แผนการจดั การเรยี นรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ ปลอดภยั ไว้ก่อน เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๑/๘ เรื่อง อา่ นร้อยแก้วให้แคล่วคล่อง ผสู้ อน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรียนวดั บา้ นไพบูลย์ เวลา ๐๘.๓๐ น .-๐๙.๓๐ น.
สอนวันท่ี ๑๒ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. มาตรฐานและตัวช้ีวดั
สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนําไปใช้ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาในการ
ดาํ เนินชีวติ และมนี ิสัยรักการอ่าน
ตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ป.๕/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง
ท ๑.๑ ป.๕/๘ มมี ารยาทในการอ่าน
๒. สาระสาคัญ
การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ หมายถงึ การเปล่งเสยี งและวางจงั หวะเสียงตามถ้อยคําที่มีผู้เรียบเรียงหรือ
ประพันธไ์ ว้ใหเ้ ปน็ ไปตามความนิยมและเหมาะสมกับเร่ืองเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่ผู้ฟ๎งให้ผู้ฟ๎งเกิดอารมณ์ร่วม
และคล้อยตามไปกับเร่ืองราว นักเรียนควรฝึกอ่านออกเสียงร้อยแก้วให้คล่องและถูกต้องเพ่ือให้นักเรียนมี
พ้ืนฐานการอา่ นออกเสียงในท่ปี ระชมุ ชนในอนาคตและมีพืน้ ฐานสําคญั ของการอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
เม่ือนกั เรยี นไดเ้ รียนเร่ือง “อ่านรอ้ ยแก้วให้แคลว่ คลอ่ ง” แลว้ นกั เรียนสามารถ
๑. บอกหลักการอ่านออกเสียงได้ (K)
๒. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ ได้ (P)
๓. มีมารยาทในการอา่ น (A)
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ด้านองค์ความรู้ (Knowledge)
การอา่ นออกเสียงร้อยแกว้ หมายถงึ การอา่ นถอ้ ยคาํ ท่ีมผี ูเ้ รยี บเรยี งหรอื ประพนั ธไ์ ว้ โดยการ
เปลง่ เสยี ง และวางจังหวะเสียงให้เปน็ ไปตามความนิยมและเหมาะสมกบั เร่อื งที่อ่าน เพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่
ผ้ฟู ง๎ ซง่ึ จะทาํ ให้ผู้ฟง๎ เกิดอารมณร์ ่วมคลอ้ ยตามไปกับเรื่องราวหรือรสประพนั ธท์ ่ีอ่าน หลกั การอา่ นออกเสียงร้อย
แก้ว มดี งั นี้
๑. ศึกษาเรื่องทอ่ี ่านให้เขา้ ใจ
๒. ศึกษาหลกั การอ่านคําในภาษาไทยใหถ้ ูกต้องตามอักขรวิธี
๓. มีสมาธิในการอา่ น
๔. อา่ นดว้ ยน้ําเสียงท่ีเป็นธรรมชาตแิ ละสอดคล้องกบั เร่ืองที่อ่าน
๕. อ่านออกเสียงใหด้ ังพอประมาณ
๖. อา่ นเวน้ วรรคตอนให้ถูกต้อง
๗. อา่ นอยา่ งมลี ีลาและอารมณต์ ามเน้ือเร่ืองท่ีอ่าน
๘. อา่ นเครื่องหมายวรรคตอนใหถ้ ูกต้อง
๙. ผ่อนลมหายใจอย่างเหมาะสม
๑๐. จับหนงั สือถกู ต้อง
๔.๒ ด้านทักษะและกระบวนการ (Process)
ทกั ษะการอ่านออกเสียงรอ้ ยแกว้ มีดงั นี้
๑. อ่านออกเสยี งถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี
๒. อ่านเคร่ืองหมายวรรคตอนไดถ้ ูกต้อง
๓. เวน้ วรรคตอนในการอ่านได้อย่างถูกต้อง
๔. อา่ นด้วยนํ้าเสยี งทเ่ี ป็นธรรมชาติ
๕. อ่านดว้ ยเสียงดังพอประมาณและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
มีมารยาทในการอา่ น
- ไมอ่ ่านเสียงดังรบกวนผอู้ ่ืน
- ไม่เล่นกันขณะที่อา่ น
- ไมท่ ําลายหนงั สอื
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขน้ั นํา (๑๐ นาที)
๑. นักเรยี นทํากจิ กรรม “จติ สาธารณะที่ดี อย่างนนี้ ีเ่ อง” โดยมขี ้ันตอน ดงั นี้
- ครูเสนอสถานการณท์ ตี่ ้องการความช่วยเหลอื บางอย่าง
- นกั เรยี นเลอื กคําตอบตามเจตคติ
- ครูเฉลยแนวทางการปฏบิ ัติตนท่ีถกู ต้อง
ทาอยา่ งไรดี
ถ้านกั เรยี นเหน็ ครูกาลงั กวาดห้องอยู่
แลว้ นกั เรียนว่างจากการทางาน
นกั เรียนจะปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร
เดินหนี ชว่ ยครกู วาด
ตวั อย่างสถานการณ์ “จติ สาธารณะท่ดี ี อยา่ งนน้ี เี่ อง” ในส่อื PowerPoint
ขนั้ สอน (๔๐ นาท)ี
๑. นกั เรียนทบทวนหลักการอ่านร้อยแกว้
๒. นกั เรยี นอ่านเน้อื เร่ือง คนละไมล้ ะมือ ตามที่ครูแบ่งให้
๓. นกั เรียนร่วมกนั ตอบคําถามต่อไปนี้
- พ่อรับบรจิ าคนํ้ามันพชื ไปทาํ ไม (แนวคําตอบ: ทดลองผลิตนาํ้ มันไบโอดเี ซล)
- ปุูและตมั้ ถืออะไรไปใส่ของที่ตลาด (แนวคําตอบ: ตะกร้ากับป่ินโต)
- ตะกรา้ ไชใ้ ส่อะไร (แนวคําตอบ: ของสดและของแห้ง)
- ป่นิ โตใช้ใสอ่ ะไร (แนวคาํ ตอบ: อาหารสําเรจ็ รปู )
- การนาํ ตะกร้าและปิน่ โตไปตลาดมขี อ้ ดีอย่างไร (แนวคําตอบ: ลดการใชถ้ งุ พลาสติก,ตามเจต
คตขิ องนกั เรียน)
- ในวันเกดิ ของคนในครอบครัวต้มั ทกุ คนจะไปโรงพยาบาลเพื่อทาํ อะไร (แนวคําตอบ:
บริจาคเลอื ด)
- การบริจาคเลือดสาํ คัญอย่างไร (แนวคาํ ตอบ: นาํ ไปช่วยเหลือชีวิตผคู้ น)
ขนั้ สรปุ (๑๐ นาที)
นักเรยี นทําแบบฝึกหดั ที่ ๒ ตอนที่ ๑
๖. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
๖.๑ ส่ือ PowerPoint เกม “จติ สาธารณะท่ีดี อยา่ งนนี้ ีเ่ อง”
๖.๒. หนังสอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชุด ภาษาเพ่ือชวี ิต ภาษาพาที หน้า ๒๑-๒๖
๗. การวัดและประเมินผล
ส่งิ ที่จะวดั วธิ กี ารวดั เคร่อื งมือที่ใช้วัด เกณฑ์ผ่าน
๑. บอกหลักการอา่ นออกเสยี งรอ้ ย สงั เกตพฤติกรรมการตอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ได้คะแนนรอ้ ยละ
แก้วได้ (K) คาํ ถาม ตอบคาํ ถาม ๗๐ ขน้ึ ไป
๒. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วได้ (P) สงั เกตพฤติกรรมการอา่ น แบบสังเกตพฤติกรรมการ ไดค้ ะแนนร้อยละ
ออกเสยี ง อ่านออกเสยี ง ๗๐ ขน้ึ ไป
๓. มมี ารยาทในการอ่าน (A) สังเกตพฤติกรรมการอ่าน แบบสังเกตพฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์ในระดบั
ออกเสียง มีมารยาทในการอ่าน ดี ขน้ึ ไป
๘. บนั ทึกผลการจัดการเรียนรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจดั การเรียนรู้
การจัดการเรยี นรเู้ ป็นไปตามแผนที่วางไว้ โดยครูออกแบบให้นักเรียนแต่ละคนอ่านออกเสียง
ทีละคนเพ่ือวัดทักษะการอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล อีกทั้งยังออกแบบสื่อการสอน PowerPoint ให้มีสีสัน
หลากหลายเพอ่ื ดึงดูดความสนใจอกี ดว้ ย กจิ กรรมการเรียนการสอนเหมาะสมกับเวลาทกี่ ําหนด
