะน้ี
ถือว่ามนุษย์แสวงหาความสุขเพอื่ ผลประโยชนข์ องมวลมนษุ ย์หรือสงั คมทีต่ นเป็นสมาชกิ อยแู่ ละเป็นผู้
ไดร้ ับผลประโยชน์ผ้หู นึง่ ด้วย

2.7 งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง
(David G. Quirk & Lars H. Rüpke) ได้ศึกษาว่า ส่วนของพน้ื ผวิ โลกลงในทวปี และ

มหาสมทุ รเป็นผลมาจากแผ่นเปลือกโลก แต่ความขดั แย้งทางธรณวี ทิ ยาที่มีอยู่ในขอบเขตทวีป
มหาสมทุ ร โดยใชแ้ บบจาลองเชิงตวั เลขในการตรวจสอบแหลง่ ท่มี าและลักษณะของพฤติกรรมน้ที าให้
งงกบั ข้อมูลจากกวานซาลมุ่ น้าต่างประเทศแองโกลา เราสารวจความคดิ ท่ีแผน่ คอนตเิ นนทาลอยตวั
มากขึน้ ในช่วง rifting โดยละลายผลติ และตดิ อยู่ใน asthenosphere ๆ โดยใชส้ ถานการณ์จาลอง
องค์ประกอบ จากัด เราแสดงใหเ้ ห็นวา่ asthenosphere หลอมละลายบางส่วนรวมกับกระบวนการ
อื่น ๆ สามารถรบั มอื กับผลกระทบที่เกดิ การทรุดตวั ของแผ่นบางทาให้มนั สงู 2-3 กโิ ลเมตรจนถงึ การ
ลม่ สลาย ทรุดอย่างรวดเรว็ เกิดขน้ึ หลังจากการลม่ สลายเมื่อละลายหายไปกับสนั เขามหาสมุทรตัวอ่อน

(ศรสี ุภคั เสมอวงษ และ ธนกฤต โพธ์ิขี) ได้ศกึ ษาการออกแบบและสร้างสอ่ื แอนิเมชนั 2 มิติ
เพื่ออนุรกั ษ์และถ่ายทอดประเพณมี อญในจังหวัดปทุมธานี เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของครทู มี่ ตี ่อสื่อ
แอนิเมชัน 2 มิติอนุรกั ษ์และถ่ายทอดประเพณีมอญในจังหวัดปทุมธานี โดยมกี ารนาเสนอเนอ้ื หาเรื่อง
ประเพณีมอญในจงั หวดั ปทุมธานี ในรปู แบบแอนิเมชนั ท่ีมีเนื้อใหเ้ หมาะสม เข้าใจงา่ ย สามารถนาไป
ตรงกบั ความต้องการใช้งานมากท่ีสดุ สรา้ งประโยชน์สงู สุดกับการเรียนการสอนได้

บทท่ี 3
วธิ กี ารดาเนินงาน

ในการจดั ทาโครงงานคอมพิวเตอร์ คณะผจู้ ัดทามีการดาเนินการดงั น้ี
3.1 วสั ดแุ ละอุปกรณ์

ลาดับ วสั ดุ-อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์ อ่ืนๆ ท่มี า-วัสดุ ราคา
และ
1 คอมพิวเตอร์ / -
2 ปากกา / อปุ กรณ์ -
3 กระดาษ A4 / ยมื -
4 แผน่ CD 2 แผน่ / ยืม 20
5 โปรแกรม Adobe Flash CS3 ยมื -
6 โปรแกรม / ซอ้ื -
/ -
Corelvideostudio12 - 100
7 แผงโครงงาน /
ซอ้ื

รวม 120

ตารางที่ 1 วสั ดแุ ละอุปกรณ์

สถานทดี่ าเนินงาน : โรงเรยี นสตรสี ริ ิเกศ อ.เมือง จ.ศรสี ะเกษ

3.2 ข้ันตอนการดาเนนิ งาน
3.2.1 คดิ หวั ข้อโครงงานเพื่อนาเสนอคุณครทู ป่ี รึกษาโครงงาน
3.2.2 ศึกษาค้นคว้าข้อมลู ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับเร่ืองทีส่ นใจ คือเรื่อง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปร

สัณฐานธรณี วา่ มเี นื้อหามากนอ้ ยเพยี งใดทจ่ี ะศึกษาเพื่อจะจาลองทฤษฎี และเกบ็ เนื้อหาไว้เปน็ ขอ้ มูล
เพื่อจดั ทาเนอื้ หาต่อไป

3.2.3 จัดทาเนื้อหาเรื่องการเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี
3.2.4 ศึกษาการใช้โปรแกรม Adobe Flash CS3 และ Wondershare filmora จาก
เอกสารที่คณุ ครูประจาวิชาและจากการค้นควา้ จากอนิ เตอร์เน็ต ต่างๆทีน่ าเสนอวิธกี ารใชง้ านเพ่ือ
สร้างแบบจาลองทฤษฎี

3.2.5จดั ทาขอ้ เสนอโครงงาน โดย
3.2.5.1 เขยี นเค้าโครงโครงงานการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปร
สัณฐานธรณี

3.2.5.2 ออกแบบการจาลองทฤษฎใี นสตอรบ่ี อร์ด มีการกาหนดลกั ษณะเคร่ือง
คอมพิวเตอร์ ซอฟตแ์ วรแ์ ละโปรแกรมและวัสดุอปุ กรณ์อื่นๆ ท่ีต้องใช้พรอ้ ม ทง้ั กาหนดตารางการ
ปฏบิ ตั งิ าน ของการจดั ทาเค้าโครงโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุปรายงานโครงงาน

3.2.5.3 นาผลจากการศึกษามา ปรับปรงุ เพือ่ นาเสนอทฤษฎีออกมาได้อย่างชดั เจนและ
เข้าใจงา่ ย

3.2.5.4 เสนอเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์ต่อคณุ ครูทปี่ รึกษา เพื่อขอคาแนะนาและ
ปรบั ปรงุ แก้ไขให้สมบูรณม์ ากยง่ิ ขึ้น

3.2.6 นาเสนอข้อเสนอโครงงาน ตอ่ อาจารย์ท่ีปรกึ ษา อาจารยโ์ สภา พิเชฐโสภณ คุณครู
ผ้เู ช่ยี วชาญด้านเอกสาร

3.2.7 จดั ทาการจาลองทฤษฎีเรอ่ื งการเกิดภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี
3.2.7.1 สร้างแอนิเมชันเรือ่ งการเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี ดังนี้
3.2.7.1.1 จัดทาสตอรี่บอร์ด แอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เรอื่ ง การเกดิ ภเู ขาไฟจาก

ทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี
3.2.7.1.2 สรา้ งแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปร

สณั ฐานธรณี
3.2.7.1.3 นาเสนอต่อคุณครูบรรพชติ โพธ์บิ อน คณุ ครผู ู้เชย่ี วชาญด้านเน้ือหา

3.2.8 ปรับปรุงแกไ้ ขข้อผดิ พลาดในเนื้อหา Animation ทน่ี าเสนอไป
3.2.9 ทดลองใชก้ ับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 30 คน
3.2.10 รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มูล
3.2.11 จดั ทารายงานโครงงานแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎี
แปรสณั ฐานธรณี
3.2.12 จดั ทา Power Point โครงงานแอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกิดภเู ขาไฟ
จากทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี
3.2.13 จดั ทาแผ่นพับโครงงานแอนิเมชนั การจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกิดภูเขาไฟจากทฤษฎี
แปรสัณฐานธรณี
3.2.14 จัดทาบอร์ดนาเสนอโครงงานแอนิเมชนั การจาลองทฤษฎี เรอื่ ง การเกิดภเู ขาไฟจาก
ทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี

3.2.15 จดั ทาแบบประเมินความพึงพอใจต่อแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกิดภเู ขา
ไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี

3.2.16 นาเสนอโครงงานแอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปร
สณั ฐานธรณี

3.3 Flow Chart

เรมิ่ ต้น

ศกึ ษาค้นควา้ ขอ้ มลู ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั เร่ืองที่สนใจ คอื เรือ่ ง การเกดิ
ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี

จัดทาเนือ้ หาเรอ่ื งการเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี

ศกึ ษาการใช้โปรแกรม Adobe Flash CS3 และ
Wondershare filmora จากเอกสารท่คี ณุ ครปู ระจาวชิ าและ

จากการค้นคว้าจากอนิ เตอรเ์ นต็

จดั ทาขอ้ เสนอโครงงาน

นาเสนอขอ้ เสนอโครงงาน ตอ่ อาจารยท์ ป่ี รึกษา อาจารย์โสภา
พเิ ชฐโสภณ คุณครผู เู้ ช่ียวชาญดา้ นเอกสาร

จดั ทาการจาลองทฤษฎีเรื่องการเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปร
สัณฐานธรณี

นาเสนอตอ่ คุณครทู ่ปี รึกษา ไมผ่ า่ น

ผา่ น
จัดทาการจาลองทฤษฎเี รอื่ งการเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปร

สัณฐานธรณี

จัดทาการจาลองทฤษฎเี ร่ืองการเกิดภูเขาไฟจากทฤษฎีแปร
สณั ฐานธรณี

สนิ้ สดุ

3.4 การคานวณหาคา่ เฉลีย่ เลขคณิตและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน การหา
3.4.1 การคานวณหาคา่ เฉลี่ยเลขคณิต
หมายถึง การหารผลรวมของข้อมูลทงั้ หมดดว้ ยจานวนข้อมูลทั้งหมด

ค่าเฉลย่ี เลขคณิตสามารถหาได้ 2 วธิ ี
1. คา่ เฉล่ียเลขคณติ ของข้อมูลท่ีไม่ไดแ้ จกแจงความถี่
สามารถคานวณได้จากสูตร
=

เมื่อ (เอก็ ซ์บาร์) คือ คา่ เฉลย่ี เลขคณติ
คอื ผลบวกของข้อมูลทุกค่า
คอื จานวนขอ้ มูลทัง้ หมด

2. คา่ เฉล่ียเลขคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่
สามารถคานวณได้จากสตู ร

=
เม่ือ (เอก็ ซ์บาร์) คือ ค่าเฉล่ียเลขคณิต

คอื ความถี่ของข้อมูล

คอื ค่าของขอ้ มูล(ในกรณีการแจกแจงความถีไ่ ม่เปน็ อนั ตรภาคชนั้ )
หรือ จดุ กงึ่ กลางของอนั ตรภาคช้ัน(ในกรณีการแจกแจงความถีเ่ ป็นอันตรภาคชนั้ ) หาได้
จาก

คือ ผลรวมความถ่ีทงั้ หมด หรือ จานวนขอ้ มลู ทั้งหมด

3.4.2 การคานวณหาค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเปน็ ค่าวัดการกระจายที่สาคญั ทางสถติ ิ เพราะเปน็ คา่ ที่ใช้บอกถงึ การกระจาย
ของข้อมูลได้ดีกวา่ ค่าพสิ ัย และคา่ ส่วนเบย่ี งเบนเฉลีย่ การหาส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานสามารถหาได้ 2
วธิ ี

1.การหาสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) ในกรณีข้อมลู ไม่ไดม้ ีการแจกแจงความถสี่ ามารถหาได้
จากสตู ร

และ

เมอ่ื S.D. คอื ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
คอื ข้อมลู ( ตวั ที่ 1,2,3...,n)
คอื คา่ เฉลยี่ เลขคณติ
คือ จานวนขอ้ มูลทงั้ หมด

หมายเหตุ ในกรณีท่ี เปน็ ทศนิยมทาให้เกิดความยุ่งยากในการคานวณ จงึ ควรเลือกใช้
สูตรที่ 2

