The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย-2560-3-6-ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gap.pkw, 2021-02-28 07:36:04

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย-2560-3-6-ปี

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย-2560-3-6-ปี

คูมือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั

พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

สาํ หรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป

สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

คมู ือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป

สาํ นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ISBN 978-616-395-931-7
จดั พิมพโดย สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
พมิ พครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑
จํานวนพิมพ ๒๘,๐๐๐ เลม

พมิ พท ่ี โรงพมิ พชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั
๗๙ ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพ ิมพผโู ฆษณา



คํานํา

กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ ลงวันที่
๓ สงิ หาคม ๒๕๖๐ เรอ่ื ง ใหใ ชห ลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ตง้ั แตป ก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน ตน ไป
ดังน้ัน เพื่อใหสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัดสามารถนําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไปใชใหเกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
จงึ จดั ทาํ คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ขน้ึ จาํ นวน ๒ เลม คอื คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
สําหรับเดก็ อายุตาํ่ กวา ๓ ป และคูม ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ฉบับน้ี เปนคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป ที่จัดทําข้ึนเพื่อใหสถานศึกษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และหนวยงานที่เก่ียวของ
ไดมีความรูความเขาใจในการนําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สูการปฏิบัติ สามารถใชเปน
แนวทางในการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ไดส อดคลอ งกบั หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
เหมาะสมกับสภาพทองถ่ิน บริบทความตองการของสถานศึกษา และบรรลุตามจุดหมายที่กําหนดในหลักสูตร
การศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ขอขอบคุณผูท รงคุณวฒุ ิ ผเู ชย่ี วชาญ ศกึ ษานิเทศก
ผูบริหารสถานศกึ ษา ผูส อน นักวชิ าการศึกษา รวมทัง้ หนวยงานกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพฒั นาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ ตลอดจนภาคเอกชน
ที่ใหความรวมมืออยางดีย่ิง ทําใหเอกสารคูมือฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี หวังวาคูมือหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ฉบับน้ี จะเปน ประโยชนส าํ หรับสถานศึกษา สถานพฒั นา
เดก็ ปฐมวัย และหนวยงานทเี่ กี่ยวของในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ใหมีพัฒนาการดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม
และสติปญญา ท่ีเหมาะสมกับวัยความสามารถ ความสนใจ และความแตกตางระหวางบุคคล เปนคนดี มีวินัย
สาํ นกึ ความเปน ไทย ดาํ รงชวี ติ อยใู นสงั คมไดอ ยา งมคี วามสขุ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม
และประเทศชาติในอนาคตตอ ไป

(นายบญุ รกั ษ ยอดเพชร)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

สารบัญ

คาํ นํา หนา
ความนํา
ตอนที่ ๑ ความรูพน้ื ฐานเก่ยี วกับหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๔

บทที่ ๑ แนวคดิ ของหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ๑๒

บทท่ี ๒ สาระสาํ คญั ของหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ๔๒
๖๑
สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ๘๒
ตอนที่ ๒ การนาํ หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สกู ารปฏิบัติ
๑๐๔
บทที่ ๓ การจดั ทําหลกั สตู รสถานศึกษา ๑๑๔

บทท่ี ๔ การจัดประสบการณ ๑๓๙
๑๕๖
บทท่ี ๕ การจดั ทาํ แผนการจัดประสบการณ ๑๖๕

บทที่ ๖ การจดั สภาพแวดลอ ม สื่อ และแหลงเรียนรูเพ่ือสงเสรมิ พัฒนาการ ๑๗๒
๑๘๑
และการเรยี นรูของเดก็ ๑๘๓
๒๐๘
บทที่ ๗ การประเมินพัฒนาการ
ตอนที่ ๓ การบริหารจดั การการศกึ ษาปฐมวัย

บทท่ี ๘ แนวทางการดําเนนิ การบริหารจัดการหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั

บทท่ี ๙ การใหค วามชวยเหลือเด็กที่มปี ญ หาพฤติกรรม

บทท่ี ๑๐ การจัดการศึกษาระดบั ปฐมวยั (เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป) สําหรับกลมุ เปาหมายเฉพาะ

บทท่ี ๑๑ การสรา งรอยเชอื่ มตอระหวา งการศึกษาระดบั ปฐมวยั กับ

ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
คณะผูจ ดั ทาํ

ความนํา

คูมอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สาํ หรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ฉบบั นี้ จัดทําขน้ึ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
สาํ หรบั ผทู ม่ี หี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบอบรมเลย้ี งดแู ละพฒั นาเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ในสถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
ไดมีความรูความเขาใจในการพัฒนาเด็ก สามารถนําปรัชญาการศึกษาปฐมวัย และหลักการของหลักสูตร 1
ลงสกู ารปฏบิ ัติ บรรลผุ ลตามจดุ หมายของหลกั สูตรที่ตองการใหเ ด็กอายุ ๓ - ๖ ป ไดพฒั นาทุกดา นอยางสมดลุ
ทัง้ ดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สังคม และสติปญญา คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

เด็กอายุ ๓ - ๖ ป เปนวัยที่รางกายและสมองของเด็กกําลังเจริญเติบโต เด็กตองการความรัก
ความเอาใจใสและการดูแลอยางใกลชิด เด็กวัยน้ีมีโอกาสเรียนรูจากการใชประสาทสัมผัสทั้งหา ไดสํารวจ เลน
ทดลอง คน พบดว ยตนเอง ไดมีโอกาสคิดแกปญหา เลือก ตดั สินใจ ใชภ าษาสอ่ื ความหมาย คิดริเริ่มสรา งสรรค
และอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข ผูท่ีรับผิดชอบจึงมีหนาท่ีในการอบรมเล้ียงดูและจัดประสบการณใหเด็ก
ไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพ สงเสริมใหเด็กสังเกต สํารวจ สรางสรรค และยิ่งเด็กมีความกระตือรือรนย่ิงทําให
เด็กเกิดการเรียนรู ผูรับผิดชอบจึงตองสงเสริมสนับสนุน ใหความรัก ความเขาใจ ความเอาใจใสเด็กวัยน้ี
เปน พเิ ศษ เพราะจะเปน พน้ื ฐานทชี่ ว ยเตรยี มพรอ มใหเ ดก็ ประสบความสาํ เรจ็ ในการเรยี นและในชวี ติ ของเดก็ ตอ ไป
การนําหลักสูตรสูการปฏิบัติของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแตละแหง จึงมีความสําคัญอยางย่ิงตอ
การพัฒนาเด็ก และถือเปนหนาที่ของบุคลากรที่เก่ียวของทุกฝายจะตองศึกษาและทําความเขาใจในเอกสาร
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
สาํ หรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป ฉบบั นี้

เอกสารคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป ฉบับน้ี
แบงออกเปน ๓ ตอน คอื

ตอนท่ี ๑ ความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกอบดวย
แนวคิดของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และสาระสําคัญของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ตอนที่ ๒ การนําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สูการปฏิบัติ ประกอบดวย
การจดั ทําหลักสูตรสถานศกึ ษา การจดั ประสบการณ การจดั ทําแผนการจัดประสบการณ การจดั สภาพแวดลอม
ส่ือ และแหลง เรียนรเู พื่อสงเสริมพฒั นาการและการเรียนรูข องเด็ก และการประเมินพฒั นาการ

ตอนที่ ๓ การบริหารจดั การการศึกษาปฐมวัย ประกอบดว ย แนวทางการดาํ เนินการบริหารจดั การ
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย การใหความชวยเหลือเด็กที่มีปญหาพฤติกรรม การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
(เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป) สาํ หรบั กลมุ เปาหมายเฉพาะ และการสรา งรอยเช่ือมตอ ระหวา งการศกึ ษาระดับปฐมวยั กับ
ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑



ตอนท่ี ๑

ความรพู ื้นฐานเกี่ยวกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

การจัดการศึกษาปฐมวัยตามปรัชญาการศึกษาปฐมวัยและวิสัยทัศนของ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ บนพ้ืนฐานของความรูความเขาใจ
ในแนวคิดและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย มีสวนสําคัญย่ิงในการพัฒนาเด็ก
ท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาอยางเปนองครวม และสมดุล
ครบทุกดาน ผานการเลนอยางมีความหมาย นอกจากนี้ยังตองสอดคลองกับ
การทาํ งานของสมอง การเสรมิ สรางทักษะการคิดทเี่ ปน ประโยชนตอ การดําเนินชีวติ
ในอนาคต การอบรมเล้ียงดูเด็กดวยการสรางวินัยเชิงบวก รวมท้ังการใหการศึกษา
ท่ีมีคุณภาพดวยการจัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสมและเอ้ือตอการเรียนรู เพ่ือชวย
ใหเ ดก็ มพี ฒั นาการและเกดิ การเรยี นรตู ามจดุ หมายของหลกั สตู ร ดว ยวธิ กี ารประเมนิ
ตามสภาพจริงท่ีสะทอนถึงพัฒนาการและการเรียนรูท่ีแทจริงของเด็ก ซ่ึงครอบครัว
สถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และชมุ ชน ตอ งมสี ว นรว มรบั ผดิ ชอบในการ
พัฒนาเด็กใหมีคุณภาพชีวิตไปสูความเปนมนุษยที่สมบูรณ ภายใตบริบทของสังคม
วัฒนธรรม และความเปน ไทยกบั การอยูร ว มกันในสังคมพหวุ ัฒนธรรม

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป บทท่ี ๑

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ แนวคิดของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จดั ทาํ ขน้ึ โดยยดึ ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั วสิ ยั ทศั น
หลกั การ บนพน้ื ฐานแนวคดิ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การศกึ ษาปฐมวยั สากล และความเปน ไทย ครอบคลมุ การอบรมเลย้ี งดู
การพัฒนาเด็กอยางเปนองครวม และการสงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีสนองตอธรรมชาติและพัฒนาการ
ตามวัยของเด็ก ตลอดจนเจตคติท่ีดีตอการเรียนรูที่สงผลตอการเรียนรูตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ทสี่ อดคลอ งกบั การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและการสรา งรากฐานคณุ ภาพชวี ติ ใหแ กเ ดก็ และมงุ เนน การพฒั นาเดก็
แตละคนใหเต็มตามศักยภาพ ดวยความรวมมือของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ครอบครัว ชุมชน
สังคม และทุกฝา ยท่เี กีย่ วขอ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย สูก ารสรา งคนไทยทม่ี ีศกั ยภาพในอนาคต เพอื่ เปนกาํ ลัง
สําคัญในการพัฒนาประเทศไทยใหกาวหนาอยางย่ังยืน ทั้งน้ี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
พัฒนาขึน้ มาโดยอาศัยแนวคดิ ดงั นี้

๑. แนวคิดเก่ียวกับพฒั นาการเดก็ พัฒนาการเปน การเปลยี่ นแปลงท่เี กดิ ข้ึนตอ เน่อื งในตัวมนษุ ย
4 เรม่ิ ตงั้ แตป ฏสิ นธไิ ปจนตลอดชวี ติ ทงั้ ในดา นปรมิ าณและคณุ ภาพ พฒั นาการของเดก็ จะมลี าํ ดบั ขนั้ ตอนในลกั ษณะ

เดียวกันตามวัยของเด็ก แตอัตราการเจริญเติบโต และระยะเวลาในการผานข้ันตอนตางๆ ของเด็กแตละคน
อาจแตกตางกันได โดยในข้ันตอนแรกๆ จะเปนพ้ืนฐานสําหรับพัฒนาการขั้นตอไป พัฒนาการประกอบดวย
ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ซ่ึงพัฒนาการแตละดานมีความเก่ียวของและสัมพันธกัน
รวมทั้งสง ผลกระทบซ่ึงกนั และกัน

พฒั นาการแตล ะดา นมที ฤษฎเี ฉพาะอธบิ ายไว และสามารถนาํ มาใชใ นการพฒั นาเดก็ ในแตล ะดา น
อาทิ ทฤษฎีพัฒนาการดานรางกาย อธิบายวา การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก มีลักษณะตอเน่ือง
เปน ลาํ ดบั ขนั้ เดก็ จะพฒั นาถงึ ขน้ั ใดจะตอ งเกดิ วฒุ ภิ าวะของความสามารถขนั้ นนั้ กอ น ทฤษฎพี ฒั นาการดา นอารมณ
จิตใจ และสังคม ระบุวา การอบรมเลี้ยงดูในวัยเด็กสงผลตอบุคลิกภาพของเด็กเม่ือเติบโตเปนผูใหญ ความรัก
และความอบอุนเปนพ้ืนฐานสําคัญของความเชื่อม่ันในตนเองของเด็ก ซ่ึงจะทําใหเด็กมีความไววางใจในผูอื่น
เห็นคุณคาของตนเอง มีความเช่ือม่ันในความสามารถของตนเอง ทํางานรวมกับผูอ่ืนไดดี เคารพผูอื่น ซึ่งเปน
พ้ืนฐานสําคัญของความเปนประชาธิปไตย และทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญา อธิบายวา เด็กเกิดมา
พรอ มวฒุ ภิ าวะและความสามารถในการเรียนรู ซึง่ จะพฒั นาข้นึ ตามอายุ ประสบการณ รวมท้งั คานิยมทางสงั คม
และสงิ่ แวดลอมท่เี ด็กไดร ับ

แนวคิดเกีย่ วกบั พฒั นาการเด็กจึงเปน เสมือนหน่งึ แนวทางใหผ ูสอนหรอื ผูเ ก่ยี วขอ งไดเขาใจเด็ก
สามารถอบรมเลี้ยงดูและสงเสริมกระบวนการเรียนรูที่สนองตอธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยและความแตกตาง
ของแตล ะบคุ คล เพอื่ สงเสรมิ เฝาระวัง และชวยแกไ ขปญ หาใหเ ด็กไดพฒั นาจนบรรลุผลตามเปา หมายท่ีตอ งการ
ไดชดั เจนข้นึ

๒. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กอยางเปนองครวมและการปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
การพฒั นาเดก็ อยา งเปน องคร วม เปน การคาํ นงึ ถงึ ความสมดลุ และครอบคลมุ พฒั นาการของเดก็ ใหค รบทกุ ดา น ในการดแู ล
พัฒนา และจัดประสบการณการเรียนรูใหแกเด็กตองไมเนนที่ดานใดดานหนึ่ง จนละเลยดานอ่ืนๆ ซึ่งในแตละดาน 5
ของพัฒนาการทัง้ ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา มีองคป ระกอบตางๆ ท่ตี อ งการการสง เสรมิ
ใหเด็กเจริญเติบโต และมีพัฒนาการสมวัยอยางเปนลําดับขั้นตอน ซ่ึงการปฏิบัติท่ีเหมาะสมกับพัฒนาการ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
เปนแนวทางที่สําคัญในการตัดสินใจที่จะปฏิบัติตอเด็กดวยความรูความเขาใจ ท่ีประกอบดวย ความเหมาะสม
กบั วยั หรอื อายขุ องเดก็ วา พฒั นาการในชว งวยั นน้ั ๆ ของเดก็ เปน อยา งไร ตอ งการการสง เสรมิ อยา งไร การมคี วามรู
ทางพัฒนาการตามชวงวัย จะทําใหสามารถทํานายพัฒนาการในลําดับตอไปได และสามารถวางแผนการจัด
ประสบการณเ พอื่ สง เสรมิ พฒั นาการและชว ยเหลอื เดก็ ไดอ ยา งเหมาะสม สาํ หรบั ความเหมาะสมกบั เดก็ แตล ะคน
เปนการคํานึงถึงเด็กเปนรายบุคคลที่มีความชอบ ความสนใจ ความสามารถ และความถนัดที่แตกตางกัน
โดยใหความสําคัญกับความแตกตางระหวางบุคคลของเด็ก เพื่อการปฏิบัติตอเด็กที่คํานึงถึงเด็กเปนสําคัญ และ
ความเหมาะสมกับบรบิ ททางสังคมและวฒั นธรรมทเ่ี ด็กอาศัยอยู เปน การคํานึงถึงบรบิ ทท่ีแวดลอ มเดก็ เพ่ือให
การเรยี นรูของเด็กเกิดขึน้ อยางมคี วามหมายและมีความเกีย่ วของกับตวั เด็ก ครอบครวั และชมุ ชนทเ่ี ดก็ อาศยั อยู
ซ่ึงความรูความเขาใจดังกลาว สามารถใชในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณการเรียนรู
ทมี่ ีความหมาย การสรางกลมุ การเรียนรรู ว มกนั การประเมินพฒั นาการ และการสรางความสมั พันธท ดี่ รี ะหวาง
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยกับผูปกครองและชุมชน โดยยึดหลักการตัดสินใจในการปฏิบัติบน
ฐานความรู จากแนวคิดทฤษฎีและองคความรูท ี่ไดจ ากการวจิ ัย

๓. แนวคิดเก่ียวกับการจัดการเรียนรูท่ีสอดคลองกับการทํางานของสมอง สมองของเด็กเปน
สมองทสี่ รา งสรรคแ ละมกี ารเรยี นรทู เี่ กดิ ขนึ้ สมั พนั ธก บั อารมณ สมองเปน อวยั วะทส่ี าํ คญั มากทสี่ ดุ และมกี ารพฒั นา
ตั้งแตอยูในครรภมารดา โดยในชวงนี้เซลลสมองจะมีการพัฒนาเช่ือมตอและทําหนาท่ีในการควบคุมการทํางาน
พื้นฐานของรา งกาย สําหรับในชวงแรกเกดิ ถงึ อายุ ๓ ป จะเปน ชว งท่ีเซลลสมองเจริญเติบโตและขยายเครอื ขาย
ใยสมองอยางรวดเร็ว โดยปจจัยในการพฒั นาของสมอง ประกอบดวย พันธุกรรม โภชนาการ และสิ่งแวดลอม
สมองจะมพี ฒั นาการทสี่ าํ คญั ในการควบคมุ และมผี ลตอ การเรยี นรู ความคดิ จนิ ตนาการ ความฉลาด และพฒั นาการ
ทุกดาน การพัฒนาของสมองทําใหเ ดก็ ปฐมวัยสามารถเรยี นรสู ิ่งตางๆ ไดอ ยางรวดเรว็ กวาวยั ใด สําหรับแนวคิด
การจดั การเรยี นรทู ส่ี อดคลอ งกบั การทาํ งานของสมอง (Brain - based Learning) เปน การจดั กระบวนการเรยี นรู
ทส่ี มั พันธแ ละสอดคลอ งกับพัฒนาการทางสมอง โครงสรา งและการทาํ งานของสมองทีม่ กี ารพฒั นาอยา งเปนลําดับขั้น
ตามชวงวัย และมีความยืดหยุนทําใหการพัฒนาสมองเกิดขึ้นไดตลอดชีวิต การเชื่อมโยงตอกันของเซลลสมอง
ที่เปนเครือขายซับซอนและหนาแนนจะเกิดขึ้นกอนอายุ ๕ ป ซ่ึงเม่ือเซลลสมองและจุดเชื่อมตอเหลานี้ไดรับ
การกระตนุ มากขน้ึ เทา ใด ยงิ่ ทาํ ใหส มองมคี วามสามารถในการเรยี นรอู ยา งรวดเรว็ และจดจาํ ไดม ากขนึ้ แตห ากไมไ ด
รับการกระตุนจากประสบการณที่เด็กไดรับอยางหลากหลายจะไมเกิดการเชื่อมตอ โดยการกระตุนจุดเช่ือมตอ
เหลานั้นเกิดจากการที่เด็กไดรับประสบการณตรงจากการลงมือทํา ปฏิบัติดวยตนเองผานการใชประสาทสัมผัสทั้งหา
เก่ียวของสัมพันธกับชีวิตประจําวัน การเรียนรูท่ีสัมพันธกับพัฒนาการทางสมอง เปนการเรียนรูจากของจริง
ไปหาสญั ลกั ษณ จากงา ยไปหายาก จากรูปธรรมไปสนู ามธรรม โดยคาํ นงึ ถึงความสามารถตามวยั และพัฒนาการ
อยางไรก็ตาม เมื่อสมองเจรญิ เตบิ โตในชวงวัยตา งๆ และเร่มิ มีความสามารถในการทาํ หนา ทใ่ี นชว งเวลาทตี่ า งกัน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป จะเห็นวาการเรียนรูและทักษะบางอยางจะเกิดข้ึนไดดีท่ีสุดในชวงเวลาหน่ึงท่ีเรียกวา “หนาตางโอกาสของ
การเรยี นร”ู ซงึ่ เมอ่ื ผา นชว งเวลานนั้ ในแตล ะชว งวยั ถา สมองไมไ ดร บั การกระตนุ หรอื ไดร บั ประสบการณท เี่ หมาะสม
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ โอกาสที่จะฝกอาจยากหรือทําไมไดเลย ผูสอนหรือผูเก่ียวของจึงเปนคนสําคัญที่จะตองคอยสังเกต และใชโอกาสนี้
ชว ยเดก็ เพื่อกาวไปสูความสามารถเฉพาะดานในแตละชวงวยั

สําหรับชวงปฐมวัยเปนชวงโอกาสที่สําคัญในการพัฒนาทักษะสมอง หรือ EF (Executive
Function) ซ่ึงเปนกระบวนการทางความคิดของสมองสวนหนา ทําหนาท่ีเก่ียวของกับการคิด ความรูสึก และ
การกระทาํ โดยสมองสว นนก้ี าํ ลงั พฒั นามากทส่ี ดุ เปน ชว งของการพฒั นาความสามารถในการคดิ การจดั ระเบยี บ
ตนเอง ซึง่ สง ผลตอการยับย้ังช่ังใจ การคิดไตรต รอง การควบคุมอารมณ การยืดหยนุ ทางความคิด การใสใจจดจอ
การวางแผน การต้ังเปาหมาย ความมุงมั่น การจดจํา การเรียกใชขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ การจัดลําดับ
ความสําคัญของเรื่องตางๆ และการลงมือทําอยางเปนขั้นตอนจนสําเร็จ ทักษะสมอง (EF) จึงเปนทักษะท่ีตอง
ไดรับการฝกฝนในชวี ติ ประจาํ วนั ของเดก็ ผานประสบการณต า งๆ หลากหลายทเี่ ปด โอกาสใหเ ด็กไดคิด ลงมือทาํ
เพอ่ื ใหเ กิดความพรอ ม และมีทกั ษะทส่ี ําคัญตอ ชีวิตในอนาคต

