The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย-2560-3-6-ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gap.pkw, 2021-02-28 07:36:04

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย-2560-3-6-ปี

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย-2560-3-6-ปี

๒. การประเมินระหวางการดําเนินการใชหลักสูตร เปนการประเมินกระบวนการใชหลักสูตร ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
เก่ียวกับการบริหารหลักสูตร การจัดประสบการณการเรียนรู การสงเสริมสนับสนุนการใชหลักสูตร เพ่ือศึกษา
ความกา วหนา ของการใชห ลกั สตู รเปน ระยะๆ เพอื่ ตรวจสอบวา หลักสตู รเปน ไปตามแผนการดาํ เนนิ งานทกี่ าํ หนด 145
ไวหรือไม มีปญหาและอุปสรรคอยางไร ควรมีการปรับปรุงแกไขในเร่ืองใดบาง ประเด็นการประเมิน ไดแก
การวางแผนการใชห ลกั สตู ร การเตรยี มความพรอ มและบคุ ลากร การนเิ ทศ การฝก อบรมและพฒั นาครแู ละบคุ ลากร คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
เพม่ิ เตมิ ระหวา งการใชห ลกั สตู ร การจดั ปจ จยั และสงิ่ สนบั สนนุ การใชห ลกั สตู ร ประเดน็ การประเมนิ เกยี่ วกบั การจดั
ประสบการณก ารเรยี นรู ไดแ ก การจดั กจิ กรรมและพฤตกิ รรมการจดั การเรยี นรู การจดั การชน้ั เรยี น การเลอื กและ
ใชส อื่ การจดั การเรยี นรู การประเมนิ พฒั นาการ ความรคู วามสามารถของผสู อนและบคุ ลากร และประเดน็ ประเมนิ
เกยี่ วกบั การจดั มมุ ประสบการณ ไดแ ก การจดั สภาพแวดลอ มภายในและภายนอกหอ งเรยี น การตรวจสอบคณุ ภาพ
หลกั สูตรระหวางการใชอ าจใชวิธีการนเิ ทศ ติดตาม การสอบถาม การสนทนากลมุ หรือการสงั เกต

๓. การประเมินหลังการนําหลักสูตร เปนการประเมินหลักสูตรทั้งระบบ หลังจากดําเนินการใช
หลักสูตรครบแตละชวงอายุแลว โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของหลักสูตร
สถานศกึ ษาปฐมวยั และสรปุ ผลภาพรวมของหลกั สตู รทจ่ี ดั ทาํ วา บรรลผุ ลตามเปา หมายของหลกั สตู รสถานศกึ ษา
ปฐมวัยหรือไม บรรลุผลมากนอยเพียงใด ตองมีการปรับปรุงหรือพัฒนาสวนใดบาง ปรับปรุงหรือพัฒนา
อยางไร ประเด็นการประเมินเก่ียวกับประสิทธิผลของหลักสูตร ไดแก การบรรลุผลตามมาตรฐานคุณลักษณะ
ที่พึงประสงคตามหลักสูตร การบรรลุผลตามเปาหมายของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่กําหนดไว
ประเดน็ การประเมนิ เกย่ี วกบั ประสทิ ธภิ าพของหลกั สตู ร ไดแ ก หนว ยการจดั ประสบการณท สี่ อดคลอ งกบั หลกั สตู ร
สถานศกึ ษาปฐมวัย การจดั ประสบการณการเรียนรู สอ่ื และแหลงการเรียนรู การประเมนิ พฒั นาการ การบรหิ าร
จัดการหลักสูตร และการสรางรอยเช่ือมตอของการศึกษา ประเมินโดยใชวิธีการตรวจสอบรายการการศึกษา
เอกสาร การสอบถาม หรือการสนทนากลมุ

ตวั อยา งแบบตรวจสอบหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั กอ น/หลงั การนาํ หลกั สตู รไปใช ในตวั อยา งท่ี ๑
และ ๒ สถานศึกษาสามารถปรับแบบรายการ ประเด็นการตรวจสอบ และระดับคุณภาพไปปรับใชตาม
ความเหมาะสมและตามความตองการของสถานศกึ ษา

ตวั อยา งท่ี ๑

แบบตรวจสอบหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั กอ นการนําหลกั สตู รไปใช
โรงเรียน..................................................อําเภอ..............................จงั หวัด………………………..
สงั กดั .....................................................................เขต...............................

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป คําชแี้ จง

แบบตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยฉบับน้ีเปนแบบสํารวจความคิดเห็นท่ีใชเปนเครื่องมือ
ในการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยกอนการนําหลักสูตรไปใช และใหผูมีสวนเก่ียวของของ
สถานศึกษาทําหนาท่ีตรวจสอบ เชน ผูบริหารสถานศึกษา ผูสอนระดับปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒิ/ผูเชี่ยวชาญ
ผูแ ทนคณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนผปู กครอง และผูแ ทนชุมชน เปน ตน

กรณีท่ีสถานศึกษามีความตองการในการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร สามารถใชวิธีการในการ
รวบรวมความคดิ เห็นดว ยวธิ กี ารอื่นๆ เชน การประชมุ สนทนากลมุ การประชมุ กลุมยอ ย

ตอนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไปของผใู หขอมลู

๑. เพศ ชาย หญิง

๒. อายุ ๒๐ - ๔๐ ป ๔๑ - ๕๐ ป ๕๑ - ๖๐ ป มากกวา ๖๐ ป
146 ๓. สถานะ/ตาํ แหนง หนาที่

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ผูส อนระดบั ปฐมวยั

ผูทรงคุณวุฒิ/ผเู ช่ยี วชาญ ผูแทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา/คณะกรรมการ

ผแู ทนผปู กครอง บรหิ ารโรงเรียน

ผูแ ทนชุมชน

อื่นๆ โปรดระบุ………………………………………………………………………….

ตอนท่ี ๒ การตรวจสอบคณุ ภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั กอ นการนาํ หลกั สตู รไปใช
โปรดทําเครอ่ื งหมาย ✓ ในชอง ใช/ไมใ ช และบนั ทกึ ความคิดเห็นในชอ งขอ เสนอแนะเพิม่ เตมิ

ที่ รายการ ใช ไมใ ช ขอ เสนอแนะเพม่ิ เติม

๑ ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษา ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๑.๑ แสดงแนวคิดและความเช่ือในการจัดการศกึ ษา
เพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวัย ชดั เจน ครบถวน 147

๑.๒ มีความสอดคลอ งกบั หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
พุทธศักราช ๒๕๖๐

๑.๓ มีความเชอ่ื มโยงกับความเชื่อในการจดั การศึกษา
เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวยั

๑.๔ ผูมสี วนเกีย่ วขอ งทุกฝายมีสว นรวมในการกาํ หนด
ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา

๒ วิสัยทัศน พันธกจิ เปา หมาย
๒.๑ มคี วามชัดเจนและสอดคลอ งกบั ปรชั ญา
การศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษา

๒.๒ แสดงความคาดหวังและวิธีการพัฒนา
เด็กปฐมวัยในอนาคตไดชดั เจน

๒.๓ แสดงถึงจดุ เนน อตั ลักษณ เอกลักษณท่ีตองการ
ของสถานศึกษา

๒.๔ ผูมีสว นเกี่ยวขอ งทุกฝา ยมสี วนรวมในการกําหนด

๒.๕ มกี ารกําหนดเปา หมายท่ีตองการในเชิงปริมาณ
หรอื เชงิ คุณภาพ

๓ จุดหมาย
๓.๑ มีความสอดคลอ งและครอบคลุมจุดหมาย
ของหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐

๓.๒ มีความสอดคลองกับปรชั ญา วิสยั ทศั น
การศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษา

๓.๓ มคี วามเปน ไปไดในการนาํ ไปสูการปฏบิ ัติ
ตามจดุ หมายทกี่ ําหนดในหลกั สูตร

ที่ รายการ ใช ไมใช ขอเสนอแนะเพ่ิมเตมิ

๔ มาตรฐานคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค
๔.๑ นํามาตรฐานคุณลักษณะทพี่ ึงประสงคและ

สภาพที่พงึ ประสงคมากําหนดในหลักสูตร

สถานศกึ ษาปฐมวยั ครบถวน

๔.๒ นํามาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงคแ ละ
สภาพท่ีพึงประสงคมาจัดแบงกลุมอายเุ ด็กและ
ระดับชั้นเรยี นไดชดั เจน ครบถว น

๕ ระยะเวลาเรียน
๕.๑ มีการกําหนดเวลาเรยี นตอ ๑ ปก ารศึกษา

ไมน อยกวา ๑๘๐ วนั

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๕.๒ มกี ารกําหนดเวลาเรยี นแตล ะวันไมนอยกวา
๕ ชัว่ โมง

๕.๓ มกี ารกาํ หนดชว งเวลาการจดั กิจกรรมประจําวนั
เหมาะสมกับวยั และความสนใจของเด็ก

148 ๖ สาระการเรียนรูรายป
๖.๑ มีความสอดคลอ งกับมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ี

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ พงึ ประสงค ตัวบงชี้ และสภาพท่ีพึงประสงคในแตละชวงวัย

๖.๒ ครอบคลมุ ประสบการณสําคัญและสาระที่
ควรเรยี นรู ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั
พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

๖.๓ มีการจัดแบง สาระการเรยี นรูเหมาะสมกบั
ชว งเวลาในการจัดหนว ยประสบการณ

๗ การจดั ประสบการณ
๗.๑ มีกําหนดการจดั ประสบการณโ ดยใชห ลักการ

บูรณาการผา นการเลนที่สอดคลอ งกบั พัฒนาการ

ตามวัยของเดก็

๗.๒ มีรูปแบบการจัดประสบการณส อดคลอ งกับ
ปรชั ญา วิสยั ทศั น และจุดหมายของการจดั การศึกษา
ปฐมวัย

๗.๓ มกี าํ หนดการจดั ประสบการณแ ตล ะชว งอายุ
ที่เหมาะสมกบั วยั และความสนใจของเดก็

ที่ รายการ ใช ไมใช ขอ เสนอแนะเพิ่มเตมิ

๗.๔ มีกําหนดการจัดประสบการณเนนใหเด็ก
ลงมอื ปฏบิ ัติ รเิ ร่ิมและมีสวนรวมในการออกแบบ
กจิ กรรมการเรยี นรู

๗.๕ มกี ําหนดการจัดประสบการณเ ปด โอกาสใหเ ด็ก
มีปฏสิ ัมพนั ธก ับบคุ คล สือ่ และใชแ หลงการเรียนรู
ท่ีหลากหลาย

๗.๖ มีกําหนดการจดั ประสบการณส ง เสรมิ ใหเ ด็ก
มีทักษะชีวติ และมีการปฏบิ ตั ติ นตามแนวทาง
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๗.๗ มีกาํ หนดการจดั ประสบการณสง เสรมิ การพัฒนา ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ใหเด็กเปน คนดี มวี ินยั และมีความเปน ไทย

๘ การจดั สภาพแวดลอ ม ส่อื และแหลง เรียนรู
๘.๑ ระบุแนวการจดั สภาพแวดลอมภายในและ

ภายนอกทีเ่ ออ้ื ตอการเรียนรูของเด็ก

๘.๒ มีส่ือทห่ี ลากหลาย เหมาะสม และเพยี งพอ 149

๘.๓ มแี หลงเรยี นรใู นและนอกสถานศกึ ษาทส่ี งเสริม คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
พฒั นาการและการเรยี นรูข องเด็ก

๙ การประเมนิ พัฒนาการ
๙.๑ มกี ารประเมินพัฒนาการเด็กครอบคลุม

มาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค

๙.๒ มกี ารประเมินพัฒนาการตามสภาพจรงิ

๑๐ การบรหิ ารจัดการหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย
๑๐.๑ มคี วามพรอมดานผูส อน บุคลากร และ

ขอมลู สารสนเทศ

๑๐.๒ มงี บประมาณและทรพั ยากรสนบั สนุนเพียงพอ

๑๐.๓ มีการวางแผนการประเมินหลักสตู ร
สถานศึกษาปฐมวัย (กอน - ระหวาง - หลงั การใช)

๑๐.๔ มแี ผนการนิเทศติดตามการนําหลกั สตู ร
สถานศกึ ษาปฐมวยั สูการปฏิบตั ิ

ท่ี รายการ ใช ไมใช ขอ เสนอแนะเพิม่ เตมิ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑๑ การสรางรอยเชอ่ื มตอระหวา งการศกึ ษาระดบั
ปฐมวัยกับระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๑
๑๑.๑ ผบู รหิ ารมีการวางแผนและสรางความเขาใจ
แกผ ูสอนระดบั ปฐมวยั ผสู อนระดับประถมศึกษา
ทเ่ี ก่ียวของ พอ แม ผูป กครอง และชมุ ชน ในการ
สรา งรอยเชื่อมตอ ของหลกั สูตรท้งั สองระดบั

๑๑.๒ ผสู อนระดบั ปฐมวัยและประถมศึกษามีการ
แลกเปล่ยี นและกําหนดแนวทางการทาํ งานรวมกัน

๑๑.๓ มีแนวทางการจัดกิจกรรมใหเ ด็กปฐมวยั
มคี วามพรอ มในการเรียนชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๑
ของผสู อนรว มกนั ดว ยวิธีการทห่ี ลากหลาย

๑๑.๔ มีการจัดเตรียมขอ มลู สารสนเทศของ
เดก็ ปฐมวัยรายบุคคลสงตอชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑
เพอ่ื การวางแผนพัฒนาเดก็ รว มกัน

150 ขอ เสนอแนะอ่ืนๆคูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ........................................................ผตู รวจสอบ
(........................................................)

ตําแหนง.........................................................
วนั เดือน ป.........................................................

ตัวอยางที่ ๒

แบบตรวจสอบหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัยหลงั การนําหลักสูตรไปใช
โรงเรยี น..................................................อาํ เภอ..............................จังหวัด………………………..
สงั กัด.....................................................................เขต...............................

คําชี้แจง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
แบบตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยฉบับนี้เปนแบบสํารวจความคิดเห็นท่ีใชเปนเครื่องมือ

ในการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยหลังการนําหลักสูตรไปใช และใหผูมีสวนเกี่ยวของของ
สถานศึกษาทําหนาที่ตรวจสอบ เชน ผูบริหารสถานศึกษา ผูสอนระดับปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒิ/ผูเชี่ยวชาญ
ผแู ทนคณะกรรมการสถานศึกษา/คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผูแทนผูป กครอง และผแู ทนชมุ ชน เปน ตน

กรณที ส่ี ถานศกึ ษามคี วามตอ งการในการตรวจสอบคณุ ภาพหลกั สตู ร สามารถใชว ธิ กี ารในการรวบรวม
ความคดิ เหน็ ดว ยวธิ ีการอน่ื ๆ เชน การประชุมสนทนากลุม การประชุมกลุม ยอ ย

ตอนที่ ๑ ขอ มลู ท่ัวไปของผูใ หข อมูล

๑. เพศ ชาย หญงิ

๒. อายุ ๒๐ - ๔๐ ป ๔๑ - ๕๐ ป ๕๑ - ๖๐ ป มากกวา ๖๐ ป 151

๓. สถานะ/ตําแหนง หนาที่ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ผูบริหารสถานศกึ ษา ผูสอนระดบั ปฐมวัย

ผูทรงคุณวุฒิ/ผเู ช่ียวชาญ ผูแ ทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา/คณะกรรมการ

ผูแทนผูปกครอง บริหารโรงเรียน

ผูแทนชมุ ชน

อน่ื ๆ โปรดระบุ ………………………………………………………………………….

ตอนที่ ๒ การตรวจสอบคณุ ภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยหลังการนาํ หลักสตู รไปใช

โปรดทาํ เครื่องหมาย ✓ ตามระดับคุณภาพ และใหขอเสนอแนะเพือ่ การปรบั ปรุงพฒั นา
เกณฑร ะดบั คณุ ภาพ
ระดับคุณภาพ ๓ ดี หมายถึง สามารถนําหลักสูตรไปใชไ ดครบถวนและเหมาะสม
ระดบั คณุ ภาพ ๒ พอใช หมายถงึ สามารถนาํ หลกั สตู รไปใชไ ด แตบ างประเดน็ ควรปรบั ปรงุ แกไ ข
ระดบั คุณภาพ ๑ ปรับปรงุ หมายถงึ ไมส ามารถนาํ หลกั สตู รไปใชไ ดเ ปน สว นใหญ ตอ งปรบั ปรงุ แกไ ข

ท่ี รายการ ระดบั คณุ ภาพ ขอ เสนอแนะ
๓๒๑ เพอื่ การปรับปรงุ พัฒนา

๑ ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษา
๑.๑ แนวคดิ และความเชอ่ื ของปรัชญาการศึกษา
ปฐมวยั ของสถานศกึ ษาชัดเจน ครบถวน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑.๒ สง เสรมิ พฒั นาเด็กตามจุดหมายหลกั สูตร
การศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

๒ วสิ ัยทศั น พนั ธกจิ เปา หมาย
๒.๑ บรรลผุ ลปรัชญาการศึกษาปฐมวยั ของ
สถานศกึ ษา

152 ๒.๒ บรรลผุ ลตามความคาดหวงั ในอนาคตได
ชดั เจน
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๒.๓ สอดคลองจุดเนน อตั ลกั ษณ เอกลักษณ
ที่ตองการของสถานศึกษา

๒.๔ บรรลุผลตามเปา หมายที่ตองการในเชิง
ปรมิ าณหรอื เชงิ คณุ ภาพ

๓ จดุ หมาย
๓.๑ มีความสอดคลอ งและครอบคลมุ จดุ หมาย
ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

๓.๒ มคี วามสอดคลองกบั ปรชั ญา วิสัยทัศน
การศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา

๓.๓ นําไปสูก ารปฏิบตั ติ ามจดุ หมายทกี่ าํ หนด
ในหลักสตู รได

๔ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค
๔.๑ นํามาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค
และสภาพที่พึงประสงคไปใชไ ดครบถวน

๔.๒ นาํ มาตรฐานคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค
และสภาพทพี่ ึงประสงคไ ปใชกับเด็กทุกกลุม อายุ
และระดบั ชนั้ เรยี นไดครบถวน

ท่ี รายการ ระดับคุณภาพ ขอเสนอแนะ
๓๒๑ เพื่อการปรับปรงุ พฒั นา
๕ การจัดเวลาเรยี น
๕.๑ กําหนดเวลาเรียนตอ ๑ ปการศึกษา ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ไดความเหมาะสม
๕.๒ กาํ หนดเวลาเรยี นแตละวันมคี วามเหมาะสม 153
๕.๓ กําหนดชวงเวลาการจัดกจิ กรรมประจําวนั
มีความเหมาะสม คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๖ สาระการเรียนรรู ายป
๖.๑ มคี วามสอดคลองกบั มาตรฐานคุณลกั ษณะ
ทพ่ี งึ ประสงค ตัวบง ช้ี และสภาพที่พึงประสงค
ในแตล ะชว งวัย
๖.๒ ครอบคลมุ ประสบการณสําคัญและสาระ
ที่ควรเรียนรู ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
๖.๓ มีการจัดแบงสาระการเรยี นรไู ดเ หมาะสมกบั
ชวงเวลาในการจดั หนว ยประสบการณ