บทท่ี 4
ผลการศึกษา

การจัดทาโครงงานแอนิเมชนั การจาลองทฤษฎี เรอื่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสณั ฐาน
ธรณี มเี นื้อหาเกยี่ วกบั การบอกทฤษฎที ีจ่ ะทาใหเ้ กิดภูเขาไฟบนโลก มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือศึกษาการ
จาลองทฤษฎี เร่อื ง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี มผี ลการดาเนินงานดงั น้ี
ตอนท่ี 1 แอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี เรื่อง การเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี
ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจทีม่ ีต่อแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรอื่ ง การเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปร
สัณฐานธรณี
ตอนที่ 1 แอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี

ภาพท่ี 7 หนา้ ปกของแอนิเมชนั การจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี
ภาพที่ 9 ทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจท่มี ีต่อแอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปร
สณั ฐานธรณี

ตารางท่ี 1 ความพึงพอใจทีม่ ีตอ่ แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจาก
ทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี

ลาดบั รายการประเมนิ ( ̅) (S.D) แปลผล

1 ความสอดคล้องของเนื้อหากับทฤษฎี 4.83 0.38 มาก
0.48 มาก
2 แอนเิ มชันมีเน้ือหาทเ่ี ขา้ ใจง่าย 4.67 0.55 มาก

3 แอนเิ มชนั มรี ะยะเวลาในการดาเนนิ เรื่อง 4.67 0.57 มาก
0.49 มาก
เหมาะสมกับเนอ้ื หา 0.56 มาก

4 แอนิเมชนั มสี ีสนั สวยงามและเหมาะสม 4.50 0.47 มาก
0.55 มาก
5 แอนเิ มชันมวี ิธีถ่ายทอดให้มคี วามนา่ สนใจ 4.63 0.52 มาก

6 คณุ ภาพของเสียงประกอบมีความชดั เจนและ 4.6

เข้าใจงา่ ย

7 ภาพประกอบเน้ือหามีความสวยงามและนา่ สนใจ 4.7

8 รปู แบบตัวอักษรมคี วามชัดเจนอ่านง่าย 4.33

รวม 4.62

จากตารางที่ 1 พบว่าความพึงพอใจที่มีต่อแอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจาก
ทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณีสาหรับนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี4 โดยรวมมคี วามพอใจในระดับมาก มี ( ̅)
= 4.62 , (S.D) = 0.52 โดยนกั เรยี นมคี วามพอใจในเร่ืองของความสอดคล้องของเนอื้ หากับทฤษฎีเป็น
อยา่ งมาก

บทท่ี 5
สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

ในการจดั ทาโครงงานแอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปร
สณั ฐานธรณี คณะผ้จู ัดทาสรปุ ผลและอภปิ รายผลได้ดงั น้ี
5.1 สรุปผลการดาเนินงาน

5.1.1 คณะผู้จัดทาไดจ้ ดั ทาแอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปร
สณั ฐานธรณี

5.1.2 นักเรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/4 มีความพึงพอใจตอ่ แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี
เร่ือง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณสี ร้างขึ้นโดยรวมอยใู่ นระดับมาก ( ̅ = 4.62 , S.D =
0.52)

5.2 อภปิ รายผล
5.2.1 การวดั ความพึงพอใจท่ีมีตอ่ แอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี เรื่อง การเกิดภูเขาไฟจาก