๘.๒ ด้านพฤติกรรมครู
ครดู าํ เนินกิจกรรมการสอนตามขน้ั ตอนท่ีวางแผนไว้ เมื่อนักเรียนอ่านคาํ ผดิ ครจู ะอธบิ ายหรอื
บอกหลกั การอ่านออกเสียงคํานัน้ ใหถ้ ูกต้อง และครูพานักเรียนท่ีอา่ นไม่คล่องสะกดคําอ่านทีละคาํ จนจบย่อหนา้ ท่ี
ไดร้ บั มอบหมาย
๘.๓ ดา้ นพฤติกรรมนักเรียนและผลการเรยี นรู้
นักเรยี นแตล่ ะคนให้ความร่วมมอื ในการทาํ กิจกรรมกนั ทุกคน มีนกั เรียนเพียง 1-2 คนเทา่ น้ัน
ท่ีอา่ นและเขยี นยงั ไม่คลอ่ ง ผลการวดั ทักษะการอ่านโดยภาพรวมของนกั เรียน ครูอนมุ านได้วา่ อยู่ในระดบั ดี
๘.๔ อปุ สรรค ป๎ญหา และข้อเสนอแนะ
นกั เรียนท่อี ่านไม่คล่องใชเ้ วลาอ่านนาน ทาํ ใหเ้ พื่อนบางคนรู้สกึ เย่ือหน่าย ครจู ึงต้องพดู
อธบิ ายปญ๎ หาของเพอื่ นให้นักเรียนคนอ่นื ๆ เขา้ ใจ และแนะแนวให้ช่วยเหลือเพื่อนอีกคน เพอ่ื ใหเ้ พื่อนพัฒนา
ทักษะการอา่ นมากขึ้น
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
แบบบันทึกผลการเรยี นรเู้ รอ่ื ง อา่ นร้อยแก้วใหแ้ คล่วคล่อง
ผลการเรยี นรู้
การบอกหลักการ การอา่ นออก มีมารยาทในการ คะแนน
รวม
เลขที่ ชือ่ -สกลุ อา่ นออกเสยี ง เสียงร้อยแก้ว (P) อา่ น (A)
๒๑
รอ้ ยแก้ว (K) ๒๐
๒๐
๓ ๑๘ คุณภาพ ๑๗
๒๐
๑. เดก็ ชายปณุ ณตั ถ์ ใจกล้า ๓ ๑๗ ดี ๑๑
๑๖
๒. เดก็ ชายวชั รนิ ทร์ ใจกล้า ๓ ๑๗ ดี ๒๐
๑๑
๓. เดก็ ชายจกั รพงศ์ ใจกล้า ๒ ๑๕ พอใช้ ๒๐
๒๐
๔. เด็กชายป๎ณพทั ธ์ ใจกลา้ ๓ ๑๗ ดี ๑๑
๑๑
๕. เด็กชายศภุ วชิ ญ์ บรู ณเ์ จรญิ ๑ ๑๐ พอใช้ ๑๓
๑๗
๖. เด็กชายพีรภทั ร ใจกลา้ ๒ ๑๔ ดี ๑๙
๒๐
๗. เดก็ ชายเมธากลุ ใจกล้า ๓ ๑๗ ดี ๑๔
๒๐
๘. เดก็ ชายวรเมธ การะเวก ๑ ๑๐ ดี ๑๙
๑๘
๙. เด็กชายประสพโชค วงษ์เกษ ๓ ๑๗ ดี ๑๒
๒๐
๑๐. เด็กชายปวรุฒน์ เอย้ี งทารัมย์ ๓ ๑๗ ดี ๑๙
๒๐
๑๑. เดก็ ชายพนั ทวี หบุ กระโทก ๑ ๑๐ พอใช้ ๑๑
๒๐
๑๒. เดก็ ชายตะวัน ศรมณี ๑ ๑๐ พอใช้
๑๓. เด็กหญงิ ปวเรศ ปากนํ้าเขยี ว ๑ ๑๒ ดี
๑๔. เดก็ หญิงสุนิตา อนิ ทะเสน ๒ ๑๕ ดี
๑๕. เดก็ หญิงกิตยิ า ตือ้ จันตา ๓ ๑๖ ดี
๑๖. เด็กหญงิ ญาโณทยั นามวชิ ัย ๓ ๑๗ ดี
๑๗. เด็กหญิงปราณณชิ า สดุ ใจ ๒ ๑๒ ดี
๑๘. เดก็ หญงิ ธิตมิ า ทองดี ๓ ๑๗ ดี
๑๙. เดก็ หญงิ รงุ่ นภา ผิวสุข ๓ ๑๖ ดี
๒๐. เดก็ หญิงนปภา อินทร์งาม ๓ ๑๕ ดี
๒๑. เด็กหญิงสุภัสสร การเพียร ๒ ๑๐ พอใช้
๒๒. เด็กหญงิ ปนดั ดา ล้อประโคน ๓ ๑๗ ดี
๒๓. เด็กหญิงสุมัชญา อินใส ๓ ๑๖ ดี
๒๔. เดก็ หญงิ ศิรสิ มพร มะลซิ ้อน ๓ ๑๗ ดี
๒๕. เด็กหญิงกนกวรรณ บางแสงออ่ น ๑ ๑๐ พอใช้
๒๖. เด็กหญิงวไิ ลวรรณ ไพรทอง ๓ ๑๗ ดี
ลงช่อื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
เกณฑ์การให้คะแนนผลการเรียนรขู้ องนักเรียน
รายการประเมนิ คะแนน
๓๒๑
หลักการอ่านออกเสยี งร้อยแก้ว บอกหลักการอ่านออก บอกหลกั การอ่านออก บอกหลกั การอ่านออก
(ศึกษาเรือ่ งท่อี ่านใหเ้ ขา้ ใจ,ศกึ ษา เสียงได้ เสยี งได้ ๕-๗ หลักการ เสียงได้น้อยกว่า ๕
หลักการอ่านคาํ ให้ถกู ต้องตามอกั ขรวิธี, ๘-๑๐ หลักการ หลกั การ
มีสมาธใิ นการอา่ น,อา่ นด้วยน้ําเสียงที่
เปน็ ธรรมชาติและสอดคล้องกับเร่ือง,
อา่ นออกเสียงให้ดังพอประมาณ,อ่านเวน้
วรรคตอนใหถ้ ูกต้อง,อา่ นอย่างมลี ลี าและ
อารมณ์ตามเนื้อเรือ่ ง,อา่ นเครื่องหมาย
วรรคตอนถูกตอ้ ง,ผอ่ นลมหายใจอยา่ ง
เหมาะสม,จับหนงั สอื ถกู ต้อง)
การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ อ่านออกเสยี งคาํ อ่านออกเสยี งคาํ อ่านออกเสยี งคาํ
๑. ความถูกต้องในการอ่าน ถูกต้องตามอักขรวิธี ถกู ต้องตามอกั ขรวิธี ถูกต้องตามอักขรวธิ ี
ครบทกุ คํา เป็นส่วนใหญ่โดยอา่ น เป็นสว่ นใหญ่โดยอ่าน
ผดิ ไมเ่ กิน ๕ คํา ผิดเกิน ๕ คาํ
๒. มสี มาธิในการอ่าน จดจ่อกับข้อความที่ จดจอ่ กบั ข้อความที่ ไมจ่ ดจ่อกับข้อความท่ี
อา่ นตลอดชว่ งเวลาที่ อ่านเป็นส่วนใหญ่ อ่านเป็นสว่ นใหญ่
อ่าน
๓. นา้ํ เสียง มีลลี าและอารมณ์ ใช้น้ําเสยี งทีเ่ ปน็ ใชน้ ํ้าเสยี งที่เป็น ใชน้ า้ํ เสียงทดี่ ี แตล่ ลี า
ธรรมชาติ มลี ลี าการ ธรรมชาติ มีลลี าการ การอ่านยงั ไม่ค่อยดี
อา่ นท่ีดี และถ่ายทอด อ่านและถา่ ยทอด และถา่ ยทอดอารมณ์
อารมณ์ได้เหมาะสม อารมณ์ไดค้ ่อนขา้ งดี ไมค่ ่อยเหมาะสมกับ
กบั เนือ้ เร่ือง และค่อนข้างเหมาะสม เน้ือเร่ือง
กับเนอ้ื เรื่อง
๔. การเว้นวรรคตอน แบ่งวรรคตอนตาม แบ่งวรรคตอนตาม แบง่ วรรคตอนตาม
หลักการอา่ นได้ถกู ต้อง หลกั การอา่ นได้ถกู ต้อง หลกั การอ่านได้แคบ่ าง
ทุกแห่ง เปน็ ส่วนใหญ่ แห่ง
๕. การอ่านเคร่ืองหมายวรรคตอน อ่านเคร่ืองหมายวรรค อา่ นเคร่ืองหมายวรรค อา่ นเคร่ืองหมายวรรค
ตอนตามหลักการได้ ตอนตามหลักการได้ ตอนตามหลักการได้
ถูกต้องทุกเคร่ืองหมาย ถูกต้องเป็นสว่ นใหญ่ แคบ่ างเครอ่ื งหมาย
รายการประเมนิ ๓ คะแนน ๑
๖. การผ่อนลมหายใจ การอ่านทุกย่อหนา้ มี ๒ มกี ารผอ่ นลมหายใจ
การผ่อนลมหายใจ
มารยาทในการอ่าน เลก็ นอ้ ยเมื่ออ่านจบ มีการผอ่ นลมหายใจ เนน้ เสยี งหรือ
- มสี มาธิในการอ่าน ย่อหน้าหนงึ่ ๆ และมี เน้นเสยี งหรอื ทอดเสยี งแคบ่ างย่อ
- อา่ นอย่างตั้งใจ
- หยบิ จับหนังสืออย่างเบามอื การเน้นเสียงหรอื ทอดเสยี งในแตล่ ะย่อ หนา้
- ไม่พบั หน้าต่าง ๆ ของหนงั สือ ทอดเสยี งเมอื่ ข้นึ ย่อ หนา้ เปน็ สว่ นใหญ่
- ไมเ่ ล่นกนั ขณะอา่ นหนังสือ ไม่ปฏบิ ตั ิตามมารยาท
- ไมแ่ ย่งหนังสอื ของผูอ้ น่ื มาอ่าน หน้าใหม่ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมารยาท ในการอ่านออกเสยี ง
- ไม่ทานอาหารขณะอา่ นหนังสอื ปฏบิ ัติตามมารยาทใน ในการอ่านออกเสียง เกนิ ๓ ข้อปฏบิ ัติ
- ไม่ทาํ กิจกรรมอนื่ ๆ ระหว่างอา่ น การอา่ นออกเสียงครบ ไมเ่ กิน ๓ ข้อปฏบิ ัติ
หนงั สือ
- เม่ืออา่ นหนังสือเสร็จแล้วควรนํา ทุกข้อปฏิบัติ
หนังสอื เกบ็ ไว้ทเ่ี ดมิ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ระดับคุณภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรบั ปรุง
แผนการจดั การเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ ปลอดภยั ไว้ก่อน เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒/๘ เร่อื ง เรยี นร้คู า จาเรอ่ื งราว ผสู้ อน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรียนวดั บา้ นไพบูลย์ เวลา ๐๙.๓๐ น.-๑๐.๓๐ น.