๗ การจัดประสบการณ
๗.๑ ใชหลกั การบูรณาการผา นการเลน
ท่สี อดคลองกบั พัฒนาการตามวยั ของเดก็
๗.๒ มีความสอดคลองกบั ปรัชญา วสิ ยั ทศั น และ
จุดหมายของการจัดการศกึ ษาปฐมวยั
๗.๓ มีความเหมาะสมกบั วยั และความสนใจของเด็ก
๗.๔ เนน ใหเด็กลงมอื ปฏบิ ัติ ริเริ่มและมสี ว นรว ม
ในการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู
๗.๕ เปดโอกาสใหเ ดก็ มปี ฏิสมั พนั ธก ับบุคคล สอื่
และใชแหลงการเรยี นรทู ีห่ ลากหลาย
๗.๖ สงเสริมใหเ ดก็ มีทักษะชีวติ และมีการปฏิบตั ติ น
ตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๗.๗ สงเสรมิ การพฒั นาใหเดก็ เปน คนดี มวี ินยั
และมีความเปน ไทย

๘ การจัดสภาพแวดลอม ส่ือ และแหลง เรียนรู
๘.๑ มีการจดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและ
สภาพแวดลอมทางจิตภาพทีเ่ ออ้ื ตอ การเรยี นรู
ของเดก็
๘.๒ มสี ่ือที่หลากหลาย เหมาะสม และเพียงพอ
๘.๓ มแี หลง เรียนรูใ นและนอกสถานศึกษา
เหมาะสม เพียงพอตอการจดั กจิ กรรม

ที่ รายการ ระดบั คุณภาพ ขอ เสนอแนะ
๓๒๑ เพอ่ื การปรบั ปรุงพัฒนา

๙ การประเมินพัฒนาการ
๙.๑ มกี ารประเมนิ พฒั นาการเด็กครอบคลุม
มาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค

๙.๒ มกี ารประเมนิ พัฒนาการตามสภาพจรงิ

๙.๓ มรี อ งรอยการประเมินพฒั นาการเด็ก

๙.๔ มกี ารรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการแก
ผูบริหาร ผูปกครอง หนว ยงานเก่ียวขอ ง

๑๐ การบรหิ ารจัดการหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย
๑๐.๑ มคี วามพรอมดา นครู บคุ ลากร และขอมลู
สารสนเทศ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑๐.๒ มีงบประมาณและทรพั ยากรสนบั สนุนเพยี งพอ

๑๐.๓ มกี ารประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย

๑๐.๔ มีการนเิ ทศตดิ ตามการนําหลกั สตู ร
สถานศกึ ษาปฐมวยั สูการปฏิบัติ

154 ๑๑ การสรา งรอยเชื่อมตอ ระหวา งการศกึ ษา
ระดบั ปฐมวยั กับระดบั ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๑
๑๑.๑ ผบู ริหารสรา งความเขาใจในการสราง
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ รอยเชือ่ มตอ ของหลักสตู รทง้ั สองระดับ

๑๑.๒ ผูส อนระดบั ปฐมวัยและประถมศกึ ษา
มกี ารแลกเปลย่ี นและทาํ งานรว มกัน

๑๑.๓ มีการจดั กิจกรรมใหเดก็ ปฐมวัย
มคี วามพรอ มในการเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑
ของผูส อนรวมกนั ดว ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย

๑๑.๔ มีการจดั กิจกรรมใหความรู และหรอื
กจิ กรรมสมั พนั ธก ันใหพอ แม ผูปกครองเขา ใจ
การศึกษาทั้งสองระดับ

ขอเสนอแนะอื่นๆ
...............................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ........................................................ผูตรวจสอบ
(........................................................)

ตําแหนง.........................................................
วัน เดือน ป.........................................................

การกํากับ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงาน ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

การจัดการศึกษาปฐมวัยมีหลักการสําคัญในการใหสังคมและชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
และกระจายอํานาจการศึกษาลงไปยังทองถ่ินโดยตรง โดยเฉพาะสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ซ่งึ เปนผจู ัดการศึกษาในระดับนี้ ดงั นั้น เพ่ือใหผ ลผลิตทางการศกึ ษาปฐมวยั มีคุณภาพตามมาตรฐานคณุ ลกั ษณะ
ทพ่ี งึ ประสงค และสอดคลอ งกบั ความตอ งการของชมุ ชนและสงั คม จาํ เปน ตอ งมรี ะบบการกาํ กบั ตดิ ตาม ประเมนิ
และรายงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอื่ ใหท กุ กลมุ ทกุ ฝา ยทมี่ สี ว นรว มรบั ผดิ ชอบในการจดั การศกึ ษา เหน็ ความกา วหนา
ปญหาอุปสรรค ตลอดจนการใหความรวมมือ ชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุน วางแผน และดําเนินงานการจัด
การศกึ ษาปฐมวัยใหม คี ณุ ภาพอยางแทจรงิ

การกํากับ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงาน เปนสว นหนงึ่ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษา กระบวนการ
นิเทศ และระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย สรางความม่ันใจใหผูเกี่ยวของ โดยตองมีการดําเนินการที่เปนระบบเครือขาย
ครอบคลมุ ทงั้ หนว ยงานภายในและภายนอก ในรปู แบบของคณะกรรมการทมี่ าจากบคุ คลทกุ ระดบั และทกุ อาชพี
การกํากับ ติดตาม และประเมิน ตองมีการรายงานผลจากทุกระดับใหทุกฝาย รวมท้ังประชาชนท่ัวไปทราบ
เพ่ือนําขอมูลจากการรายงานผลมาจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนา
เด็กปฐมวยั ตอไป

155

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปบทท่ี ๙

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐การใหความชวยเหลือเด็กท่ีมปี ญ หาพฤติกรรม

เด็กท่ีมีปญหาพฤติกรรม หมายถึง เด็กที่มีพฤติกรรมเบ่ียงเบนจากปกติ ซึ่งเกิดข้ึนคอนขางบอย
ตอเนื่องเปนระยะ และสงผลกระทบตอพัฒนาการและการเรียนรู ปญหาพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยมักเกิดจาก
ปญหาดานการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในการปรับตัวตอส่ิงแวดลอม พอแม ผูปกครอง และผูสอน
อาจพบพฤติกรรมที่เปนปญหาเกิดขึ้นในเด็กปกติทั่วไป ถาเด็กไดรับการอบรมเล้ียงดูดวยวิธีท่ีถูกตองเหมาะสม
เด็กจะเติบโตอยางมีคุณภาพ และมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค ขณะเดียวกัน หากเด็กไดรับอบรมเลี้ยงดูและดูแล
เอาใจใสไมถูกตอง อาจทําใหเด็กมีพฤติกรรมที่เปนปญหาได พอแม ผูปกครอง และผูสอนท่ีมีความเขาใจ
พัฒนาการของเด็ก ใหความรัก มีความเขาใจเก่ียวกับการปองกันปญหาพฤติกรรมที่อาจเกิดกับเด็ก และ
ลดพฤติกรรมท่เี ปน ปญหาไดทนั ทว งที กส็ ามารถขจัดปญหานน้ั ๆ ได

การพิจารณาวาเด็กมีปญหาพฤติกรรม หรือมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกผิดไปจากปกติหรือไม
มแี นวทางในการพิจารณา ดงั นี้
156 ๑. พฤติกรรมน้ันมีลกั ษณะแตกตา งจากการแสดงออกของเดก็ ในระดับอายุ พัฒนาการเดียวกนั

๒. พฤติกรรมนั้นมีความถ่ี ระยะเวลา และความรุนแรงของการเกิดพฤติกรรม จนเปนอันตราย
ตอ ตวั เด็กเองและผูอ่นื

๓. พฤตกิ รรมนั้นสงผลใหเด็กสญู เสยี โอกาสในสงั คม หรอื มีผลกระทบตอชวี ิตของเด็ก
๔. พฤตกิ รรมนั้นมผี ลตอพฒั นาการและการเรียนรขู องเด็ก
๕. พฤตกิ รรมนน้ั ขดั ขวางการดําเนนิ ชวี ิตของเด็กในการปรับตัวเพอ่ื การอยูร ว มกนั กับผูอ นื่
การชว ยเหลอื เด็กทีม่ ีปญหาพฤตกิ รรม ผสู อนควรมคี วามเขา ใจพัฒนาการและปจ จยั ตา งๆ ท่สี งผล
ตอ พฤติกรรมเด็ก จะชว ยใหการปรบั พฤตกิ รรมเด็กประสบผลสาํ เรจ็ ดวยดี ซงึ่ มขี อ ควรคาํ นึงดังน้ี
๑. ควรหาสาเหตทุ เี่ กดิ ปญ หาพฤตกิ รรมอยา งถถ่ี ว นและไมด ว นสรปุ เชน กรณที เ่ี ดก็ เคลอ่ื นไหวและ
ซนมากตลอดเวลา มีความสนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งเปนชวงส้ันๆ ไมคอยอดทนหรือไมรอคอยอะไรนานๆ ผูสอน
ไมควรดวนสรุปวาเด็กมีสมาธิสั้น ควรหาสาเหตุโดยการสอบถามพอแม ผูปกครอง ถึงพฤติกรรมขณะอยูท่ีบาน
ประวตั ิการคลอดและการเลีย้ งดู รวมถึงปรกึ ษาครกู ารศึกษาพิเศษ กอ นสรุป เปน ตน
๒. ทําความเขาใจในปญหาพฤติกรรมของเด็กรวมกับพอแม ผูปกครอง เพ่ือหาสาเหตุและ
หาแนวทางชวยเหลือ แกไ ขพฤติกรรมทเ่ี ปน ปญหารวมกนั
๓. ประสานความรวมมือกับบุคคลที่เกี่ยวของในการชวยเหลือเด็กอยางถูกตองและเหมาะสม
ดวยการใชเ ทคนคิ การศกึ ษาเด็กรายบคุ คล เพอื่ ใหเขาใจสาเหตุของพฤตกิ รรมอยางถอ งแท

๔. ควรใชหลักการปรับพฤติกรรมที่เหมาะสมกับปญหาพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้น ไดแก การปรับ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
สภาพแวดลอม การเบี่ยงเบนความสนใจ การช้ีแนะ การเปนแบบอยางที่ดี การแยกใหอยูตามลําพังช่ัวคราว
การใหค ําชมเชยผานทางคําพดู หรือการแสดงออกทางสีหนาทาทาง การลงโทษ 157

ตัวอยางการปรับพฤติกรรม เด็กมีพฤติกรรมกาวราว ชอบรังแก หรือเลนรุนแรงกับเพื่อน คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ถาเปนเด็กเล็ก ผูสอนควรใหเด็กทํากิจกรรมอยูใกลๆ อยาปลอยใหเลนกับเพื่อนตามลําพัง หรือสรางขอตกลง
ในการเลนรว มกันของเด็ก ถาเปน เดก็ โต ผูสอนควรถามถึงสาเหตุ และชีแ้ จงถึงผลเสยี ของการใชกาํ ลงั กาวรา ว
และช้ีแนะวิธีที่เหมาะสม เชน บอกความไมพอใจออกมาตรงๆ ใหอภัยเพราะเปนเพ่ือนกัน ซึ่งทุกคนก็ทํา
ผดิ พลาดกนั ได

๕. เปนกําลังใจในการชวยเด็กท่ีมีพฤติกรรมท่ีมีปญหา เชน เด็กท่ีขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
ไมก ลา แสดงออกหรอื ทาํ สง่ิ ตา งๆ นอกจากคาํ สงั่ ของพอ แม ควรสรา งความเชอ่ื มน่ั ใหก บั เดก็ วา ทกุ คนสามารถทจี่ ะ
ปรบั แกไ ขใหด ขี นึ้ เปด โอกาสใหเ ดก็ แสดงความสามารถหรอื ความคดิ เหน็ อยเู สมอ และควรใหค าํ ชมเชยหรอื กาํ ลงั ใจ
เพื่อใหเด็กต้ังใจทําตอไปได ถาใหโอกาส ใหการยอมรับในคุณคาของมนุษย ใหความรัก ความนุมนวล และ
ความเอ้ืออาทร กจ็ ะชวยใหเด็กมพี ฤตกิ รรมทีด่ ีขึน้

๖. กรณเี ดก็ มปี ญ หาพฤตกิ รรมทร่ี นุ แรง ซงึ่ พอ แม ผปู กครอง หรอื ผสู อนไมส ามารถใหก ารชว ยเหลอื
หรอื แกไ ขพฤตกิ รรมนัน้ ๆ ได ควรพาเดก็ ไปปรกึ ษาผูเ ชี่ยวชาญหรือแพทย

ปญหาพฤติกรรมที่พบบอ ยในเด็กปฐมวยั

ปญหาพฤติกรรมที่เกิดกับเด็กปฐมวัย สวนใหญเปนปญหาที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการ เปนปญหาท่ีคอนขางเขาใจงาย ไมสลับซับซอน และเก่ียวกับลักษณะของการปรับตัวตอการเล้ียงดู
และสภาพแวดลอม ซึ่งถาเด็กขาดการดูแลเอาใจใสจากพอแมหรือผูเล้ียงดู และไดเรียนรูจากสิ่งแวดลอมอยาง
ไมเหมาะสม ก็อาจจะกอใหเกิดปญหาทางพฤติกรรมข้ึนอยางงายดาย ตัวอยางปญหาพฤติกรรมในเด็กปฐมวัย
ท่พี บบอย มดี งั นี้

ตวั อยางปญ หาพฤตกิ รรมทีพ่ บบอยในเด็กปฐมวัย

ปญหา ลกั ษณะที่พบ สาเหตุ แนวทางชวยเหลือและแกไ ข

๑. เด็กพดู ชา เดก็ มพี ัฒนาการ ๑. การเลยี้ งดทู ี่ไมเ หมาะสม ๑. ฝกใหเด็กพดู หรอื ออกเสียง
ดา นภาษาและ ผูด ูแลเดก็ ไมรูความตองการ ในสภาวะแวดลอ มทีเ่ ปนธรรมชาติ
การพดู ไมเ ปนไป ของเดก็ และตอบสนอง ใหเดก็ รูสกึ สนุกในการทาํ กิจกรรม
ตามอายุ เชน ความตอ งการของเด็ก อยางตอเน่อื ง ไมบ ังคบั วา เดก็ ตอ ง
เด็กอายุ ๓ ป แลว โดยไมพ ยายามกระตุนให ออกเสียงหรือพูดตาม
พดู เปน ประโยคสัน้ ๆ เดก็ พดู สอ่ื สาร ๒. ควรชักชวนพดู คยุ ในส่ิงที่เดก็ กาํ ลัง
ไมไ ด พูดไดเปนคาํ ๆ ๒. เดก็ มีความบกพรอ งทาง สนใจ ในเหตกุ ารณตางๆ
หรือสือ่ สารกับคนอ่ืน พัฒนาการ เชน เด็กกลุม อาการ ในชีวติ ประจาํ วัน
ไมได ดาวน เดก็ ทมี่ ภี าวะชัก หรอื ๓. สอนใหพ ูดคาํ งายๆ ทเ่ี ด็กใชใ น
เด็กสมองพิการ เดก็ กลมุ อาการ ชีวติ ประจําวนั หรือคําจากการเลา นิทาน
ออทิสตกิ เปนตน ๔. ใหเ ดก็ ไดพ ูดส่ือสารกับบคุ คลอนื่
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๓. เด็กที่มคี วามบกพรอ ง ในสถานการณตา งๆ
ทางการไดย ิน ๕. หากการพูดชาเกิดจากความบกพรอ ง
ทางการไดย ิน ควรพาไปพบแพทย
เพอ่ื รักษาดวยวิธีท่ีถกู ตองและเหมาะสม

158 ๒. เด็กพูดติดอาง พูดตะกุกตะกกั ๑. เดก็ มคี วามเครยี ดหรอื ๑. เปน ผูฟ ง ท่ดี ี รอใหเ ด็กพูดจนจบ
พูดไมคลอ ง วิตกกังวลจากการเผชญิ กับ และไมพูดแทรก
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ขาดความตอ เนอื่ ง สถานการณใ หม เชน ๒. เปนแบบอยา งที่ดใี นการพดู โดย
ในการพดู มีการพดู เขา โรงเรียนใหม พดู ชาๆ สัน้ ๆ ชดั เจน เมื่อพดู จบ
ซาํ้ ๆ มากกวา ๓ ครงั้ ๒. เดก็ ไดรบั การบาดเจ็บทาง ประโยคแลว ควรหยุดรอ ๒ - ๓ นาที
ขึ้นไป โดยเฉพาะ สมอง ทาํ ใหอวัยวะทเี่ กี่ยวกับ แลวคอ ยเริ่มพูดประโยคใหม
เมื่อเร่มิ ตน พูด การพดู ขาดการประสานงานกัน ๓. ในขณะทเ่ี ดก็ พดู ไมแ สดงสหี นา
๓. การเล้ยี งดูที่ไมถ ูกตองของ ทาทางที่ทาํ ใหเด็กไมม น่ั ใจ เชน
ครอบครัว เชน เรง ใหเ ด็กพูดเร็ว จอ งหนา หรือโมโห
เกินความพรอมทางภาษาของ ๔. ทาํ กจิ กรรมรว มกับเด็ก ใหค วามรัก
เดก็ หรอื ดดุ าเม่ือเด็กพูด และเอาใจใส เพอ่ื ใหเด็กเกดิ ความอบอนุ
ไมคลอ ง ทาํ ใหเดก็ ไมก ลา พดู และมีความมนั่ คงดา นจติ ใจ
๕. หลกี เลี่ยงสถานการณท ี่ทาํ ใหเ ดก็
พูดตดิ อางมากข้นึ

ปญ หา ลักษณะทพี่ บ สาเหตุ แนวทางชวยเหลอื และแกไข
๓. เด็กชอบเลน
อวยั วะเพศ - เวลานอนชอบ ๑. เดก็ วยั ๒ - ๕ ป มักมคี วาม ๑. ไมแสดงใหเด็กเห็นวา เปน เรือ่ ง
๔. เดก็ กดั เล็บหรือ ลูบคลาํ อวยั วะเพศ สนใจในเรอ่ื งเพศ ท้งั การเลน นาละอาย หรอื รูสกึ ผดิ กบั การกระทาํ
ดูดน้ิว - ชอบนอนคว่ํา บทบาทเก่ยี วกับพอ แม สนใจ แบบน้ัน
หนบี ขา อยากรูอยากเห็นเกีย่ วกบั ความ ๒. เม่ือเหน็ เด็กเลน อวัยวะเพศ
๕. เดก็ มีอาการตก๊ิ - ถไู ถอวัยวะเพศกบั แตกตางของเพศชายและหญิง ไมค วรดดุ าหรอื ทาํ โทษเด็ก ควรเบ่ยี งเบน
พนื้ หรือจบั ๒. เกิดจากการมปี ญ หา ความสนใจเดก็ ไปเรอ่ื งอน่ื เชน
อวยั วะเพศเลน ไมสบายใจ ตองการ ชวนเดก็ เลน รอ งเพลง หรือเลา นทิ าน
การปลอบประโลม ๓. อธบิ ายใหเ ด็กรถู งึ อันตรายที่อาจ
เกิดขนึ้ จากการเลนอวยั วะเพศ