ทฤษฎีแปรสัณฐานธรณสี าหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี4 โดยรวมมีความพอใจในระดับมาก โดยมี
( ̅) = 4.62 , (S.D) = 0.52 ทง้ั นี้เน่ืองจากความสอดคล้องของเนอื้ หากับทฤษฎี ภาพประกอบเนื้อหา
ทม่ี ีสสี ันทาให้ผู้รบั ชมสนใจและเรยี นรู้ได้อยา่ งรวดเรว็ ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ (ศรีสภุ คั เสมอวงษ
และ ธนกฤต โพธิ์ขี) ได้ทาการศึกษาการออกแบบและสร้างสอื่ แอนิเมชัน 2 มติ ิ เพื่ออนุรักษแ์ ละ
ถ่ายทอดประเพณีมอญในจังหวัดปทุมธานี โดยมีการนาเสนอเน้ือหาเร่ือง ประเพณมี อญในจงั หวัด
ปทมุ ธานี ในรูปแบบแอนเิ มชันท่มี ีเนอื้ ใหเ้ หมาะสม เขา้ ใจง่าย สามารถนาไปตรงกบั ความต้องการใช้
งานมากท่ีสุด สร้างประโยชน์สูงสุดกบั การเรียนการสอนได้

5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 ควรศึกษาการจดั การเสียงประกอบให้มีความลน่ื ไหลและการแบ่งวรรคใหด้ ีกวา่ น้ี
5.3.2 ควรศึกษาการวางรปู แบบตัวอกั ษรให้เหมาะสม
5.3.3 ควรเพมิ่ เสียงดนตรีพ้นื หลังของแอนิเมชัน
5.3.4 ในการทาโครงงานคร้งั หน้าควรศึกษากระบวรการกลมุ่ ใหด้ กี ว่าน้ี

บรรณานุกรม

นงลักษณ์ สวุ รรณพนิ จิ และปรีชา สวุ รรณพนิ ิจ. 2560. เกง่ วทิ ยาศาสตร์ ม.4-5-6. กรุงเทพมหานคร
: ไฮเอด็ พับลชิ ชิง่ .

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2554. หนงั สือเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รายวชิ า
พนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

อสั สมุ า สายนาคา. 2559. หนงั สอื สรุปโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. กรุงเทพมหานคร : พิมพส์ วย.
โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว.

2561. การแปรสัณฐานเปลือกโลก. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=33&chap=6&page=t
33-6- infodetail06.html. (25 มิถนุ ายน 2561).
พทั ธธ์ ีรา เกอื ทาน. 2561. โลกและการเปลีย่ นแปลง. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า

https://sites.google.com/site/66pattheera66/laksna-kar-kheluxnthi-khxng-
phaen-thrni-1. (25 มิถนุ ายน 2561).
พษิ ณุ พงศ์กาญจนพยนต์. 2555. ทฤษฎีการแปรสณั ฐาน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.phukhieo.ac.th/obec-media/2555/manual/. (25 มิถุนายน 2561).
พษิ ณุ พงศ์กาญจนพยนต์. 2558. ปรากฏการณท์ างธรณที ่ีเกิดจากการแปรสณั ฐาน.
[ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา
https://www.youtube.com/watch?v=Cq3Bk1qwvXA.
(25 มถิ นุ ายน 2561).
วิรุฬหกกลบั . 2551. สาเหตุของการเกิดภูเขาไฟและประเภทของภูเขาไฟ. [ระบบออนไลน์].
แหลง่ ทม่ี า http://www.vcharkarn.com/varticle/37243. (25 มถิ ุนายน 2561).
ศราวฒุ ิ กงขุนทด. 2559. การใชง้ าน Adobe Flash CS3. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า
https://sites.google.com/site/kruxsarawutt/kar-chi-ngan-adobe-flash-cs3.
(25 มิถุนายน 2561).
Beewbiw22. 2561. ขอ้ มูลทางธรณวี ทิ ยาท่ีสนับสนุนการเคล่อื นที่ของทวปี . [ระบบออนไลน์].
แหล่งท่มี า https://beewbiw22.wordpress.com/2013/09/19/2-2.
(25 มิถุนายน 2561).
verB. 2561. รีวิว Wondershare Filmora โปรแกรมตัดตอ่ วีดีโอ สวยหวาน ตัวเล็ก สเปค
มือใหม่.

[ระบบออนไลน์]. แหล่งทมี่ า https://review.thaiware.com/1102.html
(25 มถิ นุ ายน 2561).