นอกจากนี้ สมองยงั เปน อวยั วะสาํ คญั สาํ หรบั การเรยี นรภู าษาและการสอ่ื สาร การเรยี นรภู าษาแม
ของเด็กจะเกิดขึ้นอยางเปนธรรมชาติ จากการปฏิสัมพันธกับพอแมและผูสอนหรือผูเก่ียวของในชีวิตประจําวัน
และสถานการณรอบตัว สมองมีตําแหนง รับรตู างๆ กัน ไดแ ก สวนรับภาพ สวนรบั เสียง สว นรับสมั ผัสและรบั รู
การเคลอ่ื นไหวสว นตา งๆ ของรา งกาย สมองสว นตา งๆ เหลา นพ้ี ฒั นาขนึ้ มาไดช า หรอื เรว็ ขน้ึ อยกู บั การกระตนุ ของ
6 สิ่งแวดลอมภายนอกโดยสมองเด็กมีความจําผานการฟง ตองการรับรูขอมูลเสียงพรอมเห็นภาพ เร่ิมรูจักเสียง
ที่เหมือนและแตกตาง และสามารถเรียนรูจังหวะของคําไดจากการฟงซํ้าๆ สมองของเด็กที่เขาใจเก่ียวกับภาพ
เสียง และสัมผัสแบบตางๆ มีความสําคัญมาก เพราะขอมูลจากภาพ เสียง และสัมผัสเหลาน้ีจะกอรูปขึ้นเปน
เรื่องราวท่ีจะรับรูและเขาใจซับซอนข้ึนเรื่อยๆ ไดในท่ีสุด สมองสวนหนานั้นมีหนาท่ีคิด ตัดสินใจ เช่ือมโยง
การรับรไู ปสูการกระทําท่เี ปน ลาํ ดบั ขั้นตอน สมองเด็กทสี่ ามารถเรียนรูภ าษาไดด ีตองอยูในส่ิงแวดลอ มของภาษา
ทีเ่ รียนรอู ยางเหมาะสมจงึ จะเรียนรูไดดี

๔. แนวคิดเก่ียวกับการเลนและการเรียนรูของเด็ก การเลนเปนกิจกรรมการแสดงออกของเด็ก
อยางอิสระตามความตองการ และจินตนาการสรางสรรคของตนเอง เปนการสะทอนพัฒนาการและการเรียนรู
ของเด็กในชีวิตประจําวัน จากการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งตางๆ บุคคล และสิ่งแวดลอมรอบตัว การเลนทําใหเกิด
ความสนกุ สนาน ผอนคลายและสงเสริมพฒั นาการท้ังดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสติปญญาของเด็ก
การเลน ของเด็กปฐมวยั จัดเปน หัวใจสาํ คัญของการจัดประสบการณก ารเรยี นรูท่เี หมาะสม ซึง่ การเลนอยา งมี
ความหมายเปนเคร่ืองมือในการเรียนรูข้ันพ้ืนฐานที่ถือวาเปนองคประกอบสําคัญในกระบวนการเรียนรูของเด็ก
ขณะทเ่ี ด็กเลน จะเกดิ การเรยี นรูไปพรอ มๆ กันดว ย จากการเลน เดก็ จะมโี อกาสเคลือ่ นไหวสว นตางๆ ของรางกาย
ไดใ ชประสาทสัมผัสและการรับรู ผอนคลายอารมณและแสดงออกถงึ ตนเอง ไดเ รยี นรูความรสู กึ ของผูอ ื่น เดก็ จะ
รูสึกสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ ไดสงั เกต มีโอกาสสาํ รวจ ทดลอง คดิ สรางสรรค คดิ แกป ญ หาและคน พบดวยตนเอง
การเลนชวยใหเด็กเรียนรูสิ่งแวดลอม บุคคลรอบตัว และสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทางดานรางกาย อารมณ
จิตใจ สงั คม และสตปิ ญญา กาวหนาไปตามวยั อยางมคี ุณภาพ

การเรยี นรูของเดก็ ปฐมวัยเปนผลสืบเน่ืองมาจากประสบการณต างๆ ที่ไดร ับ การเปลยี่ นแปลง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
พฤติกรรมเกดิ ขึ้นจากกระบวนการทเ่ี ด็กมปี ฏิสมั พนั ธก บั บคุ คลและส่ิงแวดลอ มรอบตัว เพอ่ื ใหเ กิดการสรางองคความรู
ดวยตนเอง และการถายทอดจากผูที่มีประสบการณและมีความรูมากกวา ทําใหเกิดการพัฒนาทักษะการคิด 7
และความคิดสรางสรรค พัฒนาภาษา ความรูความเขาใจในส่ิงตางๆ รอบตัว ทักษะพื้นฐานท่ีสําคัญและ
ความสามารถในดานตางๆ ตลอดจนเจตคติที่ดีตอการเรียนรูของเด็ก รวมทั้งความรูสึกท่ีดีตอตนเอง บุคคล คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
สิ่งตางๆ และสถานการณรอบตัว การเรียนรูควรมีการจัดสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการเรียนรู โดยเปนกิจกรรม
ท่ีเปดโอกาสใหเด็กเลือกตามความสนใจ ลงมือกระทําผานส่ือ อุปกรณ และของเลนท่ีตอบสนองการเรียนรู
และมีความยืดหยนุ การเรียนรขู องเดก็ สว นใหญเปนกิจกรรมที่เก่ียวกับการลองผดิ ลองถูก การไดส มั ผสั กระทํา
และการกระทาํ ซาํ้ ๆ เดก็ จะมคี วามสนใจ อยากรอู ยากเหน็ เกดิ การคน พบและการแกป ญ หา ความเขา ใจในตนเอง
และผูอ่ืน ผูใหญควรเปนผูสนับสนุนวิธีการการเรียนรู รวมทั้งการสรางความทาทายและสงเสริมใหเด็กไดเรียนรู
จากประสบการณจ รงิ ดว ยตวั เดก็ เองในสภาพแวดลอ มทอ่ี สิ ระ เออื้ ตอ การเรยี นรแู ละเหมาะสมกบั ระดบั พฒั นาการ
ของเด็กแตละคน

๕. แนวคดิ เกยี่ วกับการคาํ นึงถึงสทิ ธิเดก็ การสรา งคณุ คา และสุขภาวะใหแ กเ ดก็ ปฐมวัยทกุ คน
เด็กปฐมวัยควรไดรับการดูแลและพัฒนาอยางทั่วถึงและเทาเทียมกันทุกคน โดยมีสิทธิในการอยูรอด สิทธิไดรับ
การคมุ ครอง สทิ ธใิ นดา นพฒั นาการ และสทิ ธกิ ารมสี ว นรว มตามทกี่ ฎหมายระบไุ ว เดก็ แตล ะคนมคี ณุ คา ในตนเอง
และควรสรางคุณคาและคุณภาพชีวิตใหเกิดกับเด็กจากการอบรมเลี้ยงดู และการใหการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
พรอมกับการสงเสริมดานสุขภาวะทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา จากการไดรับโภชนาการท่ีดี
การดแู ลสขุ ภาพอนามยั การมโี อกาสพกั ผอ น เลน การปกปอ งคมุ ครองจากการเจบ็ ปว ย และบาดเจบ็ จากอบุ ตั เิ หตุ
ตลอดจนการอยใู นสภาพแวดลอ มทส่ี ะอาด ปลอดภยั และถกู สขุ อนามยั อนงึ่ สาํ หรบั เดก็ ปฐมวยั ทเ่ี ปน กลมุ เดก็ ทม่ี ี
ความตองการพเิ ศษหรือกลมุ เปาหมายเฉพาะ ควรไดรับการดูแล ชว ยเหลอื และพัฒนาอยางเหมาะสมเชนกนั

๖. แนวคิดเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูควบคูการใหการศึกษา การจัดการศึกษาปฐมวัยมุงพัฒนา
เด็กบนพื้นฐานของการอบรมเลี้ยงดูควบคูกับการใหการศึกษา หรือการสงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีสนองตอ
ธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแตละคนอยางเปนองครวม การอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยหมายรวมถึง
การดแู ลเอาใจใสเด็กดว ยความรัก ความอบอุน ความเอ้อื อาทร การดูแลสขุ ภาพ โภชนาการและความปลอดภยั
และการอบรมกลอมเกลาใหเ ดก็ มีจติ ใจดี มปี ฏสิ ัมพนั ธท ่ดี ีกบั ผูอ ื่น มกี ารดาํ เนินชวี ิตทีเ่ หมาะสม และมที ักษะชีวิต
การมีปฏิสัมพันธที่ดีตอเด็ก การเปนแบบอยางท่ีดีใหแกเด็ก และการปฏิบัติตนของผูใหญที่ดูแลเด็ก ที่มุงตอบสนอง
ความตองการท้ังดานรางกายและจิตใจของเด็ก โดยมุงใหเด็กมีรางกายแข็งแรง มีสุขภาพดี อารมณแจมใส
มคี วามประพฤตดิ ี มีวนิ ัย รจู กั ควบคมุ ตนเอง มคี วามสัมพนั ธท ่ดี กี ับผอู นื่ การอบรมเลี้ยงดูท่มี ผี ลดีตอพัฒนาการ
ของเดก็ คือ การทผี่ ูใหญท ี่แวดลอ มเด็กใหค วามรกั ความอบอนุ การยอมรบั ความคดิ เห็นของเด็ก การใชเหตผุ ล
ในการอบรมเลย้ี งดู ผใู หญท ด่ี แู ลเดก็ จะตอ งเปน ผทู มี่ คี วามมนั่ คงทางอารมณแ ละปฏบิ ตั ติ นเปน แบบอยา งทด่ี แี กเ ดก็
ใชการสรางวินัยเชิงบวกในการอบรมบมนิสัย ซึ่งจะชวยใหเด็กเติบโตข้ึนเปนผูท่ีมีความภาคภูมิใจในตนเอง
มีเปาหมายชีวิต มีวินัยในตนเอง มีสัมพันธภาพที่ดีตอผูอื่น สามารถจัดการกับความเครียดและปญหาตางๆ ได
การอบรมเล้ียงดูจึงเปนแนวคิดสําคัญที่ครอบครัวและสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองปฏิบัติ
อยา งสอดคลอ งตอเน่อื งกนั

สําหรับการใหการศึกษาเด็กในชวงปฐมวัยน้ัน ผูสอนตองเปลี่ยนบทบาทจากผูบอกความรู
หรือสั่งใหเด็กทํา มาเปนผูอํานวยความสะดวกและสงเสริมกระบวนการเรียนรูโดยการจัดส่ิงแวดลอม
และประสบการณท ห่ี ลากหลายผา นกจิ กรรมทเี่ หมาะสมตามวยั ใหเ ดก็ เรยี นรดู ว ยวธิ กี ารตา งๆ จากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ
และคนพบดวยตนเอง มีการกําหนดจุดมุงหมายและการวางแผนในการจัดประสบการณและกิจกรรม
ทัง้ รายบุคคล กลุมยอ ย และกลุมใหญ เพ่อื ใหเ ด็กไดร บั การพฒั นาอยางเปนองคร วม ท้ังรา งกาย อารมณ จิตใจ
สงั คม และสติปญญา โดยคํานึงถงึ เด็กเปนสําคญั และพฒั นาเดก็ แตล ะคนอยางเตม็ ศักยภาพ

๗. แนวคดิ เกยี่ วกบั การบรู ณาการ เดก็ ปฐมวยั เปน ชว งวยั ทเี่ รยี นรผู า นการเลน และการทาํ กจิ กรรม

ที่เหมาะสมตามวัย เปนหนาท่ีของผูสอนตองวางแผนโดยบูรณาการทั้งวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ศิลปะ ภาษา

ดนตรี และการเคลื่อนไหว คุณธรรม จริยธรรม สุขภาพอนามัย และศาสตรอื่นๆ โดยไมแบงเปนรายวิชา
แตจะมีการผสมผสานความรู ทักษะกระบวนการ และเจตคติของแตละศาสตรในการจัดประสบการณ

ซึ่งแตกตางจากการเรียนรูในระดับช้ันอื่นๆ เปนการจัดประสบการณการเรียนรูอยางเปนธรรมชาติเหมาะสม

ตามวัยของเด็ก เพ่ือพัฒนาเด็กทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา โดยการจัดประสบการณ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป การเรยี นรูบรู ณาการผา นสาระการเรียนรูทีป่ ระกอบดวย ประสบการณสาํ คัญดานรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม

และสติปญญา และสาระที่ควรเรียนรู ไดแก ตัวเด็ก บุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว

และสิ่งตา งๆ รอบตัวเด็ก โดยออกแบบการจัดประสบการณและกจิ กรรมทีท่ าํ ใหเ กดิ ความหลากหลาย ภายใต

สาระการเรยี นรทู งั้ ประสบการณส าํ คญั และสาระทคี่ วรเรยี นรทู มี่ กี ารเชอ่ื มโยงกบั การพฒั นามาตรฐานคณุ ลกั ษณะ

8 ที่พึงประสงคของเด็ก และความสอดคลองกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของหลักสูตร โดยมีรูปแบบ
การจดั ประสบการณต ามความเหมาะสมของแตล ะสถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ทงั้ น้ี ประสบการณ

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การเรียนรูของเด็กจะจัดขึ้นโดยคํานึงถึงธรรมชาติของเด็กท่ีเรียนรูผานการเลน การลงมือปฏิบัติ การสํารวจ

การทดลอง การสรางช้ินงานที่สรางสรรค และการเห็นแบบอยางที่ดี การจัดประสบการณการเรียนรูอยาง

หลากหลายจะชวยตอบสนองตอความแตกตางระหวางบุคคลสงเสริมความชอบ ความสนใจ และความถนัด

ซ่ึงเปนการเปดโอกาสใหเด็กไดพัฒนาอยางรอบดาน พัฒนาทักษะชีวิต และทักษะการเรียนรูท่ีสอดคลอง

กับธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็กที่มีความแตกตางกันไปในแตละบุคคล การจัดประสบการณ

การเรียนการสอนในระดับปฐมวัยยึดหลักการบูรณาการท่ีวา หนึ่งแนวคิดเด็กสามารถเรียนรูไดหลายกิจกรรม
หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรูไดหลายทักษะและหลายประสบการณสําคัญ ดังน้ัน ผูสอนจะตองวางแผน
การจัดประสบการณในแตละวันใหเ ด็กเรยี นรผู า นการเลนทีห่ ลากหลายกจิ กรรม หลากหลายทักษะ หลากหลาย

ประสบการณสําคัญ อยางเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการ เพื่อใหบรรลุจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

พุทธศักราช ๒๕๖๐

๘. แนวคิดเกี่ยวกบั ส่อื เทคโนโลยี และสภาพแวดลอมท่ีเออ้ื ตอ การเรยี นรู ผูส อนสามารถนําสือ่
เทคโนโลยี และการจดั สภาพแวดลอ มทเี่ ออ้ื ตอ การเรยี นรมู าสนบั สนนุ และเสรมิ สรา งการเรยี นรขู องเดก็ ปฐมวยั ได
โดยสื่อเปนตัวกลางและเคร่ืองมือเพ่ือใหเด็กเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคท่ีวางไว ส่ือสําหรับเด็กปฐมวัยน้ัน
สามารถเปนบุคคล วัสดุ อุปกรณ ของเลน ตลอดจนเทคนิควิธีการ ที่กําหนดไวไดอยางงายและรวดเร็ว ทําให
สิ่งที่เปนนามธรรมเขาใจยากกลายเปนรูปธรรม เกิดการเรียนรูและคนพบดวยตนเอง การใชส่ือการเรียนรู

ตอ งปลอดภัยตอตวั เด็กและเหมาะสมกบั วยั วฒุ ภิ าวะ ความแตกตางระหวางบคุ คล ความสนใจ ความชอบ และ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ความตองการของเด็กที่หลากหลาย ควรมีส่ือท่ีเปนส่ือของจริง ส่ือธรรมชาติ ส่ือที่อยูใกลตัวเด็ก ส่ือสะทอน
วฒั นธรรม สอื่ ภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ และสอื่ เพอ่ื พฒั นาเดก็ ในดา นตา งๆ ใหค รบทกุ ดา น ทง้ั น้ี สอ่ื ตอ งเออ้ื ใหเ ดก็ เรยี นรู 9
ผา นประสาทสมั ผสั ทงั้ หา และสง เสรมิ การลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ของเดก็ โดยการจดั สอ่ื สาํ หรบั เดก็ ปฐมวยั ตอ งเรมิ่ ตน จาก
สอ่ื ของจรงิ ของจาํ ลอง (๓ มติ )ิ ภาพถา ย ภาพโครงรา ง (๒ มติ )ิ และสญั ลกั ษณจ ากรปู ธรรมไปสนู ามธรรมตามลาํ ดบั คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

สําหรับเทคโนโลยีเขามามีบทบาทตอการดํารงชีวิตเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง เพื่อการตอบสนอง
ความตอ งการและการแกป ญ หาในชวี ิตประจาํ วัน เทคโนโลยสี ําหรบั เด็กปฐมวยั สามารถเปน อปุ กรณ เครอ่ื งมอื
เคร่อื งใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ของเลน เดก็ และวธิ กี ารใหมๆ ในการแกปญ หาในชวี ติ ประจาํ วัน การใชเทคโนโลยี
ท่ีเหมาะสมตองเปนการเลือกใชอยางมีจุดมุงหมาย เครื่องมือประเภทดิจิตอลและอิเล็กทรอนิกสเปน
สง่ิ ทไ่ี มเ หมาะสมตอ การใชก บั เดก็ อายตุ าํ่ กวา ๓ ป สาํ หรบั เดก็ อายตุ งั้ แต ๓ ปข นึ้ ไป ควรใชก บั เดก็ อยา งมจี ดุ มงุ หมาย
และใชเปนส่ือปฏิสัมพันธ จํากัดชวงเวลาในการใช และมีขอตกลงในการใชอยางเหมาะสมกับวัย โดยใชเปน
ทางเลือกไมบงั คบั ใช และไมใ ชเทคโนโลยเี พอื่ เสริมสือ่ หลกั

สว นการจดั สภาพแวดลอ มทเ่ี ออื้ ตอ การเรยี นรู เปน การจดั เตรยี มสภาพแวดลอ มทง้ั ทางกายภาพ
และทางจิตภาพ ท้ังภายในและภายนอกหองเรียนเพ่ือเสริมสรางประสบการณและสนับสนุนการเรียนรูของเด็ก
รวมทั้งการสงเสริมบรรยากาศที่ดีสําหรับการเรียนรู โดยมุงใหผูสอนและเด็กมีความสัมพันธท่ีดีตอกัน
สภาพแวดลอมท่ดี ีควรสะอาด ปลอดภัย อากาศสดช่ืน ผอ นคลาย ไมเ ครยี ด เดก็ มีโอกาสเรียนรเู กยี่ วกับตัวเอง
และพฒั นาการอยรู วมกับผูอ ื่นในสังคม

๙. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินตามสภาพจริง การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยยึด
วธิ กี ารสงั เกตเปนสว นใหญ เปน กระบวนการทต่ี อเน่ืองและสอดคลองสมั พนั ธกับการจัดประสบการณการเรยี นรู
รวมทั้งกิจกรรมประจําวัน โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือใหไดขอมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก สําหรับ
การสงเสริมความกาวหนา และชวยเหลือสนับสนุนเม่ือพบเด็กลาชาหรือมีปญหาท่ีเกิดจากพัฒนาการและการเรียนรู
ไมใชการตัดสินผลการศึกษาและไมใชแบบทดสอบในการประเมิน เปนการประเมินตามสภาพจริงที่มีการ
วางแผนอยา งเปนระบบ ใชวิธีการและเคร่ืองมอื ประเมนิ ทหี่ ลากหลายอยา งมจี ุดมุงหมาย เหมาะสมกบั ศักยภาพ
ในการเรยี นรแู ละพฒั นาการตามวยั ของเดก็ ตลอดจนรปู แบบการเรยี นรู ประสบการณท เ่ี ดก็ ไดร บั และแหลง ขอ มลู
ที่เก่ียวของกับตัวเด็กที่มีการเก็บขอมูลอยางรอบดาน โดยใชเร่ืองราวเหตุการณ กิจกรรมตามสภาพจริงหรือ
คลา ยจรงิ ในชวี ติ ประจาํ วนั เพอื่ ใหเ ดก็ มโี อกาสแสดงออกถงึ ความรู ความสามารถ และทกั ษะตา งๆ จากการปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมหรือการสรางงานท่ีเปนผลผลิตเพือ่ เปนการสะทอ นภาพท่ีแทจ รงิ มีการนาํ เสนอหลกั ฐานในการประเมนิ
ทนี่ า เชอ่ื ถอื ในรปู แบบทเ่ี หมาะสม เพอื่ สอื่ สารผลการประเมนิ ใหแ กค รอบครวั รวมทง้ั ผเู กยี่ วขอ งทมี่ สี ว นรว มในการ
พฒั นาเดก็ โดยสามารถบอกไดว า เดก็ เกดิ การเรยี นรแู ละมคี วามกา วหนา เพยี งใด ขอ มลู จากการประเมนิ พฒั นาการ
จะชวยผูสอนในการวางแผนการจัดกิจกรรมชี้ใหเห็นความตองการพิเศษของเด็กแตละคน ใชเปนขอมูลในการ
สอ่ื สารกบั พอ แม ผปู กครองเดก็ และขณะเดยี วกนั ยงั ใชใ นการประเมนิ คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษา
ใหกับเด็กในวัยน้ไี ดอีกดวย