- กัดเล็บตลอดเวลา ๑. เดก็ มคี วามรสู กึ เหงา วาเหว ๑. หาสาเหตุวา มอี ะไรรบกวนจติ ใจเด็ก
ท่วี างจนเลบ็ กดุ แหวง ไมมัน่ คง ไมส บายใจ สัมผสั โอบกอด ใหความรัก ความอบอนุ
- เดก็ ดูดน้วิ ๒. เด็กมีความเครียด ซึง่ อาจ เลานทิ าน
เกิดจากความกลัว หรอื เด็ก ๒. หากจิ กรรมท่นี าสนใจใหเ ด็ก
คดิ กลัวไปตา งๆ นานา อยา ใหอยูวาง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๓. การอบรมเล้ยี งดจู ากพอ แม ๓. บอกใหเ ด็กรูถึงอนั ตรายวาเลบ็
หรอื ผดู ูแลเดก็ ทีม่ กี ารควบคุม ท่สี กปรกอาจเปน สอื่ นําโรคได
เชน ดุมาก เจาระเบยี บ หรือ ๔. หากไมส ามารถแกอ าการกดั เล็บ
ปกปอ งมากเกนิ ไป หรือดดู นว้ิ ของเด็กได ควรพาเดก็ ไป
๔. เด็กไมก ลาแสดงออกทาง พบจิตแพทยเดก็ เพอื่ ขอคาํ แนะนํา 159

อารมณ จงึ แสดงออกโดย ท่เี หมาะสมตอไป คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
การกัดเล็บหรอื ดูดนวิ้ แทน เชน
อารมณโกรธ

มกี ารกระตกุ ซาํ้ ๆ ๑. ความไมส มดลุ ของสาร ๑. พาไปพบกมุ ารแพทยหรือจติ แพทยเดก็
ของกลา มเน้อื โดย สอ่ื ประสาทในสมองบางตัว เพอื่ คน หาสาเหตโุ ดยการตรวจวนิ จิ ฉัย
ไมไ ดต ั้งใจ มกั เปน คือ โดปามนี (Dopamine) ที่แนน อน
ทใี่ บหนา คอ ไหล ๒. เกิดจากความเครียด ๒. ไมใหความสนใจอาการผดิ ปกตินนั้
ทาํ ใหเ กดิ อาการขยิบตา การเก็บกดความตองการ เบี่ยงเบนความสนใจไปดานอืน่
กระตกุ มุมปาก บางอยา งพบในครอบครวั ๓. ควรทําบรรยากาศใหผ อ นคลาย
หนาผากยน ยกั ไหล ทีค่ อยเขม งวดในการเล้ียงดูเดก็ ใหเดก็ รสู กึ สบายใจและปลอดโปรง
สา ยหัวไป-มา สะบดั คอ ๓. สาเหตดุ า นจติ ใจ ๔. หากเปนตดิ ตอ กนั และชว ยเหลอื แลว
หรือมกี ารเปลงเสียง ไมหาย อาจแนะนําใหไ ปพบแพทย
แปลกๆ เชน ทําเสยี ง
กระแอม เสียงจมูก
ฟุดฟด เสียงคลา ยสะอกึ
ซ่งึ อาการเหลานี้
จะสามารถหายไปเอง
ได แตท้งั นข้ี นึ้ อยู
กบั ระดบั ของความ
รนุ แรงของโรคดว ย

ปญ หา ลกั ษณะทีพ่ บ สาเหตุ แนวทางชวยเหลอื และแกไข

๖. เดก็ ท่ีมีปญ หา - เบ่ืออาหาร ๑. เด็กเลือกรับประทานอาหาร ๑. ปลกู ฝงลกั ษณะนสิ ยั ทีด่ ีในการกนิ
การรับประทาน - ชอบวงิ่ เลน ชอบ ๒. เดก็ ถูกตามใจมากเกนิ ไป และสรา งบรรยากาศที่ดใี นการกนิ
อาหาร การปน ปา ย ไมอ ยูน่งิ ๓. กนิ ของจกุ จิกอ่นื ๆ จนอิ่ม ปรบั ปรงุ สีสัน รสชาติ ชนดิ ของอาหาร
และไมค อ ยสนใจ กอนมอื้ อาหาร จัดอาหารที่นากิน
การกนิ อาหาร ๒. ไมใชการบงั คบั ใชวธิ ีการจงู ใจและ
- กินอาหารนอ ยมาก เสรมิ แรงใหเ ด็กรบั ประทานอาหาร เชน
เลานทิ าน จดั กิจกรรมปรงุ อาหารงา ยๆ
ดวยตนเอง ใหคาํ ชมเชย

๗. เด็กทม่ี ปี ญหา เดก็ ไมยอมนอน ๑. เด็กบางคนไมเ คยนอน ๑. ควรจัดท่ีนอนใหส ะอาด
การนอน กลางวนั กลางวนั มากอน และหองมีบรรยากาศสงบ
๒. สภาพแวดลอ มไมเ หมาะสม ๒. กจิ กรรมกอ นนอนควรเปนกจิ กรรม
เชน มีเสียงดังรบกวน ทสี่ งบ ไมกระตุนเดก็ และปฏบิ ตั ิเปน
มแี สงสวา งมากเกินไป ประจาํ เชน เลานทิ าน หรอื รอ งเพลง
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป มีกลนิ่ ที่ไมพ ึงประสงค ใหฟง ใหเด็กหลบั ตาใชมือลบู ศรี ษะเดก็
๓. เดก็ เหนอ่ื ย เครยี ด หรอื เบาๆ
วิตกกงั วล

๘. เด็กท่มี ีปญหา เดก็ ไมยอมปสสาวะ ๑. ไมเคยถกู ฝก ใหใ ชห อ งน้าํ ๑. ฝก เดก็ ใหมสี ุขนสิ ัยทด่ี ีในการขบั ถาย
160 การขับถา ย หรืออุจจาระ หอ งสว ม เคยน่งั แตก ระโถน เชน การรักษาความสะอาดหลัง
๒. ตดิ ผา ออ มสําเร็จรปู การขบั ถา ย การถายเปนเวลา
๓. หอ งนา้ํ หอ งสวม มีสภาพ ๒. ฝก ใหเด็กรูจ กั การใชห อ งน้าํ
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ไมเ หมาะสม ไมส ะอาด หรอื หองสวมเมอ่ื ถึงวัยที่เหมาะสม
มกี ล่ินเหมน็ แทนการนั่งกระโถน
๔. เด็กกลวั การอยใู น ๓. ไมค วรใหเ ดก็ ใสผา ออมสําเรจ็ รูป
หอ งแคบๆ คนเดียว ตลอดเวลา
๔. ไมควรเขมงวดเกนิ ไปในการฝก
ขบั ถายและควรจดั สภาพหอ งน้าํ
หอ งสว มใหเ ดก็ อยากเขา ไปใช

ปญหา ลกั ษณะทีพ่ บ สาเหตุ แนวทางชวยเหลอื และแกไ ข

๙. เด็กปส สาวะ - ปสสาวะรดทีน่ อน ๑. เด็กมพี ัฒนาการชากวาปกติ ๑. ควรหาสาเหตวุ าเปนเพราะอะไร
รดที่นอน หรือรดเสอื้ ผา ในวัย ไมส ามารถควบคุมการถา ยปสสาวะ เกดิ จากสภาพรางกายหรอื อารมณ
ทเี่ ดก็ ควรจะควบคุม ไดเ ม่อื ถงึ วยั ถา เดก็ มีรางกายปกติดี พอ แม ผปู กครอง
การขบั ถายปส สาวะ ๒. เกิดจากการอักเสบของ หรอื ผูด ูแลเดก็ ไมค วรวา กลา วลงโทษ
ไดแลว กระเพาะปส สาวะ หรือการ ลอเลยี น หรอื ทําสิ่งหน่ึงสิ่งใดที่ทาํ ให
- ปสสาวะรดทนี่ อน ทีเ่ ดก็ มีความจขุ องกระเพาะ เดก็ เกิดความเครยี ด ตกใจกลวั
หรอื รดเสอ้ื ผา เปน เล็กกวา ปกติ ทําใหเ ด็ก ๒. ควรใหกาํ ลงั ใจเดก็ และชวยเหลือเด็ก
มากกวา ๒ ครั้ง กลน้ั ปส สาวะไดไ มนาน วิธีทใ่ี ชไดผ ลคือ ใหล ดนา้ํ ดื่ม หรืออาหาร
ใน ๑ อาทิตย ๓. ถกู เลย้ี งดอู ยางปลอ ยปละ ทม่ี รี สจัด เพราะทําใหเ ด็กกระหายน้าํ บอ ย
ไมต ํ่ากวา ๓ เดอื น ละเลย หรอื เขมงวดเกินไป ๓. ควรใหเ ดก็ ปสสาวะกอนนอน และ
ไมไ ดรับการฝก นสิ ยั ในการขบั ถา ย ปลกุ ใหเดก็ ปส สาวะตามเวลาทีเ่ คยทาํ
ที่ถกู ตอ ง หรือถูกฝกเม่อื อายุนอ ย เปน ประจาํ ทุกวนั ใหทําจนกวาเดก็ จะ
๔. มปี ญ หาท่ีทาํ ใหกระเทอื นใจ เคยชินและลกุ ข้ึนมาปส สาวะเองได
เมื่อปวด
๔. ควรใหค ําชมเชยเมื่อเดก็ ไมป ส สาวะ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
รดท่นี อน แตถาเดก็ ยงั มปี ญ หา
การปสสาวะรดทนี่ อน ควรปรึกษา
จิตแพทยเดก็
161
๑๐. เดก็ ซน อยไู มน ิง่ - ไมคอยอยนู ่ิง ๑. กจิ กรรมการสอนของผสู อน ๑. ควรจัดกิจกรรมทีน่ า สนใจและ
ขาดสมาธิ เคลอื่ นไหวอยู ไมนาสนใจ ระยะเวลาไมเหมาะสม เหมาะสมกบั ความสามารถของเดก็
ตลอดเวลา กับอายุของเด็ก เปด โอกาสใหเด็กมีสวนรว มในกจิ กรรม คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
- มีชว งความสนใจ ๒. เด็กรับประทานน้ําตาล เสรมิ แรงเมื่อเด็กทาํ กจิ กรรมเสรจ็ สน้ิ ลง
ในการทําส่งิ หนึ่ง หรอื อาหารหวานจัดมากเกินไป ๒. ลดนา้ํ ตาลในอาหารทุกชนดิ
สง่ิ ใดนอยมาก ทาํ ใหม ีกาํ ลังมาก โดยเฉพาะควรงดเวน การรบั ประทาน
ชอ็ กโกแลต ทอฟฟ และนาํ้ อัดลม
ทมี่ ีรสหวาน
๓. สงั เกตอาการและแนะนําให
ผปู กครองพาไปพบแพทย

๑๑. เดก็ หยิบของ พบในเดก็ อายุ ๑. เกิดจากความรูสึกอยากได ๑. ควรสอนใหเ ด็กเรยี นรสู ิทธิ
ผูอน่ื ๓ - ๔ ป หยบิ ของ ยังไมเขาใจเหตุผล เพียงตองการ ของผูอ น่ื โดยการเลานิทานใหเดก็
ของผูอน่ื หรือของ อยากไดของคนอ่ืน เขา ใจ ดว ยวธิ นี ุมนวล แตจริงจัง และ
ในหองเรยี นไป ๒. เกิดจากความวา เหวใ นจิตใจ ควรเอาใจใสอ ยา งใกลช ิดกอนทเ่ี ด็ก
โดยไมขออนุญาต ไมไดร ับความอบอุนจากผเู ลี้ยงดู จะทาํ เปนนสิ ัย
๒. ขอความรวมมอื กับพอแม ผูป กครอง
ชวยกันแกไ ข อาจใหเดก็ นําของ
มาใหเ พ่อื น และใหเ พ่อื นรจู ัก
การขออนุญาตกอ นหยิบของผอู ื่น

ปญหา ลกั ษณะทพ่ี บ สาเหตุ แนวทางชวยเหลือและแกไข

๑๒. เด็กข้อี จิ ฉา - เรียกรองความ ๑. เดก็ รูสึกสญู เสยี สงิ่ ทเ่ี คยเปน ๑. เมอ่ื พอแมจ ะมีลูกเพ่ิม ควรเตรยี ม
สนใจเพอ่ื ใหไดร บั เจา ของมากอ น เชน พอแมและ ลูกคนโตใหรบั รตู งั้ แตแมเ ร่ิมต้งั ครรภ
ความเอาใจใส บุคคลในครอบครัวใหความ ทาํ ความเขา ใจกบั เดก็ วา เขายังไดร บั
ดว ยวธิ ีการตา งๆ เชน สนใจนอ งทเ่ี กิดใหม ความรกั ความเอาใจใสจากพอแม
แสดงพฤติกรรมกลับ ๒. พอแมบ างคนแสดงทาที เหมอื นเดมิ
เปนเด็กกวาอายุจรงิ รกั ลูก สนใจลูกไมเ ทากนั ทาํ ให ๒. ใหเ ด็กมสี ว นรว มในการดแู ลนอง
- รังแกคนทตี่ วั เอง เด็กเกิดความรสู ึกวาไมไดรบั ควรปรบั ความคิดความเขา ใจของเดก็ วา
อิจฉา แอบทาํ ราย ความยุตธิ รรม การมีนองใหม เปนการมีเพอ่ื นเพ่ิมข้ึน
รา งกายและทาํ ลาย ๓. เพือ่ เรียกรอ งความสนใจ ๓. แนะนําพอแมป ฏบิ ัตติ อเด็ก
ส่ิงของทง้ั ตอ หนา ในครอบครัวดว ยความเทาเทียมกนั
หรอื ลบั หลัง หรือ ท้ังการกระทําและคาํ พูด
หาทางแกลงดวย ๔. ควรใหความสนใจและเอาใจใสต อ
วธิ ีตา งๆ เมอ่ื ผูใหญ ความรสู กึ ของเด็กใหม ากข้นึ หาจงั หวะ
ไมเหน็ ในการชมเชยในพฤตกิ รรมท่ีเหมาะสม
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ของเด็ก

๑๓. รองอาละวาด การรอ งอาละวาด การเลย้ี งดทู ไ่ี มเหมาะสม ๑. ผใู หญไ มควรใหความสนใจ ปลอ ย
เมื่อถูกขดั ใจ โดยการตามใจและตอบสนอง หรืออุมเดก็ ทกุ ครงั้ ทเ่ี ดก็ รองเมอ่ื ถูกขัดใจ
อาจมพี ฤติกรรม ความตอ งการของเด็กอยา ง แตใ ชว ธิ ีเบนความสนใจไปสสู ง่ิ อ่นื
162 การกระทบื เทา ไมเหมาะสม ๒. ไมตามใจเร่อื งที่ถูกขดั ใจ

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ลงนอนดิ้นกบั พน้ื ๓. เมอื่ เด็กเบาเสียงหรอื หยุดรอ ง
ทบุ ตี หรอื ขวา งปา จงึ เขา ไปหา พดู คุย ปลอบโยน และ
พบบอ ยในเด็กอายุ เปลย่ี นความสนใจเด็กไปเรื่องอนื่
๒ - ๕ ป ๔. ในขณะท่ีเดก็ รอ งอาละวาด ไมค วร
พูดตาํ หนิเด็ก หรือสัง่ สอนเดก็ ซ่งึ เด็กจะ
ไมฟง ควรนิง่ และใหพ ้นื ทีท่ ี่ปลอดภัย
ใหเ ด็กรองจนกวา เดก็ จะสงบหรอื
รองนอ ยลง แลว จึงใหความสนใจ
และพูดดวย

ปญ หา ลักษณะทพ่ี บ สาเหตุ แนวทางชว ยเหลอื และแกไ ข
๑๔. เด็กติด
สอ่ื อิเล็กทรอนิกส - มีอาการตืน่ สาย ๑. การหล่ังของสารโดปามนี ๑. หากิจกรรมอน่ื ใหเด็กทํา
เชน โทรศพั ทมอื ถอื และอาการออนเพลีย (Dopamine) ภายหลงั เด็กไดทํา เพอ่ื ลดการเลนหรอื ใชสื่ออิเล็กทรอนกิ ส
โทรทัศน ในตอนเชา กจิ กรรมแปลกใหม เชน การเลน เชน การวาดภาพ ออกกาํ ลังกาย
คอมพิวเตอร ฯลฯ - เดก็ หมดความสนใจ ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส สารท่ีวา น้ี ๒. ควรมเี วลาทาํ กจิ กรรมรวมกันกับเด็ก
ในกิจกรรมรอบตวั จะทาํ หนา ท่ีกระตุน ใหเด็กเกิด เพ่ิมขึน้ และอาจตงั้ กฎกติกาในการใช
๑๕. เดก็ ปฏเิ สธ - เดก็ ตัง้ ตารอเวลา พฤติกรรมเดิมซ้าํ ๆ สือ่ อิเลก็ ทรอนิกสในรปู แบบตา งๆ
การไปโรงเรยี น ทีจ่ ะไดเลน ๒. พอแมข องเดก็ ปลอยใหเ ด็ก ใหช ัดเจน
สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส เลนตามลาํ พัง หรอื ไมม กี ําหนด ๓. ควรเปน ตัวอยา งที่ดใี หก ับลกู ในการ
และมกั พูดถึงเวลา ระยะเวลาการเลน ในแตละวัน ใชส ือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส
ท่จี ะไดเ ลน ทาํ ใหเ ดก็ เลน ส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส ๔. ไมค วรอนุญาตใหเดก็ เลน
สื่ออเิ ล็กทรอนกิ สอีก ตดิ ตอ เปนเวลาหลายชว่ั โมง สือ่ อเิ ล็กทรอนิกสในรปู แบบตางๆ
ในครงั้ ถดั ไป ชวงกอ นเขานอน และไมจัดเกบ็
- เด็กรูสกึ หงดุ หงดิ อปุ กรณไ วในหองนอนของเด็ก
หรอื หดหเู วลาท่ี เพือ่ ปองกันไมใหเ ด็กแอบเลน
ไมไดเ ลน ทง้ั กอนนอนหรอื หลงั ตื่นนอนในทันที ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
สือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ๕. จัดกิจกรรมทที่ ําใหเด็กไดส ัมผัสกับ
- เดก็ มพี ฤติกรรม สง่ิ แวดลอมในชีวิตจรงิ เชน การอาน
กา วรา ว หนงั สอื หรอื ฟง นทิ านรวมกนั
- เดก็ ขาดสมาธิ การเลนในสนามเดก็ เลน 163