สอนวนั ท่ี ๑๕ เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. มาตรฐานและตัวช้ีวัด
สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคดิ เพ่อื นาํ ไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ป๎ญหาในการ
ดาํ เนินชวี ิต และมีนิสยั รักการอา่ น
ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธบิ ายความหมายของคาํ ประโยคและข้อความทเ่ี ป็นการบรรยาย
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ตัวชว้ี ัด ท ๒.๑ ป.๕/๙ มมี ารยาทในการเขยี น
๒. สาระสาคัญ
การเรียนรู้คําศัพท์จากบทเรียน เป็นการเพิ่มพูนความรู้คําในภาษาไทยเพื่อนําไปใช้พัฒนาทักษะทาง
ภาษาไทย ได้แก่ การอ่านออกคํา การเขียนสะกดคํา การเลือกใช้คําส่ือสารอย่างถูกต้อง ผู้เรียนควรเรียนรู้
ความหมายของคํา ฝึกอ่านคําและฝึกเขียนสะกดคําที่เป็นคําศัพท์จากบทเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถนํา
คาํ ศัพทท์ ่ีได้เรยี นรู้ไปใช้ในการสือ่ สารในชีวติ ประจําวนั ได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
เมอื่ นักเรยี นไดเ้ รียนเร่ือง “คาํ ศัพท์ ลับสมอง” แล้วนกั เรียนสามารถ
๑. บอกความหมายของคาํ ศัพท์ได้ (K)
๒. เขยี นสะกดคาํ ได้ (P)
๓. ตระหนกั ถึงความสาํ คัญของการเรียนร้คู าํ ศัพท์ (A)
๔. มีมารยาทในการเขียน (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
๔.๑ ดา้ นองค์ความรู้ (Knowledge)
คําศัพทบ์ ทที่ ๒ เร่ือง ปลอดภัยไว้กอ่ น
คาศัพท์ ความหมาย
เครอ่ื งตดั ไฟอตั โนมัติ เครอ่ื งสาํ หรบั ตดั กระแสไฟฟาู
ฉุกคิด คิดข้นึ มาทันที, คดิ ไดใ้ นขณะน้ัน, บงั เอิญคดิ ได้
ชมพพู นั ธุ์ทพิ ย์ ไมต้ น้ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ่ ดอกสีชมพูออ่ น ชมพสู ดและขาว กลางดอกสเี หลอื ง ออกเปน็ ช่อ
เป็นกระจกุ ทปี่ ลายกงิ่
ต่นื ตระหนก อาการตกใจ
ถลนั พรวดเขา้ ไปโดยไมร่ ัง้ รอ
จําปี ชื่อไมต้ น้ ขนาดใหญ่ ดอกสขี าว คล้ายดอกจาํ ปาแต่กลีบเลก็ และหนากวา่ บางพันธ์สุ นี วลหรือสี
เหลอื งออ่ น กลนิ่ หอมเย็น
จําปา ชอื่ ไมต้ ้นขนาดใหญ่ ดอกสเี หลืองอมสม้ กลบี ดอกใหญย่ าว มหี ลายกลบี กล่ินหอม
การเวก ช่ือไมเ้ ถาเน้อื แขง็ ดอกหอมออ่ น กลีบดอกคลา้ ยกระดงั งาจนี แตข่ นาดเลก็ กวา่ , กระดงั งวั
กระดงั งาเถา หรอื หนามควายนอน กเ็ รยี ก
กระดังงา ชอ่ื ไมต้ น้ ดอกหอม กลบี บาง มี ๖ กลบี ดอกใชก้ ลัน่ นํา้ มันหอมได,้ กระดังงาใหญ่ สะบนั งา หรือ
สะบันงาตน้ กเ็ รยี ก
กระจบั ชอ่ื ไมน้ ํา้ หลายชนดิ ขึน้ ลอยอยใู่ นนํา้ โดยอาศยั ก้านใบเปน็ ทนุ่ ฝก๎ แกส่ ดี าํ แขง็ มี ๒ เขา คลา้ ยเขา
ควาย เนอ้ื ในขาว รสหวานมนั
๔.๒ ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Process)
ทกั ษะการเขียนสะกดคํา
๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
ตระหนักถงึ ความสาํ คัญของการเรยี นรูค้ ําศัพท์
มมี ารยาทในการเขยี น
- เขยี นใหอ้ ่านง่าย สะอาด ไมข่ ดี ฆ่า
- ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบคุ คล
- ไมเ่ ขยี นลอ้ เลียนผูอ้ ่นื หรอื ทําให้ผูอ้ ื่นเสียหาย
๕. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนํา (๑๐ นาท)ี
๑. นักเรยี นทบทวนเรื่อง ปลอดภัยไว้ก่อน โดยตอบคาํ ถาม ตอ่ ไปนี้
- ทําไมตูถ่ ึงลน่ื ลม้ (แนวคาํ ตอบ: วิง่ ออกจากหอ้ งนาํ้ ขณะตวั เปียก)
- ใครทําแกว้ ตกแตก (แนวคําตอบ: ปูาพะยอม)
- เพราะอะไรปาู พะยอมจงึ ถกู ไฟดดู (แนวคาํ ตอบ: เปิดตู้เย็นขณะมือเปียก)
ขั้นสอน (๔๐ นาท)ี
๑. นักเรียนอ่านคาํ ศัพท์ในบทเรยี น
๒. นกั เรยี นเลอื กคําศัพทค์ นละ ๑ คาํ เพื่อใหค้ รูอธิบายเพิ่มเตมิ
๓. นกั เรยี นทํากจิ กรรม “จาํ คํา นําไปใช้” ซงึ่ มวี ิธกี ารเล่น ดังน้ี
- แบ่งนกั เรยี นออกเป็น ๒ กลุ่ม เท่า ๆ กัน แตล่ ะกลุม่ รวมกลุ่มกนั อยู่คนละมุมห้อง
- ครสู มุ่ เซยี มซีคําศัพท์ขน้ึ มาทีละคํา
- ตัวแทนกล่มุ เขียนคาํ ศัพทบ์ นกระดาน พรอ้ มท้ังแต่งประโยคให้ถกู ตอ้ งเหมาะสม
- ครสู ุม่ นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมาหนา้ ชนั้ ทีละคนจนครบทุกคน
๔. นักเรยี นทาํ แบบฝกึ หัดเรื่อง เรียนรูค้ าํ จาํ ความหมาย
ขน้ั สรปุ (๑๐นาที)
๑. นักเรียนตอบคําถามวา่ การเรียนรูแ้ ละการเข้าใจความหมายของคําศพั ท์มคี วามสําคญั
อย่างไร (แนวคาํ ตอบ: ตามเจตคติของนกั เรียน)
๖. ส่ือและแหลง่ เรียนรู้
๖.๑ ไม้เซยี มซคี าํ ศพั ท์
๗. การวัดและประเมนิ ผล
สง่ิ ท่ีจะวดั วิธีการวัด เคร่ืองมอื ท่ใี ช้วัด เกณฑ์ผา่ น
๑. บอกความหมายของ ตรวจแบบทดสอบหลงั การ แบบตรวจแบบทดสอบหลงั การ ได้คะแนนร้อยละ
คําศัพท์ (K) เรยี นรู้ ตอนท่ี ๒ เรยี นรู้ ตอนท่ี ๒ ๗๐ ขนึ้ ไป
๒. เขียนสะกดคํา (P) ตรวจแบบทดสอบหลังการ แบบตรวจแบบทดสอบหลงั การ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
เรยี นรู้ เรยี นรู้ ตอนท่ี ๑ ๗๐ ขน้ึ ไป
๓. ตระหนักถึงความสาํ คญั สงั เกตพฤติกรรมการตอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการตอบ ผ่านเกณฑ์ในระดบั ดี
ของการเรยี นรู้คําศพั ท์ (A) คาํ ถาม คาํ ถาม ขึน้ ไป
๔. มมี ารยาทในการเขยี น ตรวจแบบทดสอบหลงั การ แบบตรวจแบบทดสอบหลงั การ ผา่ นเกณฑ์ในระดับ ดี
(A) เรียนรู้ ตอนท่ี ๒ เรียนรู้ ตอนที่ ๒ ขนึ้ ไป
๘. บันทกึ ผลการจดั การเรียนรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
การจดั การเรียนรเู้ ปน็ ไปตามแผนที่วางไวท้ กุ ขัน้ ตอน ครูออกแบบกจิ กรรมทเี่ นน้ ให้นักเรียน
เข้าใจความหมายและนําไปใช้ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง โดยให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทํากิจกรรมทําให้นักเรยี น
รูส้ กึ สนกุ สนานและวัดผลการเรยี นรไู้ ด้ง่ายขึ้น กจิ กรรมทอ่ี อกแบบเหมาะสมกับช่วงเวลาทกี่ าํ หนด
๘.๒ ด้านพฤติกรรมครู
ครอู ธิบายความรู้ใหน้ ักเรยี นฟ๎งโดยใชส้ ่ือ PowerPoint ประกอบ และอธิบายให้นักเรยี นบาง
คนที่ยังไม่เข้าใจเปน็ รายบคุ คล ครูอาจใช้คําพูดทเี่ ขา้ ใจยาก และพดู วกวนเป็นบางคร้งั
๘.๓ ดา้ นพฤติกรรมนักเรยี นและผลการเรยี นรู้
นกั เรยี นตงั้ ใจฟ๎งครูอธบิ ายความรู้ และเมื่อครูให้ทํากจิ กรรม นักเรยี นก็เล่นและแข่งขนั กันอย่าง
สนุกสนาน จะมเี พียงนกั เรยี นบางคนทีเ่ ขยี นไมค่ ล่องทาํ ให้เสียคะแนนกลมุ่ ไป การอออกแบบกิจกรรมให้
นักเรยี นได้เคล่อื นไหวทําใหน้ ักเรียนไม่รสู้ ึกเบ่อื และสนใจกิจกรรมการเรยี นรู้มากขึ้น
๘.๔ อุปสรรค ปญ๎ หา และข้อเสนอแนะ
จอโทรทศั น์มีขนาดเล็กเกนิ ไปทําใหน้ กั เรยี นท่ีนัง่ อยดู่ ้านหลังมองไม่ค่อยชัดเจน และนักเรียน
บางคนอ่านและเขียนยังไมค่ ่อยคล่อง ครูจึงต้องสอนเสรมิ ให้ในช่วงเวลาว่าง