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑๐. แนวคิดเก่ียวกับการมีสวนรวมของครอบครัว สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
และชุมชน การพัฒนาเด็กอยางมีคุณภาพตองอาศัยความรวมมือของทุกฝายที่เกี่ยวของกับเด็ก ซึ่งพอแม
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ผูปกครอง รวมทั้งบุคคลในครอบครัวเปนผูที่อยูใกลชิดเด็กมากท่ีสุด และครอบครัวเปนจุดเร่ิมตนในการเรียนรู
ของเด็ก สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจะเปนสวนสําคัญที่อบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก จึงไมเพียงแต
แลกเปลี่ยนความรูเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กเทาน้ัน แตยังตองมีการทํางานรวมกับครอบครัวและชุมชนที่มี
รูปแบบตางๆ เพื่อการพัฒนาเด็กรวมกัน เชน โปรแกรมการใหการศึกษาแกผูปกครองในการดูแลและพัฒนา
เด็ก โปรแกรมการชวยเหลือครอบครัวและเด็กในดานสุขภาพอนามัย โภชนาการ และการสงเสริมพัฒนาการ
การเย่ียมบานเด็ก การสรางชวงรอยเชื่อมตอระหวางการศึกษาระดับอนุบาลกับระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑
หรือเขาสูสถานศึกษา การสื่อสารกับผูปกครองในชองทางตางๆ ที่เหมาะสม การขออาสาสมัครผูปกครองท่ี
มีความสามารถหลากหลาย มีเวลา หรือตองการชวยเหลือสนับสนุนในการทํากิจกรรมตางๆ การสนับสนุน
การเรียนรูของเด็กท่ีบานที่เชื่อมตอกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การเปดโอกาสใหผูปกครองมีสวนรวมในการ
ตัดสินใจในการดําเนินงานของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การสรางความรวมมือใหชุมชน
มีสวนรวมในการจัดกิจกรรม การใหบริการและสนับสนุนตลอดจนการเปนแหลงเรียนรูของเด็ก โดยการ
มีสวนรวมที่มีประสิทธิภาพจะตองอาศัยความไววางใจ ความเคารพซ่ึงกันและกัน รวมท้ังการรวมรับผิดชอบ
สาํ หรับการจัดการศกึ ษาใหแ กเดก็ ปฐมวยั อยา งมคี ุณภาพ

๑๑. แนวคดิ เกี่ยวกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความเปน ไทย และความหลากหลาย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี สงผลตอวิถีชีวิตและการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเด็ก
10 สูอนาคต อยางไรก็ตาม เด็กเมื่อเกิดมาจะเปนสวนหน่ึงของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งไมเพียงแตจะไดรับอิทธิพล

จากการปฏบิ ตั แิ บบด้งั เดิมตามประเพณี มรดก และการถา ยทอดความรภู ูมิปญญาของบรรพบุรุษแลว ยังไดร ับอิทธิพล
จากประสบการณ คานยิ ม และความเชอ่ื ของบุคคลในครอบครัวและชมุ ชนของแตล ะทดี่ วย โดยบรบิ ททางสังคม
และวฒั นธรรมทเ่ี ดก็ อาศยั อยหู รอื แวดลอ มรอบตวั เดก็ มอี ทิ ธพิ ลตอ พฒั นาการและการเรยี นรู ตลอดจนการพฒั นา
ศักยภาพของแตละคน ผสู อนควรตอ งเรยี นรูบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของเด็กท่ีตนรบั ผดิ ชอบ เพ่อื ชว ยให
เด็กไดรับการพัฒนาและเกิดการเรียนรูและดําเนินชีวิตอยูในกลุมคนท่ีมาจากพ้ืนฐานเหมือนหรือตางจากตน
ไดอ ยางราบรืน่ มคี วามสุข เปนการเตรยี มเด็กไปสูส งั คมในอนาคตกับการอยรู ว มกบั ผอู นื่ การทาํ งานรว มกบั ผอู น่ื
ท่มี ีความหลากหลายทางความคิด ความเชอ่ื และวฒั นธรรม โดยคํานงึ ถงึ ความเปนไทยท่ีมมี รดกทางวัฒนธรรม
ทงั้ ในดา นภาษา มารยาท คณุ ธรรมจริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีทงี่ ดงาม และที่สาํ คญั คอื หลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งทเี่ ปน หลกั คดิ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ทเ่ี นน ความพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ มุ กนั การใชค วามรคู วบคคู ณุ ธรรม
โดยในการจัดการศึกษาตองมีการคํานึงถึงทั้งดานเชื้อชาติ ศาสนา เศรษฐสถานะ เพศ วัย ความตองการพิเศษ
ที่เปนความแตกตางระหวางบุคคล โดยสามารถพัฒนาใหเด็กมีความเขาใจในตนเอง เขาใจผูอ่ืน และอยูรวมกับ
ผูอ่ืนได ในแนวคิดและความหลากหลายเทาทันการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็วและรอบดาน โดย
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยสามารถจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีอัตลักษณ มีการวางแผน
การจัดประสบการณการเรียนรูและการจัดกิจกรรมท่ีสรางความเช่ือมโยงกับสังคม วัฒนธรรม ความเปนไทย
และความหลากหลาย

จากแนวคิดของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท่ีสําคัญเกี่ยวกับพัฒนาการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ของเด็กที่มีความสัมพันธ และพัฒนาตอเน่ืองเปนขั้นตอนไปพรอมทุกดาน แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็ก
อยางเปนองครวมและการปฏบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับ
การทํางานของสมอง ซึ่งสมองหากไดรับการกระตุนจะมีความสามารถในการเรียนรู และจดจําไดมากข้ึน
แนวคิดเกี่ยวกับการเลนและการเรียนรูท่ียึดใหเด็กไดเรียนรูจากประสบการณจริงดวยตัวเด็กในสิ่งแวดลอม
ท่ีเปนอิสระเอื้อตอการเรียนรูและจัดกิจกรรมบูรณาการใหเหมาะสมกับระดับพัฒนาการของเด็กแตละคน
โดยถือวาการเลนอยางมีความหมายเปนหัวใจสําคัญของการจัดประสบการณใหเด็กและแนวคิดเกี่ยวกับการมี
สวนรวมของครอบครวั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความเปน ไทยและความหลากหลาย ซ่ึงมอี ิทธิพลตอ
การเรียนรู การพฒั นาศกั ยภาพและพัฒนาการของเด็กแตละคน และจากพระราชบญั ญตั ิการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตราตา งๆ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จึงกําหนดสาระสําคัญของหลักสตู ร
การศกึ ษาปฐมวยั สาํ หรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป ขึ้น ซงึ่ จะกลา วรายละเอียดตอไป

11

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป บทท่ี ๒

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ สาระสาํ คญั ของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดสาระสําคัญไวใหสถานศึกษาหรือ
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยยึดเปนแนวทางเพ่ือดําเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่หนวยงาน
ของตนรับผิดชอบ โดยตองทําความเขาใจใหชัดเจนในเร่ืองของปรัชญาการศึกษาปฐมวัย วิสัยทัศน หลักการ
จดุ หมาย มาตรฐานคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค ตัวบง ชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค การจัดเวลาเรียน และสาระการเรียนรู
ดงั นี้

ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัย

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ กาํ หนดปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยทีส่ ะทอ นใหเห็น
ความเช่ือพ้ืนฐานในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตง้ั แตอ ายุแรกเกดิ ถงึ ๖ ปบริบูรณ โดยเห็นความสําคัญของการพฒั นา
เด็กโดยองครวม การคํานึงถึงความสมดุลและครอบคลุมพัฒนาการของเด็กครบทุกดานในการอบรมเล้ียงดู
12 พัฒนาและสงเสริมกระบวนการเรียนรูของเด็ก ท่ีผูสอนตองยอมรับความแตกตางของเด็ก ปฏิบัติตอเด็ก
แตล ะคนอยา งเหมาะสม โดยผสู อนใหค วามรกั ความเออ้ื อาทร มคี วามเขา ใจในการพฒั นาเดก็ ใหเ ปน มนษุ ยท สี่ มบรู ณ
ทงั้ ดา นรา งกาย อารมณ จิตใจ สติปญญา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และอยรู วมกับผูอ น่ื ไดอ ยางมคี วามสขุ ดังน้ี

ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัย

การศึกษาปฐมวัย เปนการพัฒนาเด็กตั้งแตแรกเกิดถึง ๖ ปบริบูรณอยางเปนองครวม บนพ้ืนฐาน
การอบรมเล้ียงดูและการสงเสริมกระบวนการเรียนรูที่สนองตอธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็ก
แตละคนใหเต็มตามศักยภาพ ภายใตบริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู ดวยความรัก
ความเอื้ออาทร และความเขาใจของทุกคน เพ่ือสรางรากฐานคุณภาพชีวิตใหเด็กพัฒนาไปสูความเปน
มนุษยท่ีสมบูรณ เกิดคุณคาตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

วสิ ยั ทศั น

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดวิสัยทัศนที่สะทอนใหเห็นความคาดหวัง
ทเ่ี ปน จรงิ ไดใ นอนาคต ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม คี ณุ ภาพผา นประสบการณท เี่ ดก็ ปฐมวยั เรยี นรอู ยา งมคี วามสขุ
มีทักษะชีวิต ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนคนดี มีวินัย และสํานึกความเปนไทย
และทกุ ฝา ยทั้งครอบครัว สถานศกึ ษาหรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั และชมุ ชนรวมมือกันพัฒนาเดก็ ดงั นี้

วิสยั ทัศน

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุงพัฒนาเด็กทุกคนใหไดรับการพัฒนาดานรางกาย อารมณ จิตใจ
สังคม และสติปญญาอยางมีคุณภาพและตอเน่ือง ไดรับการจัดประสบการณการเรียนรูอยางมีความสุข
และเหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนคนดี
มวี นิ ยั และสาํ นกึ ความเปน ไทย โดยความรว มมอื ระหวา งสถานศกึ ษา พอ แม ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝา ย
ทเี่ กีย่ วขอ งกบั การพัฒนาเด็ก

หลักการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ กําหนดหลกั การสาํ คัญในการจดั การศึกษาปฐมวยั 13
ซงึ่ ผสู อนจาํ เปน ตอ งศกึ ษาใหเ ขา ใจ เพราะในการจดั ประสบการณใ หเ ดก็ อายุ ๓ - ๖ ป จะตอ งยดึ หลกั การอบรมเลยี้ งดู
ควบคูกับการใหการศึกษา โดยตองคํานึงถึงความสนใจและความตองการของเด็กทุกคน ท้ังเด็กปกติ เด็กท่ีมี คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ความสามารถพิเศษ และเด็กที่มคี วามบกพรองทางรางกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม สตปิ ญญา รวมทง้ั การส่อื สาร
และการเรียนรู หรือเด็กท่ีมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพหรือบุคคลซ่ึงไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล
หรือดอยโอกาส เพ่ือใหเด็กพัฒนาทุกดาน ท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาอยางสมดุล
โดยจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลาย บรู ณาการผา นการเลน และกจิ กรรมทเ่ี ปน ประสบการณต รงผา นประสาทสมั ผสั ทงั้ หา
เหมาะสมกับวัยและความแตกตางระหวางบุคคล ดวยปฏิสัมพันธที่ดีระหวางเด็กกับพอแม เด็กกับผูเลี้ยงดู
หรือบุคลากรที่มีความรูความสามารถในการอบรมเล้ียงดูและใหการศึกษาเด็กปฐมวัย เพ่ือใหเด็กแตละคน
ไดมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลําดับขั้นของพัฒนาการสูงสุดตามศักยภาพ และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยาง
มคี วามสขุ เปน คนดขี องสงั คม และสอดคลอ งกบั ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรม ความเชอ่ื
ทางศาสนา สภาพเศรษฐกจิ สงั คม และสทิ ธเิ ดก็ โดยความรว มมอื จากครอบครวั ชมุ ชน องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่
องคกรเอกชน สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอืน่ ดงั นี้

หลกั การ

๑. สงเสริมกระบวนการเรียนรแู ละพฒั นาการที่ครอบคลุมเดก็ ปฐมวยั ทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและใหการศึกษาที่เนนเด็กเปนสําคัญ โดยคํานึงถึงความแตกตาง

ระหวางบุคคลและวถิ ีชีวิตของเด็ก ตามบรบิ ทของชมุ ชน สังคม และวัฒนธรรมไทย
๓. ยดึ พฒั นาการและการพฒั นาเดก็ โดยองคร วม ผา นการเลน อยา งมคี วามหมาย และมกี จิ กรรม

ท่ีหลากหลาย ไดลงมือกระทําในสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู เหมาะสมกับวัย
และมีการพกั ผอ นเพียงพอ
๔. จัดประสบการณการเรียนรูใหเด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน คนดี มีวินยั และมคี วามสุข
๕. สรางความรู ความเขาใจ และประสานความรวมมือในการพัฒนาเด็ก ระหวา งสถานศึกษา
กบั พอ แม ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝา ยทเ่ี กย่ี วของกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป จดุ หมาย

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดจุดหมายเพื่อใหเกิดกับเด็กเมื่อ
จบการศึกษาระดบั ปฐมวยั แลว โดยจดุ หมายอยบู นพื้นฐานพัฒนาการทั้ง ๔ ดา น คอื ดานรา งกาย อารมณ จิตใจ
สังคม และสตปิ ญ ญา ที่นําไปสกู ารกาํ หนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค ตัวบงชี้ และสภาพทพ่ี ึงประสงค
ดงั น้ี

จุดหมาย

๑. รางกายเจรญิ เติบโตตามวัย แข็งแรง และมสี ุขนสิ ยั ทด่ี ี
๒. สขุ ภาพจติ ดี มีสนุ ทรียภาพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และจิตใจท่ีดงี าม
๓. มีทกั ษะชีวิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มวี ินยั และอยูรวมกบั

ผอู นื่ ไดอยา งมคี วามสุข
๔. มที กั ษะการคดิ การใชภาษาสอื่ สาร และการแสวงหาความรูไดเหมาะสมกบั วยั

มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค
จํานวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบดวย พัฒนาการดานรางกาย ๒ มาตรฐาน พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ
14 ๓ มาตรฐาน พัฒนาการดานสังคม ๓ มาตรฐาน และพัฒนาการดานสติปญญา ๔ มาตรฐาน กําหนดตัวบงช้ี
ซึ่งเปนเปาหมายในการพัฒนาเด็กท่ีมีความสัมพันธสอดคลองกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค และ
มีการกําหนดสภาพที่พึงประสงคซึ่งเปนพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่จําเปนสําหรับเด็กทุกคน
บนพน้ื ฐานพัฒนาการหรือความสามารถในแตละระดับอายุ คอื อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๔ - ๕ ป และอายุ ๕ - ๖ ป
อีกท้ังนําไปใชในการวิเคราะหสาระการเรียนรู เพื่อกําหนดเปนจุดประสงคการเรียนรูในการจัดประสบการณ
และการประเมินพัฒนาการเด็ก นอกจากสภาพที่พึงประสงคท่ีกําหนดในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ผูสอน
จําเปนตองทาํ ความเขาใจพฒั นาการของเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป เพ่ือนําไปพิจารณาจัดประสบการณใหเ ด็กแตล ะวัย
ไดอยางถูกตองเหมาะสม ขณะเดียวกันจะตองสังเกตเด็กแตละคนซึ่งมีความแตกตางระหวางบุคคล
เพื่อนําขอมูลไปชวยพัฒนาเด็กใหเต็มตามความสามารถและศักยภาพหรือชวยเหลือเด็กไดทันทวงที ในกรณี
สภาพท่ีพึงประสงคของเด็กไมเปนไปตามวัย ผูสอนจําเปนตองหาจุดบกพรองและรีบแกไขโดยจัดกิจกรรม
เพื่อพัฒนาเด็ก ถาเด็กมีสภาพท่ีพึงประสงคสูงกวาวัย ผูสอนควรจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการ
เต็มตามศักยภาพ สภาพที่พึงประสงคเกิดข้ึนตามวัยมากนอยแตกตางกันไปในเด็กแตละบุคคล ท้ังนี้ ขึ้นอยูกับ
สภาพแวดลอม การอบรมเลีย้ งดู และประสบการณท เ่ี ด็กไดรบั

รายละเอียดของมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค ตวั บง ช้ี และสภาพทพ่ี ึงประสงค มดี งั นี้

มาตรฐานที่ ๑ รางกายเจริญเตบิ โตตามวยั และมสี ุขนสิ ัยทดี่ ี

ตวั บง ชี้ อายุ ๓ - ๔ ป สภาพที่พงึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป

๑.๑ นาํ้ หนกั และสว นสูง ๑.๑.๑ น้ําหนกั และสว นสูง ๑.๑.๑ น้าํ หนักและสว นสงู ๑.๑.๑ นํ้าหนกั และสวนสูง
ตามเกณฑ ตามเกณฑของกรมอนามยั ตามเกณฑข องกรมอนามัย ตามเกณฑข องกรมอนามัย

๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามัย ๑.๒.๑ ยอมรับประทาน ๑.๒.๑ รับประทานอาหาร ๑.๒.๑ รับประทานอาหาร
สขุ นิสยั ทีด่ ี อาหารที่มปี ระโยชนและ ทีม่ ีประโยชนแ ละดื่มน้ํา ท่ีมีประโยชนไดหลายชนดิ
ดืม่ นํ้าสะอาดเม่ือมผี ชู ีแ้ นะ สะอาดไดด ว ยตนเอง และดม่ื นาํ้ สะอาดไดด วยตนเอง

๑.๒.๒ ลา งมอื กอ นรับประทาน ๑.๒.๒ ลา งมือกอนรับประทาน ๑.๒.๒ ลางมอื กอ นรับประทาน
อาหารและหลังจากใชหอ งนา้ํ อาหารและหลงั จากใชหองน้ํา อาหารและหลงั จากใชหองนํ้า
หอ งสว มเม่ือมีผชู ้แี นะ หองสวมดว ยตนเอง หอ งสวมดว ยตนเอง

๑.๒.๓ นอนพักผอ นเปน เวลา ๑.๒.๓ นอนพักผอนเปนเวลา ๑.๒.๓ นอนพกั ผอนเปนเวลา

๑.๒.๔ ออกกาํ ลงั กายเปน เวลา ๑.๒.๔ ออกกําลังกายเปน เวลา ๑.๒.๔ ออกกําลงั กายเปนเวลา

๑.๓ รักษาความปลอดภยั ๑.๓.๑ เลน และทํากิจกรรม ๑.๓.๑ เลน และทํากิจกรรม ๑.๓.๑ เลน ทาํ กจิ กรรม และ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ของตนเองและผอู ่นื อยางปลอดภยั เมอื่ มผี ูชีแ้ นะ อยางปลอดภยั ดวยตนเอง ปฏิบัตติ อ ผอู ่ืนอยางปลอดภยั

มาตรฐานท่ี ๒ กลา มเนอื้ ใหญแ ละกลา มเนอ้ื เลก็ แขง็ แรง ใชไ ดอ ยา งคลอ งแคลว และประสานสมั พนั ธก นั

สภาพท่พี งึ ประสงค 15
อายุ ๔ - ๕ ป
ตัวบงชี้ อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๕ - ๖ ป คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๒.๑ เคลอื่ นไหวรา งกาย ๒.๑.๑ เดินตามแนว ๒.๑.๑ เดินตอเทาไปขา งหนา ๒.๑.๑ เดินตอเทา ถอยหลัง
อยา งคลองแคลว ที่กําหนดได เปน เสนตรงไดโดยไมต อ ง เปน เสน ตรงไดโดยไมต อ ง
ประสานสมั พันธ ๒.๑.๒ กระโดดสองขาขนึ้ ลง กางแขน กางแขน
และทรงตวั ได อยูก บั ทีไ่ ด
๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว
อยกู บั ท่ไี ดโดยไมเ สียการทรงตวั ไปขางหนา ไดอยางตอ เนือ่ ง

โดยไมเ สียการทรงตัว

๒.๑.๓ ว่ิงแลวหยดุ ได ๒.๑.๓ วงิ่ หลบหลกี สง่ิ กดี ขวาง ๒.๑.๓ วงิ่ หลบหลีกส่ิงกดี ขวาง
ได ไดอ ยา งคลอ งแคลว

๒.๑.๔ รบั ลูกบอลโดยใชม อื ๒.๑.๔ รับลูกบอลโดยใชมือ ๒.๑.๔ รับลกู บอลทีก่ ระดอน
และลาํ ตัวชวย ทั้ง ๒ ขาง ขน้ึ จากพนื้ ได

๒.๒ ใชม อื - ตา ๒.๒.๑ ใชกรรไกรตัดกระดาษ ๒.๒.๑ ใชก รรไกรตดั กระดาษ ๒.๒.๑ ใชกรรไกรตดั กระดาษ
ประสานสัมพันธก ัน ขาดจากกนั ไดโ ดยใชมอื เดียว ตามแนวเสนตรงได ตามแนวเสนโคงได

๒.๒.๒ เขียนรปู วงกลม ๒.๒.๒ เขยี นรูปสเี่ หลย่ี ม ๒.๒.๒ เขยี นรูปสามเหล่ียม
ตามแบบได ตามแบบไดอ ยา งมมี มุ ชัดเจน ตามแบบไดอ ยา งมมี ุมชดั เจน

๒.๒.๓ รอยวสั ดทุ มี่ รี ขู นาด ๒.๒.๓ รอ ยวสั ดุท่มี รี ขู นาด ๒.๒.๓ รอยวสั ดทุ ่มี ีรูขนาด
เสน ผานศนู ยกลาง เสน ผานศูนยก ลาง เสน ผานศนู ยก ลาง
๑ เซนตเิ มตร ได ๐.๕ เซนติเมตร ได ๐.๒๕ เซนตเิ มตร ได

มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจิตดีและมคี วามสขุ

ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่พี งึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป

๓.๑ แสดงออกทางอารมณ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ
ไดอยา งเหมาะสม ความรูส ึกไดเหมาะสมกับ ความรสู ึกไดต ามสถานการณ ความรสู ึกไดสอดคลอ งกบั
บางสถานการณ สถานการณอยางเหมาะสม

๓.๒ มีความรูสกึ ท่ีดี ๓.๒.๑ กลาพูดกลาแสดงออก ๓.๒.๑ กลา พดู กลา แสดงออก ๓.๒.๑ กลา พดู กลา แสดงออก
ตอ ตนเองและผอู นื่ อยา งเหมาะสมบางสถานการณ อยา งเหมาะสมตามสถานการณ

๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ
ในผลงานตนเอง ในผลงานและความสามารถ ในผลงานและความสามารถ
ของตนเอง ของตนเองและผอู ่ืน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว

ตัวบง ช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพที่พงึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป

16 ๔.๑ สนใจ มคี วามสุข และ ๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และ ๔.๑.๑ สนใจ มีความสขุ และ ๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และ
แสดงออกผาน แสดงออกผานงานศลิ ปะ แสดงออกผา นงานศิลปะ แสดงออกผา นงานศลิ ปะ
งานศลิ ปะ ดนตรี และ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การเคลือ่ นไหว ๔.๑.๒ สนใจ มีความสขุ และ ๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสขุ และ ๔.๑.๒ สนใจ มีความสขุ และ
แสดงออกผานเสียงเพลง แสดงออกผานเสียงเพลง แสดงออกผานเสียงเพลง
ดนตรี ดนตรี ดนตรี

๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และ ๔.๑.๓ สนใจ มีความสขุ และ ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุข และ
แสดงทาทาง/เคล่ือนไหว แสดงทาทาง/เคลือ่ นไหว แสดงทาทาง/เคลื่อนไหว
ประกอบเพลง จังหวะ และ ประกอบเพลง จังหวะ และ ประกอบเพลง จงั หวะ และ
ดนตรี ดนตรี ดนตรี

มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ ใจท่ีดงี าม

ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพทพี่ ึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป

๕.๑ ซ่ือสัตยส ุจรติ ๕.๑.๑ บอกหรอื ชี้ไดว า ส่ิงใด ๕.๑.๑ ขออนญุ าตหรอื รอคอย ๕.๑.๑ ขออนญุ าตหรอื รอคอย
เปน ของตนเองและสิง่ ใด เมอื่ ตองการส่ิงของของผูอ่ืน เมอื่ ตอ งการส่งิ ของของผอู ื่น
เปน ของผูอื่น เมือ่ มผี ชู แี้ นะ ดวยตนเอง

๕.๒ มคี วามเมตตากรณุ า ๕.๒.๑ แสดงความรักเพอื่ น ๕.๒.๑ แสดงความรักเพือ่ น ๕.๒.๑ แสดงความรกั เพื่อน
มีน้าํ ใจและชว ยเหลือ และมเี มตตาตอสัตวเล้ียง และมเี มตตาตอ สัตวเล้ียง และมเี มตตาตอสัตวเลยี้ ง
แบง ปน ๕.๒.๒ แบงปนผูอ่ืนได
เม่อื มผี ูชี้แนะ ๕.๒.๒ ชว ยเหลือและแบงปน ๕.๒.๒ ชว ยเหลือและแบง ปน
ผูอื่นไดเ มือ่ มีผูช แ้ี นะ ผูอน่ื ไดด วยตนเอง

ตัวบง ช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่ีพงึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
๕.๓ มีความเห็นอกเห็นใจ ๕.๓.๑ แสดงสีหนาหรือ อายุ ๔ - ๕ ป ๕.๓.๑ แสดงสีหนา และ
ทาทางรับรูความรูสึกผอู น่ื ทา ทางรับรคู วามรูสกึ ผอู น่ื
ผูอ่ืน ๕.๓.๑ แสดงสหี นาและ อยา งสอดคลอ งกับสถานการณ
ทา ทางรับรคู วามรสู ึกผูอนื่ ๕.๔.๑ ทาํ งานท่ีไดรบั
๕.๔ มคี วามรับผิดชอบ ๕.๔.๑ ทาํ งานที่ไดร ับ มอบหมายจนสาํ เร็จ
มอบหมายจนสาํ เร็จ ๕.๔.๑ ทาํ งานทไ่ี ดรบั ดวยตนเอง
เมอ่ื มีผูชว ยเหลือ มอบหมายจนสําเร็จ
เมอ่ื มีผูช ้แี นะ

มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ตัวบงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพที่พึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป

๖.๑ ชวยเหลอื ตนเอง ๖.๑.๑ แตง ตัวโดยมผี ูช ว ยเหลอื ๖.๑.๑ แตงตัวดว ยตนเอง ๖.๑.๑ แตง ตัวดวยตนเอง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ในการปฏิบัติกจิ วัตร ไดอยา งคลอ งแคลว
ประจําวนั ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร ๖.๑.๒ รบั ประทานอาหาร
ดวยตนเองอยางถูกวธิ ี
ดวยตนเอง ดว ยตนเอง

๖.๑.๓ ใชห อ งนาํ้ หอ งสว ม ๖.๑.๓ ใชห องนาํ้ หองสวม ๖.๑.๓ ใชแ ละทาํ ความสะอาด 17
โดยมผี ชู วยเหลอื ดวยตนเอง หลังใชห อ งนาํ้ หอ งสวม
ดวยตนเอง

๖.๒ มีวนิ ยั ในตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเลน ของใช ๖.๒.๑ เก็บของเลนของใช ๖.๒.๑ เกบ็ ของเลนของใช คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
เขาท่ีเมือ่ มีผูชแี้ นะ เขาทดี่ วยตนเอง เขาทอ่ี ยา งเรยี บรอย
ดวยตนเอง

๖.๒.๒ เขา แถวตามลําดับ ๖.๒.๒ เขา แถวตามลําดับ ๖.๒.๒ เขา แถวตามลาํ ดบั
กอ นหลงั ไดเ มอื่ มีผูชแ้ี นะ กอนหลังไดดว ยตนเอง กอ นหลังไดดว ยตนเอง

๖.๓ ประหยดั และพอเพยี ง ๖.๓.๑ ใชสิ่งของเคร่อื งใช ๖.๓.๑ ใชสิง่ ของเครอื่ งใช ๖.๓.๑ ใชสิ่งของเครอื่ งใช
อยางประหยดั และพอเพียง อยา งประหยัดและพอเพยี ง อยางประหยดั และพอเพยี ง
เม่ือมีผชู ้แี นะ เม่อื มผี ูชี้แนะ ดวยตนเอง

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ ม วฒั นธรรม และความเปน ไทย

ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่ีพึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป

๗.๑ ดแู ลรกั ษาธรรมชาติ ๗.๑.๑ มีสว นรว มดแู ลรักษา ๗.๑.๑ มีสว นรวมดแู ลรักษา ๗.๑.๑ ดแู ลรกั ษา
และสิง่ แวดลอม ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม
เมื่อมีผูช ้ีแนะ เมื่อมผี ูชแ้ี นะ ดวยตนเอง

๗.๑.๒ ทิ้งขยะไดถูกที่ ๗.๑.๒ ทง้ิ ขยะไดถ ูกท่ี ๗.๑.๒ ท้ิงขยะไดถ ูกท่ี

๗.๒ มีมารยาทตาม ๗.๒.๑ ปฏบิ ตั ติ นตาม ๗.๒.๑ ปฏบิ ัติตนตาม ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตาม
วัฒนธรรมไทย และ มารยาทไทยไดเ มื่อมผี ูช ีแ้ นะ มารยาทไทยไดด ว ยตนเอง มารยาทไทยไดต ามกาลเทศะ
รกั ความเปน ไทย
๗.๒.๒ กลา วคําขอบคณุ และ ๗.๒.๒ กลา วคําขอบคุณและ ๗.๒.๒ กลาวคาํ ขอบคุณและ
ขอโทษเมอ่ื มผี ูช ้ีแนะ ขอโทษดวยตนเอง ขอโทษดวยตนเอง

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๗.๒.๓ หยดุ ยืนเมื่อไดย นิ ๗.๒.๓ ยืนตรงเมื่อไดยนิ ๗.๒.๓ ยืนตรงและรวมรอ ง
เพลงชาติไทยและ เพลงชาติไทยและ เพลงชาตไิ ทยและ
เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสรญิ พระบารมี เพลงสรรเสริญพระบารมี

มาตรฐานท่ี ๘ อยรู วมกับผูอืน่ ไดอยางมีความสขุ และปฏบิ ตั ิตนเปนสมาชกิ ท่ดี ีของสงั คม
ในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข

18 อายุ ๓ - ๔ ป สภาพทีพ่ ึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
ตัวบงช้ี
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๘.๑ ยอมรบั ความเหมือน ๘.๑.๑ เลน และทํากิจกรรม ๘.๑.๑ เลน และทํากิจกรรม ๘.๑.๑ เลน และทํากจิ กรรม
และความแตกตา ง รว มกบั เดก็ ทแ่ี ตกตา ง รว มกบั เด็กท่ีแตกตา ง รว มกบั เดก็ ที่แตกตาง
ระหวา งบคุ คล ไปจากตน ไปจากตน ไปจากตน

๘.๒ มีปฏิสัมพนั ธท ่ีดี ๘.๒.๑ เลนรว มกบั เพอื่ น ๘.๒.๑ เลนหรือทํางานรวม ๘.๒.๑ เลน หรือทาํ งานรวมมือ
กบั ผอู ่ืน กบั เพือ่ นเปนกลมุ กับเพือ่ นอยา งมีเปาหมาย

๘.๒.๒ ย้มิ หรือทกั ทายผูใหญ ๘.๒.๒ ย้มิ ทักทาย หรอื พูดคุย ๘.๒.๒ ย้มิ ทกั ทาย และพดู คยุ
และบุคคลทค่ี ุนเคยได กับผใู หญและบคุ คลที่คุนเคย กบั ผูใหญแ ละบคุ คลท่ีคุน เคย
เมอ่ื มผี ูชแี้ นะ ไดด ว ยตนเอง ไดเ หมาะสมกบั สถานการณ

๘.๓ ปฏิบัติตนเบื้องตน ๘.๓.๑ ปฏิบตั ติ ามขอ ตกลง ๘.๓.๑ มสี วนรว มสราง ๘.๓.๑ มสี ว นรวมสรา ง
ในการเปน สมาชิกที่ดี เม่ือมีผชู แ้ี นะ ขอ ตกลงและปฏบิ ตั ติ าม ขอตกลงและปฏบิ ตั ติ าม
ของสังคม ขอ ตกลงเมอ่ื มผี ูช แ้ี นะ ขอตกลงดว ยตนเอง

๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเปนผนู าํ ๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ิตนเปนผูน ํา ๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ติ นเปน ผนู ํา
และผตู ามเมอ่ื มีผชู ้แี นะ และผูตามไดด ว ยตนเอง และผตู ามไดเหมาะสมกบั
สถานการณ

๘.๓.๓ ยอมรับการ ๘.๓.๓ ประนปี ระนอม ๘.๓.๓ ประนีประนอม
ประนปี ระนอมแกไ ขปญหา แกไ ขปญหาโดยปราศจาก แกไขปญ หาโดยปราศจาก
เม่อื มีผชู แ้ี นะ การใชความรุนแรงเมอ่ื มผี ูชี้แนะ การใชความรนุ แรงดวยตนเอง

มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ าษาส่อื สารไดเ หมาะสมกับวยั

ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่พี งึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป

๙.๑ สนทนาโตตอบและ ๙.๑.๑ ฟงผูอ ืน่ พูดจนจบและ ๙.๑.๑ ฟง ผอู นื่ พดู จนจบและ ๙.๑.๑ ฟงผอู ่ืนพดู จนจบและ
เลา เรือ่ งใหผูอ่นื เขาใจ พูดโตต อบเกยี่ วกับเร่อื งท่ฟี ง สนทนาโตต อบสอดคลองกับ สนทนาโตต อบอยางตอ เนื่อง
เร่ืองท่ีฟง เช่ือมโยงกับเรื่องทีฟ่ ง

๙.๑.๒ เลาเรอ่ื งดวย ๙.๑.๒ เลา เรื่องเปนประโยค ๙.๑.๒ เลา เปน เร่ืองราว
ประโยคสั้นๆ อยา งตอ เน่ือง ตอเน่ืองได

๙.๒ อา น เขยี นภาพ และ ๙.๒.๑ อานภาพและพดู ๙.๒.๑ อานภาพ สญั ลักษณ ๙.๒.๑ อานภาพ สัญลกั ษณ
สัญลักษณได ขอ ความดวยภาษาของตน คาํ พรอ มทั้งชี้หรอื กวาดตา คํา ดว ยการชหี้ รอื กวาดตามอง
มองขอความตามบรรทดั จุดเรมิ่ ตนและจดุ จบของ
ขอ ความ

๙.๒.๒ เขียนขดี เขี่ยอยา งมี ๙.๒.๒ เขยี นคลา ยตัวอักษร ๙.๒.๒ เขียนชอื่ ของตนเอง
ทศิ ทาง ตามแบบ เขียนขอ ความ
ดวยวิธที ี่คิดขน้ึ เอง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ท่ีเปนพืน้ ฐานในการเรียนรู

ตวั บง ช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค 19
อายุ ๔ - ๕ ป
อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๕ - ๖ ป คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๑๐.๑ มีความสามารถ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะของ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะและ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ
ในการคิดรวบยอด ส่งิ ตางๆ จากการสังเกต สว นประกอบของส่ิงตางๆ สว นประกอบ การเปลี่ยนแปลง
โดยใชประสาทสมั ผัส จากการสงั เกตโดยใช หรอื ความสัมพนั ธของสง่ิ ตา งๆ
ประสาทสัมผสั จากการสังเกตโดยใช
ประสาทสัมผสั

๑๐.๑.๒ จบั คูหรือเปรียบเทียบ ๑๐.๑.๒ จับคแู ละเปรยี บเทยี บ ๑๐.๑.๒ จบั คูและเปรยี บเทียบ
สง่ิ ตา งๆ โดยใชล กั ษณะ ความแตกตา งหรือ ความแตกตา งและ
หรอื หนา ทก่ี ารใชงาน ความเหมือนของสง่ิ ตางๆ ความเหมือนของส่ิงตา งๆ
เพยี งลักษณะเดยี ว โดยใชลกั ษณะทีส่ ังเกตพบ โดยใชล ักษณะทสี่ ังเกตพบ
เพยี งลักษณะเดียว ๒ ลกั ษณะขน้ึ ไป

๑๐.๑.๓ คดั แยกสง่ิ ตา งๆ ๑๐.๑.๓ จาํ แนกและจดั กลมุ ๑๐.๑.๓ จําแนกและจัดกลมุ
ตามลักษณะหรือหนา ท่ี สงิ่ ตางๆ โดยใชอ ยางนอ ย ส่ิงตางๆ โดยใชต ง้ั แต
การใชง าน ๑ ลกั ษณะเปนเกณฑ ๒ ลกั ษณะขึ้นไปเปน เกณฑ

๑๐.๑.๔ เรยี งลาํ ดับสิ่งของ ๑๐.๑.๔ เรียงลาํ ดับส่ิงของ ๑๐.๑.๔ เรียงลําดบั ส่งิ ของ
หรือเหตกุ ารณอ ยางนอย หรือเหตกุ ารณอ ยางนอย และเหตุการณอยางนอย
๓ ลาํ ดับ ๔ ลําดบั ๕ ลาํ ดับ

ตัวบงช้ี สภาพที่พึงประสงค
๑๐.๒ มคี วามสามารถ
อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๔ - ๕ ป อายุ ๕ - ๖ ป
ในการคิดเชิงเหตุผล
๑๐.๒.๑ ระบผุ ลที่เกิดขึน้ ๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตหุ รือ ๑๐.๒.๑ อธิบาย เชือ่ มโยง
๑๐.๓ มีความสามารถ ในเหตกุ ารณหรือการกระทาํ ผลทเี่ กดิ ข้ึนในเหตุการณห รอื สาเหตแุ ละผลท่ีเกิดข้นึ
ในการคดิ แกป ญ หา เม่ือมผี ชู ้ีแนะ การกระทําเมอื่ มผี ูชี้แนะ ในเหตกุ ารณหรอื การกระทาํ
และตดั สินใจ ดวยตนเอง

๑๐.๒.๒ คาดเดาหรอื คาดคะเน ๑๐.๒.๒ คาดเดาหรือคาดคะเน ๑๐.๒.๒ คาดคะเนสงิ่ ทีอ่ าจ
สิง่ ท่อี าจจะเกดิ ขน้ึ ส่งิ ที่อาจจะเกิดข้ึน หรือ จะเกิดขนึ้ และมีสว นรว ม
มสี ว นรว มในการลงความเห็น ในการลงความเห็นจากขอ มลู
จากขอมลู อยา งมีเหตุผล

๑๐.๓.๑ ตดั สนิ ใจในเรอ่ื งงา ยๆ ๑๐.๓.๑ ตัดสนิ ใจในเรือ่ งงา ยๆ ๑๐.๓.๑ ตัดสนิ ใจในเรอ่ื งงา ยๆ
และเร่มิ เรียนรผู ลท่เี กิดข้นึ และยอมรบั ผลที่เกดิ ข้นึ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑๐.๓.๒ แกป ญหาโดย ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญหาและ ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญ หา สรา ง
ลองผดิ ลองถูก แกปญ หาโดยลองผดิ ลองถูก ทางเลือก และเลอื กวธิ ีแกป ญหา

มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สรา งสรรค

ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่ีพึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
20
๑๑.๑ ทาํ งานศลิ ปะตาม ๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศิลปะ ๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศิลปะ ๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศิลปะ
จนิ ตนาการและ เพอื่ สอื่ สารความคดิ ความรสู กึ เพื่อสือ่ สารความคิด ความรสู กึ เพอ่ื ส่ือสารความคดิ ความรูสึก
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ความคดิ สรา งสรรค ของตนเอง ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง ของตนเอง โดยมีการดดั แปลง
และแปลกใหมจ ากเดิม แปลกใหมจ ากเดิม
หรอื มีรายละเอยี ดเพม่ิ ขนึ้ และมีรายละเอยี ดเพม่ิ ขึ้น

๑๑.๒ แสดงทาทาง/ ๑๑.๒.๑ เคลือ่ นไหวทาทาง ๑๑.๒.๑ เคลอื่ นไหวทา ทาง ๑๑.๒.๑ เคล่ือนไหวทา ทาง
เคล่อื นไหวตาม เพือ่ สอ่ื สารความคิด ความรูสึก เพอ่ื ส่ือสารความคดิ ความรสู กึ เพือ่ สอ่ื สารความคดิ ความรสู ึก
จนิ ตนาการอยา ง ของตนเอง ของตนเองอยางหลากหลาย ของตนเองอยางหลากหลาย
สรา งสรรค หรอื แปลกใหม และแปลกใหม

มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ การเรยี นรู และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรไู ดเ หมาะสมกบั วยั

ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพทพ่ี ึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป

๑๒.๑ มเี จตคติท่ดี ตี อ ๑๒.๑.๑ สนใจฟง หรอื ๑๒.๑.๑ สนใจซักถามเกีย่ วกบั ๑๒.๑.๑ สนใจหยบิ หนงั สอื
การเรียนรู อานหนงั สอื ดวยตนเอง สัญลักษณห รือตวั หนงั สอื มาอา นและเขียนสือ่ ความคิด
ท่พี บเห็น ดวยตนเองเปน ประจํา
อยางตอเนื่อง

๑๒.๑.๒ กระตือรอื รนในการ ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรนในการ ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรนในการ
เขารว มกิจกรรม เขารวมกิจกรรม รว มกจิ กรรมตั้งแตต น จนจบ

๑๒.๒ มีความสามารถ ๑๒.๒.๑ คน หาคําตอบของ ๑๒.๒.๑ คนหาคําตอบของ ๑๒.๒.๑ คน หาคําตอบของ
ในการแสวงหา ขอสงสยั ตา งๆ ตามวธิ ีการ ขอสงสยั ตา งๆ ตามวิธกี าร ขอ สงสยั ตางๆ โดยใชว ิธกี าร
ความรู เมอื่ มีผชู แ้ี นะ ของตนเอง ท่หี ลากหลายดวยตนเอง

๑๒.๒.๒ ใชป ระโยคคาํ ถามวา ๑๒.๒.๒ ใชป ระโยคคาํ ถามวา ๑๒.๒.๒ ใชประโยคคําถามวา
“ใคร” “อะไร” ในการคน หา “ทไ่ี หน” “ทาํ ไม” ในการ “เมอื่ ไร” “อยางไร” ในการ
คําตอบ คน หาคาํ ตอบ คนหาคําตอบ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

การจดั เวลาเรียน 21

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป กําหนดกรอบการจัดเวลาเรียนในการจัด คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ประสบการณใ หก บั เดก็ เปน เวลา ๑ - ๓ ปก ารศกึ ษา โดยประมาณ ทง้ั นี้ ขน้ึ อยกู บั อายขุ องเดก็ ทเี่ รม่ิ เขา สถานศกึ ษา
หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เวลาเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยจะขึ้นอยูกับสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แตล ะแหง โดยมเี วลาเรียนไมนอยกวา ๑๘๐ วัน ตอ ๑ ปการศกึ ษา ในแตล ะวันจะใชเ วลาไมนอ ยกวา ๕ ชั่วโมง
โดยสามารถปรบั ใหเ หมาะสมตามบริบทของสถานศกึ ษาหรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

สาระการเรียนรู

สาระการเรยี นรูของหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สําหรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป ประกอบดว ย ๒ สว น คอื
ประสบการณส าํ คญั และสาระทคี่ วรเรยี นรู ทง้ั สองสว นมคี วามสาํ คญั ในการจดั ประสบการณ เพอ่ื สง เสรมิ พฒั นาการ
ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา โดยผูสอนอาจจัดในรูปแบบหนวยการสอนแบบบูรณาการ
หรือเลือกใชรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย รวมทั้งตองสอดคลองกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัยและ
หลกั การจดั การศึกษาปฐมวัย มรี ายละเอยี ดดงั นี้

๑. ประสบการณสําคัญ จะชวยอธิบายใหผูสอนเขาใจวาเด็กปฐมวัยตองทําอะไร เรียนรูส่ิงตางๆ
รอบตัวอยางไร และทุกประสบการณมีความสําคัญตอการพัฒนาเด็ก ชวยผูสอนในการสังเกต สนับสนุน และ
วางแผนการจดั กจิ กรรมใหเ ดก็ ประสบการณส าํ คญั ทก่ี าํ หนดไวใ นหลกั สตู รมคี วามสาํ คญั ตอ การสรา งองคค วามรู
ของเด็ก ตวั อยางเชน เด็กเขา ใจความหมายของการเปรียบเทียบและจําแนกผา นประสบการณส ําคัญ การจาํ แนก
สิ่งตางๆ ตามลักษณะและรูปราง รูปทรง ผูสอนจึงวางแผนจัดกิจกรรมใหเด็กมีโอกาสเลนบล็อกรูปทรงตางๆ
อยา งอสิ ระ มกี ารเปรยี บเทยี บขนาดของบลอ็ กรปู ทรงเดยี วกนั และจาํ แนกรปู ทรงของบลอ็ กเปน กลมุ เดก็ จะเรยี นรู