ระหวางทาํ กิจกรรม คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

- ตอ ตา นขดั ขืน ๑. ปรับตวั เขากับผสู อน เพื่อน ๑. ควรเตรียมความพรอ ม
รอ งโวยวาย อางวา และการปฏบิ ตั ิตาม ท่ีจะรบั เดก็ เมอ่ื เปด เรียน ทั้งตวั ผสู อน
ไมส บาย ไมย อมไป ตารางกจิ กรรมประจาํ วนั บรรยากาศภายในหอ งเรยี น วัสดุ
โรงเรียน ของโรงเรยี นไมไ ด อปุ กรณ ของเลน ของใช และ
- แสดงอาการทางกาย ๒. การอบรมเลย้ี งดทู ่ี กจิ กรรมตา งๆ เพือ่ สรางแรงจูงใจ
ตางๆ ท่มี ักจะเปน ขาดการเอาใจใส ในการมาโรงเรียน
ในชวงเชา ท่ีจะตอ ง ๒. ใหความรูผูปกครอง และรวมมือกนั
ไปโรงเรยี น เชน เตรียมเดก็ ใหมีความพรอ มในการมา
คลื่นไส อาเจียน โรงเรียน
ปวดทอ ง ปวดหัว ๓. จดั กิจวัตรประจาํ วนั ใหส ม่ําเสมอ เชน
วงิ เวียน เหง่ือออกมาก จัดตารางการกินการนอนใหเ ปน เวลา
ทอ งเสีย เพือ่ ชว ยใหเด็กปรับตวั ไดง ายขึ้น และ
- คดิ วติ กกงั วล รว มมอื ในการทาํ กิจวัตรตางๆ มากข้ึน
เกีย่ วกบั การไป ๔. ใหกาํ ลังใจและเสริมแรงใหเดก็ ทํา
โรงเรยี น กิจกรรมรวมกับเพอื่ น และปฏบิ ัติ
กิจวตั รตามตารางกิจกรรมของโรงเรยี น
อยา งคอ ยเปน คอยไป

ปญหา ลักษณะทพ่ี บ สาเหตุ แนวทางชวยเหลือและแกไข
๑๖. เด็กเขากบั
เพือ่ นไมได กา วรา ว ชอบรังแก ๑. ขาดความรัก ความสนใจจาก ๑. ใหความรัก ความอบอนุ แกเด็ก
เลน รุนแรง พอแม และผูสอน ทาํ ใหเด็ก อยางเพยี งพอ เชน ชักชวนใหรวม
กอเรอ่ื งวุนวาย เปนคนไมร วมมอื กจิ กรรมและอยูใ กลๆ เดก็ ไมปลอ ย
ชวนทะเลาะ ๒. พอแมและผสู อนเลย้ี งดเู ด็ก ใหเด็กอยูก บั เพอ่ื นๆ ตามลาํ พัง
อยางเขม งวด ทําใหเดก็ เกิด ๒. ควรเลีย้ งดูเด็กโดยใชเ หตุผล
ความเครยี ดและมาแสดงออก ยอมรับฟง ความคิดเห็นของเด็ก
กับผอู ืน่ ๓. ผสู อนแนะนําวธิ กี ารเล้ยี งดูอยาง
๓. คุนเคยกบั การถกู ตามใจและ ถูกตอ งแกพอ แม
คาดหวังจะไดสง่ิ ตางๆ จากผูอ น่ื ๔. ผูใกลชดิ เด็กควรแสดงทาทนี มุ นวล
เชน เดยี วกบั พอ แม กบั เด็ก ไมค วรใหดรู ายการโทรทศั น
๔. เดก็ เหน็ แบบอยาง วธิ ีการ ที่แสดงถึงความกา วรา ว
แสดงออกกา วรา วจาก ๕. หลกี เลีย่ งการยว่ั ยุใหเ ด็กโกรธ
บุคคลแวดลอมและโทรทัศน ๖. ควรฝก ใหเ ดก็ ไดม โี อกาสเลน
๕. ผูเล้ยี งดุ ยัว่ ยใุ หเดก็ เกิด รวมกลุมกับเพอื่ น และชมเชยเม่ือ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป อารมณโกรธบอ ยๆ ทาํ งานไดส ําเรจ็ เปน ท่ยี อมรบั ในกลมุ
๖. เด็กเขา กลมุ กับเพื่อนไมไ ด

164

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

บทท่ี ๑๐

การจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย (เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป)
สําหรบั กลมุ เปาหมายเฉพาะ

การจัดการศึกษาสําหรับเด็กท่ีเปนกลุมเปาหมายเฉพาะน้ัน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ กไ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดเ ปด โอกาสใหสามารถ
จดั การศกึ ษาไดห ลายรปู แบบ ท้งั การศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั เพื่อใหมี 165
ความยดื หยนุ สนองตอ เจตนารมณ ความแตกตา ง และความตอ งการของกลมุ เปา หมายตา งๆ ใหม คี วามหลากหลาย
ในทางปฏิบัติ เพื่อใชในการพัฒนาคุณภาพเด็กใหเหมาะสมกับบริบทและความพรอมของสถานศึกษา คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
แตละแหง ซึ่งสอดคลองกับหลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่วา “เด็กทุกคน
มีสิทธิที่จะไดรับการอบรมเล้ียงดูและการสงเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ตลอดจนไดรับ
การจัดประสบการณการเรียนรูอยางเหมาะสม ดวยปฏิสัมพันธท่ีดีระหวางเด็กกับพอแม เด็กกับผูสอน เด็กกับ
ผูเลีย้ งดูหรอื ผูที่เกี่ยวของกบั การอบรมเล้ียงดู การพัฒนา และการใหก ารศกึ ษาแกเ ด็กปฐมวัย เพอ่ื ใหเ ดก็ มโี อกาส
พัฒนาตนเองตามลําดับขั้นของการพัฒนาการทุกดานอยางเปนองครวม มีคุณภาพ และเต็มตามศักยภาพ”
โดยเด็กกลุมเปาหมายเฉพาะนี้หากไดรับการจัดการศึกษาที่ปรับใหเหมาะสมควบคูกับการบําบัดที่จําเปนตางๆ
ตงั้ แตร ะยะแรกเรมิ่ กส็ ามารถพฒั นาจนใกลเ คยี งเดก็ ปกตไิ ด ในทางตรงขา มหากไมไ ดร บั การชว ยเหลอื ทเี่ หมาะสม
กับความตองการเฉพาะของเด็ก อาจสงผลตอพัฒนาการและการเรียนรูของเด็กเมื่อเติบโตข้ึน และเปนภาระ
ของสงั คมไดเ วลาตอมา เชน เด็กทม่ี คี วามบกพรองทางพฒั นาการท่ีรนุ แรง ควรไดรับการดูแลและการชวยเหลือ
จากผเู ช่ยี วชาญเฉพาะดาน รวมกบั การศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกบั ลกั ษณะเฉพาะของเดก็ เพอ่ื พัฒนาศักยภาพของเดก็
ใหม คี ณุ ภาพชีวติ ทดี่ ขี ้นึ

ความหมายของการศึกษาสําหรบั กลุมเปา หมายเฉพาะ

การศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ เปนการจัดการศึกษาท่ีมีความแตกตางในดานเปาหมาย
การจัดหลกั สตู รและการจดั ประสบการณการเรียนการสอน รวมทัง้ การบริหารจดั การตางๆ เพ่อื ใหเ ปน ไปตามปรชั ญา
จุดเนน หรือศักยภาพ และความตองการของเด็กท่ีแตกตางกัน การศึกษาจะตองจัดใหเหมาะสมสอดคลองกับ
สภาพความตองการและความจําเปน เพ่ือใหเด็กมีความสุขและเกิดการเรียนรูไดเ ต็มตามศกั ยภาพ

ลกั ษณะการจดั การศึกษาสาํ หรบั กลุมเปาหมายเฉพาะ

ในปจจุบันการจัดการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะในประเทศไทยมีหลากหลายลักษณะ
ซง่ึ สามารถจดั กลมุ ได ดังนี้

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปกลมุ ท่ี ๑ : กลมุ เปาหมายเฉพาะท่ีเปนการศึกษาในระบบ
- สถานศึกษาในระบบท่ีมีรูปแบบการจัดการศึกษาหรือการจัดกระบวนการเรียนรูแตกตางจาก
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐สถานศึกษาสวนใหญทั่วไป เชน การศึกษาเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษ เด็กพิการ ผูดอยโอกาส โรงเรียนหมูบานเด็ก
โรงเรยี นรุงอรุณ โรงเรียนสัตยาไส
- สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาเฉพาะทางหรือมีจุดเนนเปนพิเศษ เชน โรงเรียนเตรียมทหาร
โรงเรียนกฬี า โรงเรียนนายสบิ ทหารบก โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา โรงเรียนไปรษณีย วิทยาลยั
นาฏศลิ ป
กลมุ ที่ ๒ : กลมุ เปา หมายเฉพาะทเ่ี ปน การศึกษานอกระบบหรอื ตามอัธยาศยั
- มรี ปู แบบการจดั การศกึ ษาทย่ี ดื หยนุ หลากหลาย สอดคลอ งกบั ปรชั ญาการศกึ ษาธรรมชาติ และ
ความตอ งการของเดก็ หรอื อาจจดั การเรยี นรตู ามวถิ ธี รรมชาติ วถิ ธี รรม วถิ ขี องชมุ ชน เชน การศกึ ษาโดยครอบครวั
ศนู ยก ารเรียน การศกึ ษสายครภู มู ิปญญา
- เปนการศึกษาทางเลือกเพื่อตอบสนองความตองการของเด็กที่ไมประสงคจะเรียนในระบบ
การศึกษาปกติ ซึ่งมีเหตุผลมาจากพ้ืนฐานของบุคคลตามปรัชญาความเชื่อทางการศึกษา และการเรียนรูหรือ
ดา นอื่นๆ

หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั และการจดั การศึกษาสําหรับกลมุ เปา หมายเฉพาะ

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมีความยืดหยุนในการนําสูการปฏิบัติ การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
166 (เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป) สําหรบั กลมุ เปาหมายเฉพาะสามารถนําหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยไปปรบั ใชไ ดท้ังในสวนของ

สาระการเรียนรู การจัดประสบการณ และการประเมินพัฒนาการใหเหมาะสมกับสภาพบริบท ความตองการ
และศักยภาพของเด็กแตละประเภท เพ่ือพัฒนาใหเด็กมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค
ที่หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยกาํ หนดโดยดาํ เนินการ ดงั นี้

๑. การกาํ หนดเปา หมายคณุ ภาพเดก็ ซงึ่ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ไดก าํ หนดมาตรฐานคณุ ลกั ษณะ
ที่พึงประสงคและสาระการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางเพื่อใหทุกฝายท่ีเกี่ยวของใชในการพัฒนาเด็ก
สถานศึกษาหรือผูจัดการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะสามารถเลือกหรือปรับใชตัวบงช้ีและสภาพท่ี
พึงประสงคในการพัฒนาเด็ก เพ่ือนําไปออกแบบและบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา และจัดทําแผนการ
จัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคลใหค รอบคลุมพัฒนาการของเด็กทัง้ ดานรางกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสติปญญา
ใหสอดคลองเหมาะสมกับบริบท ความแตกตาง และความตองการของแตล ะกลุมเปา หมายได

๒. สาระการเรียนรู เปนสื่อกลางในการจัดประสบการณการเรียนรูใหกับเด็ก เพ่ือสงเสริม
พัฒนาการเด็กทุกดานใหเปนไปตามเปาหมายคุณภาพเด็กของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีกําหนด สาระการเรียนรู
ประกอบดวย ประสบการณสําคัญและสาระท่ีควรเรียนรู สถานศึกษา/ผูจัดการศึกษาสามารถเลือกหรือปรับ
สาระการเรียนรูไดตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงวัย ความแตกตางระหวางบุคคล และศักยภาพของเด็ก
สถานศึกษา/ผูจัดการศึกษาสามารถจัดประสบการณการเรียนการสอนไดหลากหลายรูปแบบวิธีการตาม
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั สภาพและบรบิ ททมี่ ลี กั ษณะเฉพาะของกลมุ เปา หมายนนั้ ๆ และควรฝก ใหเ ดก็ ไดฝ ก ทกั ษะ
กระบวนการคดิ การเผชญิ สถานการณ ใหเ ดก็ ไดเ รยี นรจู ากประสบการณจ รงิ ฝก การปฏบิ ตั ใิ หท าํ ได คดิ เปน ทาํ เปน
และเกดิ การใฝรูอยางตอเนือ่ ง

๓. การประเมนิ พฒั นาการเดก็ จะตอ งคาํ นงึ ถงึ ปจ จยั ความแตกตา งของเดก็ อาทิ เดก็ ทมี่ คี วามพกิ าร ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
แตล ะดาน อาจตอ งมกี ารปรบั การประเมินพฒั นาการท่ีเอือ้ ตอ สภาพความพกิ ารของเด็ก ท้ังวิธีการและเคร่ืองมอื
ท่ีใชควรใหสอดคลองกับเด็กกลุมเปาหมายเฉพาะดานดังกลาว ผูสอนควรใหความสําคัญกับการประเมินตาม 167
สภาพจรงิ ดว ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เชน การพดู คยุ และใชค าํ ถาม การสงั เกต การประเมนิ การปฏบิ ตั ิ การแสดงออก
ในการทํากจิ กรรม การประเมินดว ยแฟม สะสมงาน โดยประเมนิ พฤตกิ รรมของเด็กตลอดเวลาทีจ่ ดั ประสบการณ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
การเรียนรู/กิจกรรม เพื่อใหทราบวาเด็กบรรลุตัวบงช้ี/สภาพท่ีพึงประสงคหรือมีแนวโนมวาจะบรรลุตัวบงช้ีใด
และส่ิงเหลานี้ควรพิจารณาใหเหมาะสมกับเด็กกลุมเปาหมายเฉพาะแตละกลุม เพื่อใหการประเมินพัฒนาการ
เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ

๔. สถานศกึ ษาทมี่ เี ดก็ กลมุ เปา หมายเฉพาะ ควรไดร บั การสนบั สนนุ ครพู เี่ ลย้ี งใหก ารดแู ลชว ยเหลอื
และสงเสริมพัฒนาการ กรณีท่ีมีเด็กลุมเปาหมายเฉพาะมีผลพัฒนาการไมเปนไปตามเปาหมาย ควรมีการสงตอ
ไปยงั สถานพฒั นาเดก็ ทมี่ คี วามตองการพิเศษเพ่ือใหไดรบั การพฒั นาตอไป

แนวทางการดูแลและใหก ารศกึ ษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ

เด็กปฐมวัยที่เปนเด็กกลุมเปาหมายเฉพาะควรไดรับการดูแลและเฝาระวังในดานพัฒนาการ
และการเรยี นรู เพื่อปอ งกนั ปญหาหรือภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดข้นึ อนั อาจสง ผลกระทบตอศกั ยภาพการเรียนรู
ของเดก็ การทผ่ี สู อนใหก ารชวยเหลือเดก็ ไดอ ยา งรวดเร็ว สามารถลดปญ หาการเรยี นในอนาคตได

แนวทางการดแู ลและใหการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ กลุมเปาหมายเฉพาะ มวี ิธีการปฏบิ ตั ิเพ่อื การปอ งกัน
การเฝา ระวัง การคน พบ การสงตอ การใหค วามชวยเหลอื และการสง เสริมการเรยี นรู มีดงั นี้

๑. การปอ งกัน
การปองกันและการดูแลความปลอดภัยทั้งทางรางกายและจิตใจ และการจัดสภาพแวดลอม

ทเี่ หมาะสม เปน การปอ งกนั ภาวะเสย่ี งตอ การเกดิ ปญ หาพฒั นาการและการเรยี นรขู องเดก็ ในอนาคต ชว ยสง เสรมิ
ใหเ ดก็ มกี ารพฒั นาศกั ยภาพของตน ดงั นนั้ จงึ ควรทาํ ใหส ภาพแวดลอ มมลี กั ษณะทคี่ นพกิ ารทกุ คนสามารถเขา ถงึ ได
เชน การทําทางลาดสําหรับรถเข็น การทําหองน้ําคนพิการ การใชสีเพื่อแบงแยกพ้ืนที่ท่ีเปนคนละสวนกัน
เพ่ือความสะดวกของเด็กท่ีมีปญหาดานสายตา เปนตน นอกจากน้ีผูสอนควรใหความสําคัญกับการตรวจสอบ
ความปลอดภยั ของสง่ิ ของเครอื่ งใช อุปกรณเ ครอ่ื งเลน และสว นตา งๆ ของอาคารสถานทที่ เี่ ด็กเขา ไปใช รวมทง้ั
ความสะอาดของอาหาร นํ้าดื่ม เคร่ืองใช และที่อยูอาศัย ความปลอดภัยน้ีควรครอบคลุมถึงความปลอดภัย
จากการขมเหง รังแก หรือลอลวงจากคนในสถานศึกษาและคนแปลกหนา ดว ย

๒. การเฝา ระวัง
ผสู อนควรดาํ เนนิ การเฝาระวงั เพอื่ ตดิ ตามและใหการชวยเหลือเดก็ ในความดแู ลของตนดว ย ดังนี้
๒.๑ การเฝาระวังการลวงละเมิดทางรางกาย จิตใจ และ/หรือทางเพศ ผูสอนควรสังเกต

รองรอยบนรางกาย และพฤติกรรมตางๆ ของเด็กวาอาจจะสะทอนถึงการถูกลวงละเมิดหรือไม เชน
เด็กมีอาการซึมเศรา หวาดกลัวหรือหวาดระแวงหรือไม มีรอยช้ํา รอยไหม หรือบาดแผลใหมๆ บนแขนขา
เนื้อตัว โดยทีเ่ ด็กไมกลาบอกสาเหตหุ รอื ไม เปน ตน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป๒.๒ การเฝาระวังความพิการ/ความบกพรองทางพัฒนาการและการเจริญเติบโต ผูสอน
ควรบันทึกนํ้าหนัก สวนสูง และเสนรอบศีรษะของเด็กอยางสม่ําเสมอ เพ่ือประเมินการเจริญเติบโตของเด็กวา
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐อยใู นสภาวะปกตหิ รอื ไม นอกจากนยี้ งั ควรเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ พฒั นาการดา นตา งๆ ทงั้ ทางกลา มเนอื้ ใหญ
กลามเนื้อเล็ก ภาษา สติปญญา ตลอดจนอารมณและสังคมของเด็กวาลาชากวาพัฒนาการของเด็กปกติท่ัวไป
หรือไม หากพบวาพัฒนาการหยุดชะงักหรือถดถอยลง หรือมีการพัฒนาที่ลาชาหางจากวัยมาก ก็ถือไดวา
เปนสัญญาณเตือนถึงความบกพรองทางพัฒนาการท่ีอาจเกิดข้ึนได เชน เด็กอายุ ๓ ป แลวยังพูดเปนคําๆ
ไดเพยี ง ๔ - ๕ คาํ เทานนั้ หรือเด็กอายุ ๕ ป แลวยงั กระโดดไมไ ด เปนตน