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
แบบฝกึ หัดหลงั เรอื่ ง
เรียนรคู้ า จดความหมาย
ช่ือ-สกุล _______________________________________.ช้นั _______________เลขที่ ____________
ตอนท่ี ๑ สะกดคา จาให้แม่น
คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นฟง๎ คาํ ศัพทจ์ ากครู แล้วเขียนตามคาํ ท่ีครบู อกใหถ้ ูกตอ้ ง
๑. __________________________________
๒. __________________________________
๓. __________________________________
๔. __________________________________
๕. __________________________________
๖. __________________________________
๗. __________________________________
๘. __________________________________
๙. __________________________________
๑๐.__________________________________
ตอนท่ี ๒ เติมคา จาความ
คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเติมพยญั นะที่หายไปและเขียนคาํ อา่ น พรอ้ มบอกความหมาย
๑. จ_ป อ่านวา่ __________________________________________
หมายความวา่ ___________________________________________________________
๒. ก_ _ _ ว _ อา่ นวา่ __________________________________________
หมายความว่า ___________________________________________________________
๓. ก_ _ ด _ _ _ อ่านวา่ __________________________________________
หมายความว่า ___________________________________________________________
๔. _ ร _ จ _ อ่านว่า __________________________________________
หมายความว่า ___________________________________________________________
๕. _ ล น อา่ นวา่ __________________________________________
หมายความว่า ___________________________________________________________
แบบบันทกึ ผลการเรยี นร้เู รือ่ ง เรยี นรคู้ า จาความหมาย
เลข ชอื่ -สกลุ การบอก การเขียน ผลการเรยี นรู้ มมี ารยาทใน คะแนน
ที่ ความหมาย สะกดคํา (P) การตระหนัก การอา่ น (A) รวม
ของคําศัพท์ ถึงความสําคัญ
๑. เด็กชายปณุ ณตั ถ์ ใจกล้า ๑๐ ของการเรียนรู้ คุณภาพ ๑๕
๒. เด็กชายวัชรินทร์ ใจกลา้ (K) ๙ คําศัพท์ (A) ดี ๑๔
๓. เดก็ ชายจักรพงศ์ ใจกล้า ๕ ๙ ดี ๑๔
๔. เด็กชายป๎ณพัทธ์ ใจกล้า ๕ ๘ คณุ ภาพ ๑๓
๕. เด็กชายศุภวชิ ญ์ บูรณเ์ จริญ ๕ ๑๐ ดี พอใช้ ๑๕
๖. เด็กชายพีรภัทร ใจกล้า ๕ ๔ ดี ดี ๗
๗. เดก็ ชายเมธากุล ใจกลา้ ๕ ๘ ๑๒
๘. เด็กชายวรเมธ การะเวก ๓ ๑๐ พอใช้ พอใช้ ๑๕
๙. เด็กชายประสพโชค วงษ์เกษ ๔ ๖ ดี ดี ๑๐
๑๐. เด็กชายปวรฒุ น์ เอ้ยี งทารมั ย์ ๕ ๙ ดี ๑๔
๑๑. เดก็ ชายพนั ทวี หบุ กระโทก ๔ ๘ พอใช้ ดี ๑๒
๑๒. เดก็ ชายตะวนั ศรมณี ๕ ๔ ดี ดี ๖
๑๓. เดก็ หญงิ ปวเรศ ปากน้ําเขยี ว ๔ ๔ ดี ดี ๗
๑๔. เดก็ หญงิ สุนติ า อนิ ทะเสน ๒ ๕ ดี ๘
๑๕. เด็กหญงิ กิตยิ า ตอื้ จันตา ๓ ๘ ดี พอใช้ ๑๒
๑๖. เด็กหญิงญาโณทยั นามวิชยั ๓ ๗ ดี พอใช้ ๑๒
๑๗. เด็กหญิงปราณณิชา สดุ ใจ ๔ ๙ ๑๓
๑๘. เดก็ หญิงธิติมา ทองดี ๕ ๖ พอใช้ ดี ๙
๑๙. เด็กหญิงรงุ่ นภา ผิวสุข ๔ ๙ พอใช้ ดี ๑๔
๒๐. เดก็ หญงิ นปภา อินทร์งาม ๓ ๙ ดี ๑๔
๒๑. เด็กหญงิ สภุ สั สร การเพยี ร ๕ ๖ ดี ดี ๑๐
๒๒. เดก็ หญิงปนดั ดา ล้อประโคน ๕ ๕ ดี ดี ๘
๔ ๘ ดี ดี ๑๓
๓ ดี ดี
๕ ดี ดี
ดี พอใช้
ดี ดี
ดี
พอใช้
ดี
เลข ชื่อ-สกลุ การบอก การเขยี น ผลการเรียนรู้ มีมารยาทใน คะแนน
ที่ ความหมาย สะกดคํา (P) การตระหนัก การอ่าน (A) รวม
ของคําศัพท์ ถงึ ความสาํ คัญ
๒๓. เดก็ หญงิ สุมชั ญา อนิ ใส ๑๐ ของการเรยี นรู้ คณุ ภาพ ๑๕
๒๔. เดก็ หญิงศิรสิ มพร มะลิซ้อน (K) ๘ คําศัพท์ (A) ดี ๑๓
๒๕. เด็กหญงิ กนกวรรณ บางแสงออ่ น ๕ ๘ ดี ๑๓
๒๖. เดก็ หญิงวไิ ลวรรณ ไพรทอง ๖ คุณภาพ ๙
๕ ๘ พอใช้ ๑๓
ดี ดี
๕
ดี
๓
พอใช้
๕
ดี
ลงชือ่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
แบบตรวจใบกิจกรรม
เร่ือง เรียนรคู้ า จาความหมาย
ตอนที่ ๑ สะกดคา จาใหแ้ ม่น
๑. เครอ่ื งตัดไฟอัตโนมัติ
๒. ฉกุ คิด
๓. ชมพูพันธุท์ ิพย์
๔. ตื่นตระหนก
๕. ถลัน
๖. จาํ ปี
๗. จําปา
๘. การเวก
๙. กระดังงา
๑๐. กระจบั
เกณฑ์การให้คะแนน
นักเรยี นเขยี นถูก ไดค้ ะแนน ๑ คะแนน
นักเรยี นเขียนผิด ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน
ตอนท่ี ๒ เตมิ คา จาความ
๑. จําปี อา่ นว่า จาํ -ปี
หมายถึง ช่อื ไม้ต้นขนาดใหญ่ ดอกสขี าว คลา้ ยดอกจาํ ปาแต่กลีบเลก็ และหนากวา่ บางพนั ธ์สุ ีนวลหรือ
สเี หลอื งอ่อน กล่ินหอมเย็น
๒. การเวก อ่านวา่ กา-ระ-เวก
หมายถึง ชอื่ ไม้เถาเนอ้ื แข็ง ดอกหอมอ่อน กลีบดอกคล้ายกระดังงาจนี แต่ขนาดเล็กกวา่ , กระดงั งัว
กระดงั งาเถา หรือ หนามควายนอน กเ็ รียก
๓. กระดังงา อา่ นวา่ กระ-ดงั -งา
หมายถงึ ชื่อไม้ต้น ดอกหอม กลีบบาง มี ๖ กลบี ดอกใช้กลั่นนา้ํ มันหอมได้, กระดังงาใหญ่ สะบนั งา
หรือ สะบนั งาตน้ ก็เรยี ก
๔. กระจบั อา่ นว่า กระ-จับ
หมายถึง ชื่อไม้น้าํ หลายชนดิ ขน้ึ ลอยอยู่ในนํ้าโดยอาศัยก้านใบเป็นทุ่น ฝก๎ แกส่ ดี าํ แข็ง มี ๒ เขา คลา้ ย
เขาควาย เนอื้ ในขาว รสหวาน
๕. ถลัน อา่ นวา่ ถะ-หลนั
หมายถึง พรวดเขา้ ไปโดยไม่ร้ังรอเกณฑ์การให้คะแนน
นักเรยี นเขียนถูก ไดค้ ะแนน ๑ คะแนน
นกั เรียนเขยี นผิด ได้คะแนน ๐ คะแนน
เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรยี นรขู้ องนักเรียน
รายการประเมิน ๓ คะแนน ๑
แตง่ ประโยค แต่งประโยคไดถ้ ูกต้อง ๒ แต่งประโยคได้ แตส่ ่ือ
แตง่ ประโยคไดถ้ ูกต้องแต่ ความไมเ่ หมาะสม
๑. ความถูกต้องและความ ตามหลักการ สื่อความ สอ่ื ความไมค่ ่อยเหมาะสม
เหมาะสม เหมาะสม
๒. การใช้ภาษา ใช้ภาษาท่ีเขา้ ใจงา่ ย ใช้ภาษาที่เขา้ ใจง่าย ใชภ้ าษาท่เี ข้าใจยาก ไม่
กระชบั แต่ไม่ สละสลวย กระชับ และไมส่ ละสลวย
กระชับ และสละสลวย
บอกคุณคา่ ของการ บอกคุณค่าของการ
การเห็นคุณค่าของการเรยี นรู้ บอกคุณคา่ ของการ เรียนรแู้ ละการเขา้ ใจ เรยี นรูแ้ ละการเขา้ ใจ
ความหมายของคําศัพท์ ความหมายของคาํ ศัพท์
และการเข้าใจความหมายของ เรียนรู้และการเข้าใจ ได้น้อยกวา่ ๒ ประการ
ได้ ๒ ประการ
คาศพั ท์ ความหมายของคําศัพท์
ได้มากกว่า ๓ ประการ
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนน ระดบั คุณภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรับปรงุ
แผนการจดั การเรยี นรู้ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ ปลอดภัยไวก้ อ่ น เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓/๘ เรอื่ ง ดูให้รู้ อักษร ๓ หมู่ ผูส้ อน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรยี นวัดบ้านไพบูลย์ เวลา ๐๙.๓๐ น.-๑๐.๓๐ น.