ผา นประสบการณสาํ คัญในการจําแนก เปรยี บเทียบซ้าํ แลว ซาํ้ อกี มีการปฏสิ ัมพนั ธก บั วัตถุ สิง่ ของ ผใู หญ และ
เดก็ อน่ื ฯลฯ นอกจากน้ี ผสู อนทเี่ ขา ใจและเหน็ ความสาํ คญั จะยดึ ประสบการณส าํ คญั เปน เสมอื นเครอื่ งมอื สาํ หรบั
การสังเกตพัฒนาการเด็ก แปลการกระทําของเด็ก ชวยตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดส่ือและชวยวางแผนกิจกรรม
ในแตละวัน ประสบการณส าํ คญั สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป จะครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง ๔ ดาน คือ

๑.๑ ประสบการณสําคัญท่ีสงเสริมพัฒนาการดานรางกาย เปนการสนับสนุนใหเด็ก
ไดมีโอกาสพฒั นาการใชกลามเน้ือใหญ กลามเนื้อเล็ก การประสานสัมพันธระหวา งกลา มเนอ้ื และระบบประสาท
ในการทํากิจวัตรประจําวันหรือทํากิจกรรมตางๆ และสนับสนุนใหเด็กรูจักดูแลสุขภาพและสุขอนามัย สุขนิสัย
การรกั ษาความปลอดภยั และการตระหนกั รูเกีย่ วกับรางกายตนเอง ดงั นี้

ประสบการณสําคญั (ดานรา งกาย) ตวั อยางประสบการณแ ละกิจกรรม

๑.๑.๑ การใชกลา มเนอื้ ใหญ

(๑) การเคลอ่ื นไหวอยูกับท่ี ตบมือ ผงกศีรษะ เคลื่อนไหวไหล เอว มือและแขน
มอื และน้วิ มือ เคาะเทา เทา และปลายเทาอยูก บั ท่ี
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๒) การเคลอื่ นไหวเคลอื่ นท่ี คลาน คืบ เดิน วงิ่ กระโดด สไลด ควบมา กาวกระโดด
เคลื่อนท่ไี ปขา งหนา ขางหลงั ขา งซา ย ขางขวา หมุนตัว

(๓) การเคล่ือนไหวพรอ มวัสดุอปุ กรณ เคลื่อนไหวรา งกายพรอมเชอื ก ผาแพร รบิ บิ้น วสั ดุอน่ื ๆ
ท่ีเหมาะสมตามจินตนาการ เพลงบรรเลง คําบรรยาย
22 ของผูสอน

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ (๔) การเคลื่อนไหวทใี่ ชการประสานสัมพันธของการใช เลน เกมกลางแจง เชน ลงิ ชงิ บอล ขวา งลกู บอล ถงุ ทราย
กลามเนื้อใหญ ในการขวา ง การจับ การโยน การเตะ โยนลูกบอลหรือวัสดอุ ื่นลงตะกรา เตะบอล

(๕) การเลน เคร่ืองเลน สนามอยา งอสิ ระ เลนอิสระ เลนเคร่ืองเลนสนาม เลนปนปาย โหน มุด
ลอดเครอ่ื งเลน ปนจักรยานสามลอ

๑.๑.๒ การใชก ลา มเน้ือเล็ก

(๑) การเลนเครื่องเลนสมั ผัสและการสรางสงิ่ ตา งๆ ตอ เลโก น็อตปก หมดุ กระดานตะปู บล็อกไมหรือ
จากแทงไม บล็อก พลาสติก

(๒) การเขยี นภาพและการเลน กับสี เขยี นภาพดวยสเี ทยี น สไี ม สีจากวสั ดุธรรมชาติ เลนกับสีน้ํา
เชน เปา สี ทบั สี พับสี หยดสี ละเลงสี กล้งิ สี

(๓) การปน ปน ดินเหนยี ว ดินน้ํามนั ปนแปงโดว

(๔) การประดิษฐสง่ิ ตางๆ ดวยเศษวัสดุ สรา งช้นิ งานจากวสั ดธุ รรมชาตหิ รอื วัสดทุ เี่ หลอื ใช

(๕) การหยิบจบั การใชกรรไกร การฉีก การตดั การปะ ใชก รรไกรปลายมนตดั กระดาษหรอื ตดั ใบไม รอยดอกไม
และการรอ ยวัสดุ และวสั ดตุ า งๆ ฉีก ตดั ปะกระดาษหรอื วสั ดุธรรมชาติ

ประสบการณสาํ คัญ (ดานรางกาย) ตัวอยางประสบการณและกิจกรรม

๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามยั สวนตน

(๑) การปฏบิ ตั ิตนตามสขุ อนามยั สขุ นสิ ัยที่ดี ลา งมอื กอนรับประทานอาหาร ทาํ ความสะอาดหลังจาก
ในกจิ วตั รประจําวนั เขา หอ งนา้ํ หอ งสว ม รบั ประทานอาหารกลางวนั ครบหา หมู
นอนกลางวัน ออกกําลังกาย ดูแลรักษาความสะอาด
ของใชสว นตวั

๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภยั

(๑) การปฏบิ ัตติ นใหปลอดภัยในกจิ วัตรประจําวนั เลนเคร่ืองเลนท่ีถูกวิธี ลางมือทุกครั้งเม่ือส้ินสุดการเลน
ระวังรักษาและดแู ลตนเองขณะเจบ็ ปวย เชน ปด ปากไอ
ในขณะเปนหวัด ไมขย้ีตาขณะตาแดง

(๒) การฟง นิทาน เร่ืองราว เหตกุ ารณเกยี่ วกบั การปองกัน ฟง นทิ านเรอ่ื งราวเหตกุ ารณท ม่ี เี นอ้ื หาเกยี่ วกบั การปอ งกนั
และรกั ษาความปลอดภยั และรักษาความปลอดภยั เชน การขา มถนน การรบั ของ
จากคนแปลกหนา ของมีคม สัตวม ีพิษ และอนั ตรายจาก
สารพษิ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๓) การเลนเครอื่ งเลน อยา งปลอดภยั เลนเคร่ืองเลนสนามตามขอตกลงอยางถูกวิธี เชน
ปน ปา ย โหน ลอด มดุ คลาน ดว ยความระมดั ระวงั รอคอย
ไมแยง กนั ในการเลน

(๔) การเลนบทบาทสมมตเิ หตุการณตา งๆ เลน บทบาทสมมตกิ ารปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจร เชน การขา มถนน 23
การซอนทา ยรถจกั รยานยนต การคาดเข็มขดั นิรภัย และ
การปฏบิ ตั ติ นเมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ เชน ไฟไหม แผน ดนิ ไหว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
พายุ ฯลฯ และสรปุ ผลที่เกดิ จากการเลน บทบาทสมมติ

๑.๑.๕ การตระหนกั รเู กย่ี วกับรางกายตนเอง

(๑) การเคลอ่ื นไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง เคลื่อนไหวรางกายไปในทิศทางตางๆ เชน ซาย ขวา
ระดบั และพน้ื ท่ี หนา หลงั ทั่วบริเวณทกี่ าํ หนดในระดับสงู กลาง และตํ่า
มีการเคล่ือนไหวท่ีหลากหลาย เชน มุด ลอด คลาน
กล้ิง กระโดด

(๒) การเคล่ือนไหวขา มสิง่ กดี ขวาง การเดิน วิ่ง กระโดดหลบหลีกหรือขามสิ่งกีดขวางตางๆ
เชน ลอรถยนต ถังนาํ้ มัน ท่ีก้ันจราจร หวงฮลู าฮูป สิ่งของ
บลอ็ กไม

๑.๒ ประสบการณสาํ คญั ที่สง เสรมิ พฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ เปน การสนับสนุนใหเ ด็ก
ไดแสดงออกทางอารมณและความรูสึกของตนเองท่ีเหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะท่ีเปน

อัตลักษณ ความเปนตวั ของตวั เอง มีความสุข ราเรงิ แจม ใส การเห็นอกเหน็ ใจผอู ื่น ไดพ ัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

สนุ ทรยี ภาพ ความรสู กึ ที่ดตี อตนเอง และความเชอื่ ม่นั ในตนเองขณะปฏิบัตกิ จิ กรรมตา งๆ ดงั น้ี

ประสบการณส าํ คญั (ดานอารมณ จิตใจ) ตวั อยา งประสบการณและกจิ กรรม

๑.๒.๑ สนุ ทรยี ภาพ ดนตรี

(๑) การฟงเพลง การรองเพลง และการแสดงปฏิกิรยิ า ทาํ ทา ทางเคลอื่ นไหวรา งกายในลกั ษณะตา งๆ เชน โยกตัว
โตตอบเสยี งดนตรี สายสะโพก ตบมือ ย่ําเทาตามจังหวะและเสียงเพลง
เชนเพลงบรรเลง เพลงตามสมัยนิยม เพลงท่ีสนใจ
เพลงตามหนว ยการจดั ประสบการณ เพลงประจาํ โรงเรยี น
และเพลงพืน้ บาน

(๒) การเลนเครอื่ งดนตรปี ระกอบจังหวะ เลน เครอ่ื งดนตรีประเภทตา งๆ หรอื วสั ดอุ ่นื ๆ ประกอบ
จงั หวะ เชน เคาะ เขยา ตี
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๓) การเคลอ่ื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี แสดงทาทางเคล่ือนไหวประกอบเสียงเพลง เสียงดนตรี
หรอื จังหวะชา และเรว็

(๔) การเลนบทบาทสมมติ เ ล  น แ ล ะ แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม ม ติ เ ป  น ตั ว ล ะ ค ร ต า ม
หนว ยการจดั ประสบการณห รือนทิ าน
24 ทาํ กิจกรรมศิลปะ เชน วาดภาพระบายสี ปน รอย ฉีก
ตดั ปะ พบั เลน กับสีน้ํา ประดษิ ฐเศษวสั ดุ
(๕) การทาํ กิจกรรมศลิ ปะตา งๆ

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ (๖) การสรา งสรรคสิง่ สวยงาม สรางงานศิลปะตามความคิดสรางสรรคในรูปแบบตางๆ
เชน วาดภาพระบายสี ปน รอย ฉีก ตัด ปะ พับ
เลนกับสีน้ํา ประดิษฐเศษวัสดุ การทําสวนถาด และ
แสดงความคิดเหน็ ตอ ผลงานศิลปะ

๑.๒.๒ การเลน

(๑) การเลน อสิ ระ เลนอิสระ การเลนที่ใชจินตนาการ เลนสมมติ
การเลนของเลน ในหองเรยี น บรเิ วณสนามกลางแจง

(๒) การเลน รายบุคคล กลุม ยอ ย และกลุมใหญ เลนเสรี เลนอิสระในมุมเลนรายบุคคล กลุมยอย และ
กลุมใหญ เลนรวมกับเพ่ือน เลนแบบรวมมือ และ
เลนแบบสรางสรรค

(๓) การเลนตามมุมประสบการณ/ มุมเลน ตางๆ เลนตามมมุ เลนในหองเรยี น เลน สมมติ

(๔) การเลน นอกหอ งเรยี น เลนกลางแจง เชน เลนเคร่ืองเลนสนามรูปแบบตางๆ
เลนนาํ้ เลน ทราย การละเลนพ้ืนบา น

ประสบการณส าํ คัญ (ดา นอารมณ จติ ใจ) ตัวอยา งประสบการณและกิจกรรม

๑.๒.๓ คณุ ธรรม จริยธรรม

(๑) การปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนาทนี่ บั ถือ ทํากิจกรรมทางศาสนาทว่ี ัด มสั ยดิ โบสถ ปฏบิ ัตติ นตาม
คาํ สอนของศาสนาทีน่ บั ถอื

(๒) การฟง นิทานเกี่ยวกับคณุ ธรรม จริยธรรม ฟงนิทาน เรื่องราว เหตุการณเก่ียวกับความซ่ือสัตย
ความเมตตากรุณา มีน้ําใจชวยเหลือ แบงปน
ความเห็นอกเห็นใจ ความรับผิดชอบ ประหยัดพอเพียง
และความมีวนิ ยั

(๓) การรว มสนทนาและแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น รว มสนทนาและแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ขา ว เรอ่ื งราว
เชงิ จรยิ ธรรม เหตกุ ารณ นทิ านเกยี่ วกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามบรบิ ท
ของชุมชนหรือกลุม เปา หมายเฉพาะ

๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ

(๑) การพูดสะทอ นความรสู ึกของตนเองและผอู ่ืน บอกเลา ทําทา ทาง ท่เี กย่ี วขอ งกบั ความรสู กึ ของตนเอง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
และผูอื่น ปรับเปลี่ยนความคิดหรือการกระทําเมื่อมี
สถานการณทเ่ี ปนปญ หา พดู แสดงความรูส ึกหลงั การทาํ
กจิ กรรมศลิ ปะ แสดงสหี นา ทา ทาง บทบาทตามตวั ละคร

(๒) การเลนบทบาทสมมติ เ ล  น แ ล ะ แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม ม ติ เ ป  น ตั ว ล ะ ค ร ต า ม
หนวยการจัดประสบการณห รือนิทาน
25
(๓) การเคล่อื นไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี แสดงทา ทาง เคล่อื นไหวประกอบเสียงเพลง เสียงดนตรี
หรอื จังหวะชา และเร็ว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

(๔) การรอ งเพลง รองเพลงประกอบหนวยการจัดประสบการณหรือ
เพลงท่สี นใจอยา งสนุกสนาน

(๕) การทํางานศิลปะ ทาํ กจิ กรรมศลิ ปะ เชน วาดภาพระบายสี ปน รอ ย ฉีก
ตัด ปะ พบั เลน กบั สีน้าํ ประดษิ ฐเ ศษวัสดุ

๑.๒.๕ การมีอัตลักษณเ ฉพาะตนและเช่อื วาตนเองมีความสามารถ

(๑) การปฏิบตั ิกจิ กรรมตา งๆ ตามความสามารถ เลน/ทํางานอยางอิสระตามความถนัด ความสนใจ
ของตนเอง และความสามารถของตนเอง เชน กิจกรรมศิลปะ
กิจกรรมการเคลื่อนไหว กิจกรรมในกิจวัตรประจําวัน
(โดยเปดโอกาสใหเด็กมีสวนรวมในการตัดสินใจเลือก
ทํากิจกรรมเอง บอกไดวาตนเองเปนอยางไร ทําอะไร
ไดบ าง บอกความเหมือน ความแตกตางของตนเองและ
ผอู น่ื และบอกความคดิ ของตนเองไดว า “อยากเปน อะไร
เมอื่ หนูโตขนึ้ ”)

๑.๒.๖ การเห็นอกเหน็ ใจผอู น่ื

(๑) การแสดงความยนิ ดเี มื่อผูอืน่ มคี วามสขุ เห็นใจเมื่อผูอ่นื แสดงความยินดกี บั เพ่ือนเมอ่ื เพ่อื นมคี วามสุข เชน วันเกดิ
เศรา หรอื เสียใจ และการชว ยเหลอื ปลอบโยนเมื่อผอู ืน่ และแสดงความเห็นใจเพ่ือนหรือผูอื่น เชน ชวยเหลือ
ไดร ับบาดเจ็บ ปลอบโยนเมอ่ื เพ่อื นรองไหห รอื บาดเจบ็

๑.๓ ประสบการณส าํ คญั ทสี่ ง เสรมิ พฒั นาการดา นสงั คม เปน การสนบั สนนุ ใหเ ดก็ ไดม โี อกาส
ปฏิสัมพันธกับบุคคลและส่ิงแวดลอมตางๆ รอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ผานการเรียนรูทางสังคม เชน

การเลน การทํางานกบั ผูอ ่ืน การปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาํ วัน การดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม การแกป ญ หา

ขอ ขัดแยง ตา งๆ ดังนี้

ประสบการณส าํ คญั (ดา นสังคม) ตวั อยา งประสบการณและกิจกรรม

๑.๓.๑ การปฏิบัติกิจวตั รประจาํ วนั

(๑) การชว ยเหลือตนเองในกจิ วตั รประจาํ วนั ทํากิจวัตรประจําวันดวยตนเอง เชน แตงตัว ลางมือ
รับประทานอาหาร เขาหอ งสวม

(๒) การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ นําวัสดุเหลือใชมาสรางชิ้นงาน ใชส่ิงของเครื่องใชอยาง
พอเพยี ง ประหยดั และพอเพยี ง เชน ยาสฟี น นาํ้ วสั ดทุ าํ งานศลิ ปะ

๑.๓.๒ การดแู ลรักษาธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป (๑) การมสี วนรวมรบั ผดิ ชอบดูแลรักษาสง่ิ แวดลอ ม - รบั ผดิ ชอบหนาที่ทไ่ี ดรับมอบหมาย เชน ดูแลรักษา
ทงั้ ภายในและภายนอกหองเรียน ความสะอาดหอ งเรียน รดน้าํ ตนไม เกบ็ ขยะ
- นําวสั ดุทองถิ่น วัสดุเหลอื ใชม าสรา งชน้ิ งาน
- ใชน ้าํ ส่ิงของเคร่อื งใชอ ยางประหยัด คมุ คา เชน
ดินสอ สี กระดาษสี

26 (๒) การใชวัสดแุ ละสิ่งของเครอ่ื งใชอ ยางคุมคา นําวัสดุเหลือใชมาสรางช้ินงาน ใชสิ่งของอยางประหยัด
เชน ดนิ สอ สี กาว กระดาษสี

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ (๓) การทาํ งานศิลปะทีน่ าํ วัสดุหรอื ส่งิ ของเครือ่ งใช ประดษิ ฐสิง่ ตางๆ จากวสั ดุเหลือใช เชน ขวดนํา้ พลาสติก
ที่ใชแลว มาใชซ้ํา หรือแปรรูปแลวนาํ กลับมาใชใหม กลอ ง เศษผา แกนกระดาษ กระดาษสี ไมไอศกรีม

(๔) การเพาะปลูกและดแู ลตนไม ปลูกตนไม ไมดอกไมประดับ ผักสวนครัว ดูแลรดนํ้า
พรวนดิน เชน เพาะถว่ั งอก ปลกู ผักบงุ ตน หอม

(๕) การเลี้ยงสัตว เลย้ี งและดูแลใหอ าหารสัตว เชน ปลา ไก นก

(๖) การสนทนาขา วและเหตกุ ารณท เี่ ก่ียวกบั ธรรมชาติ สนทนาเก่ียวกับเหตุการณ ผลกระทบที่เกิดจาก
และสง่ิ แวดลอ มในชีวิตประจาํ วัน ความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน
ฝนตก นํา้ ทวม ฝนแลง ลมพายุ

๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรมทอ งถ่นิ และความเปน ไทย

(๑) การเลนบทบาทสมมตกิ ารปฏิบตั ิตนในความเปน - เลนบทบาทสมมติเก่ียวกับการไหว การทักทาย และ
คนไทย - การปฏิบัติตนในวันสําคัญของไทยและวันสําคัญของ
ทอ งถน่ิ

(๒) การปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมทองถน่ิ ท่อี าศยั และ ทาํ กจิ กรรมในวนั สาํ คัญและประเพณีในทอ งถน่ิ ของตน
ประเพณไี ทย

(๓) การประกอบอาหารไทย ทําอาหารงายๆ ตามหนวยการจัดประสบการณ
อาหารในทอ งถ่ินหรอื อาหารประจาํ ภาคของตนเอง

(๔) การศกึ ษานอกสถานที่ วางแผน สาํ รวจ ศกึ ษาแหลง เรยี นรนู อกสถานท่ี สมั ภาษณ
บคุ คลตางๆ บันทกึ ขอ มูล และนาํ เสนอขอมูล

ประสบการณส ําคัญ (ดานสังคม) ตวั อยางประสบการณแ ละกิจกรรม

(๕) การละเลน พ้นื บานของไทย การละเลนไทย เชน มอญซอนผา งูกินหาง รีรีขาวสาร
โพงพาง

๑.๓.๔ การมปี ฏิสมั พนั ธ มวี นิ ยั มีสวนรว มและบทบาทสมาชิกของสงั คม

(๑) การรวมกาํ หนดขอตกลงของหอ งเรยี น มสี ว นรว มในการกาํ หนดและจดั ทาํ ขอ ตกลงของหอ งเรยี น

(๒) การปฏิบตั ติ นเปน สมาชกิ ที่ดีของหอ งเรยี น ปฏิบัติตามขอตกลงของหองเรียนที่รวมกันกําหนด เชน
การเกบ็ ของเลนของใชเ ขาที่ การเขา แถวรบั ของ

(๓) การใหความรวมมือในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตางๆ เขารวมกิจกรรมดวยความเต็มใจท้ังรายบุคคล กลุมยอย
และกลมุ ใหญ

(๔) การดแู ลหอ งเรยี นรว มกนั ดแู ลความสะอาดเรยี บรอ ยของหอ งเรยี น เชน จดั ของเลน
ของใชเขา ท่ี เทขยะ รดนาํ้ ตนไม

(๕) การรว มกิจกรรมวนั สําคัญ ปฏิบัติกิจกรรมเก่ียวกับวันสําคัญในสถานการณจริง
หรือสถานการณจําลองตามความเหมาะสมและ
บริบทของแตละสถานศึกษา ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

๑.๓.๕ การเลนและทํางานแบบรว มมอื รว มใจ

(๑) การรวมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น สนทนาแลกเปลย่ี นแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เหตกุ ารณ
ในนิทาน เรื่องราว และรับฟง ความคิดเห็นของผูอื่น
27
(๒) การเลน และทาํ งานรวมกบั ผอู น่ื เลนและทาํ งานรว มกนั เปน คู กลุมเลก็ หรอื กลมุ ใหญ

(๓) การทําศิลปะแบบรว มมือ ทาํ งานศลิ ปะรว มกนั เปน กลมุ อยา งมเี ปา หมายรว มกนั เชน คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ปน ดินนํา้ มนั วาดภาพ ฉีก ตดั ปะ งานประดษิ ฐ

๑.๓.๖ การแกปญ หาความขดั แยง

(๑) การมสี วนรว มในการเลือกวธิ กี ารแกปญ หา รวมกันแสดงความคิดเห็นและนําเสนอความคิด และ
ตัดสินใจเลือกวิธีแกปญหาเกี่ยวกับเร่ืองราว เหตุการณ
ตา งๆ

(๒) การมสี ว นรว มในการแกปญหาความขดั แยง มีสวนรวมในการเสนอความคิด ตัดสินใจเลือกวิธี
แกปญหาตางๆ ท่ีเกิดขึ้นอยางสันติวิธีในสถานการณ
ท่มี ีความขัดแยง

๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมอื นและความแตกตางระหวางบุคคล

(๑) การเลนหรือทาํ กิจกรรมรวมกับกลมุ เพ่ือน เลนหรือทํากิจกรรมตางๆ รวมกับเพ่ือน เชน กิจกรรม
ศลิ ปะสรา งสรรค กจิ กรรมการเลน ตามมมุ เลน /มมุ ประสบการณ
ตางๆ กิจกรรมเลนน้ํา เลนทราย และยอมรับความคิด
ของเพ่อื นทต่ี างไปจากตน

๑.๔ ประสบการณสําคัญที่สงเสริมพัฒนาการดานสติปญญา เปนการสนับสนุนใหเด็ก
ไดเ รยี นรกู ารใชภ าษา พฒั นาการคดิ รวบยอด การคดิ เชงิ เหตผุ ล การตดั สนิ ใจและแกป ญ หา การมจี นิ ตนาการและ

ความคดิ สรา งสรรค มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ การเรยี นรแู ละการแสวงหาความรู ผา นการมปี ฏสิ มั พนั ธก บั สงิ่ แวดลอ ม บคุ คล

และส่ือตางๆ ดวยกระบวนการเรยี นรทู ี่หลากหลาย ดังน้ี

ประสบการณส ําคัญ (ดานสติปญ ญา) ตวั อยา งประสบการณและกิจกรรม

๑.๔.๑ การใชภาษา

(๑) การฟง เสียงตางๆ ในสง่ิ แวดลอ ม ฟงเสียงตางๆ รอบตัวและบอกเสียงท่ีไดยิน เชน
เสยี งหายใจ ลมพดั นกรอง รถยนต คนเดิน สตั วรอง

(๒) การฟง และปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนาํ ฟง และปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนาํ เชน การเลน เกม การเคลอ่ื นไหว
ตามคําบรรยาย รวมทง้ั ขอ ตกลงในหอ งเรียน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป (๓) การฟงเพลง นทิ าน คําคลอ งจอง บทรอยกรอง ฟงเพลง นิทาน คําคลองจอง บทรอยกรองงายๆ หรือ
หรือเรือ่ งราวตา งๆ เร่ืองราวตา งๆ

(๔) การพดู แสดงความคดิ ความรสู กึ และความตองการ พูดแสดงความคดิ เหน็ ความรสู กึ ความตองการในส่งิ ตางๆ
ใชคําถาม ใคร อะไร ทําไม อยางไร ในสง่ิ ที่ตองการทราบ

(๕) การพูดกบั ผูอน่ื เก่ยี วกบั ประสบการณข องตนเอง พูดเลาขาว เลาประสบการณ หรอื เรื่องราวเก่ยี วกับตนเอง
หรอื พูดเลาเรื่องราวเกยี่ วกับตนเอง หรือเหตุการณประจาํ วัน เชน ครอบครวั ของฉัน

28 (๖) การพูดอธิบายเก่ยี วกบั ส่ิงของ เหตกุ ารณ และ พูดบอกลกั ษณะสงิ่ ของทสี่ ังเกต เลาขา ว เลา ประสบการณ
ความสมั พนั ธของสิ่งตา งๆ เชน กจิ กรรมท่ีทาํ ในวันหยดุ กิจกรรมทไ่ี ดท าํ ดวยตนเอง
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ หรือทํารวมกับเพ่ือนและครู หรือเหตุการณที่เกิดขึ้น
ตามลําดบั หรือตามชวงเวลา

(๗) การพูดอยา งสรางสรรคใ นการเลนและการกระทํา เลาส่ิงที่กําลังเลน กําลังทํา พูดใหกําลังใจ ปลอบใจ
ตางๆ คาํ แนะนาํ เพอ่ื นในการเลน และการทาํ งาน อธบิ ายวธิ เี ลน
ใหเพื่อนฟง

(๘) การรอจังหวะทเ่ี หมาะสมในการพูด ตอบคําถามและมีมารยาทในการพูด เชน ยกมือกอนพูด
ไมพ ูดแทรกในขณะทีผ่ ูอ ่ืนกําลงั พดู

(๙) การพดู เรียงลาํ ดบั คําเพอื่ ใชใ นการส่อื สาร เรียงคําพูดในสิ่งท่ีคิดเพ่ืออธิบายใหผูอ่ืนเขาใจ เชน
พดู เลาเร่ืองจากภาพหรอื เหตกุ ารณท ่ีพบเห็น

(๑๐) การอานหนงั สอื ภาพ นิทานหลากหลายประเภท/ อานภาพ นิทาน อานปายและสัญลักษณที่เด็กสนใจ
รปู แบบ อานนิทานใหเ พื่อนฟง

(๑๑) การอานอยางอิสระตามลําพัง การอานรวมกนั - อานนิทานหรือหนังสือภาพที่สนใจอยางอิสระตามลําพัง
การอานโดยมผี ชู แี้ นะ ในมุมหนงั สือ
- อานรวมกัน โดยครูแนะนําสวนตางๆ ของหนังสือ
ตงั้ แตป กหนา จนถงึ ปกหลงั แลว เปน ผนู าํ การอา นโดยชค้ี าํ
ในหนงั สอื จากซายไปขวา เดก็ ชแ้ี ละอานตามครูพรอ มกนั
- อานโดยมีผูชี้แนะ โดยครูเปนผูนําการอานกับเด็กกลุมยอย
๓ - ๕ คน

ประสบการณสาํ คัญ (ดานสติปญญา) ตัวอยางประสบการณแ ละกจิ กรรม

(๑๒) การเหน็ แบบอยางของการอานที่ถูกตอง ดูตัวอยางครูชี้คําและกวาดสายตาจากการอานหนังสือ
นทิ าน ปา ย บตั รขอ ความ แถบประโยค หรือแผนภูมิเพลง

(๑๓) การสังเกตทศิ ทางการอา นตวั อักษร คาํ และขอความ ดตู วั อยา งการกวาดสายตาอา นตวั อกั ษร คาํ และขอ ความ
จากซายไปขวา บรรทัดบนลงบรรทัดลา ง

(๑๔) การอานและช้ีขอ ความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั ดูตัวอยางการกวาดสายตาและชี้คําอานขอความ
จากซา ยไปขวา จากบนลงลา ง หนังสือนิทาน แผนภูมิเพลง จากซา ยไปขวา บรรทดั บน
ลงบรรทัดลาง

(๑๕) การสังเกตตวั อกั ษรในชือ่ ของตน หรือคาํ คุนเคย ชี้หรือบอกตัวอักษรบางตัวท่ีคุนเคยในช่ือตนเอง นิทาน
เพลง คาํ คลอ งจอง ปา ยขอ ความ สงั เกตบตั รชอ่ื นามสกลุ
ตวั เองกับเพื่อนวามอี กั ษรตัวไหนเหมอื นกนั

(๑๖) การสังเกตตวั อักษรท่ปี ระกอบเปน คํา ผา นการอา น - มองและชี้ตัวอักษรในคํา ขอความ ประโยค นิทาน
หรอื เขยี นของผใู หญ แผนภูมิเพลง ปริศนาคําทาย หรือประโยคท่ีครูเขียน
- สังเกตทิศทางการเขียนตัวพยัญชนะหรือคําที่คุนเคย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ของครู
- สงั เกตการเขยี นบนทรายหรอื การเขยี นในอากาศของครู
- ขดดนิ น้ํามนั เปน ตัวพยญั ชนะท่ีคุนเคย เชน พยญั ชนะ
ตน ชอ่ื ของตนเอง
29
(๑๗) การคาดเดาคาํ วลี หรอื ประโยคท่ีมีโครงสรา งซ้าํ ๆ กัน - เลนเดาคําบางคําที่คุนเคยในหนังสือนิทาน เพลง
จากนิทาน เพลง คาํ คลองจอง คาํ คลองจอง คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
- เลนเดาตัวพยญั ชนะทห่ี ายไปจากคําทค่ี นุ เคย
- เลนเปล่ยี นคําบางคําในประโยคท่ีมีโครงสรา งซา้ํ ๆ

(๑๘) การเลน เกมทางภาษา - เลนเกมทางภาษาตางๆ เชน หาภาพกับสัญลักษณ
จับคูคาํ กับภาพ
- หาตัวอักษรหรอื คาํ บางคําจากนทิ าน
- ตอเติมตัวอักษรลงในบัตรคํา บิงโกภาษา ลอตโต
พยัญชนะกบั คาํ วาดภาพและแตงเรื่องราวท่มี ีโครงเรือ่ ง
เดียวกับนิทาน

(๑๙) การเหน็ แบบอยา งของการเขียนทถ่ี ูกตอง - สังเกตตัวอยางการเขียนของครูในโอกาสตางๆ เชน
เขียนขอตกลงช้ันเรียน เขียนประกาศวันสําคัญ เขียน
วนั ที่ เดือน ป
- เขียนคาํ บรรยายใตผลงานศลิ ปะของเดก็
- เขยี นบนั ทกึ คําพดู ของเดก็
- สงั เกตตัวอักษรหรือสญั ลกั ษณ เชน ปายช่อื ครู ปายช่ือ
ตนเอง ปฏิทินในชวี ติ ประจําวัน

ประสบการณส ําคญั (ดานสตปิ ญญา) ตวั อยางประสบการณและกจิ กรรม

(๒๐) การเขียนรวมกันตามโอกาส และการเขยี นอสิ ระ - เขียนรวมกับครูในกิจกรรมการเลนตามมุม เชน
เมนอู าหาร ปา ยฉลาก ขวดยาคณุ หมอ
- เลียนแบบการเขียนของครู โดยลอกตัวอักษรหรือ
สญั ลกั ษณจากบตั รคาํ ลงในสมดุ นิทานทีร่ ว มกันแตง
- รวมกับครูวาดภาพและเขยี นคําอธิบายภาพ
- เขียนตามโอกาส เชน บัตรอวยพรวันเกดิ ใหเ พ่ือน

(๒๑) การเขยี นคาํ ทมี่ คี วามหมายกบั ตัวเดก็ /คําคุนเคย เขยี นชอ่ื ตนเอง เขยี นคาํ ทค่ี นุ เคย เขยี นสญั ลกั ษณจ ากการ
อานนิทาน เรือ่ งราว เนื้อเพลง ปายสัญลกั ษณต า งๆ รวมกนั
เขียนคําแตง ปา ยนิเทศ เขียนชื่อตดิ ช้นั วางของสวนตัว

(๒๒) การคิดสะกดคาํ และเขยี นเพอ่ื สือ่ ความหมาย เขยี นคาํ งา ยๆ ประกอบภาพตามความสนใจ เขยี นชอ่ื ตนเอง
ดว ยตนเองอยางอสิ ระ เขียนบัตรอวยพรโอกาสตางๆ เขียนภาพนิทานหรือ
เรอ่ื งนทิ านอยา งอสิ ระตามความสนใจหรอื ความตอ งการ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ของเด็กไมใชกําหนดโดยครู การคิดสะกดคําและ
เขียนอิสระของเด็กจึงมีการเขียนแบบลองผิดลองถูก
ของเดก็ เอง ซง่ึ ครูตองไมต าํ หนิ/ลงโทษเมื่อเด็กเขยี นผดิ

๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล การตดั สนิ ใจและแกปญหา

(๑) การสงั เกตลกั ษณะ สวนประกอบ การเปลี่ยนแปลง - ใชประสาทสัมผัสในการสังเกตและบอกลักษณะหรือ
30 และความสมั พันธข องสิ่งตางๆ โดยใชประสาทสมั ผสั สว นประกอบของส่ิงตา งๆ เชน รางกายของตนเอง สัตว
อยางเหมาะสม พชื ส่งิ ของเคร่ืองใช ดนิ นา้ํ ทอ งฟา บริเวณตางๆ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ - สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของส่ิงตางๆ เชน
การเปล่ียนแปลงของรางกายมนุษย สัตว พืช เมื่อ
เจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงของลมฟาอากาศ
การเปลี่ยนแปลงของวัตถุและสง่ิ ของเครอื่ งใช
- สังเกตและบอกความสัมพันธของส่ิงตางๆ เชน
การนําส่ิงตางๆ มาใชประโยชน ความสัมพันธระหวาง
การกระทาํ บางอยา งกบั ผลทเี่ กดิ ขน้ึ เชน ถา รบั ประทาน
อาหารแลวไมแปรงฟนฟนจะผุ ถาใสนํ้าตาลลงไป
ในน้ําแลวนํ้าตาลจะละลาย ถาปลอยส่ิงของจากที่สูง
แลว สงิ่ ของจะตกลงมา

(๒) การสงั เกตส่ิงตางๆ และสถานที่จากมมุ มองทตี่ า งกัน สังเกตสง่ิ ของ หรือสาํ รวจสถานทีต่ า งๆ หรอื เลนปน ปา ย
เครื่องเลนสนาม ลอดอุโมงค และบอกหรือวาดภาพ
เก่ียวกับลักษณะ พื้นที่ ระยะ ตําแหนงของสิ่งของ
สถานท่ี หรือเครอ่ื งเลนจากมมุ มองตา งๆ

ประสบการณส ําคญั (ดา นสติปญญา) ตัวอยา งประสบการณและกจิ กรรม ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๓) การบอกและแสดงตําแหนง ทศิ ทาง และระยะทาง - สํารวจส่ิงตางๆ ท่ีอยูในบริเวณหนึ่ง เชน ส่ิงของท่ีอยู
ของส่ิงตา งๆ ดวยการกระทํา ภาพวาด ภาพถา ย และ บนโตะ สิ่งของท่ีอยูในหอง และบอกหรอื วาดภาพแสดง 31
รูปภาพ ตาํ แหนง ทิศทาง หรอื ระยะทางของสง่ิ นั้นๆ
- สํารวจสถานที่ตางๆ ถายภาพ วาดภาพ หรือเขียน คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
(๔) การเลน กบั สอ่ื ตา งๆ ท่เี ปนทรงกลม ทรงสีเ่ หล่ยี ม แผนผังสถานท่ีนั้นๆ แลวนํารูปภาพมาอธิบายตําแหนง
มมุ ฉาก ทรงกระบอก ทรงกรวย ทศิ ทาง หรือระยะทางของสถานท่ี
- เลนเกมเก่ยี วกบั มติ สิ มั พันธ เชน วางสงิ่ ของในตาํ แหนง
(๕) การคดั แยก การจดั กลุม และการจําแนกสงิ่ ตางๆ ที่กําหนด บอกช่ือสิ่งของท่ีอยูในตําแหนงที่กําหนด
ตามลกั ษณะและรูปรา ง รูปทรง บอกตาํ แหนง ทศิ ทาง หรอื ระยะทางของสงิ่ ของทก่ี าํ หนด
(๖) การตอของชนิ้ เลก็ เติมในชน้ิ ใหญใ หส มบรู ณ และ ใชรางกายเคล่ือนท่ีไปยังตําแหนงหรือไปตามทิศทาง
การแยกช้ินสว น ทก่ี ําหนด
- เลนสํารวจ จําแนกและบอกลักษณะสิ่งของรอบตัว
ที่มีลักษณะเหมือนหรือคลายทรงกลม ทรงกระบอก
ทรงสีเ่ หลีย่ มมมุ ฉาก และทรงกรวย
- เลนสํารวจบอกส่ิงของรอบตัวท่ีมีลักษณะเหมือน
หรือคลายภาพวงกลม ส่ีเหล่ยี ม สามเหลยี่ ม และวงรี
- เลนเกมจําแนกภาพหรือส่ิงของที่มีลักษณะเหมือน
หรอื คลา ยวงกลม สี่เหลีย่ ม สามเหลีย่ ม และวงรี
- ปนดินน้ํามนั เปน ทรงกลม ทรงกระบอก ทรงสเี่ หลย่ี ม
ทรงกรวย และตัดตามแนวนอน แนวตั้ง แนวเฉียง
นําสวนหนาตัดไปพมิ พภ าพ
- วาดภาพ พับ ตัด ตอ เตมิ ภาพจากรปู วงกลม สเ่ี หลีย่ ม
สามเหลี่ยม และวงรี
คัดแยก จําแนก จัดกลุมสิ่งตางๆ ตามลักษณะ รูปราง
รปู ทรง หรือตามเกณฑต างๆ ทก่ี ําหนด เชน สัตว ผลไม
ใบไม ดอกไม ดิน หนิ ของเลน ส่งิ ของเครอ่ื งใชรอบตวั
- เลนตอหรือประกอบชิ้นสวนของของเลนชิ้นเล็ก
ใหเปนช้ินใหญที่สมบูรณตามเง่ือนไขท่ีกําหนดหรือ
ตามจินตนาการ เชน จิ๊กซอวไมหมุด จิ๊กซอวรูปภาพ
ภาพตัดตอ ตัวตอ บล็อก และแยกช้ินสวนของเลนเก็บเขา ที่
- ประดิษฐช้ินงานจากวัสดุตางๆ ท่ีเปนชิ้นเล็กใหเปน
ชิ้นใหญ เชน รอยลูกปด รอยดอกไม รอยวัสดุตางๆ
สรา งภาพจากวสั ดจุ ากธรรมชาตหิ รอื เศษวัสดรุ อบตัว

ประสบการณสาํ คญั (ดานสติปญ ญา) ตัวอยา งประสบการณแ ละกิจกรรม

(๗) การทาํ ซํา้ การตอ เตมิ และการสรา งแบบรปู - สาํ รวจหาแบบรปู จากสิ่งตางๆ เชน ลวดลายบนเสื้อผา
หรือส่ิงของเคร่ืองใช ลวดลายของกระเบื้องปูพื้นหรือ
ผนังหองในเรอ่ื งสี ลวดลาย ขนาด รูปรา ง รูปทรง และ
แบบรูปจากทา ทาง เสยี ง
- วางแบบรูปใหเหมือนตนแบบ หรือตอเติมจากท่ี
กําหนด หรอื สรางแบบรูปใหมขึ้นเอง โดยการเลนเกมใช
ของจรงิ เชน วางบล็อก ไมไ อศกรีม ใบไม เปลอื กหอย
ฝาขวด หรือวัสดุอืน่ ๆ ใหเปน แบบรปู และโดยการสรา ง
ชน้ิ งานหรอื วธิ กี ารภายใตเ งอื่ นไขทก่ี าํ หนด เชน รอ ยลกู ปด
รอ ยดอกไม ทําโมบาย ทาํ ทาทาง สรางเสยี ง

(๘) การนับและแสดงจํานวนของสิง่ ตา งๆ - รองเพลงหรอื ทองคาํ คลอ งจองทเ่ี กี่ยวกบั ชื่อเรียกจํานวน
ในชวี ติ ประจําวนั - นับปากเปลาในกิจวัตรประจําวัน เชน นับขณะที่
รอการเขาแถวหรือน่ังท่ีใหเรียบรอย นับเพ่ือใหเวลากับ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป การเก็บของเขาท่ี นับเพ่ือเตรียมตัวออกจากจุดเริ่มตน
ขณะเลนเกม นับส่ิงตางๆ เชน นับเพ่ือนในกลุม
นบั ขนมในจาน นับของเลน นบั สง่ิ ของเครอื่ งใช
- หยิบหรือแสดงส่ิงตางๆ ตามจํานวนท่ีกําหนด เชน
หยบิ จาน แกว นํ้า ผลไม ดนิ สอ ดินนํา้ มนั ของเลน

32 (๙) การเปรียบเทยี บและเรยี งลาํ ดับจํานวนของสิ่งตางๆ - เปรยี บเทียบจํานวนของส่งิ ตา งๆ เชน จํานวนเด็กชาย
กับเด็กหญิง จํานวนขนมกับจํานวนเด็ก จํานวนเด็กกับ
จาํ นวนเกา อ้ี หรอื จาํ นวนแกว กบั จาํ นวนแปรงสฟี น โดยใช
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การจับคูก นั และสงั เกตวาเทากนั หรือไมเ ทากนั มากกวา
หรอื นอยกวา
- เรียงลําดับจํานวนของสิ่งตางๆ เชน จําแนกชนิด
ของบล็อกแลวนํามาเรียงลําดับจํานวน โดยการจับคู
หน่ึงตอหน่ึงและวางบล็อกแตละชนิดเรียงเปนแถว
เพ่ือเรียงลําดับ สํารวจและเก็บดอกไมหรือใบไมชนิดตางๆ
มาเรยี งลําดับจาํ นวน

(๑๐) การรวมและการแยกสิ่งตา งๆ - นําสิ่งตางๆ สองกลุมมารวมเขาดวยกัน แลวบอก
จาํ นวนทเ่ี กดิ จากการรวมของสงิ่ นนั้ เชน รวมคนสองกลมุ
เขาดวยกันแลวนับและบอกจํานวนท้ังหมด นําบล็อก
สองกองมารวมกนั แลวนับและบอกจํานวนทัง้ หมด
- แยกกลุมยอยของส่ิงตางๆ ออกจากกลุมใหญ แลว
บอกจาํ นวนทเ่ี หลอื ในกลุมใหญ เชน แยกคนจํานวนหน่ึง
ออกจากกลุมใหญแลวนับและบอกจํานวนคนที่เหลือ
ในกลุมใหญ แบงขนมใหเพื่อนแลวนับและบอกจํานวน
ที่เหลือในจาน หยิบสีเทียนจํานวนหน่ึงออกจากกลอง
แลวนบั จาํ นวนสีเทียนทเี่ หลอื ในกลอง