นอกจากนี้ ควรเฝาระวังการมองเห็นและการไดยินของเด็ก โดยผูสอนสามารถคัดแยก
การมองเห็นและการไดยินอยางงายๆ ในเด็กทุกคน ทุก ๑ - ๒ ป เชน การตรวจประเมินการมองเห็น ทําได
โดยใชแผนทดสอบระดับสายตาสําหรับเด็กเล็ก ทั้งน้ี ศึกษาไดจากคูมือการตรวจการคัดกรองระดับการเห็นใน
เดก็ ชนั้ อนบุ าลศกึ ษาและชน้ั ประถมศกึ ษา รวมถงึ การทดสอบประเมินการไดย นิ สามารถทาํ ไดโ ดยใหเ ดก็ น่ังเกา อี้
และปดตา ผูทดสอบอยูทางดานหลังของเด็ก และถูน้ิวหัวแมมือกับน้ิวชี้ท่ีขางๆ หูขางใดขางหนึ่งของเด็ก
หางออกมาประมาณ ๕ เซนติเมตร แลวใหเ ด็กยกมอื ขางทห่ี ตู นเองไดย นิ ทําซ้าํ ไปมา ๒ - ๓ คร้ัง เพื่อทดสอบวา
การไดย นิ ปกติหรือไม ซง่ึ เปนการเฝาระวงั ความพกิ ารทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ กบั เด็กปฐมวัยได

๓. การคนพบ การสงตอการใหค วามชว ยเหลอื
การเฝาระวังอยางเปนระบบจะชวยใหผูสอนคนพบเด็กท่ีตองการความชวยเหลือ หรือการ

สง เสริมเปนพเิ ศษไดแตเ นน่ิ ๆ เมอื่ คน พบเด็กแลว ควรมีการสงตอใหแกนกั วิชาชพี ที่เก่ียวของเพือ่ ตรวจสอบอยาง
168 ละเอยี ดอีกครั้ง เชน เมื่อสงสยั วาเด็กอาจมปี ญหาการไดย นิ ผสู อนอาจแนะนาํ ใหผ ูปกครองพาไปตรวจการไดย ิน

ที่โรงพยาบาล หรือเม่ือสงสัยวาเด็กมีพัฒนาการทางสติปญญาลาชา เนื่องจากเด็กไมสามารถเขาใจเรื่องตางๆ
ในชั้นเรียน และไมสามารถพูดส่ือสารกับเพ่ือนและผูสอนได ผูสอนอาจแนะนําใหผูปกครองพาไปตรวจประเมิน
พฒั นาการ หรอื รบั การตรวจเพอ่ื ประเมนิ ระดบั สตปิ ญ ญาทโี่ รงพยาบาล หรอื เมอ่ื สงสยั วา เดก็ อาจถกู ทาํ รา ยรา งกาย
ผูสอนอาจพาเดก็ ไปพบนกั สงั คมสงเคราะหใ หด ําเนนิ การพาเด็กไปตรวจรางกายท่โี รงพยาบาล เปนตน

หากพบปญหาท่ีเปนอุปสรรคตอการพัฒนาของเด็กแลว บาน สถานศึกษา และหนวยงาน
ทเ่ี กย่ี วขอ ง เชน โรงพยาบาล กรมประชาสงเคราะห ควรประสานงานเพอ่ื วางแผนรว มกนั ในการใหค วามชว ยเหลอื
แกเด็กตามสมควรตอไป ในกรณีที่ไมมีหนวยงานใหความชวยเหลือในทองถ่ิน ผูสอนควรปรึกษานักวิชาชีพ
ทเ่ี กย่ี วขอ งหรอื ขอใหเ จา หนา ทท่ี างการศกึ ษาหรอื ทางการแพทยใ นระดบั อาํ เภอ ชว ยประสานงานกบั ผทู เ่ี กย่ี วขอ ง
ในระดับจังหวัดเพื่อหาทางใหความชวยเหลือที่เหมาะสมตอไป ในกรณีเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งไมมี
หนว ยงานในทอ งถนิ่ รองรบั อาจตดิ ตอ ขอคาํ แนะนาํ จากคณะหรอื ภาควชิ าการศกึ ษาปฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา
เพ่ือพจิ ารณาแนวทางการชว ยเหลือและจัดการศกึ ษาทเี่ หมาะสมตอไป

๔. การสง เสรมิ การเรียนรู
ปจ จบุ นั การจดั การศกึ ษาใหแ กเ ดก็ กลมุ เปา หมายเฉพาะจะจดั ในลกั ษณะของการจดั การเรยี นรวม

ซงึ่ เปน ลกั ษณะการจดั การศกึ ษาทเี่ ปด โอกาสใหเ ดก็ กลมุ เปา หมายเฉพาะไดม โี อกาสในการเรยี นรรู ว มกบั เดก็ ปกติ
เพื่อใหม พี ัฒนาการท่เี หมาะสมเตม็ ตามศักยภาพของตนในสภาพแวดลอมท่ีปกติ การจดั การเรยี นรวมจําเปนตอง
ไดร บั ความรว มมอื ในการทาํ งานรว มกนั ระหวา งครอบครวั ผสู อน และนกั วชิ าชพี โดยการปรบั ใชท รพั ยากรทมี่ อี ยู

หรอื จดั หาเพม่ิ เตมิ ตามความจาํ เปน รวมถงึ การสรา งเครอื ขา ยและประสานความรว มมอื ในการทาํ งาน การจดั ระบบ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ขอ มลู และแหลง ใหบ รกิ ารแกเ ดก็ และผสู อน ตลอดจนการชว ยเหลอื และสนบั สนนุ เดก็ และครอบครวั อยา งตอ เนอื่ ง
ดังน้ัน ผูสอนตองระลึกอยูเสมอวาเด็กทุกคน ไมวาจะเปนเด็กกลุมเปาหมายเฉพาะหรือไม ลวนมีความตองการ 169
พนื้ ฐานเหมอื นกนั ทง้ั สนิ้ นนั่ คอื เดก็ จาํ เปน ตอ งไดร บั การพฒั นาทกุ ดา นโดยองคร วม และการพฒั นาเดก็ นน้ั จะตอ ง
อยบู นพ้นื ฐานของระดับพฒั นาการในปจจุบันของเด็กเปน สาํ คัญ ดังน้ี คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๔.๑ เดก็ ทม่ี คี วามตอ งการจาํ เปน พเิ ศษ การจดั การศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ กลมุ นจ้ี ะมคี วามแตกตา ง
ไปจากเด็กปกติ เน่ืองจากมีความบกพรองทางรางกาย อารมณ พฤติกรรม หรือสติปญญา ที่แตกตางจากเด็ก
ปกติท่ัวไป จึงตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ เพ่ือใหเด็กไดเรียนรูและไดรับการสงเสริมพัฒนาการอยางเหมาะสม
เต็มท่ี สามารถอยูรวมและเรียนรูรวมกับเด็กปกติได การจัดการศึกษาสําหรับเด็กกลุมน้ีมักทําควบคูไปกับ
การบําบัดฟน ฟูใหค วามชว ยเหลือ

การจดั ประสบการณแ ละจดั กจิ กรรมประจาํ วนั สาํ หรบั เดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ งการจาํ เปน
พิเศษ ผูสอนตองคํานึงถึงระดับความสามารถและลักษณะของเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษ/เด็กพิการ
อยางมาก จึงควรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะธรรมชาติของเด็กแตละประเภทของความพิการ และ
การจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ซึง่ ตองผา นการอบรมการจดั ทาํ แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP) มากอ น การวางแผนการจดั ประสบการณส าํ หรบั เดก็ กลมุ นี้ ผสู อนควรปรบั เนอ้ื หาของหลกั สตู ร และเลอื กใช
เทคนคิ วิธกี ารจดั ประสบการณท ่ีหลากหลาย และเหมาะสมกบั ความตองการจําเปนพเิ ศษ/ความพิการ เนอื่ งจาก
ถึงแมวาเด็กจะมีความพิการเหมือนกัน แตอาจเขาถึงเนื้อหาการเรียนรูดวยวิธีที่ตางกัน ดังนั้น ผูสอนควรใชสื่อ
ส่ิงอํานวยความสะดวก และจัดสภาพแวดลอมท่ีตอบสนองตอความหลากหลายของความตองการจําเปนพิเศษ/
ความพกิ าร รวมท้ังใชเ คร่อื งมือ และวธิ กี ารประเมนิ พัฒนาการทเ่ี หมาะสม สอดคลองกับลักษณะความตองการ
จําเปนพเิ ศษ/ความพกิ ารแตล ะระดับ แตล ะประเภท และแตล ะบุคคล

เนื่องจากครอบครัวมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาเด็กกลุมนี้ ผูสอนจึงควรแนะนํา
พอ แม ผปู กครอง และสมาชกิ ในครอบครัว ใหความรกั เอาใจใส และเลี้ยงดูเดก็ กลมุ น้อี ยางอบอุน เชนเดียวกบั
เดก็ ปกตทิ ว่ั ไป สําหรบั เด็กที่มีความผิดปกตใิ นระดับรุนแรง อาจแนะนําใหเ ขา รับการศึกษาในสถานศึกษาเฉพาะ
ความพิการ เชน ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัด โรงเรียนสอนคนตาบอด โรงเรียนโสตศึกษา โรงเรียน
ปญญานกุ ูล เปนตน สวนเด็กทีม่ ีระดบั ความผิดปกติไมร นุ แรงมาก สามารถศึกษาในโรงเรียนปกตทิ จี่ ัดการศึกษา
แบบเรียนรวม เพอ่ื เตรยี มความพรอมใหสามารถชวยเหลอื ตนเองได และอยูรว มกับผูอืน่ อยา งมคี วามสุข

๔.๒ เดก็ ทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ ผสู อนควรมคี วามรเู กยี่ วกบั ลกั ษณะของเดก็ ทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ
และมีความเขาใจที่ถูกตองในการจัดประสบการณการเรียนรูและการเลี้ยงดูเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
ผูสอนควรจัดทําขอมูลความสามารถพิเศษของเด็กเปนรายบุคคล ท้ังน้ี อาจใชแบบวัดแววความสามารถพิเศษ
ในเบอื้ งตน และพจิ ารณาพัฒนาการแตละดา นของเดก็ ทมี่ คี วามสามารถพิเศษ เพื่อวางแผนการจดั ประสบการณ
ใหเหมาะสม สอดคลองกับศักยภาพของเด็ก ดวยกิจกรรมที่กระตุนทาทายใหเด็กตอยอดความรู และสงเสริม
ความเปนอัจฉริยะอยางเหมาะสม ท้ังนี้ เด็กท่ีมีความสามารถพิเศษ ท่ีมีพัฒนาการสูงบางดาน ไมจําเปนตองมี
พัฒนาการดานอื่นๆ สูงในระดับเดียวกันเสมอไป เชน เด็กท่ีมีความเฉลียวฉลาดทางคณิตศาสตร อาจมีความ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปสามารถปานกลางในดา นภาษา และเดก็ ทม่ี คี วามสามารถในการอา นเขยี น คดิ เลขเกง มาก อาจขาดทกั ษะทางสงั คม
ไมรูวิธเี ลนรวมกับเดก็ อ่นื ก็ได ดังน้นั ผูสอนควรจัดประสบการณท ี่สง เสริมพฒั นาการดา นอนื่ ๆ ไปพรอ มกัน
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
นอกจากน้ีผูสอนควรจัดบรรยากาศการเรียนและสภาพแวดลอมท่ีสงเสริมใหเด็กที่มี
ความสามารถพิเศษไดพัฒนาศักยภาพของตนใหถึงขีดสูงสุด โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการตัดสินใจ การวางแผน
การแสดงความสามารถ การใหเ หตผุ ล การสรา งสรรค และการสอ่ื สารกบั ผอู น่ื ดว ยการจดั ประสบการณก ารเรยี นรู
ดวยวิธีการและส่ือที่หลากหลาย มีความยากงายหลายระดับ ใหเด็กไดเรียนรูตามความสามารถของตน ผูสอน
ควรจัดใหมีการเพ่ิมพูนความรูในช้ันเรียนสําหรับเด็กเหลานี้ เพ่ือชวยใหเด็กไมรูสึกเบื่อหนายกับเน้ือหาท่ีรูแลว
หรอื เขา ใจแลว ขณะทเี่ ดก็ ปกตกิ าํ ลงั เรยี นรแู ละทาํ ความเขา ใจเรอื่ งนน้ั ๆ อยู การเพม่ิ พนู ความรอู าจทาํ ไดโ ดยใหเ ดก็
เรยี นรูผ า นการสบื เสาะความรู คน พบความจรงิ ดวยวิธีทางวทิ ยาศาสตร หรือเรยี นรผู า นกจิ กรรมตามความสนใจ
ความถนัด และความสามารถรายบุคคล ผูสอนควรใหเด็กเลนและทํางานรวมกับผูอื่น รูจักแลกเปล่ียน
ความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน และยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น เพ่ือพัฒนาทักษะทางสังคม สําหรับการประเมิน
พฒั นาการของเดก็ ทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ ควรเนน ประเมนิ ความสามารถทแี่ ทจ รงิ ดว ยการสงั เกต ตรวจผลงาน ฯลฯ
เชนเดียวกับเด็กปกติทั่วไป แตควรกําหนดเกณฑการประเมินพัฒนาการดานท่ีมีความสามารถพิเศษใหสูงขึ้น
ตามความสามารถของเดก็

๔.๓ เด็กดอยโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม เด็กดอยโอกาสทุกคนมีสิทธิพ้ืนฐานในการ
ไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและไดรับบริการการศึกษาอยางเหมาะสมและหลากหลายรูปแบบ โดยคํานึงถึง
หลักการสทิ ธิเด็ก สทิ ธมิ นษุ ยชน และศักดศิ์ รีความเปน มนษุ ย เนน การเรียนรเู พื่อชีวิตท่ีเหมาะสม โดยบูรณาการ
170 ทงั้ ดา นวชิ าการ ศลี ธรรม จรยิ ธรรม และทกั ษะการดาํ รงชวี ติ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพใหร อดพน จากสภาพดอ ยโอกาส
สามารถพ่ึงตนเองได มีโลกทัศนและการดํารงชีวิตที่เห็นคุณคาของตนเอง อยูรวมกับผูอ่ืนอยางมีความสุข
การจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัยที่เปนเด็กดอยโอกาสน้ี ผูสอนควรจัดประสบการณเพ่ือเตรียมความพรอม

สง เสรมิ ใหเ ดก็ มพี ฒั นาการทเี่ หมาะสมตามวยั โดยบรู ณาการสาระการเรยี นรตู ามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช
๒๕๖๐ และคุณธรรม จริยธรรม ควบคูกับใหการชวยเหลือ ดูแล แกไขปญหาตางๆ ของเด็กเฉพาะรายหรือโดยรวม
ในหลายรปู แบบ ตามแผนการชวยเหลือเด็กดอยโอกาสเปน รายบคุ คล ทงั้ นี้ ควรประสานความรว มมือกบั บคุ คล
หนวยงาน และเจาหนาที่ในหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพื่อใหเด็กดอยโอกาสไดรับการสนับสนุนชวยเหลือตามความ
ตองการและจําเปน เชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย มูลนิธิราชประชานุเคราะห
ในพระบรมราชูปภมั ภ และมลู นธิ ศิ ูนยพทิ กั ษส ทิ ธเิ ดก็ เปน ตน

๔.๔ เด็กที่ถูกละเมิดจากการถูกกระทําท้ังทางรางกาย จิตใจ รวมท้ังการละเมิดทางเพศ
เด็กท่ีไดรับผลกระทบจากการติดเช้ือเอสไอวี ผูสอนเด็กกลุมเปาหมายเฉพาะนี้ตองมีความละเอียดออนและ
ไวตอความรูสึกนึกคิดของเด็ก นอกจากจะใหความสําคัญกับการสงเสริมพัฒนาการและการจัดประสบการณ
การเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ แลว ผูสอนควรใหความสําคัญแกส่ิงที่มีผลตอความรูสึก
ตอ ตนเองและตอ โลกของเดก็ มากเปน พิเศษ เชน เด็กทีเ่ จ็บปว ยเร้อื รงั มักมคี วามหวาดกลวั กังวลในความเจบ็ ปวย
ของตน จึงควรไดรับความรูเกี่ยวกับโรคที่ตนเปน วิธีการรักษา และบุคคลท่ีเด็กตองเกี่ยวของดวย เชน
หมอและพยาบาล ขณะท่ีเด็กซึ่งถูกพอแมทุบตีจนตองไปอยูกับพอแมบุญธรรม ยอมมีความหวาดกลัวผูคน
และรสู กึ วา ตนมชี วี ติ ทดี่ อ ยกวา เดก็ อนื่ จงึ ควรไดเ รยี นรวู า ในโลกนยี้ งั มคี นอกี มากมายทยี่ งั รกั เรา และคนเราสามารถ

มชี วี ติ ทด่ี ไี ด แมจ ะไมไ ดอ ยกู บั พอ แมแ ทๆ ของตน เปน ตน การใหก ารศกึ ษาแกเ ดก็ ทม่ี ปี ระสบการณร า ยแรงในชวี ติ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
เหลา นจี้ ะตอ งทาํ ควบคกู บั การบาํ บดั ผสู อนสามารถเรยี นรกู ารเลอื กใชก จิ กรรมทชี่ ว ยในการบาํ บดั รกั ษา และฟน ฟู
สภาพจิตใจและรางกายของเด็กใหดีขึ้นจากนักวิชาชีพท่ีเก่ียวของ ซ่ึงสามารถทําไดหลายวิธี เชน การเลานิทาน 171
การเคลื่อนไหวโดยใชดนตรีหรือดนตรีบําบัด การทํางานศิลปะหรือศิลปะบําบัด การใชเทคนิควิธีในการพูดคุย
ปลอบโยนและสรางความมนั่ ใจใหแ กเ ดก็ เปน ตน

๔.๕ เด็กเจ็บปวยเร้ือรัง เปนเด็กที่มีปญหาสุขภาพ มีความเจ็บปวย ตองไดรับการดูแลดาน
การรกั ษาพยาบาลเปน เวลายาวนาน อาจเปน เดอื น ป หรอื ตลอดชวี ติ กไ็ ด ไดแ ก โรคทางเดนิ หายใจ โรคเลอื ด โรคไต
โรคทางตอมไรท อ เปน ตน ซง่ึ อาจทําใหไ มส ามารถเรียนในสถานศกึ ษาไดอ ยางตอเนือ่ ง รวมถึงมีความวติ กกังวล
ในความเจ็บปวยของตน จําเปนอยางย่ิงท่ีผูสอนควรมีการติดตามและใหการชวยเหลือดานการเรียนควบคู
ไปกับการรักษา ตองอาศัยความรวมมือจากครอบครัวและบุคลากรทางสาธารณสุข ในการใหความชวยเหลือ
และพัฒนาเด็กเจ็บปวยใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น รวมถึงใหความรูเกี่ยวกับโรคท่ีเด็กเปนอยู วิธีในการดูแลตนเอง
เพื่อใหม ีสุขภาพที่แข็งแรง