ภาคผนวก ก
แบบประเมินชน้ิ งานจากคณุ ครูผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นเน้อื หา

ภาคผนวก ข
แบบวดั การประเมนิ ความพงึ พอใจ
แอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี

แบบประเมินแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกิดภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี
คาชี้แจง แบบประเมินความพึงพอใจทมี่ ตี ่อแอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกิดภูเขาไฟจาก
ทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี แบ่งเป็น 3 ตอน
ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจตอ่ แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐาน
ธรณี
ตอนท่ี 2 ข้อเสนอแนะ

ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจต่อแอนเิ มชนั การจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐาน

ธรณี

คาชี้แจง กรุณาใสเ่ ครื่องหมายถูก (√) ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั ความคดิ เห็นของท่าน โดยเกณฑ์การประเมิน

แบ่งเปน็ 5 ระดับ ดังนี้

5 = พอใจมากทีส่ ดุ 4 = พอใจมาก 3 = พอใจปานกลาง 2 = พอใจน้อย 1 = พอใจน้อยท่สี ดุ

ลาดับ รายการประเมิน ระดบั ความพึงพอใจ

5 43 21

1 ความสอดคล้องของเน้ือหากับทฤษฎี

2 แอนิเมชนั มีเนื้อหาท่ีเขา้ ใจง่าย

3 แอนเิ มชันมรี ะยะเวลาในการดาเนินเร่ือง

เหมาะสมกับเนอื้ หา

4 แอนเิ มชนั มีสีสันสวยงามและเหมาะสม

5 แอนิเมชันมวี ิธถี ่ายทอดให้มีความน่าสนใจ

6 คุณภาพของเสียงประกอบมีความชดั เจนและ

เข้าใจงา่ ย

7 ภาพประกอบเน้ือหามีความสวยงามและ

นา่ สนใจ

8 รปู แบบตัวอกั ษรมีความชัดเจนอ่านง่าย

ตอนท่ี 2 ขอ้ แนะนา/ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ภาคผนวก ค
Storyboard







ประวตั ิผ้จู ดั ทา

ชือ่ : นายธนกฤต ไสยสมบตั ิ
วันเกดิ : 7 สิงหาคม 2543
ทีอ่ ยู่ : 998/100 ถ.กวงเฮง ต.เมืองใต้ อ.เมอื ง จ.ศรสี ะเกษ 33000
Email : [email protected]
ประวตั กิ ารศกึ ษา
มัธยมศึกษาตอนต้น : โรงเรียนสตรสี ิรเิ กศ
มธั ยมศึกษาตอน : โรงเรียนสตรสี ิริเกศ
ปลาย

ชื่อ : นางสาวเกษตรา แสงเวียน
วันเกดิ : 8 มกราคม 2544
ท่ีอยู่ : 75/6หมู่9 ต.โพธ์ิ อ.เมือง จ. ศรีสะเกษ 33000
Email : [email protected]
ประวัตกิ ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น : โรงเรยี นสตรีสริ ิเกศ
มธั ยมศกึ ษาตอน : โรงเรียนสตรีสริ ิเกศ
ปลาย

ชื่อ : นางสาวสกุ ฤตยา กันภัย
วนั เกดิ : 18 พฤศจิกายน 2543
ท่ีอยู่ : 110 หมู่ 4 ต.หนองใหญ่ อ.เมืองจันทร์ จ.ศรสี ะเกษ 33120
Email : [email protected]
ประวตั กิ ารศึกษา
มัธยมศกึ ษาตอนต้น : โรงเรยี นสตรีสริ เิ กศ
มัธยมศกึ ษาตอน : โรงเรียนสตรีสิรเิ กศ
ปลาย

ช่อื : นางสาวชตุ ิมา ดวงเสนาะ
วนั เกดิ : 15 กมุ ภาพันธ์ 2543
ทอ่ี ยู่ : 342/1 ม.11 ต.หนองไผ่ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ33000
Email : [email protected]
ประวตั ิการศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น : โรงเรียนนนทรวี ิทยา
มัธยมศึกษาตอน : โรงเรียนสตรสี ริ เิ กศ
ปลาย


Click to View FlipBook Version