สอนวนั ท่ี ๑๖ เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. มาตรฐานและตัวชี้วดั
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภมู ปิ ๎ญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ
ตวั ช้ีวดั ท๔.๑ ป.๕/๑ ระบุชนดิ และหน้าทข่ี องคําในประโยค
๒. สาระสาคัญ
ไตรยางศ์หรืออักษร ๓ หมู่ เป็นการแบ่งพยัญชนะไทย ๔๔ ตัวออกเป็น ๓ หมู่ตามพื้นเสียงของ
วรรณยุกต์ คือ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรตํ่า นักเรียนควรเรียนรู้และจดจําอักษรในแต่ละหมู่ เพื่อให้
นกั เรียนสามารถผนั เสียงวรรณยกุ ต์ไดถ้ กู ตอ้ ง
๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
เมอ่ื นักเรียนได้เรยี นเร่ือง “ดใู ห้รู้ อกั ษร ๓ หมู่” แลว้ นกั เรียนสามารถ
๑. บอกความหมายของอักษร ๓ หมูไ่ ด้ (K)
๒. จาํ แนกพยัญชนะที่เป็นอักษรสงู อกั ษรกลางและอักษรต่ําได้ (P)
๓. เห็นความสาํ คัญของการจําแนกพยัญชนะเป็นอักษร ๓ หมู่ (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
๔.๑ ดา้ นองคค์ วามรู้ (Knowledge)
พยญั ชนะไทย ๔๔ ตวั
กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎ
ฏฐฑฒณดตถทธนบปผ
ฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ
ไตรยางศ์หรืออักษร ๓ หมู่
ไตรยางศ์หรืออักษร ๓ หมู่ เป็นการแบ่งพยญั ชนะไทย ๔๔ ตวั ออกเป็น ๓ หมู่ตามพืน้ เสียง
ของวรรณยุกต์ คือ อกั ษรสงู อกั ษรกลาง และอักษรต่าํ อกั ษรสามหม่แู บง่ ไดด้ ังน้ี
อกั ษรสูง มี ๑๑ ตวั คอื ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ส ษ ห
อักษรกลาง มี ๙ ตวั คอื ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ
อกั ษรตา่ มี ๒๔ ตวั คอื ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
วธิ กี ารแบง่ พยญั ชนะออกเป็น ๓ หมู่
๑) หาพน้ื เสยี งวรรณยกุ ตข์ องพยัญชนะไทย
๒) จัดกลุ่มพยัญชนะไทยตามหมวดหมู่ของไตรยางศ์
๓) สรา้ งข้อความเพื่อท่องจําพยญั ชนะไทยในแตล่ ะหมู่
๔.๒ ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Process)
ทกั ษะการจําแนกพยญั ชนะไทย
๔.๓ ด้านเจตคติ (Attitude)
เห็นความสําคัญของการจําแนกพยญั ชนะเป็นอักษร ๓ หมู่
๕. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขนั้ นํา (๑๐ นาท)ี
๑. นักเรียนทาํ กิจกรรม “เม็ดน้ี อย่สู ีอะไร” ดังนี้
- ครูซ่อนเมด็ ฝนตวั อักษรพยญั ชนะไวภ้ ายในบริเวณหอ้ ง
ก ขง
- ครเู สนอลักษณะของภาพกอ้ นเมฆ ๓ กอ้ น ท่รี ะบุอกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอักษร
ตํา่ ดังนี้
อักษรกลาง อกั ษรสูง อกั ษรตา่
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๑. นักเรียนฟ๎งครูอธบิ ายความรู้เรือ่ ง อักษร ๓ หมู่ โดยใชส้ อ่ื ก้อนเมฆและเม็ดฝน
ประกอบการอธิบาย
๒. นักเรียนท่องจาํ ข้อความชว่ ยจาํ อักษร ๓ หม่ทู ลี ะหมู่
๓. ครูส่มุ หยบิ พยัญชนะไทยขึ้นมาทีละตัว แลว้ สุ่มใหน้ ักเรียนออกเสียงพยัญชนะนัน้
พรอ้ มท้งั ระบหุ มูข่ องอกั ษรนน้ั ๆ ด้วย
๔. นักเรียนทําแบบฝึกหัดเรื่อง ดใู ห้รู้ อักษร ๓ หมู่
ข้นั สรปุ (๑๐ นาที)
นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคาํ ถาม ดังนี้
- การจําแนกพยญั ชนะเปน็ อกั ษร ๓ หมู่ มคี วามสําคัญอยา่ งไร (แนวคาํ ตอบ: ตาม
เจตคติของนกั เรียน)
๖. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
๖.๑ ส่อื PowerPoint เรือ่ ง อักษร ๓ หมู่
๖.๒ แถบข้อความความรเู้ รื่อง อักษร ๓ หมู่
๗. การวดั และประเมินผล
ส่งิ ท่ีจะวดั วิธีการวดั เคร่ืองมือท่ีใช้วดั เกณฑ์ผ่าน
๑. บอกความหมายของอักษร ๓ หมู่ (K) ตรวจแบบทดสอบเร่ือง แบบตรวจแบบทดสอบ ไดค้ ะแนนร้อยละ
ดใู หร้ ู้ อกั ษร ๓ หมู่ เร่ือง ดูใหร้ ู้ อักษร ๓ หมู่ ๗๐ ข้ึนไป
ตอนที่ ๑ ตอนท่ี ๑
๒. จําแนกพยัญชนะท่เี ปน็ อักษรสงู ตรวจแบบทดสอบเร่ือง แบบตรวจแบบทดสอบ ไดค้ ะแนนร้อยละ
อกั ษรกลางและอักษรต่าํ (P) ดูให้รู้ อักษร ๓ หมู่ เรื่อง ดใู หร้ ู้ อักษร ๓ หมู่ ๗๐ ขนึ้ ไป
ตอนท่ี ๒ ตอนท่ี ๒
๓. เหน็ ความสําคัญของการจําแนก สงั เกตพฤตกิ รรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์ในระดบั
พยัญชนะเป็นอกั ษร ๓ หมู่ (A) ตอบคําถาม ตอบคําถาม ดี ขึ้นไป
๘. บนั ทกึ ผลการจดั การเรียนรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรู้
การออกแบบกจิ กรรมคร้ังนเ้ี น้นใหน้ ักเรยี นจําพยญั ชนะหม่ตู ่าง ๆ ใหไ้ ด้ ครจู ึงออกแบบการ
เรียนรู้โดยให้นักเรียนท่องจําข้อความช่วยจําอักษร ๓ หมู่เป็นหลัก เมื่อนักเรียนท่องจําได้แล้ว ครูทดสอบให้
นักเรียนท่องเป็นรายบุคคล ครูออกแบบส่ือติดกระดานและสื่อ PowerPoint ประกอบการสอน เพ่ือให้