๔.๖ เด็กในกลุมการศึกษานอกระบบหรือตามอัธยาศัย พอแมหรือผูจัดการศึกษา
ตองจดั ทําแผนการจดั การศกึ ษาตามแนวปฏบิ ัติในการจัดการศกึ ษา โดยครอบครวั ควรศึกษาหลักสตู รการศึกษา
ปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และเอกสารอื่นๆ ท่ีเก่ียวของ รวมถึงประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ
เพื่อวางแผนการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียน บริบทและเปาหมายที่ตองการพัฒนา โดยยึดจุดเนนของ
การจัดการศึกษาปฐมวัย และออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรูท่ีเนนการอบรมเลี้ยงดูและสงเสริม
พัฒนาการทกุ ดา นดว ยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปบทท่ี ๑๑

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐การสรา งรอยเช�อมตอ ระหวางการศึกษาระดับปฐมวยั
กบั ระดบั ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๑

การสรางรอยเช่ือมตอระหวางการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ มีความ
สาํ คัญอยา งยงิ่ เพราะจะทาํ ใหบุคคลที่เกยี่ วขอ งกบั เด็กเขาใจพัฒนาการการเรียนรขู องเดก็ สามารถสรางหลกั สตู ร
ท่ีเช่ือมตอกับระดับการศึกษา และจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับธรรมชาติการเรียนรูและพัฒนาการ
ของเด็กแตละคน บุคลากรทุกฝายท่ีเกี่ยวของจะตองใหความสนใจตอการชวยลดชองวางของความไมเขาใจ
ในการจดั การศกึ ษาท้งั สองระดับ ซง่ึ จะสง ผลตอ การจัดประสบการณก ารเรียนการสอน ตัวเด็ก ผูส อน ผูปกครอง
และบุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ ทั้งระบบ ผูบริหารสถานศึกษา ผูสอนระดับปฐมวัย และผูสอนระดับ
ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ พอแม ผูปกครอง ชุมชน และผูเกี่ยวของทุกฝาย ควรใหการสนับสนุนและชวยเหลือ
ท่ีเหมาะสม เพ่ือใหเด็กสามารถปรับตัว รับความเปลี่ยนแปลงในชวงการสรางรอยเชื่อมตอไดเปนอยางดี
172 สามารถพฒั นาการเรยี นรูไ ดอยา งราบร่นื

บทบาทของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างรอยเช่ือมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับ
ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๑

การสรางความเขาใจกับบุคลากรทุกฝายที่เกี่ยวของ ระหวางการศึกษาระดับปฐมวัยและระดับ
ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๑ จะประสบผลสําเรจ็ ไดค วรประสานงานและเรยี นรลู กั ษณะการจัดการเรียนของการศึกษา
ทั้งสองระดับ เพื่อรวมมือสงเสริมพัฒนาการเรียนรูของเด็กใหสามารถเรียนรูไดอยางตอเนื่องสัมพันธกัน
ผทู ี่เก่ียวขอ งทุกฝายควรดําเนนิ การ ดงั น้ี

๑. ผูบ ริหารสถานศกึ ษา
ผูบริหารสถานศึกษาเปนบุคคลสําคัญท่ีมีบทบาทเปนผูนําในการสรางรอยเชื่อมตอระหวาง

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาํ หรบั เด็ก ๓ - ๖ ป กับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ในช้ันประถมศกึ ษา
ปท ่ี ๑ โดยศกึ ษาหลักสตู รทงั้ สองระดับ เพื่อทําความเขาใจและจัดระบบการบริหารงานดานวชิ าการทจ่ี ะเอื้อตอ
การสรา งรอยเช่อื มตอการศกึ ษา ผบู ริหารสถานศึกษาควรดาํ เนินการ ดงั นี้

๑.๑ จดั ประชมุ สรา งความเขา ใจใหผ สู อนระดบั ปฐมวยั และผสู อนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑
เพอ่ื รว มกนั สรา งแนวปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การสรา งรอยเชอ่ื มตอ ของการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา
ปท่ี ๑ ซึ่งตอไปน้ีเปนตัวอยางการเช่ือมตอทักษะทางภาษา ความสามารถในการคิดที่เปนพื้นฐานในการเรียนรู
การมเี จตคตทิ ีด่ ตี อ การเรยี นรู และความสามารถในการแสวงหาความรู ดงั น้ี

๑.๑.๑ ตัวอยางการเชอ่ื มตอ ทักษะทางภาษา

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ พุทธศักราช ๒๕๕๑

ทกั ษะพ้ืนฐานทางภาษา กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
มาตรฐานที่ ๙ ใชภ าษาส่ือสารไดเ หมาะสมกับวัย สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพดู
ตวั บงชี้ ๙.๑ สนทนาโตตอบและเลาเรอ่ื งใหผูอ่นื เขา ใจ มาตรฐาน ท ๓.๑ 173
สามารถเลือกฟง และดูอยางมวี ิจารณญาณ และพดู
๙.๑.๑ ฟง ผูอ ่ืนพูดจนจบและสนทนาโตตอบ แสดงความรู ความคิด และความรสู ึกในโอกาสตางๆ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
อยางตอเน่ือง เชื่อมโยงกบั เรอื่ งที่ฟง อยางมีวิจารณญาณและสรา งสรรค
ตวั ชวี้ ัดชั้นป ป.๑
๙.๑.๒ เลาเปนเรือ่ งราวตอเนอื่ งได ๑. ฟงคาํ แนะนาํ คําส่งั งา ยๆ และปฏิบัตติ าม
ประสบการณสําคัญดา นการใชภ าษา ๒. ตอบคาํ ถามและเลาเรอื่ งท่ีฟง และดทู ั้งทีเ่ ปน ความรู
(๑) การฟงเสียงตางๆ ในส่ิงแวดลอ ม และความบันเทงิ
(๒) การฟง และปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนํา ๓. พดู แสดงความคดิ เหน็ และความรสู ึกจากเร่อื งที่ฟง
(๓) การฟง เพลง นิทาน คําคลองจอง บทรอ ยกรอง และดู
๔. พดู ส่ือสารไดต ามวัตถปุ ระสงค
หรือเรื่องราวตา งๆ ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพดู
(๔) การพดู แสดงความคดิ ความรสู ึก และความตองการ สาระที่ ๑ การอา น
(๕) การพูดกบั ผูอ นื่ เกย่ี วกบั ประสบการณของตนเอง มาตรฐาน ท ๑.๑
ใชก ระบวนการอา นสรา งความรแู ละความคดิ เพื่อนําไป
หรือพดู เลาเรอื่ งราวเก่ียวกับตนเอง ตดั สินใจ แกปญหาในการดาํ เนินชวี ติ และมนี ิสยั รกั การอาน
(๖) การพูดอธบิ ายเกย่ี วกบั สิง่ ของ เหตุการณ และ ตัวชว้ี ัดชนั้ ป ป.๑
๑. อานออกเสียงคํา คาํ คลองจองและขอ ความส้นั ๆ
ความสมั พันธของส่งิ ตางๆ ๒. บอกความหมายของคาํ และขอ ความทอี่ า น
(๗) การพดู อยางสรางสรรคใ นการเลน และการกระทาํ ตา งๆ ๓. ตอบคาํ ถามเกย่ี วกบั เรือ่ งทอี่ า น
(๘) การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพดู ๔. เลาเรื่องยอจากเรื่องทีอ่ าน
(๙) การพูดเรยี งลาํ ดบั คําเพอื่ ใชในการสอ่ื สาร ๕. คาดคะเนเหตุการณจ ากเรือ่ งทีอ่ า น
ตวั บง ชี้ท่ี ๙.๒ อาน เขยี นภาพและสญั ลักษณไ ด ๖. อา นหนงั สือตามความสนใจอยา งสม่ําเสมอ และ
นําเสนอเรือ่ งท่ีอา น
๙.๒.๑ อา นภาพ สญั ลักษณ คาํ ดว ยการชี้
หรือกวาดตามองจดุ เรม่ิ ตน และจุดจบของขอ ความ
ประสบการณสําคัญดานการใชภ าษา
(๑๐) การอา นหนังสือภาพ นิทานหลากหลายประเภท/

รปู แบบ
(๑๑) การอานอยางอิสระตามลาํ พัง การอานรวมกัน

การอานโดยมผี ูชแี้ นะ
(๑๒) การเหน็ แบบอยางของการอานท่ถี กู ตอ ง
(๑๓) การสังเกตทิศทางการอานตวั อักษร คาํ และ

ขอ ความ
(๑๔) การอา นและชขี้ อความ โดยกวาดสายตา
ตามบรรทดั จากซายไปขวาจากบนลงลาง
(๑๕) การสงั เกตตัวอักษรในชื่อของตน หรอื คําคนุ เคย

๑.๑.๑ ตัวอยา งการเช่อื มตอ ทักษะทางภาษา

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

(๑๖) การสังเกตตัวอักษรท่ปี ระกอบ ๗. บอกความหมายของเคร่อื งหมายหรือสญั ลักษณสําคญั
เปนคาํ ผา นการอา นหรือเขยี นของผใู หญ ท่ีมกั พบเห็นในชีวิตประจําวัน
๘. มมี ารยาทในการอาน
(๑๗) การคาดเดาคาํ วลี หรอื ประโยคท่มี ีโครงสราง
ซาํ้ ๆ กนั จากนิทาน เพลง คาํ คลอ งจอง

(๑๘) การเลนเกมทางภาษา

ตัวบง ช้ที ี่ ๙.๒ อา น เขียนภาพและสญั ลกั ษณไ ด สาระท่ี ๒ การเขียน
๙.๒.๒ เขยี นชือ่ ของตนเองตามแบบ เขียนขอความ มาตรฐาน ท ๒.๑
ดว ยวธิ ที ค่ี ิดข้นึ เอง ใชก ระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขยี นเรียงความ
ประสบการณส ําคัญดานการใชภ าษา ยอ ความ และเขยี นเรอื่ งราวในรูปแบบตางๆ เขยี นรายงาน
(๑๙) การเห็นแบบอยางของการเขียนทีถ่ ูกตอ ง ขอ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยา งมี
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป (๒๐) การเขยี นรว มกันตามโอกาส และการเขียนอสิ ระ ประสทิ ธภิ าพ
(๒๑) การเขยี นคําทีม่ คี วามหมายกับตัวเด็ก/คําคุน เคย ตวั ชว้ี ดั ช้ันป ป.๑
(๒๒) การคดิ สะกดคาํ และเขียนเพอื่ ส่อื ความหมาย ๑. คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั
ดวยตนเองอยางอิสระ ๒. เขยี นสือ่ สารดว ยคาํ และประโยคงา ยๆ
174 ๓. มมี ารยาทในการเขยี น

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๑.๑.๒ ตวั อยา งการเชือ่ มตอ ความสามารถในการคดิ ทเี่ ปน พื้นฐานในการเรียนรู

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร

ประสบการณสําคัญการคดิ รวบยอด สาระท่ี ๑ จํานวนและพชี คณิต สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรชีวภาพ
การคดิ เชงิ เหตุผล การตดั สนิ ใจและ มาตรฐาน ค ๑.๑ มาตรฐาน ว ๑.๑
แกป ญหา ๓. เรยี งลําดับจาํ นวนนับไมเกนิ ๑๐๐ ๑. ระบชุ ่อื พืชและสัตวท่ีอาศัยอยู
(๑) การสงั เกตลักษณะ สวนประกอบ และ ๐ ตั้งแต ๓ ถึง ๕ จํานวน บริเวณตา งๆ จากขอ มลู ที่รวบรวมได
การเปล่ียนแปลง และความสัมพันธ มาตรฐาน ค ๑.๒ ๒. บอกสภาพแวดลอ มที่เหมาะสม
ของส่ิงตางๆ โดยใชป ระสาทสมั ผัส ๑. ระบจุ าํ นวนทหี่ ายไปในแบบรปู กบั การดํารงชวี ิตของสัตวในบรเิ วณ
อยา งเหมาะสม ของจํานวนท่เี พมิ่ ขน้ึ หรือลดลงทล่ี ะ ๑ ทีอ่ าศัยอยู
(๒) การสงั เกตส่งิ ตา งๆ และสถานที่ และทล่ี ะ ๑๐ และระบุรปู ทห่ี ายไป สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรกายภาพ
จากมมุ มองทีต่ างกัน ในแบบรูปซา้ํ ของรูปเรขาคณติ และ มาตรฐาน ว ๒.๑
(๓) การบอกและแสดงตําแหนง รปู อืน่ ๆทส่ี มาชิกในแตละชุดท่ีซ้าํ ๒. ระบุชนดิ ของวสั ดุ และจัดกลุม
ทศิ ทาง และระยะทางของสง่ิ ตา งๆ มี ๒ รปู วัสดุตามสมบตั ทิ ่ีสงั เกตได ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ดวยการกระทํา ภาพวาด ภาพถา ย สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร โลก และ
และรปู ภาพ มาตรฐาน ค ๒.๑ อวกาศ
(๔) การเลน กบั สอ่ื ตางๆ ท่ีเปน ๑. วัดและเปรียบเทียบความยาวเปน มาตรฐาน ว ๓.๑
ทรงกลม ทรงสเี่ หลี่ยมมุมฉาก เซนติเมตร ๒. อธิบายสาเหตุที่มองไมเหน็ ดาว 175

ทรงกระบอก ทรงกรวย ๒. วัดและเปรียบเทยี บนํา้ หนักเปน สวนใหญในเวลากลางวนั จาก คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
(๕) การคดั แยก การจัดกลมุ และ กโิ ลกรมั เปนขีด หลกั ฐานเชิงประจกั ษ
การจําแนกสง่ิ ตางๆ ตามลกั ษณะ มาตรฐาน ค ๒.๒ สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
และรูปราง รปู ทรง ๑. จําแนกรปู สามเหลีย่ ม รปู สเ่ี หลีย่ ม มาตรฐาน ว ๔.๒
(๖) การตอ ของชิน้ เลก็ เติมในชิน้ ใหญ วงกลม วงรี ทรงส่เี หลีย่ มมุมฉาก ๑. แกปญหาอยางงาย โดยใช
ใหส มบรู ณ และการแยกชิ้นสวน ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย การลองผดิ ลองถูก การเปรียบเทยี บ
(๗) การทาํ ซ้าํ การตอ เตมิ และ ๒. แสดงลําดบั ขนั้ ตอนการทํางาน
การสรางแบบรูป หรือการแกปญ หาอยา งงาย โดย
(๘) การนบั และแสดงจาํ นวนของ ใชภ าพสัญลกั ษณห รือขอความ
สิง่ ตางๆ ในชีวิตประจาํ วัน
(๙) การเปรยี บเทียบและเรยี งลาํ ดับ
จาํ นวนของสิ่งตา งๆ
(๑๐) การรวมและการแยกส่ิงตา งๆ
(๑๑) การบอกและแสดงอันดบั ทีข่ อง
สิ่งตางๆ
(๑๒) การชั่ง ตวง วัดส่งิ ตา งๆ โดย
ใชเ คร่ืองมือและหนวยทไี่ มใช
หนว ยมาตรฐาน

๑.๑.๒ ตวั อยา งการเชอื่ มตอ ความสามารถในการคดิ ทเี่ ปน พนื้ ฐานในการเรยี นรู (ตอ )

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร

(๑๓) การจับคู การเปรียบเทยี บ และ สาระที่ ๓ สถติ แิ ละความนาจะเปน
การเรยี งลาํ ดบั สง่ิ ตางๆ ตามลักษณะ มาตรฐาน ค ๓.๑
ความยาว/ความสูง น้ําหนัก ปริมาตร ๑. ใชขอ มูลจากแผนภูมริ ปู ภาพ
(๑๔) การบอกและเรยี งลําดบั ในการหาคําตอบของโจทยปญหา
กิจกรรมหรือเหตุการณตามชว งเวลา เมอื่ กําหนดรูป ๑ รปู แทน ๑ หนวย
(๑๕) การใชภ าษาทางคณิตศาสตร
กับเหตุการณในชวี ติ ประจาํ วัน
(๑๖) การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุ
และผลทเ่ี กิดข้นึ ในเหตุการณห รือ
การกระทาํ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป (๑๗) การคาดเดาหรือการคาดคะเน
ส่ิงทีอ่ าจจะเกิดขน้ึ อยา งมเี หตุผล
(๑๘) การมีสว นรวมในการลงความเห็น
จากขอ มลู อยางมีเหตผุ ล
176 (๑๙) การตัดสนิ ใจและมีสวนรวม
ในกระบวนการแกปญ หา
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๑.๑.๓ ตัวอยางการเชื่อมตอ ความสามารถในการแสวงหาความรู

หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ พุทธศักราช ๒๕๕๑

มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคติทดี่ ตี อการเรยี นรแู ละมคี วามสามารถ กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร
ในการแสวงหาความรไู ดเ หมาะสมกบั วัย คุณภาพผเู รยี น เมื่อจบชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓
ตวั บง ช้ที ี่ ๑๒.๑ มเี จตคติท่ดี ตี อการเรยี นรู • แสดงความกระตอื รือรน สนใจทีจ่ ะเรียนรู
๑๒.๑.๒ กระตือรอื รนในการรวมกิจกรรมต้ังแตตน จนจบ มีความคิดสรา งสรรคเกยี่ วกบั เรอื่ งท่จี ะ
ตวั บง ช้ีท่ี ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู ศึกษาตามทกี่ าํ หนดใหห รอื ตามความสนใจ
๑๒.๒.๑ คน หาคาํ ตอบขอ สงสยั ตางๆ โดยใชว ิธกี ารหลากหลายดว ยตนเอง มีสว นรวมในการแสดงความคดิ เหน็ และ
ประสบการณส าํ คญั เจตคติทดี่ ีตอ การเรยี นรู และการแสวงหาความรู ยอมรับฟง ความคดิ เห็นผอู นื่
(๑) การสํารวจส่ิงตางๆ และแหลงเรียนรูรอบตัว • ตระหนักถึงประโยชนข องการใชความรู
(๒) การตงั้ คาํ ถามในเรอื่ งทสี่ นใจ และกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ นการ
(๓) การสบื เสาะหาความรูเ พ่อื คนหาคําตอบของขอสงสัยตางๆ ดาํ รงชีวติ ศกึ ษาหาความรเู พิ่มเติม
(๔) การมีสว นรว มในการรวบรวมขอมลู และนําเสนอขอ มูลจาก ทาํ โครงงานหรอื ชิ้นงานที่กาํ หนดให
การสืบเสาะหาความรูในรูปแบบตางๆ และแผนภมู อิ ยา งงาย หรอื ตามความสนใจ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