ประสบการณส ําคญั (ดานสติปญ ญา) ตัวอยา งประสบการณและกิจกรรม ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๑๑) การบอกและแสดงอนั ดับที่ของส่งิ ตางๆ - บอกอันดับท่ขี องตนเองหรือเพ่อื นทย่ี นื อยูในแถว
(๑๒) การชง่ั ตวง วดั ส่ิงตา งๆ โดยใชเ ครอ่ื งมือ - ช้ี หยบิ หรอื วางส่งิ ของตามอันดับทีท่ ่กี ําหนด 33
และหนว ยท่ไี มใชหนว ยมาตรฐาน - สนทนาและบอกเก่ียวกับอันดับที่ในชีวิตประจําวัน
หรอื ในกิจกรรม เชน เปนลกู คนท่เี ทาไหรข องครอบครัว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
(๑๓) การจบั คู การเปรียบเทยี บ และการเรยี งลาํ ดบั ใครมาถงึ โรงเรยี นอนั ดบั ทห่ี นง่ึ อนั ดบั ทส่ี อง อนั ดบั ทสี่ าม
สงิ่ ตา งๆ ตามลักษณะ ความยาว ความสงู นาํ้ หนกั บอกอนั ดบั ทก่ี ารเลอื กมมุ เลน เชน หนเู ลอื กเลน มมุ บลอ็ ก
ปรมิ าตร เปนกิจกรรมทห่ี น่ึงหรือสอง
- เลนในมุมบานหรือเลนบทบาทสมมติรานขายของ
ช่งั นํ้าหนักสิ่งตา งๆ เชน ผลไม ขนม โดยใชตาชง่ั สองแขน
อยางงายและใชวัสดุท่ีมีรูปรางขนาดและนํ้าหนักเทากัน
เปน หนว ยในการชงั่ นา้ํ หนกั เชน ไมบ ลอ็ ก ลกู แกว เหรยี ญ
- เลนตวงทรายหรือนํ้า โดยใชภาชนะตางๆ เชน ชอน
แกว ขวด และบอกปริมาตรของทรายหรือนํ้าท่ีตวง
ตามจาํ นวนของภาชนะทใี่ ชเปนหนว ยในการตวง
- วัดความยาวหรอื ความสูงของส่ิงตา งๆ โดยเลือกใชสง่ิ ท่ี
มขี นาดเทา กนั นาํ มาตอ กนั เชน บลอ็ ก ลวดเสยี บกระดาษ
หลอด ไมไอศกรีม หรือสวนของรางกาย เชน สวนสูง
แลวบอกความยาวหรือความสูงตามจํานวนของส่ิงของ
ที่นํามาใชเ ปน หนวยในการวัด
- จับคูสิ่งตางๆ ตามลักษณะท่ีสัมพันธกันหรือตามท่ี
กําหนด เชน จับคูส่ิงของท่ีเปนของจริงท่ีใชรวมกัน เชน
ชอ นกบั สอ ม จบั คสู ง่ิ ทเ่ี หมอื นกนั เชน ของเลน ทม่ี ลี กั ษณะ
เหมอื นกัน จับคูสิ่งทแ่ี ตกตา งกนั เชน บลอ็ กท่ีแตกตา งกัน
เดก็ ผหู ญงิ กบั เดก็ ผชู าย จบั คภู าพกบั เงา จบั คสู ญั ลกั ษณต วั เลข
กับส่งิ ของทม่ี จี าํ นวนตรงกับตัวเลขนนั้
- เปรียบเทียบและบอกความเหมือนและความแตกตาง
ของลักษณะของสิ่งของสองสิ่ง เชน สี รูปราง ผิวสัมผัส
สวนประกอบของผลไม ดอกไม ตนไม ใบไม สัตว วัตถุ
หรอื สิ่งของเครอื่ งใช
- เปรียบเทียบความยาวหรือความสูงของสิ่งของสองสิ่ง
ท่ีมีความยาวหรอื ความสงู แตกตา งกนั ชัดเจน
- เปรียบเทียบสิ่งของสองช้นิ ทม่ี นี า้ํ หนกั แตกตางกนั อยาง
ชัดเจน เชน ลกู ฟุตบอลกบั ลกู เทนนิส ขวดท่ีใสน้ําเต็มขวด
กับขวดเปลา โดยลองยกดวยมือแลวบอกวาส่ิงของช้ินใด
หนกั กวาหรอื เบากวา
- สงั เกตและเปรยี บเทยี บปรมิ าตรของสง่ิ ของ เชน ทราย นา้ํ
แปง ที่อยูในภาชนะท่ีมีรูปรางเหมือนกัน ขนาดเทากัน
สองใบวาสิ่งของในภาชนะใบไหนมีปริมาตรมากกวา
หรอื นอยกวา โดยดูจากความสงู ของสง่ิ ของในภาชนะ
- เรยี งลาํ ดบั ความยาวหรอื ความสงู นํ้าหนกั หรอื ปรมิ าตร
ของสิ่งของแตละชนดิ ตัง้ แต ๓ สง่ิ ขนึ้ ไป เชน เรียงลาํ ดบั
ความสูงของเด็ก ๓ คน เรียงลําดับน้ําหนักของผลไม
๓ ชนดิ เรยี งลําดับปริมาตรของนาํ้ ทอี่ ยูในภาชนะ ๓ ใบ

ประสบการณส ําคญั (ดา นสตปิ ญญา) ตวั อยางประสบการณแ ละกจิ กรรม

(๑๔) การบอกและเรียงลาํ ดบั กจิ กรรมหรือเหตกุ ารณ เช่ือมโยงชวงเวลากับการกระทําและเหตุการณตางๆ
ตามชว งเวลา เชน ทบทวนกิจวัตรประจําวันและกิจกรรมประจําวัน
ตามลําดับเวลา เลนเกมเรียงลําดับเหตุการณตามชวง
เวลา เชน กลางวัน กลางคืน กอน หลัง เชา บาย เย็น
เม่ือวานนี้ วันน้ี พรุงน้ี

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป (๑๕) การใชภาษาทางคณิตศาสตรก ับเหตุการณ - สังเกตเงนิ เหรียญและธนบตั รชนดิ ตา งๆ เลน เกมจาํ แนก
ในชวี ิตประจําวนั ชนิดของเงนิ เลนเกมขายของ จัดกิจกรรมตลาดนัดใหเดก็
34 (๑๖) การอธบิ ายเชอื่ มโยงสาเหตุและผลที่เกดิ ขนึ้ ฝกการใชเงนิ ซ้ือและทอนเงนิ
ในเหตกุ ารณหรอื การกระทาํ - สนทนารวมกันเกี่ยวกับเหตุการณในชีวิตประจําวัน
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ จากเหตุการณจริง เรื่องเลาหรือนิทาน โดยใชภาษา
ทางคณิตศาสตรในเหตุการณตางๆ เชน จํานวนเทาไหร
เทา กนั ไมเทากัน มากกวา นอ ยกวา มากท่ีสุด นอยที่สดุ
คนท่ี อันดับท่ีหรือลําดับที่ รวมกัน ท้ังหมด มากข้ึน
หรือเพิ่มข้ึนหรือเยอะข้ึน แบงกันหรือแยกกัน นอยลง
หรือลดลง เหลอื สัน้ ยาว สูง เตี้ย ตํา่ หนัก เบา หนักกวา
เบากวา หนกั ทสี่ ดุ เบาทีส่ ดุ กลางวนั กลางคืน กอ น หลัง
เชา บาย เย็น เม่ือวานนี้ วันนี้ พรุงนี้ ที่ไหน ขางไหน
ขางบน ขางลาง ขางหนา ขางหลัง ระหวาง ขางซาย
ขางขวา ใกล ไกล ทรงกลม ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก
ทรงกระบอก ทรงกรวย วงกลม รปู สเ่ี หลย่ี ม รปู สามเหลยี่ ม
- สาํ รวจเหตกุ ารณใ นชวี ติ ประจาํ วนั และสนทนาเกยี่ วกบั
สาเหตุและผลท่ีเกิดข้ึน เชน กินอาหารแลวไมแปรงฟน
จะทําใหฟน ผุ ถา ตากฝนอาจจะทําใหเปนหวัด การทง้ิ ขยะ
ไมถ กู ท่จี ะทาํ ใหบ ริเวณนัน้ สกปรก
- สังเกต สํารวจ หรือทดลองอยางงายเก่ียวกับส่ิงตางๆ
รอบตวั แลว อธบิ ายสาเหตแุ ละผลท่ีเกดิ ขน้ึ เชน ลองใส
น้ําตาลลงไปในน้ํา สังเกตแลวบอกไดวาน้ําตาลสามารถ
ละลายในนํ้าได ฟงและเปรียบเทียบเสียงของส่ิงตางๆ
แลวบอกไดวา ส่ิงของทแี่ ตกตางกนั ทําใหเ กิดเสยี งตางกัน
ทอดไขแ ลว สงั เกตการเปลยี่ นแปลงแลว บอกไดว า ความรอ น
ทําใหไขสุกรับประทานได เลนโยนหรือเตะลูกบอล
โดยออกแรงแตกตางกันแลวบอกไดวาถาออกแรงมาก
ลูกบอลจะไปไกล

(๑๗) การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ - สนทนาระหวางฟงนิทานหรือเร่ืองเลาเพื่อคาดเดา
อยางมเี หตุผล เหตุการณที่อาจจะเกิดขึ้นพรอมบอกเหตุผล กอนท่ีจะ
ฟง เนือ้ เรื่องตอไป
- คาดคะเนหรอื ตง้ั สมมตฐิ านกอ นทดลอง เชน คาดคะเนวา
วัตถุใดจะจมน้ําหรือลอยนํ้า คาดคะเนวาสัตวท่ีสนใจ
นาจะกินอาหารชนิดใด คาดคะเนวาถาออกแรงในการ
ผลกั รถของเลน ดว ยแรงทแี่ ตกตา งกนั จะทาํ ใหร ถของเลน
มีการเคล่ือนท่ีเปนอยา งไร

ประสบการณสาํ คญั (ดา นสตปิ ญ ญา) ตัวอยา งประสบการณและกจิ กรรม ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๑๘) การมสี ว นรวมในการลงความเหน็ จากขอ มลู - บอกสิ่งที่สังเกตพบหรืออธิบายขอคนพบจากการสังเกต
อยา งมีเหตุผล สํารวจ หรือทําการทดลองอยางงายเก่ียวกับสิ่งตางๆ 35
รอบตัว เชน สนทนาและสรุปเก่ียวกับสวนประกอบ
(๑๙) การตัดสนิ ใจและมีสว นรวมในกระบวนการ ของไขท ไ่ี ดจ ากการสงั เกตไขของจรงิ สนทนาและอธิบาย คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
แกป ญ หา เก่ียวกับรสชาติและสวนประกอบของอาหารท่ีไดจาก
การสังเกตและชมิ อาหารของจริง
๑.๔.๓ จินตนาการและความคดิ สรา งสรรค - สังเกตอากาศแตละวัน สนทนาและสรุปเกี่ยวกับ
(๑) การรับรูแ ละแสดงความคดิ ความรูส ึกผานส่อื สภาพอากาศในแตล ะวนั สาํ รวจตน ไมใ นบรเิ วณโรงเรยี น
วสั ดุ ของเลน และช้นิ งาน สนทนาและสรปุ ชนิดของตนไมท่ีพบในบรเิ วณโรงเรยี น
- สํารวจแบบรูปของส่ิงตางๆ รอบตัว สนทนาและ
(๒) การแสดงความคดิ สรา งสรรคผ า นภาษา ทาทาง บอกลักษณะของแบบรูปที่พบ จัดกลุมส่ิงของแลว
การเคลื่อนไหว และศลิ ปะ สนทนาเกี่ยวกับการจัดกลุมส่ิงของวาจัดเปนกลุม
(๓) การสรางสรรคช ิ้นงานโดยใชร ปู ราง รปู ทรงจาก ไดอยางไรบา ง โดยใชอ ะไรเปนเกณฑ
วสั ดทุ ี่หลากหลาย - ตัดสินใจและเลือกวิธีแกปญหาในระหวางเลน หรือ
ในชวี ติ ประจาํ วนั หรอื ทาํ กจิ กรรม เชน เลน เกมการศกึ ษา
ตางๆ แกปญหาในการเลนกับเพื่อน แกปญหาในการ
แบงของเลนใหเพียงพอกับจํานวนของเพ่ือนในกลุม
แกปญหาในการจัดวางหรือเก็บส่ิงของใหเปนระเบียบ
รว มกบั ครแู ละเพอื่ นวางแผนและลงมอื แกป ญ หาเกย่ี วกบั
การกําจัดหรือลดปริมาณขยะหรือเศษวัสดุเหลือใช
การประดษิ ฐสิ่งของหรอื ทําชิ้นงานใหไ ดต ามเงื่อนไข

- สังเกต สัมผสั ทดลอง เลนอิสระกับสื่อ วัสดุ และของเลน
บอกหรือเลาเรื่องถายทอดความคิดความรูสึกท่ีไดจาก
การสงั เกต สมั ผสั ทดลอง หรอื เลน อสิ ระกบั สง่ิ ตา งๆ เหลา นนั้
เชน ตอบลอ็ กเปน รปู ตางๆ ประดษิ ฐส ง่ิ ของตางๆ
- บอกหรือเลาเร่ืองถายทอดความคิดความรูสึกที่ได
จากการตอบลอ็ กหรือประดิษฐส ิง่ ของตา งๆ ทํากจิ กรรม
ศิลปะในลักษณะตางๆ บอกหรือเลาเรื่องถายทอด
ความคิดความรูสกึ จากชนิ้ งาน
เลาเร่ืองตอกันคนละประโยคอยางสัมพันธกัน วาดภาพ
และเลาเรื่องตอเนื่อง และปริศนาคําทาย แสดงทาทาง
เคลื่อนไหวอยางอิสระประกอบการเลานิทาน การเลาเร่ือง
การรองเพลง รวมทั้งเพลงบรรเลง เคล่ือนไหวประกอบ
ส่ือหรือวสั ดุอื่นทเี่ หมาะสม ตอ บล็อกเปนรูปตา งๆ ประดิษฐ
สิ่งของตางๆ อยางอสิ ระทแี่ สดงถงึ ความแปลกใหม
ระบายสีสรางภาพ ฉีก ตัด ปะ ประดิษฐ หรือปน
โดยใชรูปราง รูปทรงตางๆ จากวัสดุที่แตกตางกัน
ทัง้ วัสดทุ องถนิ่ วัสดธุ รรมชาติ และวสั ดเุ หลือใช

ประสบการณส ําคญั (ดา นสตปิ ญ ญา) ตัวอยางประสบการณและกิจกรรม

๑.๔.๔ เจตคติท่ีดตี อการเรียนรแู ละการแสวงหาความรู

(๑) การสาํ รวจสิ่งตา งๆ และแหลงเรียนรูรอบตัว สํารวจ สงั เกต และบันทึกสง่ิ ตา งๆ ท่พี บท้ังในหอ งเรยี น
และนอกหองเรียน เชน สํารวจสิ่งของเครื่องใชในหอง
สํารวจของเลนในมุมประสบการณ สํารวจหนังสือ
ในมุมหนังสือ สํารวจเครื่องเลนในสนาม สํารวจขนม
และอาหารทข่ี ายในโรงเรยี น สาํ รวจสง่ิ มชี วี ติ และไมม ชี วี ติ
ในโรงเรยี น สาํ รวจยานพาหนะ ไปทศั นศกึ ษาตามสถานท่ี
ตางๆ เชน สวนสัตว สวนสาธารณะ ตลาด พิพิธภัณฑ
และแหลงเรียนรูอ ื่นๆ

(๒) การตั้งคําถามในเร่ืองท่ีสนใจ - ตั้งคําถามจากนิทานท่ีฟงหรือเร่ืองท่ีสนใจ เชน
ชอบตวั ละครใดมากที่สุด ฉาก ลาํ ดับเหตกุ ารณ ปญ หา
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป และวิธแี กไ ข
- ต้ังคาํ ถามจากสิง่ ที่พบจากการสงั เกต การสํารวจ หรอื
การทํากิจกรรมตางๆ เชน การสังเกตส่ิงตางๆ รอบตัว
การไปทศั นศกึ ษา การทาํ อาหาร การเลีย้ งสัตว การปลกู พืช
การทดลองอยา งงา ยๆ การสนทนากบั วทิ ยากร ภมู ปิ ญ ญา
ทอ งถ่นิ หรอื ผปู กครอง

36 (๓) การสบื เสาะหาความรเู พ่อื คนหาคําตอบของ - ระบุหรือเลือกคําถามท่ีสามารถหาคําตอบได รวมกับ
ขอสงสยั ตางๆ ครูและเพื่อนในการวางแผนและลงมือสํารวจตรวจสอบ
เกบ็ รวบรวม และบันทกึ ขอมลู ดวยวิธีการตางๆ ลงความเหน็
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ จากขอมูลเพ่ืออธิบายสิ่งท่ีพบ และนําเสนอส่ือสารสิ่งท่ีพบ
เพอ่ื ตอบคําถามท่ตี ง้ั เอาไว

(๔) การมสี วนรว มในการรวบรวมขอ มูลและนาํ เสนอ - รวบรวมขอมูลดวยวิธีการตางๆ เชน สังเกตโดยใช
ขอ มูลจากการสบื เสาะหาความรูใ นรปู แบบตางๆ และ ประสาทสมั ผัสหรือใชเครอื่ งมืออยา งงา ย เชน แวน ขยาย
แผนภูมอิ ยางงาย เครื่องช่ังสองแขนอยางงาย อุปกรณในการวัดความยาว
หรือตวง สํารวจ จําแนก เปรียบเทียบ ทําการทดลอง
อยางงา ยๆ สืบคนขอมลู สอบถามผรู ู และบันทกึ ขอ มูล
ดว ยวธิ ีการตา งๆ เชน วาดภาพ ทาํ สญั ลกั ษณ ถา ยภาพ
นําตวั อยางของจรงิ มาติดลงในกระดาษ
- นําเสนอขอมูลดวยรูปแบบตางๆ เชน พูดบอกเลา
หรืออธิบายประกอบภาพวาดหรือภาพถายท่ีบันทึกไว
แสดงบทบาทสมมติ เชน บทบาทสมมติแสดงทาทาง
เลยี นแบบพฤติกรรมของสตั วท ไี่ ปสงั เกตพบ ทําแบบจําลอง
เชน แบบจําลองของสัตวหรือพืชที่สังเกตพบ รวมกับ
ครูและเพื่อนในการทําแผนผัง ผังความคิด แผนภูมิ
อยางงาย เชน แผนภูมิรูปภาพแสดงชนิดและจํานวน
ของยานพาหนะท่สี ํารวจไดใ นบริเวณโรงเรียน

๒. สาระที่ควรเรียนรู สาระในสวนน้ีกําหนดเฉพาะหัวขอไมมีรายละเอียด ท้ังนี้ เพื่อประสงค ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
จะใหผ สู อนสามารถกาํ หนดรายละเอยี ดขน้ึ เองใหส อดคลอ งกบั วยั ความตอ งการ ความสนใจของเดก็ อาจยดื หยนุ
เน้ือหาได โดยคํานึงถึงประสบการณและสิ่งแวดลอมในชีวิตจริงของเด็ก ผูสอนสามารถนําสาระที่ควรเรียนรู 37
มาบูรณาการจัดประสบการณตางๆ ใหงายตอการเรียนรู ทั้งนี้ มิไดประสงคใหเด็กทองจําเน้ือหา แตตองการ
ใหเด็กเกิดแนวคิดหลังจากนําสาระการเรียนรูน้ันๆ มาจัดประสบการณใหเด็กเพ่ือใหบรรลุจุดหมายท่ีกําหนดไว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
นอกจากน้ี สาระที่ควรเรียนรูยังใชเปนแนวทางชวยผูสอนกําหนดรายละเอียดและความยากงายของเน้ือหา
ใหเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก สาระท่ีควรเรียนรูประกอบดวย เร่ืองราวเก่ียวกับตัวเด็ก เรื่องราวเก่ียวกับ
บุคคลและสถานท่แี วดลอ มเด็ก ธรรมชาตริ อบตัว และสงิ่ ตา งๆ รอบตัวเด็ก เชน

๒.๑ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตวั เดก็ เดก็ ควรเรยี นรเู กย่ี วกบั ชอ่ื นามสกลุ รปู รา งหนา ตา อวยั วะตา งๆ
วิธีระวังรักษารางกายใหสะอาดและมีสุขภาพอนามัยท่ีดี การรับประทานอาหารที่เปนประโยชน การรักษา
ความปลอดภัยของตนเอง รวมทั้งการปฏิบัตติ อผอู ื่นอยา งปลอดภัย การรูจกั ประวัติความเปน มาของตนเองและ
ครอบครวั การปฏบิ ัตติ นเปน สมาชกิ ทดี่ ขี องครอบครัวและโรงเรยี น การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่น การรูจกั
แสดงความคดิ เหน็ ของตนเองและรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผอู น่ื การกาํ กบั ตนเอง การเลน และทาํ สง่ิ ตา งๆ ดว ยตนเอง
ตามลําพังหรือกับผูอื่น การตระหนักรูเก่ียวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะทอนการรับรูอารมณ
และความรสู กึ ของตนเองและผอู นื่ การแสดงออกทางอารมณแ ละความรสู กึ อยา งเหมาะสม การแสดงมารยาททด่ี ี
การมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เม่อื เด็กมโี อกาสเรยี นรแู ลวควรเกิดแนวคดิ เชน

❖ ฉันมีช่ือต้ังแตเกิด ฉันมีเสียง รูปรางหนาตาไมเหมือนใคร ฉันภูมิใจที่เปนตัวฉันเอง
เปน คนไทยทด่ี ี มมี ารยาท มวี นิ ยั รจู กั แบง ปน ทาํ สง่ิ ตา งๆ ดว ยตนเอง เชน แตง ตวั แปรงฟน รบั ประทานอาหาร ฯลฯ

❖ ฉนั มีอวยั วะตา งๆ เชน ตา หู จมกู ปาก ขา มอื ผม นิ้วมอื นิว้ เทา ฯลฯ และฉนั รูจัก
วธิ ีรักษารางกายใหสะอาด ปลอดภัย มีสขุ ภาพดี

❖ ฉนั ใชต า หู จมกู ลนิ้ และผวิ กาย ชว ยในการรบั รสู ง่ิ ตา งๆ จงึ ควรดแู ลรกั ษาใหป ลอดภยั
❖ ฉันตองการอากาศ น้ํา และอาหารเพ่ือการดํารงชีวิต ฉันจึงตองรับประทานอาหาร
ท่ีมีประโยชน ออกกําลงั กาย และพกั ผอ นใหเพยี งพอ เพื่อใหรางกายแข็งแรงเจริญเติบโต
❖ ฉนั ตระหนกั รเู กยี่ วกบั ตนเองวา ฉนั สามารถเคลอื่ นไหวโดยควบคมุ รา งกายไปในทศิ ทาง
ระดับ และพืน้ ที่ตา งๆ รางกายของฉนั อาจมกี ารเปล่ียนแปลงเมื่อฉนั รสู กึ ไมสบาย
❖ ฉันเรียนรูขอตกลงตางๆ รูจักระมัดระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ่ืน
เมอ่ื ทํางาน เลนคนเดยี ว และเลน กบั ผอู ื่น
❖ ฉันอาจรูสึกดีใจ เสียใจ โกรธ เหนื่อย หรืออ่ืนๆ แตฉันเรียนรูท่ีจะแสดงความรูสึก
ในทางที่ดีและเหมาะสม เมื่อฉันแสดงความคิดเห็นหรือทําส่ิงตางๆ ดวยความคิดของตนเอง แสดงวา
ฉันมีความคดิ สรา งสรรค ความคดิ ของฉันเปนสิง่ สําคญั แตคนอืน่ ก็มคี วามคดิ ที่ดเี หมอื นฉันเชน กนั