นักเรยี นเขา้ ใจงา่ ยขน้ึ
๘.๒ ด้านพฤติกรรมครู
ครูใชค้ ําอธบิ ายความหมายยังไมค่ ่อยชัดเจน ใช้คาํ พูดวกวน และครูดุ และกวดขันนักเรียนท่ี
จําไม่ไดเ้ ป็นรายบคุ คลจนสามารถจําได้
๘.๓ ด้านพฤติกรรมนักเรียนและผลการเรียนรู้
นักเรียนชอบกิจกรรมการเรยี นการสอนที่ตนเองมีสว่ นรว่ มและแสดงความรู้ ความคดิ เห็นโดยทีน่ ง่ั
อยกู่ ับท่ี และสนกุ สนานกับการถกู สุ่มให้ท่องจาํ ทลี ะคน นักเรียนส่วนใหญ่จําข้อความชว่ ยจาํ อกั ษร ๓ หมไู่ ด้ แตย่ งั
ไม่ค่อยคล่อง ในช่วั โมงหน้า ครูจะตอ้ งทบทวนอักษร ๓ หมู่ โดยการใหน้ ักเรยี นท่องและระบุตวั อักษรเปน็ รายบุคคล
นักเรียนชอบและสนใจสอื่ ติดกระดานมากกว่าส่ือ PowerPoint
๘.๔ อุปสรรค ปญ๎ หา และข้อเสนอแนะ
นกั เรยี นติดลักษณะการออกเสยี งภาษาอสี าน ทําให้ออกเสียงคาํ ในข้อความท่องจาํ ผดิ ครจู ึงต้อง
บงั คับใหน้ ักเรยี นออกเสียงซ้ํา ๆ หลาย ๆ รอบ
ลงช่อื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
แบบบนั ทึกผลการเรียนรู้เร่ือง ดใู หร้ ู้ อกั ษร ๓ หมู่
ผลการเรยี นรู้
การบอก การจาํ แนก เหน็ ความสําคญั
เลข ชอ่ื -สกลุ ความหมายของ พยัญชนะทีเ่ ปน็ ของการจําแนก คะแนน
ที่ อกั ษร ๓ หมู่ (K) อกั ษรสูง อักษร พยญั ชนะเปน็ รวม
กลางและอักษร อักษร ๓ หมู่ (A) ๒๑
๒๓
ต่ํา (P) ๒๓
๑๙
๓ ๒๐ คุณภาพ ๒๓
๑๒
๑. เด็กชายปุณณตั ถ์ ใจกลา้ ๓ ๒๐ ดี ๑๘
๑๓
๒. เดก็ ชายวัชรนิ ทร์ ใจกล้า ๓ ๒๐ ดี ๑๒
๑๓
๓. เด็กชายจักรพงศ์ ใจกล้า ๒ ๑๗ พอใช้ ๑๓
๑๒
๔. เดก็ ชายปณ๎ พัทธ์ ใจกลา้ ๓ ๒๐ ดี ๑๒
๑๔
๕. เดก็ ชายศุภวิชญ์ บรู ณเ์ จรญิ ๑ ๑๑ พอใช้ ๑๙
๒๒
๖. เดก็ ชายพรี ภัทร ใจกล้า ๒ ๑๖ ดี ๒๓
๑๖
๗. เด็กชายเมธากลุ ใจกล้า ๓ ๒๐ ดี ๒๓
๒๒
๘. เดก็ ชายวรเมธ การะเวก ๑ ๑๑ ดี ๒๑
๙. เดก็ ชายประสพโชค วงษ์เกษ ๓ ๒๐ ดี
๑๐. เด็กชายปวรุฒน์ เอ้ียงทารัมย์ ๓ ๒๐ ดี
๑๑. เด็กชายพนั ทวี หบุ กระโทก ๑ ๑๑ พอใช้
๑๒. เดก็ ชายตะวนั ศรมณี ๑ ๑๑ พอใช้
๑๓. เด็กหญิงปวเรศ ปากนํ้าเขยี ว ๑ ๑๓ ดี
๑๔. เดก็ หญิงสนุ ติ า อินทะเสน ๒ ๑๗ ดี
๑๕. เด็กหญิงกิตยิ า ตอ้ื จันตา ๓ ๑๙ ดี
๑๖. เดก็ หญิงญาโณทัย นามวชิ ัย ๓ ๒๐ ดี
๑๗. เดก็ หญิงปราณณิชา สดุ ใจ ๒ ๑๔ ดี
๑๘. เด็กหญงิ ธิตมิ า ทองดี ๓ ๒๐ ดี
๑๙. เด็กหญงิ รงุ่ นภา ผวิ สขุ ๓ ๑๙ ดี
๒๐. เดก็ หญิงนปภา อินทร์งาม ๓ ๑๘ ดี
ผลการเรยี นรู้
การบอก การจาํ แนก เห็นความสําคญั
เลข ช่ือ-สกลุ ความหมายของ พยญั ชนะที่เป็น ของการจําแนก คะแนน
ท่ี อักษร ๓ หมู่ (K) อักษรสูง อักษร พยัญชนะเป็น รวม
กลางและอกั ษร อักษร ๓ หมู่ (A) ๒๑
๑๔
ตาํ่ (P) ๑๓
๒๒
๓ ๒๐ คุณภาพ ๒๓
๑๒
๒๑. เด็กหญิงสภุ สั สร การเพยี ร ๒ ๑๒ พอใช้ ๒๓
๒๒. เดก็ หญิงปนดั ดา ล้อประโคน ๓ ๒๐ ดี
๒๓. เด็กหญงิ สมุ ัชญา อนิ ใส ๓ ๑๙ ดี
๒๔. เดก็ หญิงศิรสิ มพร มะลซิ อ้ น ๓ ๒๐ ดี
๒๕. เดก็ หญงิ กนกวรรณ บางแสงออ่ น ๑ ๑๑ พอใช้
๒๖. เดก็ หญิงวิไลวรรณ ไพรทอง ๓ ๒๐ ดี
ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
แบบตรวจแบบทดสอบเร่อื ง ดใู หร้ ู้ อกั ษร ๓ หมู่
๑. แบบตรวจการบอกความหมายของอกั ษร ๓ หมู่
ตอนท่ี ๑ ความหมาย
คาตอบ ไตรยางศห์ รอื อกั ษร ๓ หมู่ เป็นการแบ่งพยัญชนะไทย ๔๔ ตวั ออกเป็น ๓ หมตู่ ามพ้นื เสียง
ของวรรณยุกต์ คือ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรตา่ํ
เกณฑ์การให้คะแนน
นกั เรยี นบอกถูก ไดค้ ะแนน ๓ คะแนน
นกั เรยี นบอกผิด ได้คะแนน ๐ คะแนน
๒. แบบตรวจการจาแนกพยัญชนะทีเ่ ป็นอักษรสูง อักษรกลางและอักษรตา่
ตอนท่ี ๑ จาแนก แยกหมู่
อกั ษรกลาง กวยจ๊ับ กะปิ องค์กร ตาแดง เบกิ จา่ ย
อกั ษรสูง เผาถา่ น ฉุยฉาย ถ่นิ ฐาน เสอื หิว ฝกึ ฝน
อักษรต่าคู่ ฟก๎ ทอง ธรรม เซาะ พ่อค้า ซกุ ซอ่ น
อกั ษรตา่ เดี่ยว มะโรง เงนิ ยะลา ละแวก ญาญา่
เกณฑ์การให้คะแนน
นักเรยี นบอกถกู ได้คะแนน ๓ คะแนน
นกั เรียนบอกผิด ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลการเรียนร้ขู องนกั เรียน
รายการประเมนิ ๓ คะแนน ๑
บอกความสาํ คัญของ ๒ บอกความสําคญั ของ
การเหน็ ความสําคัญของการ การจาํ แนกพยัญชนะ การจําแนกพยัญชนะ
จําแนกพยัญชนะเปน็ อกั ษร ๓ หมู่ บอกความสําคญั ของ
เปน็ อกั ษร ๓ หมู่ การจําแนกพยัญชนะ เปน็ อกั ษร ๓ หมู่
ได้ ๓ ข้อขน้ึ ไป ไดน้ อ้ ยกว่า ๒ ขอ้
เป็นอักษร ๓ หมู่
๒-๓ ขอ้
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ระดับคณุ ภาพ
๓ ดี
๒
๑ พอใช้
ควรปรับปรงุ
แผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ปลอดภัยไว้กอ่ น เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๔/๘ เร่อื ง คาเป็น คาตาย ผสู้ อน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรียนวดั บ้านไพบูลย์ เวลา ๐๙.๓๐ น.-๑๐.๓๐ น.