๑.๒ จัดหาเอกสารหลกั สูตร เอกสารทางวชิ าการ ของระดบั การศกึ ษาปฐมวัยและชนั้ ประถม 177
ศกึ ษาปท่ี ๑ มาไวใหผ สู อนและผเู กีย่ วขอ งไดศ กึ ษาและทําความเขา ใจเก่ียวกับรอยเชอื่ มตอ ของการศกึ ษาปฐมวยั
และชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ อยางสะดวกและเพียงพอ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๑.๓ จัดกิจกรรมการสรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรางรอยเช่ือมตอใหผูสอน
ทงั้ สองระดบั โดยแลกเปลยี่ น เผยแพรค วามรใู หมๆ ทไี่ ดจ ากการอบรม ดงู าน วธิ กี ารสอน การสะทอ นสภาพปญ หา
ความตอ งการ และแนวทางการแกไ ข เพอ่ื เตรยี มเดก็ ปฐมวยั ใหพ รอ มสาํ หรบั การเขา เรยี นในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา
ปท่ี ๑

๑.๔ จัดหาสอ่ื วัสดอุ ปุ กรณ และจัดสภาพแวดลอ มท่สี ง เสรมิ การสรางรอยเชื่อมตอของระดับ
การศกึ ษาปฐมวัยและช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑

๑.๕ จัดกิจกรรมพัฒนาพอแม ผูปกครอง เพื่อชวยเหลือเด็กใหสามารถปรับตัวเขากับ
สถานศึกษาใหม เชน กิจกรรมสัมพันธในรูปแบบตางๆ จัดทําเอกสารเผยแพร จัดประชุมเพ่ือปฐมนิเทศ
หัวขอสาํ คัญในการสรางความเขา ใจแกพอแม ผปู กครอง เชน จิตวิทยาและพฒั นาการการเรยี นรูของเดก็ ปฐมวัย
การจัดประสบการณทางภาษาและการรูหนังสือในระดับปฐมวัย การเตรียมความพรอมใหกับเด็กสงผลตอ
การเรยี นรูอยางไร

ในกรณีที่สถานศึกษาไมมีระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ ในสถานศึกษาของตนเอง ผูบริหาร
สถานศึกษาควรประสานกับสถานศึกษาท่ีคาดวาเด็กจะไปเขาเรียน เพ่ือสรางความเขาใจให พอแม ผูปกครอง
ในการชวยเหลอื เดก็ ใหสามารถปรบั ตัวเขา กบั สถานศึกษาใหมได

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป๒. ผูส อนระดบั ปฐมวยั
ผสู อนระดบั ปฐมวยั ตอ งศกึ ษาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน การจดั การเรยี นการสอน
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ในชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑ และสรางความเขา ใจใหก ับพอ แม ผูป กครอง และบคุ ลากรอนื่ ๆ รวมทงั้ ชวยเหลอื เด็ก
ในการปรบั ตวั กอ นเลือ่ นข้ึนช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ โดยผสู อนระดับปฐมวัยควรดาํ เนินการ ดงั น้ี

๒.๑ เกบ็ รวบรวมขอ มลู เกยี่ วกบั ตวั เดก็ เปน รายบคุ คล เพอื่ สง ตอ ใหผ สู อนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
เพื่อชวยใหผูสอนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ สามารถใชขอมูลนั้นชวยเหลือเด็กในการปรับตัวเขากับ
การเรียนรูใหมต อ ไป

๒.๒ พูดคุยกับเด็กปฐมวัยถึงประสบการณดีๆ ในการจัดการเรียนการสอนในระดับ
ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ เพอ่ื ใหเ ดก็ เกดิ เจตคติทด่ี ีและปรบั ตัวไดด ขี ้นึ

๒.๓ จัดกิจกรรมใหเด็กปฐมวัยไดมีโอกาสทําความรูจักกับผูสอน ตลอดจนสรางความคุนเคย
กับสภาพแวดลอมของหองเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ เชน การเยีย่ มหอ งเรียน การสาํ รวจอาคารเรยี น อาคาร
ประกอบ และหอ งปฏบิ ตั กิ ารตา งๆ

๒.๔ จดั เตรยี มสอ่ื วสั ดุอุปกรณ ทีส่ ง เสรมิ ใหเ ดก็ ปฐมวยั ไดเ รยี นรแู ละมีประสบการณพ ื้นฐาน
ท่ีสอดคลองกับการสรางรอยเชื่อมตอในการเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ เชน จัดกิจกรรมบทบาทสมมติ
ในการนัง่ เกาอ้ี ฝกการจดั เก็บกระเปา โตะ - เกา อ้ี และอปุ กรณของใชสวนตวั

๓. ผสู อนระดบั ประถมศึกษา
ผูสอนระดับประถมศึกษาตองมีความรูความเขาใจในพัฒนาการเด็กปฐมวัย และมีเจตคติที่ดี

178 ตอการจัดประสบการณตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เพ่ือนํามาเปนขอมูลการพัฒนา
การจัดการเรียนรูระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ใหตอเนื่องกับการพัฒนาเด็กในระดับปฐมวัย โดยผูสอนระดับ
ประถมศึกษา ควรดาํ เนนิ การ ดังนี้
๓.๑ จัดกิจกรรมสรางความคุนเคยใหเด็ก พอแม และผูปกครอง ใหมีโอกาสไดทําความรูจัก
กับผสู อนและหองเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที่ ๑ กอ นเปด ภาคเรยี น
๓.๒ จัดหองเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ ใหม บี รรยากาศที่อบอุน ปลอดภัย และมพี ้ืนท่ีหรอื
มมุ ประสบการณเ พอ่ื เปด โอกาสใหเ ดก็ ไดป ฏบิ ตั กิ จิ กรรมอยา งอสิ ระ เชน มมุ หนงั สอื มมุ ของเลน มมุ เกมการศกึ ษา
และมีวสั ดุอปุ กรณต างๆ เพ่อื ชว ยใหเ ด็กไดป รบั ตัวและเรียนรูจากการปฏิบัตจิ ริง
๓.๓ วางแผนและออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเชื่อมตอกับระดับปฐมวัย ควรจัด
กิจกรรมเพ่ือสรางความคุนเคยกับเด็กที่เขาเรียน โดยรวมกันสรางขอตกลงเก่ียวกับการปฏิบัติตน ซ่ึงจะชวยให
เดก็ คุนเคยและสามารถปรับตวั เพอ่ื เรียนรใู นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
๓.๔ ศกึ ษาขอ มลู ของเดก็ เปน รายบคุ คล เพอ่ื จดั การเรยี นรใู หก บั เดก็ อยา งเหมาะสม หากพบเดก็
มคี วามตอ งการพิเศษ หรอื มีลกั ษณะเฉพาะ ควรจัดกจิ กรรมชว ยเหลือหรอื สงเสริมใหเหมาะสมกบั เดก็ แตละคน
๓.๕ เผยแพรขาวสารดานการเรียนรูและสรางความสัมพันธที่ดีกับเด็ก พอแม ผูปกครอง
และชุมชน โดยจดั ทําจุลสาร แผนพับ หรือใชส่ือสังคมออนไลน

๔. พอแม ผูป กครอง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
พอ แม ผปู กครองเปน ผมู บี ทบาทสาํ คญั ในการอบรมเลยี้ งดแู ละสง เสรมิ การศกึ ษาของบตุ รหลาน
179
และเพอ่ื ชว ยบุตรหลานของตนเองในการศึกษาตอชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๑ พอแม ผปู กครองควรดําเนินการ ดงั น้ี
๔.๑ ศึกษาและทาํ ความเขาใจหลักสูตรของการศกึ ษาท้ังสองระดับ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๔.๒ จดั หาหนังสอื อุปกรณท่ีเหมาะสมกับวยั เดก็
๔.๓ มปี ฏสิ มั พันธทีด่ กี บั บุตรหลาน ใหค วามรัก ความเอาใจใส ดูแลบุตรหลานอยางใกลช ิด
๔.๔ จัดเวลาในการทาํ กจิ กรรมรวมกบั บุตรหลาน เชน เลา นิทาน อานหนงั สอื รวมกัน สนทนา

พูดคุย ซกั ถามปญ หาในการเรียน ใหก ารเสริมแรงและใหก าํ ลังใจ
๔.๕ รวมมือกับผูสอนและสถานศึกษาในการชวยเตรียมตัวบุตรหลาน เพ่ือชวยใหบุตรหลาน

ของตนปรบั ตวั ไดด ีข้นึ
การจัดประสบการณการเรียนรูในระดับปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช

๒๕๖๐ เปนการเตรียมความพรอมเพื่อใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา
ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกตางระหวางบุคคล โดยใหความสําคัญกับการจัดประสบการณ
การเรยี นรูในรปู แบบของกจิ กรรมบรู ณาการผา นการเลน เพอื่ ใหเ ดก็ ไดรับประสบการณตรงจากการลงมือปฏบิ ตั ิ
และการจัดกจิ กรรมการเรียนรู กิจกรรมประจาํ วนั ในระดับปฐมวัยมีความยดื หยุน เนน การชวยเหลอื ตนเองและ
สง เสรมิ ทกั ษะทจ่ี าํ เปน ซงึ่ เปน การเตรยี มความพรอ มเพอื่ เปน พนื้ ฐานในการเรยี นรตู อ ไป ดงั นน้ั เดก็ ทจ่ี บหลกั สตู ร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จึงมีสภาพที่พึงประสงคในแตละพัฒนาการตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ี
พงึ ประสงคท ร่ี ะบไุ วใ นหลกั สตู ร อยา งไรกต็ าม เดก็ ปฐมวยั มกั ถกู คาดหวงั วา จะตอ งมคี วามพรอ มสาํ หรบั การเรยี นรู
ทางวชิ าการในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ ทงั้ ทเ่ี ปา หมายหลกั ในการจดั การศกึ ษาปฐมวยั คอื การชว ยใหเ ดก็ พฒั นา
ความสามารถ ความเขา ใจ และการแสดงพฤติกรรมพฒั นาการทางรา งกาย อารมณ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา
การเรยี นรูทีผ่ า นประสบการณส ําคญั ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ดงั กลา ว จะชวยใหเดก็
เกดิ ทกั ษะนําไปสูความพรอมในการเรียนรู และประสบความสําเรจ็ ในการเรยี นทมี่ ีลักษณะอยางเปน ทางการของ
ระดับชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๑ ไดเปนอยา งดี ทักษะจาํ เปน สาํ หรบั ความพรอมในการเรยี นรูส าํ หรับเดก็ ชน้ั ปฐมวยั
ศึกษากบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ ประกอบดว ยทกั ษะที่สาํ คัญ ดังน้ี

๑. ทักษะการชวยเหลือตนเอง เด็กสามารถใชหองนํ้าหองสวมไดดวยตนเอง แตงกายไดเอง
เกบ็ ของเขาทีเ่ มื่อเลน เสรจ็ และชวยทําความสะอาด รอ งขอใหชวยเม่อื จําเปน

๒. ทักษะการใชกลามเนื้อใหญ เด็กสามารถวิ่งไดอยางราบร่ืน ว่ิงกาวกระโดดได กระโดดดวย
สองขาพน จากพน้ื ถอื จับ ขวา งลกู บอลกระดอนได ปนปายเครือ่ งเลน สนามได

๓. ทักษะการใชกลามเนื้อเล็ก เด็กสามารถใชมือประสานสัมพันธกับตา และหยิบจับอุปกรณ
วาดภาพและเขียน วาดภาพคน มีแขน ขา และสวนตางๆ ของรางกาย ตัดตามรอยเสนและรูปตางๆ
เขยี นตามแบบอยา งได

๔. ทกั ษะภาษาและการรหู นงั สอื เปน ทกั ษะกระบวนการทเี่ กดิ ขนึ้ ตง้ั แตแ รกเกดิ และมกี ารพฒั นา
ตอเน่อื งไปตลอดทกุ ชวงวัย เปน ทักษะจําเปน ท่ีเด็กสามารถพดู ใหผอู น่ื เขา ใจได ฟงและปฏิบัตติ ามคําช้ีแจงงา ยๆ
ฟงเรื่องราวและคําคลองจองตางๆ อยางสนใจ เขารวมฟงและสนทนาอภิปรายในเร่ืองตางๆ ผลัดกันพูดโตตอบ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปเลาเร่ืองและทบทวนเรื่องราวหรือประสบการณตางๆ ตามลําดับเหตุการณ เลาเรื่องจากหนังสือภาพอยาง
เปนเหตุเปน ผล อา นหรอื จดจําคาํ บางคาํ ทมี่ ีความหมายตอตนเอง เขียนชอ่ื ของตนเองได เขียนคาํ ทีม่ ีความหมาย
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ตอตนเองเพื่อสื่อสาร โดยคิดสะกดคําดวยตนเอง มีความคิดรวบยอด ความรูความเขาใจเก่ียวกับรูปแบบและ
ความหมายของภาษาเขียนท่ีปรากฏตามสอ่ื สง่ิ พมิ พร ูปแบบตางๆ

๕. ทักษะการคดิ เดก็ สามารถแลกเปล่ยี นความคิดและใหเหตุผลได จดจําภาพและวัตถทุ เี่ หมือน
และแตกตางกันได ใชคําใหมๆ ในการแสดงความคิด ความรูสึก ถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟง
เปรยี บเทยี บจาํ นวนของวตั ถุ ๒ กลมุ โดยใชค าํ “มากกวา ” “นอ ยกวา ” “เทา กนั ” อธบิ ายเหตกุ ารณ/ เวลาตามลาํ ดบั
อยา งถูกตอง เช่อื มโยงเวลากับกิจวตั รประจาํ วนั

๖. ทกั ษะทางสงั คมและอารมณ เดก็ สามารถปรบั ตวั ตามสถานการณ ใชค าํ พดู เพอ่ื แกไ ขขอ ขดั แยง
น่ังไดนาน ๕ - ๑๐ นาที เพ่ือฟงเรื่องราวหรือทํากิจกรรม ทํางานจนเสร็จ รวมมือกับคนอ่ืนและผลัดกันเลน
ควบคมุ อารมณต นเองไดเ มอ่ื กงั วลหรอื ตน่ื เตน หยดุ เลน และทาํ ในสง่ิ ทผ่ี ใู หญต อ งการใหท าํ ได ภมู ใิ จในความสาํ เรจ็
ของตนเอง

ดวยเหตุผลดังกลาว ถาผูเก่ียวของกับเด็กปฐมวัยเขาใจความแตกตางของการเรียนรูระหวาง
เดก็ ปฐมวยั กบั เดก็ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ แลว ทกุ ฝา ยจะสามารถรว มกนั พฒั นาทกั ษะทจ่ี าํ เปน สาํ หรบั ความพรอ ม
ในการเรยี นรขู องเดก็ ปฐมวยั ไดอ ยา งเหมาะสม และหลกี เลย่ี งทจี่ ะเนน เฉพาะทกั ษะอา นเขยี นเรยี นเลขและเรยี นรู
แบบทอ งจาํ ใหก บั เดก็ ซง่ึ อาจสง ผลกระทบตอ พฒั นาการทจ่ี าํ เปน สาํ หรบั ความสาํ เรจ็ ทางวชิ าการของเดก็ ในอนาคต
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ จึงมงุ เนน การพฒั นาเด็กโดยองครวมอยางสมดุลทุกดา นมากกวา
180 การเนนทักษะการอานเขียนเรียนเลข การปรับตัวของเด็กในชวงการสรางรอยเช่ือมตอระหวางชั้นเรียนอนุบาล
และช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ เปนส่ิงสําคัญตองไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารสถานศึกษา และการชวยเหลือ
ทเ่ี หมาะสมจากผสู อน พอแม ผูปกครอง ตลอดจนบคุ ลากรท่เี ก่ียวขอ ง

บรรณานุกรม

กลั ยาณี มกราภิรมย. (ม.ป.ป.). พูดตดิ อาง ปญ หาทไี่ มค วรมองขา ม. เขาถงึ ไดจาก : https://www.thairath. ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
co.th/content/970082. (วันท่ีคน ขอมูล : ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๐)
181
คณะกรรมการการประถมศึกษาแหง ชาติ, สาํ นกั งาน. (๒๕๓๗). แนวการจดั การศกึ ษาระดบั กอ นประถมศึกษา.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พค รุ ุสภาลาดพรา ว. คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, สํานักงาน. (๒๕๖๐). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระ
การเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย.
. (๒๕๖๐). ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู กนกลางกลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ
พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พชมุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย.

. (๒๕๕๓). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร :
โรงพมิ พช มุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย.

จุฑามาศ แหนจอน. (ม.ป.ป.). (๒๕๕๘). สมองกับอารมณ : มหัศจรรยความเชื่อมโยง. วารสารราชพฤกษ.
ปท ่ี ๑๓ ฉบบั ท่ี ๓ (กันยายน - ธนั วาคม). ๑๑ - ๑๙.

จริยา ทะรักษา. (ม.ป.ป.). ปรับพฤติกรรมเด็กยากจริงหรือ. เขาถึงไดจาก : http://www.si.mahidol.ac.th.
(วนั ทคี่ น ขอ มลู : ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๐) https://www.tcithaijo.org/index.php/Ratchaphruek-

journal/article/view/91887.

ชาตรี วิฑูรชาติ. โรคติกส โรคทางจิตผสมโรคทางกาย. เขาถึงไดจาก : https://women.kapook.com/
view19041.htm. (วันทีค่ นขอ มูล : ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๐/๐๒.๐๘ น.)

นิพรรณพร วรมงคล. (๒๕๖๐). หนวยที่ ๑๐ การประเมนิ พฒั นาการและสขุ ภาพเด็ก. ชุดวิชาพฒั นาการวัยเดก็ .
นนทบรุ ี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.

พชั รี ผลโยธิน. (๒๕๔๓). การจัดทาํ สารนิทศั น. วารสารสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. ๑๓ (๓) : ๑๐๐ - ๑๐๔.
พัฒนา ชัชพงศ. (๒๕๓๐). การจัดประสบการณและกิจกรรมระดับปฐมวัย. เอกสารประกอบการสอน.

กรงุ เทพมหานคร : คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒประสานมติ ร.

มูลนิธิชัยพัฒนา. (ม.ป.ป.). เศรษฐกิจพอเพียง. เขาถึงไดจาก : http://www.chaipat.or.th/site_content/
34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html. (วันท่คี น ขอ มลู : ๕ ธนั วาคม ๒๕๖๐)

วชิ าการ, กรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๔๖). หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๖. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพิมพค รุ สุ ภาลาดพราว.

สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๖๐). หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช
๒๕๖๐. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.
. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๔๘). คูมอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๔๖ (สําหรบั
เด็กอายุ ๓ - ๕ ป) (พิมพครงั้ ที่ ๒). กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พครุ สุ ภาลาดพราว.