๒.๒ เร่ืองราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก เด็กควรเรียนรูเกี่ยวกับครอบครัว
สถานศึกษา ชุมชน และบุคคลตางๆ ที่เด็กตองเก่ียวของหรือใกลชิดและมีปฏิสัมพันธในชีวิตประจําวัน
สถานที่สาํ คัญ วนั สําคัญ อาชพี ของคนในชุมชน ศาสนา แหลงวฒั นธรรมในชุมชน สัญลกั ษณส าํ คญั ของชาตไิ ทย
และการปฏิบัติตามวัฒนธรรมทองถ่ินและความเปนไทย หรือแหลงเรียนรูจากภูมิปญญาทองถิ่นอ่ืนๆ เมื่อเด็ก
มโี อกาสเรียนรแู ลว ควรเกดิ แนวคดิ เชน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ❖ ทกุ คนในครอบครัวของฉนั เปนบคุ คลสําคัญ ตองการทอ่ี ยอู าศยั อาหาร เส้ือผา และ
ยารักษาโรค รวมท้ังตองการความรัก ความเอ้ืออาทร ชวยดูแลซึ่งกันและกัน ชวยกันทํางานและปฏิบัติตาม
ขอตกลงภายในครอบครวั ฉนั ตองเคารพ เชอ่ื ฟง พอ แมและผใู หญในครอบครวั ปฏบิ ตั ติ นใหถูกตองตามกาลเทศะ
ครอบครวั ของฉนั มวี นั สาํ คญั ตา งๆ เชน วนั เกดิ ของบคุ คลในครอบครวั วนั ทาํ บญุ บา น ฉนั ภมู ใิ จในครอบครวั ของฉนั

❖ สถานศกึ ษาของฉนั มชี อื่ เปน สถานทที่ เ่ี ดก็ ๆ มาทาํ กจิ กรรมรว มกนั และทาํ ใหไ ดเ รยี นรู
สิ่งตา งๆ มากมาย สถานศกึ ษาของฉันมคี นอยูรวมกันหลายคน ทกุ คนมีหนา ท่ีรบั ผดิ ชอบ ปฏิบัติตามกฎระเบยี บ
ชว ยกนั รกั ษาความสะอาดและทรพั ยส มบตั ขิ องสถานศกึ ษา ครรู กั ฉนั และเอาใจใสด แู ลเดก็ ทกุ คน เวลาทาํ กจิ กรรม
ฉนั และเพ่อื นจะชวยกันคิด ชว ยกันทํา รบั ฟงความคิดเห็น และรบั รคู วามรสู กึ ซ่ึงกันและกนั

❖ ทอ งถน่ิ ของฉนั มสี ถานที่ บคุ คล แหลง วทิ ยาการ แหลง เรยี นรตู า งๆ ทส่ี าํ คญั คนในทอ งถนิ่
ทีฉ่ นั อาศยั อยูม ีอาชีพท่ีหลากหลาย เชน ครู แพทย ทหาร ตํารวจ ชาวนา ชาวสวน พอ คา แมคา ทอ งถน่ิ ของฉัน
มวี นั สาํ คญั ของตนเองซึ่งจะมกี ารปฏิบตั ิกจิ กรรมที่แตกตา งกนั ไป

❖ ฉันเปนคนไทย ฉันภูมิใจในความเปนไทยที่มีวันสําคัญของชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย มีภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติและทองถ่ินหลายอยาง ฉันและเพ่ือน
นับถอื ศาสนาหรอื มคี วามเชื่อที่เหมอื นกนั หรอื แตกตางกันได ศาสนาทุกศาสนาสอนใหทกุ คนเปนคนดี

๒.๓ ธรรมชาตริ อบตัว เด็กควรเรียนรเู กี่ยวกบั ช่ือ ลักษณะ สว นประกอบ การเปลย่ี นแปลง

และความสัมพันธของมนุษย สัตว พืช ตลอดจนการรูจักเก่ียวกับดิน น้ํา ทองฟา สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ

38 แรงและพลังงานในชีวิตประจําวันท่ีแวดลอมเด็ก รวมท้ังการอนุรักษส่ิงแวดลอมและการรักษาสาธารณสมบัติ
เมอ่ื เด็กมีโอกาสเรยี นรูแลวควรเกิดแนวคิด เชน

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ❖ ธรรมชาตริ อบตัวฉันมีท้งั ส่งิ มีชีวิตและสิง่ ไมม ชี ีวิต สง่ิ มชี ีวิตตองการอากาศ แสงแดด

น้ํา และอาหารเพ่ือเจริญเติบโต สิ่งมีชีวิตสามารถปรับตัวใหเขากับลักษณะลมฟาอากาศในแตละวันหรือฤดู

และยงั ตอ งพงึ่ พาอาศยั ซ่งึ กนั และกนั สาํ หรบั ส่ิงไมม ีชีวิต เชน น้าํ หนิ ดิน ทราย มีรูปราง รูปทรง ลักษณะ สตี า งๆ

และมีประโยชน

❖ ลักษณะลมฟาอากาศรอบตัวแตละวันอาจเหมือนหรือแตกตางกันได บางครั้ง

ฉันคาดคะเนลักษณะลมฟาอากาศไดจากสิ่งตางๆ รอบตัว เชน เมฆ ทองฟา ลม ในเวลากลางวันเปนชวงเวลา

ท่ีดวงอาทิตยข้ึนจนดวงอาทิตยตก คนสวนใหญจะต่ืนและทํางาน สวนฉันไปโรงเรียนหรือเลน เวลากลางคืน

เปนชวงเวลาที่ดวงอาทิตยตกจนดวงอาทิตยข้ึน ฉันและคนสวนใหญจะนอนพักผอนตอนกลางคืน กลางวัน

และกลางคืนมีลักษณะแตกตางกัน เชน ทองฟาในเวลากลางวันเปนสีฟา ในเวลากลางคืนเปนสีดํา กลางวัน

มีแสงสวา ง แตก ลางคืนมืด อากาศเวลากลางวันรอ นกวาเวลากลางคืน

❖ เม่ือฉันออกแรงกระทําตอ สงิ่ ของดวยวธิ ตี างๆ เชน ผลกั ดึง บบี ทุบ ตี เปา เขยา ดีด

สิ่งของจะมกี ารเปล่ียนแปลงรูปราง การเคล่ือนที่ และเกดิ เสยี งแบบตา งๆ

❖ แสงและไฟฟาไดมาจากแหลงพลังงาน เชน ดวงอาทิตย ลม นํ้า เชื้อเพลิง

แสงชวยใหเรามองเห็น เมื่อมีสิ่งตางๆ ไปบังแสงจะเกิดเงา ไฟฟาทําใหสิ่งของเครื่องใชบางอยางทํางานได

ชวยอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน การนําพลังงานมาใชทําใหแหลงพลังงานบางอยางมีปริมาณลดลง

เราจึงตอ งใชพลังงานอยา งประหยดั

❖ ส่ิงแวดลอมตามธรรมชาติรอบตัวฉัน เชน สัตว พืช นํ้า ดิน หิน ทราย สภาพของ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ลมฟาอากาศเปนส่ิงจําเปนสําหรับชีวิตตองไดรับการอนุรักษ สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางข้ึนรอบๆ ตัวฉัน เชน
ส่ิงของเคร่ืองใช บานอยูอาศัย ถนนหนทาง สวนสาธารณะ สถานที่ตางๆ เปนสิ่งที่ใชประโยชนรวมกัน 39
ทุกคนรวมท้งั ฉันชวยกนั อนรุ กั ษสิ่งแวดลอมและรักษาสาธารณสมบัตโิ ดยไมทําลายและบํารุงรกั ษาใหดขี ้ึนได
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๒.๔ ส่ิงตางๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรูเกี่ยวกับการใชภาษาเพ่ือสื่อความหมาย
ในชีวิตประจําวัน ความรูพ้นื ฐานเกี่ยวกับการใชหนังสอื และตัวหนังสอื รูจ ักช่อื ลักษณะ สี ผวิ สมั ผัส ขนาด รูปราง
รปู ทรง ปริมาตร น้ําหนัก จํานวน สวนประกอบ การเปล่ียนแปลงและความสัมพนั ธข องสิง่ ตางๆ รอบตัว เวลา
เงิน ประโยชน การใชงาน และการเลอื กใชสงิ่ ของเครอ่ื งใช ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสาร
ตางๆ ที่ใชอ ยูในชีวติ ประจาํ วนั อยา งประหยดั ปลอดภยั และรักษาส่ิงแวดลอม ทั้งน้ี เมอ่ื เดก็ มโี อกาสเรยี นรแู ลว
เดก็ ควรเกิดแนวคดิ เชน

❖ ฉันใชภาษาทั้งฟง พูด อาน เขียน เพ่ือการสื่อความหมายในชีวิตประจําวัน
ฉันติดตอ สื่อสารกับบุคคลตางๆ ไดหลายวิธี เชน โดยการไปมาหาสู โทรศัพท จดหมาย หรือเคร่ืองมือที่ใช
ในการติดตอ ส่ือสารตา งๆ และฉันทราบขาวความเคลือ่ นไหวตางๆ รอบตวั ดว ยการสนทนา ฟงวทิ ยุ ดูโทรทศั น
และอานหนังสือ หนังสือเปนสื่อในการถายทอดความรู ความคิด ความรูสึกไปยังผูอาน ถาฉันชอบอานหนังสือ
ฉันก็จะมีความรูความคิดมากขึ้น ฉันสามารถรวบรวมขอมูลงายๆ นํามาถายทอดใหผูอ่ืนเขาใจได โดยนําเสนอ
ดว ยรปู ภาพ สญั ลกั ษณ แผนผงั ผังความคดิ แผนภูมิ

❖ สิ่งตางๆ รอบตวั ฉันสวนใหญมสี ี ยกเวนกระจกใส พลาสตกิ ใส สีมอี ยทู ุกหนทกุ แหง
ทฉี่ นั สามารถเห็นตามดอกไม เส้ือผา อาหาร รถยนต และอนื่ ๆ สีที่ฉันเห็นมีชอื่ เรียกตางๆ กัน เชน แดง เหลอื ง
น้าํ เงนิ สแี ตละสที ําใหเ กดิ ความรสู ึกตางกนั สีบางสสี ามารถใชเปนสญั ญาณหรอื สญั ลกั ษณสื่อสารกันได

❖ สิ่งตางๆ รอบตัวฉันมีช่ือ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปราง รูปทรง ปริมาตร
นํ้าหนัก และสวนประกอบตางๆ กัน สามารถจําแนกประเภทตามชนิด ขนาด สี พื้นผิว วัสดุ รูปราง รูปทรง
หรอื ประโยชนใ นการใชงาน

❖ ฉันสามารถสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของสิ่งตางๆ รอบตัว เชน การเจริญเติบโต
ของมนษุ ย สตั ว หรอื พชื การเปลยี่ นแปลงของสภาพลมฟาอากาศ การเปลย่ี นแปลงของสงิ่ ตา งๆ จากการทดลอง
อยา งงา ยๆ หรอื การประกอบอาหาร และฉนั สามารถเห็นความสมั พนั ธข องส่งิ ตางๆ รอบตวั เชน การนําสิ่งตางๆ
มาใชประโยชน ความสัมพันธระหวางการกระทําบางอยางกับผลท่ีเกิดข้ึน เชน ถารับประทานอาหารแลว
ไมแ ปรงฟน ฟน จะผุ ถา ใสน าํ้ ตาลลงไปในนา้ํ แลว นา้ํ ตาลจะละลาย ถา ปลอ ยสง่ิ ของจากทส่ี งู แลว สง่ิ ของจะตกลงมา

❖ การนับส่ิงตางๆ ทําใหฉันรูจํานวนสิ่งของ และจํานวนนับนั้นเพ่ิมหรือลดได ฉันรูวา
สิ่งของแตล ะชิ้นนบั ไดเพยี งครัง้ เดียว ไมนับซาํ้ และเสยี งสุดทา ยทีน่ บั เปน ตัวบอกปริมาณ

❖ ฉันเปรียบเทียบและเรียงลําดับส่ิงของตางๆ ตามลักษณะ รูปราง รูปทรง จํานวน
ขนาด น้ําหนัก ปริมาตร ส่ิงที่ชวยฉันในการสังเกต เชน แวนขยาย สิ่งท่ีชวยในการช่ัง ตวง วัด มีหลายอยาง
เชน เคร่ืองชั่งสองแขนอยางงา ย ถว ย ชอ น เชอื ก วสั ดสุ ง่ิ ของอื่นๆ ทฉี่ นั อาจใชก ารคาดคะเนหรือกะประมาณ

❖ ฉนั ใชคาํ ทเ่ี กยี่ วกับเวลาในชีวิตประจําวนั เชน กลางวัน กลางคนื กอ น หลงั เชา บา ย
เย็น เมอื่ วานน้ี วนั น้ี พรุง นี้

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ❖ ฉันใชเงินเหรียญและธนบัตรในการซ้ือขนมและอาหาร ตัวเลขท่ีอยูบนเหรียญและ
ธนบัตรจะบอกคาของเงนิ

❖ ฉันใชตัวเลขในชีวิตประจําวัน เชน วันที่ ชั้นเรียน อายุ บานเลขที่ นาฬกา หรือ
เบอรโทรศัพท และใชตัวเลขในการบอกปริมาณของสิ่งตา งๆ และแสดงอนั ดับท่ี

❖ สงิ่ ของเครอื่ งใชม หี ลายชนดิ และหลายประเภท เชน เครอ่ื งใชใ นการทาํ สวนเพาะปลกู
การกอ สรา ง เครอ่ื งใชภ ายในบา น เราใชส ง่ิ ของเครอ่ื งใชต า งๆ ชว ยอาํ นวยความสะดวกในการทาํ งาน ขณะเดยี วกนั
ก็ตองระมัดระวังในการใชงาน เพราะอาจเกิดอันตรายและความเสียหายไดถาใชผิดวิธีหรือใชผิดประเภท
เมื่อใชแลวควรทําความสะอาดและเก็บเขาที่ใหเรียบรอย เราควรใชสิ่งของเคร่ืองใชอยางประหยัดและรักษา
สง่ิ แวดลอม

❖ ฉนั เดนิ ทางจากทหี่ นงึ่ ไปยงั ทหี่ นง่ึ ไดด ว ยการเดนิ หรอื ใชย านพาหนะ พาหนะบางอยา ง
ที่ฉันเห็นเคลื่อนท่ีไดโดยการใชเครื่องยนต ลม ไฟฟา หรือคนเปนผูทําใหเคล่ือนที่ คนเราเดินทางหรือขนสงได
ทั้งทางบก ทางน้ํา ทางอากาศ พาหนะที่ใชเดินทาง เชน รถยนต รถเมล รถไฟ เคร่ืองบิน เรือ ผูขับขี่
จะตองไดรับใบอนุญาตขับขี่ และทําตามกฎจราจรเพ่ือความปลอดภัยของทุกคน และฉันตองเดินบนทางเทา
ขา มถนนตรงทางมา ลาย สะพานลอย หรือตรงทม่ี ีสญั ญาณไฟ เพอ่ื ความปลอดภยั และตอ งระมัดระวังเวลาขาม

40

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ตอนที่ ๒

การนาํ หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
สูก ารปฏิบตั ิ

หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป
หลกั การทสี่ าํ คญั คอื เดก็ ทกุ คนมสี ทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั การอบรมเลยี้ งดแู ละสง เสรมิ พฒั นาการ
ตามอนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ และไดร บั การจดั ประสบการณเ รยี นรตู ามลาํ ดบั ขนั้ ของ
พัฒนาการอยางเปนองครวม มีคุณภาพและเต็มศักยภาพ ดังนั้น สถานศึกษาหรือ
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทกุ แหง จงึ ตอ งจดั ทาํ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ทสี่ อดคลอ ง
กับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ภายใตบริบทและสภาพ
ความตองการของชุมชน โดยความรวมมือของผูเก่ียวของทุกฝาย เพ่ือใหหลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวัยมีความเหมาะสม เปนไปได นําไปสูการปฏิบัติในการจัด
ประสบการณในหอ งเรยี นอยา งมีคณุ ภาพ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป บทที่ ๓

การจัดทาํ หลักสตู รสถานศึกษา

สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแตละแหง ตองจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
ทส่ี อดคลองกบั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เพ่อื ใหเดก็ ไดรบั การพัฒนา บรรลุตามมาตรฐาน
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตัวบงช้ี และสภาพที่พึงประสงคตามที่หลักสูตรกําหนด โดยสถานศึกษาหรือ
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั สามารถออกแบบการจดั ประสบการณไ ดห ลากหลาย ตามแนวคดิ ทฤษฎตี า งๆ ทเี่ กยี่ วขอ ง
กับการศึกษาปฐมวัย โดยตองคํานึงถึงความสอดคลองตามหลักการในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
42 ๒๕๖๐ ซ่ึงมแี นวทางการจดั ทําหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ตามแผนภาพ ดงั น้ี

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

แผนภาพแสดงขั้นตอนการจดั ทําหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย

หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย
พุทธศกั ราช ....

หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ๑. สรางความเขาใจ คมู อื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ในหลกั สูตรฯ และคูม ือฯ พุทธศักราช ๒๕๖๐
ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั
วิสยั ทศั น ๒. ศึกษาสภาพปจจบุ ัน
หลกั การ ปญ หา และความตองการ
จุดหมาย ในสถานศกึ ษาของตน
มาตรฐานคุณลกั ษณะ
ที่พึงประสงค ๓. จัดทําหลกั สูตรสถานศกึ ษา องคป ระกอบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ตวั บง ชี้ ปฐมวัย ๑. ปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั ของ
สภาพทพ่ี งึ ประสงค 43
การจดั เวลาเรียน ๔. ประเมินตรวจสอบคณุ ภาพ สถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรู หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย ๒. วิสัยทัศน ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ประสบการณส าํ คัญ ๕. ขออนุมัตกิ ารใช เปาหมาย
สาระท่ีควรเรยี นรู หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ๓. จดุ หมาย
๔. มาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค
การจัดประสบการณ ๖. ประกาศใชห ลกั สตู ร ๕. การจัดเวลาเรยี น
การประเมนิ พฒั นาการ สถานศกึ ษาปฐมวยั ๖. สาระการเรยี นรูรายป
๗. นําหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๗. การจัดประสบการณ
๘. การจดั สภาพแวดลอม ส่ือ และ
ปฐมวัยไปใช
แหลงเรียนรู
๙. การประเมินพัฒนาการ
๑๐. การบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร

สถานศกึ ษาปฐมวัย
๑๑. การเช่ือมตอของการศกึ ษา

ระดับปฐมวยั กบั ระดบั ชัน้
ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
๑๒. ภาคผนวก

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ขน้ั ตอนการจดั ทําหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั จะตอ งสนองตอ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ และปรบั เปลย่ี น
ใหส อดคลองกับธรรมชาตแิ ละการเรยี นรขู องเดก็ ปฐมวัย การจัดทําหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ควรดาํ เนินการ
ตามขน้ั ตอน ดังน้ี

๑. สรางความเขาใจในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และคูมือหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ใหแกบุคลากรท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงประกอบดวย คณะกรรมการสถานศึกษา
ผูบริหาร ครูผูสอน ผูปกครอง ชุมชน โดยประชุมช้ีแจงเพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ และคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท้ังนี้ เพ่ือใหเห็นความสําคัญ
ความจําเปนท่ตี องรว มมือกนั จดั ทําและบริหารจัดการหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษา

๒. ศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการ โดยการวิเคราะหขอมูลพื้นฐานเก่ียวกับ
สภาพตัวเด็ก ครอบครัว ความตองการ ปญหา จุดเดน จุดดอย ตลอดจนนโยบาย จุดเนน วิสัยทัศน
อัตลักษณและเอกลักษณของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยดวยวิธีการตางๆ เชน จัดประชุมหรือ
ศกึ ษาเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ ง ไดแ ก แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาหรอื แผนกลยทุ ธข องสถานศกึ ษา ขอ มลู สารสนเทศ
เกย่ี วกับเด็ก ผปู กครอง และชุมชน ฯลฯ

๓. จดั ทําหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั โดยมีขอเสนอแนะเปน แนวทางการจดั ทํา ดังน้ี
๓.๑ แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ประกอบดวย คณะบุคคล

44 ดงั ตัวอยางตอไปน้ี ๓.๑.๑ คณะกรรมการท่ีปรึกษา ไดแก คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ศกึ ษานเิ ทศกท ี่รบั ผดิ ชอบงานปฐมวยั ผูทรงคณุ วฒุ ิ หรืออนื่ ๆ ตามความเหมาะสม
๓.๑.๒ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา
หวั หนา งานปฐมวยั ครผู สู อนปฐมวยั ตวั แทนครชู นั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ ตวั แทนผปู กครอง ตวั แทนชมุ ชน หรอื อน่ื ๆ
ตามความเหมาะสม
๓.๒ คณะกรรมการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ศึกษาทําความเขาใจเอกสาร
ท่ีเก่ียวของตางๆ ไดแก หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ และเอกสารอน่ื ๆ ท่เี กยี่ วของ รวบรวมขอมลู พื้นฐาน สภาพปจจุบนั ความตองการของชุมชน
และทองถ่ิน ตลอดจนนโยบาย จุดเนน วิสัยทัศน อัตลักษณและเอกลักษณของสถานศึกษา ตามแผนพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
๓.๓ ดําเนินการจดั ทําหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย ตามองคประกอบดังนี้
๓.๓.๑ ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา
๓.๓.๒ วสิ ัยทัศน ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ เปา หมาย
๓.๓.๓ จดุ หมาย
๓.๓.๔ มาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค
๓.๓.๕ การจัดเวลาเรียน
๓.๓.๖ สาระการเรยี นรรู ายป


Click to View FlipBook Version