สอนวนั ที่ ๑๗ เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. มาตรฐานและตวั ชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมิปญ๎ ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ
ตวั ชี้วดั ท๔.๑ ป.๕/๑ ระบชุ นดิ และหน้าทีข่ องคําในประโยค
๒. สาระสาคัญ
คําเป็น คําตาย คือ การจําแนกคําตามลักษณะท่ีใช้ระยะเวลาออกเสียงต่างกัน ซ่ึงลักษณะดังกล่าว
จะทําให้คําท่ีมีเสียงพยัญชนะต้นเป็นรูปเดียวกัน มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน นักเรียนควรเรียนรู้ลักษณะของคํา
เป็นและคําตายใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแท้ เพอื่ ชว่ ยใหน้ ักเรยี นผันวรรณยกุ ต์ไดถ้ ูกต้อง
๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
เมื่อนักเรยี นไดเ้ รยี นเร่ือง “คําเปน็ คําตาย” แลว้ นกั เรยี นสามารถ
๑. บอกลักษณะของคาํ เป็น คําตายได้ (K)
๒. จาํ แนกคําเป็นกับคาํ ตายได้ (P)
๓. เห็นความสําคัญของการเรียนรูค้ าํ เป็น คําตาย (A)
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ดา้ นองค์ความรู้ (Knowledge)
คาํ เป็น คําตาย คือ การจาํ แนกคาํ ตามลกั ษณะทใี่ ชร้ ะยะเวลาออกเสยี งต่างกนั ซ่งึ ลักษณะ
ดังกล่าวจะทาํ ใหค้ าํ ท่ีมีเสยี งพยญั ชนะต้นเป็นรูปเดียวกนั มีเสยี งวรรณยุกตต์ ่างกัน
คําเปน็
๑. คาํ ทพ่ี ยัญชนะประสมกับสระเสียงยาวในแม่ ก กา เช่น มา ดู ปู เวลา ฯลฯ
๒. คาํ ทพ่ี ยญั ชนะประสมกับสระ –ำ ใ - ไ - เ – า เช่น จาํ น้าํ ใช่ เผา่ เสา ฯลฯ
๓. คาํ ทมี่ ีตวั สะกดอย่ใู นแม่กง กน กม เกย เกอว เชน่ จริง กนิ กรรม สาว ฯลฯ
คาํ ตาย
๑. คาํ ที่พยัญชนะประสมกับสระเสยี งสัน้ ในแม่ ก กา เชน่ กะทิ เพราะ ดุ แคะ ฯลฯ
๒. คาํ ท่มี ีตัวสะกดในแม่กก กบ กด เชน่ บทบาท ลาภ เมฆ เลข ธปู ฯลฯ
๔.๒ ด้านทักษะและกระบวนการ (Process)
ทักษะการจําแนกคาํ เป็น คําตาย
๔.๓ ด้านเจตคติ (Attitude)
เห็นความสาํ คัญของการเรยี นร้คู ําเป็น คําตาย
๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขน้ั นาํ (๑๐ นาท)ี
๑. นกั เรียนทํากิจกรรม “เอ๊ะ! ยังไง ไหนเล่า” ซ่ึงมีข้นั ตอน ดงั น้ี
- ครนู าํ เสนอคาํ เปน็ และคาํ ตายทลี ะคํา
คาเปน็ คาตาย
คา คะ
ไป ปัก
ขา ขับ
- นกั เรยี นพิจารณาคําเปน็ คําตายทค่ี รนู าํ เสนอ
- นักเรยี นตอบคําถามในสื่อ PowerPoint ดงั นี้
คาํ เปน็ ประสมดว้ ยสระเสียงส้ันหรือเสียงยาว (แนวคาํ ตอบ: เสียงยาว)
คําตายประสมด้วยสระเสียงสั้นหรือเสยี งยาว (แนวคําตอบ: เสียงสน้ั )
คาํ เป็น เปน็ คาํ ท่สี ะกดด้วยตัวสะกดหมวดแม่ กง กน กม เกย เกอว
หรือหมวดแม่กก กบ กด (แนวคําตอบ: หมวดแม่ กง กน กม เกย เกอว )
คาํ ตาย เป็นคําท่ีสะกดด้วยตวั สะกดหมวดแม่ กง กน กม เกย เกอว
หรอื หมวดแม่กก กบ กด (แนวคําตอบ:หมวดแมก่ ก กบ กด)
คาเป็นประสมดว้ ยสระเสียงสัน้ หรอื เสยี งยาว
เสยี งสัน้ เสยี งยาว
ตวั อย่างคาํ ถามในสือ่ PowerPoint
ขนั้ สอน (๔๐ นาท)ี
๑. ครูอธบิ ายความรูเ้ ร่อื งคําเป็น คาํ ตาย โดยใช้สื่อ PowerPoint ประกอบ
๒. นกั เรยี นทํากิจกรรม “เป็นตาย รา้ ยดี” ซึง่ มขี ัน้ ตอน ดงั น้ี
- ครนู าํ เสนอคาํ ศัพท์ทลี ะคํา
- นักเรยี นพิจารณาคาํ ศัพท์ท่ีครูนําเสนอ แลว้ ใหน้ กั เรยี นระบุว่า เปน็ คาํ เป็นหรือคํา
ตาย ถา้ เป็นคําเปน็ ใหน้ กั เรียนรอ้ ง “กะต๊าก กะต๊าก” ถา้ เป็นคําตายใหน้ ักเรียนรอ้ ง “อดู๊ อู๊ด”
- ครูเฉลยคาํ ตอบทันที ท่นี ักเรียนร้องเสยี งสตั วเ์ สรจ็
๓. นักเรยี นทําแบบทดสอบเรื่อง คําเป็น คําตาย
ขัน้ สรปุ (๑๐ นาที)
นักเรียนรว่ มกนั ตอบคาํ ถาม ดังนี้
- การเรียนรคู้ ําเป็น คําตาย มีความสาํ คญั อย่างไร (แนวคาํ ตอบ: ตามเจตคติของ
นกั เรียน)
๖. ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
๖.๑ บัตรคาํ กิจกรรม “เอะ๊ ! ยงั ไง ไหนเลา่ ”
๖.๒ สื่อ PowerPoint เร่ือง คําเป็น คาํ ตาย
๗. การวัดและประเมินผล
สิ่งทจ่ี ะวดั วธิ ีการวัด เครอื่ งมอื ที่ใช้วดั เกณฑผ์ า่ น
๑. บอกลักษณะของคําเปน็ คําตาย (K) ตรวจแบบทดสอบเรื่อง แบบตรวจแบบทดสอบคํา ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
คําเป็น คําตาย เป็น คาํ ตาย ๗๐ ขึ้นไป
ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๑
๒. จําแนกคําเป็นกบั คาํ ตาย (P) ตรวจแบบทดสอบเร่ือง แบบตรวจแบบทดสอบคํา ได้คะแนนร้อยละ
คาํ เปน็ คาํ ตาย เป็น คาํ ตาย ๗๐ ข้นึ ไป
ตอนที่ ๒ ตอนท่ี ๒
๓. เหน็ ความสาํ คัญของการเรียนรูค้ ํา สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ในระดบั
เป็น คําตาย (A) ตอบคาํ ถาม ตอบคาํ ถาม ดี ขึน้ ไป
๘. บนั ทกึ ผลการจัดการเรียนรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ในการจดั การเรยี นรจู้ รงิ มีการปรบั เปลยี่ นวธิ ีการสอน คอื ให้นกั เรยี นยกตวั อย่างคําเป็นคาํ
ตาย แทนระบุคําตามที่ครูกําหนด ครูออกแบบส่ือการเรียนรู้เป็นสื่อติดกระดานประกอบการสื่อ PowerPoint
นอกจากน้ี ครูยงั ได้อธิบายลักษณะของคาํ เป็นคําตายซํา้ หลายรอบ และให้นักเรียนยกตัวอยา่ งคําหลายคํา
เพ่อื ให้นกั เรยี นเขา้ ใจมากย่ิงขึ้น
๘.๒ ดา้ นพฤตกิ รรมครู
ครอู ธบิ ายความรูห้ ลายรอบเพื่อทบทวนและให้นกั เรียนเข้าใจงา่ ยข้นึ นอกจากนี้ครูยงั อธบิ าย
เพมิ่ เติมและตอบคําถามที่นกั เรยี นสงสัยเปน็ รายบคุ คล
๘.๓ ด้านพฤตกิ รรมนักเรยี นและผลการเรยี นรู้
การเรยี นการสอนโดยใชส้ ่อื ติดกระดานทาํ ใหน้ ักเรียนสนใจ และเข้าใจเนื้อหาความรูไ้ ดด้ ีและง่าย
ขึน้ นักเรียนทุกคนตั้งใจและสนใจเรียนเป็นอย่างดี เมือ่ มีข้อสงสยั นักเรยี นจะขอให้ครูอธบิ ายให้ฟง๎ เป็นรายบคุ คล
ทาํ ให้ผลการเรยี นรูช้ วั่ โมงนีอ้ ยู่ในระดับ ดมี าก
๘.๔ อปุ สรรค ปญ๎ หา และข้อเสนอแนะ
ส่ือติดกระดานท่ีใช้ประกอบการสอนมีข้อผิดพลาดบางส่วน ครูจึงต้องอธิบายและบอกส่ิงท่ี
ถูกต้อง การใช้เทปกาวติส่ือบนกระดานให้แกะยากและมีรอยกระดาษกาวติด ควรที่จะหาวัสดุอ่ืนมาติด
กระดานแทนเทปกาว
ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๑๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
แบบบนั ทึกผลการเรยี นรู้เรือ่ ง คาเปน็ คาตาย
ผลการเรยี นรู้
เลข การบอก การจําแนกคาํ เห็นความสาํ คญั คะแน
ท่ี นรวม
ช่ือ-สกลุ ลกั ษณะของคาํ เป็นกับคาํ ตาย ของการเรยี นรคู้ ํา
๖๕
เป็น คําตาย (K) (P) เปน็ คําตาย (A) ๕๙
๖๐
๑. เด็กชายปุณณัตถ์ ใจกล้า ๒๕ ๔๐ คณุ ภาพ ๕๔
๒. เด็กชายวัชรนิ ทร์ ใจกล้า ๒๒ ๓๗ ดี ๖๒
๓. เดก็ ชายจักรพงศ์ ใจกลา้ ๒๓ ๓๗ ดี ๓๘