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปสํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๕๑). การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามหลกั สูตร
และการจัดการเรียนรูท่ีสอดคลองกับพัฒนาการทางสมอง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๕๕). หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารปรบั ใชห ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สาํ หรับกลมุ เปาหมายเฉพาะ. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ ักษรไทย.
. (๒๕๕๑). การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามหลกั สตู รและการจดั การเรยี นรทู สี่ อดคลอ งกบั พฒั นาการ
ทางสมอง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.
สํานกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา งเสริมสุขภาพ (สสส.). (๒๕๕๙). สขุ ภาวะเดก็ ปฐมวยั . คณุ ภาพทีส่ รางได.
เขาถึงไดจ าก : http://www.thaihealth.or.th/Content/32992-สขุ ภาวะเดก็ ปฐมวัย..คุณภาพ

ทีส่ รา งได.html. (วนั ทค่ี นขอมูล : ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๐)

ยนู เิ ซฟ ประเทศไทย. (ม.ป.ป.). อนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ . เขา ถงึ ไดจ าก : https://www.unicef.org/thailand/
tha/overview_5954.html. (วันท่ีคน ขอมลู : ๕ ธนั วาคม ๒๕๖๐)

Copple, C., & Bredekamp, S. (2009). Developmentally Appropriate Practice. Washington, DC :
National Association for the Education of Young Children.

Epstein, J.L. (n.d.). Epstein’s Framework of Six Types of Involvement. Retrieved December 5,
2017 From https://www.unicef.org/lac/Joyce_L._Epstein_s_Framework_of_Six_

182 Types_of_Involvement(2).pdf.

McAfee, O. D., Leong, D. J. & Bodrova, E. (2015). Assessing and Guiding Young Children’s
Development and Learning. Pearson.

NAEYC. (2009). Where we on Responding to Linguistic and Cultural Diversity. Retrieved
December 12, 2017 From https://www.naeyc.org/sites/default/files/globally-shared/

downloads/PDFs/resources/position-statements/diversity.pdf.

. (2012). Technology and Interactive Media as Tools in Early Childhood
Programs Serving Children from Birth through Age 8. Retrieved December 11,
2017 From https://www.naeyc.org/sites/default/files/globally-shared/downloads/

PDFs/resources/topics/PS_technology_WEB.pdf.

. (n.d.). The 10 NAEYC Program Standards. Retrieved December 12, 2017 From
https://www.naeyc.org/our-work/families/10-naeyc-program-standards.

ภาคผนวก

- แนวทางการประเมินสุขภาพอนามยั
- ตวั อยางเอกสารรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
- นิยามคาํ ศัพทหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐



แนวทางการประเมินสขุ ภาพอนามยั



แนวทางการประเมินสขุ ภาพอนามยั

มี ๙ รายการ ดงั นี้ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

๑. ผมและศรี ษะ 187

๒. หูและใบหู คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

วธิ ีการ
ทา ท่ี ๑ นักเรียนหญิง ใชมือขวาเปดผมไปทัดไวดานหลังหูขวา และหันหนาไปทางซาย
สว นนกั เรยี นชาย ใหห ันหนาไปทางซา ยเทา นัน้
ทา ท่ี ๒ นักเรียนหญิง ใชมือซายเปดผมไปทัดไวดานหลังหูซาย และหันหนาไปทางขวา
สว นนักเรยี นชาย ใหห ันหนาไปทางขวาเทาน้นั
สง่ิ ผิดปกติทคี่ วรสังเกต
- มีไขเหา ตวั เหาบริเวณโคนเสน ผม
- มีนํ้าหรอื น้าํ หนองไหลออกมาจากหขู า งใดขา งหนึ่ง หรือทั้งสองขาง
- มีขห้ี อู ุดตันขา งใดขา งหนึง่ หรือท้งั สองขา ง มแี ผล
เกณฑดานความสะอาดของผมและศรี ษะ
๓ สะอาด ไมมีรงั แค ไมมีกลิน่
๒ พอใช มรี งั แคเล็กนอย มีกลิน่
๑ ปรบั ปรงุ มรี ังแค มีแผลพพุ อง มีกล่ิน มเี หาบริเวณโคนเสนผม
เกณฑดา นความสะอาดของหูและใบหู
๓ สะอาด ใบหู หลงั หูไมมขี ี้ไคล ไมม ขี ห้ี ู
๒ พอใช ใบหู หลังหมู ขี ี้ไคลเล็กนอ ย มีแผลเล็กนอย
๑ ปรบั ปรุง ใบหู หลังหูมีข้ีไคล หูมีขี้หูอุดตันขางใดขางหนึ่ง หรือสองขาง มีกลิ่นเหม็น

มีนา้ํ หรือน้ําหนองขา งใดขา งหน่งึ หรือทงั้ สองขาง

๓. มอื และเล็บมือ

วธิ กี าร
ทาที่ ๑ ย่ืนมือออกไปขางหนา ใหสุดแขนท้ังสองขา ง ควํา่ มอื กางนิว้ ทกุ นิ้ว
ทาที่ ๒ ทาํ ทา ตอเนือ่ งจากทาท่ี ๑ คือ พลกิ มือ หงายมอื กางนวิ้ ทกุ นิ้ว
สง่ิ ผดิ ปกตทิ ีค่ วรสังเกต
- เล็บยาว สกปรก
- ผวิ หนังบวม เปนแผล ผน่ื มขี ี้ไคล
- มเี มด็ ตมุ เล็กๆ มนี ํ้าใสๆ ตามงา มนวิ้
- ตมุ สากบริเวณดา นนอกของแขน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปเกณฑด า นความสะอาดของมอื และเล็บมือ
๓ สะอาด มือสะอาด เลบ็ สนั้ ไมม ขี เ้ี ลบ็
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐๒ พอใช มอื สกปรกเล็กนอย เลบ็ ยาว ไมมีข้ีเลบ็ หรือมีข้เี ลบ็ เลก็ นอ ย
๑ ปรบั ปรงุ มอื สกปรกมาก เล็บยาว มขี เี้ ลบ็ มาก

๔. เทาและเลบ็ เทา

วธิ ีการ
ทา ที่ ๑ ยน่ื เทา ขวาไปขางหนา ตรวจเสร็จแลว ใหถ อยเทากลบั ที่
ทาท่ี ๒ ยน่ื เทาซายไปขา งหนา ตรวจเสรจ็ แลว ใหถอยเทา กลบั ที่
สงิ่ ผดิ ปกติทค่ี วรสังเกต
- เล็บยาว สกปรก
- มเี มด็ ตมุ เล็กๆ มีน้าํ ใสๆ ตามงา มนิว้
- มีคราบสกปรก
เกณฑด านความสะอาดของเทา และเลบ็ เทา
๓ สะอาด เทา สะอาด เลบ็ ส้นั ไมม ขี เ้ี ล็บ
๒ พอใช เทาสกปรกเลก็ นอ ย เล็บยาว ไมม ีขเ้ี ลบ็ หรือมีขเ้ี ลบ็ เลก็ นอ ย
๑ ปรบั ปรุง เทาสกปรกมาก เลบ็ ยาว มขี ีเ้ ล็บมาก

188 ๕. ปาก ล้ิน และฟน

วธิ ีการ
ทา ท่ี ๑ ใหก ัดฟน และย้ิมกวา งใหเห็นเหงอื กเหนอื ฟน บนและใตฟนลางใหเตม็ ท่ี
ทาที่ ๒ ใหอา ปากกวา ง แลบลน้ิ ยาว พรอมทั้งรอ ง “อา” ใหศ ีรษะเอนไปขางหลังเล็กนอย
ส่ิงผิดปกติทคี่ วรสงั เกต (ปากและฟน)
- ริมฝปากซีดมาก
- เปน แผลที่มมุ ปาก มุมปากเปอ ย
- เหงือกบวมเปน หนอง
- ฟนผุ
สง่ิ ผดิ ปกติทีค่ วรสังเกต (ล้ิน)
- ลิ้นแตก แดงหรือเปน ฝาขาว หรอื มีอาการเจ็บ
เกณฑดานความสะอาดของฟน ชองปาก (เฉพาะความสะอาด) ทั่วไป ไมพ จิ ารณาโรคในชอ งปาก
๓ สะอาด ฟนขาวสะอาด ไมมเี ศษอาหาร ไมม ขี ีฟ้ น ไมมีกลิน่ ปาก
๒ พอใช มเี ศษอาหารหรอื กลนิ่ ปากเล็กนอ ย
๑ ปรบั ปรุง มเี ศษอาหาร ขฟี้ นเหลือง กล่ินปากแรง ฟนดาํ ฟน ผุ
หมายเหตุ เมื่อพบส่ิงผิดปกติที่ล้ิน ฟน หรือเหงือกในชองปาก ควรปรึกษาผูปกครอง แนะนําใหพบ
เจา หนาทีอ่ นามยั หรือทนั ตแพทยต อไป

๖. จมูก

วธิ กี าร
ใหเงยหนา เพอื่ ใหเหน็ รจู มูก
ส่ิงผดิ ปกตทิ ่คี วรสงั เกต
- สกปรก มีน้าํ มกู ไหลบริเวณจมกู

- มีขี้มูกเกรอะกรัง

- คดั จมกู จาม

- แผลแดงอกั เสบบริเวณเย่อื จมกู
เกณฑด า นความสะอาดของจมูก
๓ สะอาด ไมมีน้ํามูกไหล ไมม ขี ม้ี กู

๒ พอใช มีขี้มกู เล็กนอย

๑ ปรับปรุง มนี ํา้ มูกไหล มขี ม้ี ูกเกรอะกรงั (แหง ) เปยก

๗. ตา ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

วิธีการ 189
งอแขน พับขอศอก ใชน้ิวแตะเปลือกตาดานลางเบาๆ ดึงเปลือกตาดานลาง พรอมเหลือกตา
ขน้ึ และลง แลว จึงกลอกตาไปดา นขวาและซาย คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ส่งิ ผิดปกติทค่ี วรสงั เกต
- ดวงตาแดง มขี ้ีตา คนั ตา
- ขอบตาลางแดงมาก อักเสบ
- เปน เม็ดหรอื เม็ดอักเสบ เปน หนองท่ีเปลือกตา เปลือกตาบวม เจ็บ
เกณฑด า นความสะอาดของตา
๓ สะอาด ไมมีขตี้ า
๒ พอใช มขี ีต้ าเลก็ นอย
๑ ปรับปรงุ มขี ี้ตา คนั ตาบอยๆ ตาแดง มเี ม็ดหรือเม็ดอกั เสบ มีหนอง ตาแฉะ

๘. ผิวหนงั และใบหนา

๙. เส้อื ผา

วธิ ีการ
ทาที่ ๑ ปลดกระดุมหนาอกเส้ือ ๒ เม็ด ใชมือทั้งสองขางดึงคอเสื้อออกใหกวาง แลวหมุนตัว
ซาย - ขวาเล็กนอ ย เพอ่ื จะไดเห็นบริเวณคอโดยรอบท้งั ดา นหนาและดานหลัง
ทา ท่ี ๒ นักเรียนหญิง ใหแยกเทาท้ังสองขางหางกัน ๑ ฟุต ใชมือทั้งสองขางจับกระโปรงดึงขึ้น
เหนือเขาทั้งสองขา ง สวนนักเรียนชาย แยกเทา ทัง้ สองขา งหา งกัน ๑ ฟุต เชน กัน
ทาท่ี ๓ นักเรียนหญงิ - ชาย ซ่ึงอยูในทาท่ี ๒ แลว ใหกลบั หลงั หัน สงั เกตดา นหลงั โดยใหเ ดินไป
ขางหนาประมาณ ๔ - ๕ กา ว แลวเดนิ กลบั หนั เขา หาผูตรวจ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปสง่ิ ผดิ ปกติทีค่ วรสังเกต (ทาท่ี ๑)
- เม็ด ผ่ืนคันบริเวณผวิ หนงั ใตค อ บรเิ วณหนา อก
- ผิวหนังเปนวงๆ สขี าวๆ ลักษณะเรยี บ โดยเฉพาะบริเวณคอ
- ผิวหนังเปน วงกลมแดง เหน็ ขอบชัด ผวิ หนงั สกปรก มขี ี้ไคลบรเิ วณคอ
สิ่งผดิ ปกติทคี่ วรสงั เกต (ทาท่ี ๒)
- แผลบริเวณเขา หนา แขง และนอ ง
- เปนตุมพุพองบรเิ วณหนา แขง นอง และขา
- ทรวดทรง รปู รา ง อวน ผอม
เกณฑดา นความสะอาดของผวิ หนังและใบหนา
๓ สะอาด ใบหนาเกล้ียงเกลา สดใส
๒ พอใช มขี ้ีไคล มีคราบสกปรกเล็กนอ ย
๑ ปรับปรุง มขี ไี้ คล มคี ราบสกปรกมาก
เกณฑด านความสะอาดของเสอื้ ผา
๓ สะอาด ไมม ีกลน่ิ เรียบรอ ย
๒ พอใช สกปรกเล็กนอ ย เรยี บรอยพอใช
๑ ปรับปรุง เสอ้ื ผาดํา มีกล่นิ

190

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ตวั อยา งเอกสารรายงานผล
การประเมนิ พัฒนาการ

ค๑. ค๒. เลขท่ี ชื่อ สกุล

๑ ๑.๑.๑ น้ําหนกั และสว นสงู ตามเกณฑข องกรมอนามัย ตบช.๑.๑


..
สรปุ จาํ นวนเด็กระดับ ๓ (คน)
สรุปจาํ นวนเดก็ ระดบั ๒ (คน)
สรุปจํานวนเด็กระดบั ๑ (คน)

ค๑. ค๒. ค๑. ค๒. ค๑. ค๒. ค๑. ค๒.สรปุ ตบช.๑.๑ มาตรฐานท่ี ๑ ตวั อยา งสมดุ บนั ทกึ ผลการประเมนิ พัฒนาการ ประจาํ ช้นั อนบุ าลศึกษาปท ี่ ๓ โรงเรียน.......................... คูม ือหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
ด๑ม่ื.๒น.้ํา๑สระบัอปาดรไะดทด าวนยอตานหเาอรงท่ีมปี ระโยชนไ ดห ลายชนดิ และ ตบช.๑.๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ปก ารศกึ ษา...................
๑ดว.๒ย.ต๒นลเอา งงมือกอนรับประทานอาหารและหลังจากใชหองนา้ํ หอ งสว ม
๑.๒.๓ นอนพักผอนเปนเวลา

๑.๒.๔ ออกกําลงั กายเปน เวลา
สรปุ ตบช.๑.๒

๑.๓.๑ เลน ทาํ กจิ กรรม และปฏบิ ัตติ อผอู นื่ อยางปลอดภยั
ค๑. ค๒. พฒั นาการดานรางกาย
ตบช.๑.๓
สรปุ ตบช.๑.๓ 192

สรปุ มาตรฐานท่ี ๑ สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ค๑. ค๒. ค๑. ค๒. ค๑. ค๒. ค๑. ค๒. ๒.๑.๑ เดนิ ตอเทาถอยหลังเปน เสน ตรงไดโดยไมตองกางแขน ตบช.๒.๑
โ๒ด.๑ยไ.๒มเสกยีระกโาดรดทขรางเตดัวียวไปขางหนา ไดอยางตอ เนอื่ ง
๒.๑.๓ ว่งิ หลบหลีกส่งิ กีดขวางไดอยางคลองแคลว

๒.๑.๔ รับลูกบอลทีก่ ระดอนข้นึ จากพ้นื ได มาตรฐานท่ี ๒

สรุป ตบช.๒.๑
๒.๒.๑ ใชกรรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน โคงได
ค๑. ค๒. ค๑. ค๒. ค๑. ค๒.
๒.๒.๒ เขยี นรูปสามเหลย่ี มตามแบบไดอ ยางมีมมุ ชัดเจน ตบช.๒.๒

๒.๒.๓ รอ ยวัสดุที่มีรูขนาดเสน ผานศูนยกลาง ๐.๒๕ ซม. ได

สรปุ ตบช.๒.๒

สรปุ มาตรฐานที่ ๒
สรปุ ระดับคณุ ภาพพฒั นาการดา นรางกาย

ตัวอยา งสมุดรายงานประจําตัวเดก็

สมดุ รายงานประจาํ ตวั เดก็ เปน เอกสารทใี่ ชใ นการสอ่ื สารเรอื่ งผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ระหวา ง
โรงเรียน และผูปกครอง ขอมูลพัฒนาการเด็กท่ีรายงานเปนไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคของ
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ โดยผสู อนประเมนิ พฒั นาการเดก็ เปน รายบคุ คล ดว ยวธิ กี ารตา งๆ
และเปน สว นหน่งึ ของกิจกรรมปกตทิ ี่จดั ใหเด็กในแตละวนั อยางตอเนื่อง แสดงออกถงึ ความกาวหนา ของเด็ก

ตัวอยา งสว นประกอบสาํ คัญของสมดุ รายงานประจาํ ตัวเดก็ ควรประกอบดวย

๑. ปกหนา ดังตัวอยาง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

สมดุ รายงานประจําตัวเด็ก 193

ระดบั ปฐมวัย (๕ ป) คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ตราประจาํ โรงเรียน

ช้นั อนุบาลศกึ ษาปท่ี ๓/.............................ปก ารศกึ ษา.....................................
โรงเรยี น......................................................................................................................................................
อาํ เภอ.............................................................................จังหวัด................................................................
ชอื่ สกุล....................................................................เลขประจาํ ตวั .............................................................
เกิดวันท่.ี .................เดอื น.....................พ.ศ............อายุ....................ป.............. เดอื น...............................
เลขบตั รประจําตัวประชาชน
ชือ่ ผปู กครอง..............................................................................................................................................
ที่อยู............................................................................................................................................................
โทรศพั ท.....................................................................................................................................................
ช่อื ครปู ระจาํ ช้นั ..........................................................................................................................................
ชอ่ื ผูบรหิ ารสถานศึกษา..............................................................................................................................

สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา......................................................เขต.................
สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

๒. คําชี้แจง
คาํ ชแี้ จง ควรมปี ระเดน็ ตางๆ ดังนี้
๑. คาํ แนะนาํ ในการอาน เพือ่ ทาํ ความเขา ใจสมดุ รายงานประจาํ ตวั เด็ก
๒. เกณฑก ารประเมินพฒั นาการ มี ๓ ระดับคุณภาพ
๓. แนวทางการพฒั นา พฒั นาการรว มกันระหวา งบา นและโรงเรียน

๓. รายละเอียดเก่ียวกับระยะเวลาเรียน การรายงานสขุ ภาพ และการบนั ทึกสวนสงู และน้ําหนัก
เวลาเรียนในรอบป

เวลาเรียน เวลาเต็ม (วนั ) มา (วนั ) ไมม า (วนั )
ภาคเรยี น
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ภาคเรยี นท่ี ๑

ภาคเรียนท่ี ๒

รวมตลอดป

บรกิ ารทางสขุ ภาพ

194 การใหภมู คิ มุ กนั วนั เดอื น ป การตรวจสุขภาพ วนั เดอื น ป

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ บันทึกสวนสงู และน้าํ หนัก

คร้งั ท่ี เดือน น้าํ หนัก (กก.) สว นสูง (ซม.)
๑ มถิ ุนายน
๒ สิงหาคม
๓ พฤศจกิ ายน
๔ กุมภาพันธ


Click to View FlipBook Version