๔. เดก็ ชายปณ๎ พัทธ์ ใจกล้า ๑๙ ๓๕ พอใช้ ๔๘
๕. เด็กชายศภุ วชิ ญ์ บรู ณเ์ จริญ ๒๓ ๓๘ ดี ๕๓
๖. เดก็ ชายพีรภัทร ใจกล้า ๑๕ ๒๓ พอใช้ ๔๓
๗. เด็กชายเมธากลุ ใจกล้า ๑๙ ๒๙ ดี ๕๗
๘. เดก็ ชายวรเมธ การะเวก ๒๑ ๓๒ ดี ๔๔
๙. เดก็ ชายประสพโชค วงษ์เกษ ๑๗ ๒๖ ดี ๓๗
๑๐. เดก็ ชายปวรฒุ น์ เอ้ียงทารมั ย์ ๒๐ ๓๗ ดี ๓๙
๑๑. เด็กชายพนั ทวี หุบกระโทก ๑๙ ๒๕ ดี ๓๗
๑๒. เดก็ ชายตะวนั ศรมณี ๑๓ ๒๔ พอใช้ ๔๘
๑๓. เด็กหญงิ ปวเรศ ปากนํ้าเขยี ว ๑๔ ๒๕ พอใช้ ๔๘
๑๔. เดก็ หญิงสนุ ิตา อนิ ทะเสน ๑๔ ๒๓ ดี ๕๒
๑๕. เด็กหญิงกิตยิ า ตื้อจนั ตา ๑๙ ๒๙ ดี ๔๔
๑๖. เดก็ หญิงญาโณทยั นามวิชยั ๑๙ ๒๘ ดี ๖๑
๑๗. เด็กหญิงปราณณิชา สดุ ใจ ๒๐ ๓๒ ดี ๕๔
๑๘. เดก็ หญงิ ธิติมา ทองดี ๑๘ ๒๖ ดี ๕๐
๑๙. เดก็ หญงิ รุ่งนภา ผวิ สขุ ๒๓ ๓๘ ดี ๔๑
๒๐. เด็กหญงิ นปภา อนิ ทร์งาม ๒๒ ๓๒ ดี ๔๘
๒๑. เด็กหญิงสภุ ัสสร การเพียร ๑๘ ๓๒ ดี
๒๒. เด็กหญิงปนดั ดา ล้อประโคน ๑๕ ๒๖ พอใช้
๑๙ ๓๔ ดี
ผลการเรียนรู้
เลข การบอก การจําแนกคํา เหน็ ความสําคัญ คะแน
ที่ นรวม
ชอ่ื -สกลุ ลักษณะของคํา เป็นกบั คาํ ตาย ของการเรียนรคู้ ํา
๖๕
เป็น คาํ ตาย (K) (P) เป็น คาํ ตาย (A) ๔๗
๔๒
๒๓. เดก็ หญงิ สุมัชญา อินใส ๒๕ ๔๐ คณุ ภาพ ๔๐
๒๔. เดก็ หญิงศริ สิ มพร มะลซิ ้อน ๑๘ ๒๙ ดี ๔๙
๒๕. เดก็ หญิงกนกวรรณ บางแสงออ่ น ๑๙ ๓๓ ดี
๒๖. เด็กหญิงวไิ ลวรรณ ไพรทอง ๑๔ ๒๖ พอใช้
๑๙ ๓๐ ดี
ลงชอื่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
แบบตรวจแบบทดสอบเรอ่ื ง ดูใหร้ ู้ อักษร ๓ หมู่
๑. แบบตรวจการลักษณะของคาเป็น คาตาย
คาเปน็
๑.๑ คาํ ที่พยัญชนะประสมกับสระเสยี งยาวในแมก่ กา เชน่ (ยกตัวอย่าง ๕ คา ข้ึนอยู่กบั
คาตอบของนักเรยี น)
๑.๒ คาํ ที่พยัญชนะประสมกับสระ –ำ ใ - ไ - เ – า เช่น (ยกตวั อย่าง ๕ คา ขึ้นอยูก่ ับ
คาตอบของนักเรยี น)
๑.๓ คาํ ท่มี ตี วั สะกดอยู่ในแม่กง กน กม เกย เกอว เช่น (ยกตัวอยา่ ง ๕ คา ขึ้นอยู่กับคาตอบ
ของนักเรยี น)
คาตาย
๒.๑ คําท่ีพยญั ชนะประสมกบั สระเสียงสน้ั ในแมก่ กา เชน่ (ยกตวั อย่าง ๕ คา ข้ึนอยูก่ ับคาตอบ
ของนักเรยี น)
๒.๒ คําทม่ี ีตัวสะกดในแม่กก กบ กด เชน่ (ข้นึ อยู่กบั คาตอบของนกั เรยี น)
เกณฑ์การให้คะแนน
นกั เรียนตอบถกู ๑ คํา ได้คะแนน ๑ คะแนน
นักเรียนตอบผิด ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน
๒. แบบตรวจการจาแนกคาเปน็ คาตาย
ตอนท่ี ๑ เป็นตาย อะไรสะกด
คาศพั ท์ ประเภท ตวั สะกด
กระโดด คําตาย แม่ก กา, แมก่ ด
ผา้ ม่าน คาํ เปน็ แม่ก กา, แมก่ น
หลอด คําตาย แมก่ ด
อาหาร คําเปน็ แมก่ กา, แมก่ น
สะดวก คาํ ตาย แมก่ กา, แมก่ ก
คอลลาเจน คาํ เปน็ แมก่ น, แม่ก กา, แม่กน
ฤทธ์ิ คําตาย แม่กด
กรรม คาํ เปน็ แม่กน
สลบ คําตาย แมก่ กา, แมก่ บ
ลาํ โพง คําเปน็ แม่ก กา, แมก่ ง
กระดาษ คาํ ตาย แม่ก กา, แม่กด
เกณฑ์การให้คะแนน ไดค้ ะแนน ๑ คะแนน
นกั เรียนตอบถกู ๑ ช่อง ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน
นกั เรยี นตอบผดิ
คาตาย
ตอนท่ี ๒ เป็นตาย รา้ ยดี เหตุ
คาเปน็ ประวัติ
หวั ขอ้ นาค
เก้าอ้ี ออกรบ
ล้างมือ พยคั ฆ์
กฬี า รปู ภาพ
สังคม หยุดพกั
กุญแจ กระดูก
ปขี าล ดอกพดุ
คณู หาร กะทิ
วาฬ ชกั โครก
ห้องเรยี น พรกิ ทอด
กล้าหาญ ผักกาด
ตน้ กลว้ ย ธูป
หมอน โต๊ะ
วงกลม กระจก
ถว่ั พู อูฐ
ปรานี ประสาท
เกง้ กวาง สุนขั
โสภา เลอะเทอะ
สีชมพู
เทยี นหอม ได้คะแนน ๑ คะแนน
ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
นักเรียนตอบถูก ๑
นักเรยี นตอบผดิ
เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น
รายการประเมนิ ๓ คะแนน ๑
บอกความสําคัญของ ๒ บอกความสําคัญของ
การเห็นความสําคัญของการ การเรยี นร้คู ําเปน็ คํา การเรียนรูค้ ําเปน็ คํา
เรียนร้คู าํ เป็น คําตาย ตายได้ ๓ ข้อขน้ึ ไป บอกความสําคญั ของ ตายไดน้ ้อยกว่า ๒ ขอ้
การเรยี นรู้คําเป็น
คําตาย ๒-๓ ข้อ
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนน ระดับคุณภาพ
๓ ดี
๒
๑ พอใช้
ควรปรบั ปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ ปลอดภัยไวก้ อ่ น เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕/๘ เรือ่ ง สรา้ งสรรค์ ผันวรรณยุกต์ ผู้สอน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรยี นวดั บ้านไพบูลย์ เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๓๐ น.
สอนวนั ท่ี ๑๙ เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. มาตรฐานและตวั ช้ีวัด
สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมปิ ญ๎ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ
ตัวชี้วัด ท๔.๑ ป.๕/๒ จาํ แนกส่วนประกอบของประโยค
๒. สาระสาคัญ
การผันวรรณยุกต์ หมายถึง การอ่านคําโดยแจกแจงเสียงวรรณยุกต์ของคําไปตามลําดับเสียง โดยมี
เคร่ืองหมายวรรณยุกต์เป็นตัวกําหนด เคร่ืองหมายวรรณยุกต์ไทยมี ๔ รูป ได้แก่ ่ ้ ๊ ๋ ส่วนเสียง
วรรณยุกตไ์ ทย มี ๕ เสียง ไดแ้ ก่ เสยี งสามัญ เสยี งเอก เสียงโท เสียงตรแี ละเสยี งจัตวา เครื่องหมายวรรณยุกต์ท่ี
กํากับคําต่าง ๆ จะทําให้รูปของคํา เสียงของคํา และความหมายของคําต่างกันด้วย นักเรียนควรตั้งใจเรียนรู้
การผันวรรณยกุ ต์ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพอ่ื ให้นักเรยี นสามารถออกเสยี งคําไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและทําให้ผู้ฟ๎งเข้าใจ
ความหมายที่ผพู้ ดู ตอ้ งการส่อื สารได้อย่างตรงกนั
๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
เมอ่ื นักเรยี นไดเ้ รียนเรื่อง “สงั สรรค์ ผนั วรรณยุกต์” แล้วนกั เรียนสามารถ
๑. บอกหลักการผันเสยี งวรรณยกุ ต์อกั ษร ๓ หมู่ได้ (K)
๒. ผนั วรรณยกุ ตอ์ ักษร ๓ หมู่ได้ (P)
๓. เหน็ ความสําคญั ของการเรียนผันวรรณยุกต์ (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
๔.๑ ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
ความหมายของการผันวรรณยุกต์
การผนั วรรณยุกต์ หมายถึง การอ่านคําโดยแจกแจงเสียงวรรณยุกต์ของคําไปตามลําดับเสียง
โดยมีเคร่ืองหมายวรรณยุกต์เป็นตัวกําหนด เครื่องหมายวรรณยุกต์ไทยมี ๔ รูป ได้แก่ ่ ้ ๊ ๋ ส่วนเสียง
วรรณยุกตไ์ ทย มี ๕ เสยี ง ได้แก่ เสยี งสามญั เสียงเอก เสียงโท เสยี งตรีและเสียงจตั วา เครอ่ื งหมายวรรณยุกต์ท่ี
กํากับคาํ ตา่ ง ๆ จะทําใหร้ ูปของคาํ เสียงของคํา และความหมายของคําตา่ งกนั ดว้ ย
หลกั การผนั เสียงวรรณยกุ ต์
๑. คําที่มีพยญั ชนะต้นเปน็ อักษรกลาง ผันเสียงวรรณยุกต์ได้ดงั นี้
- คําเป็น ผันวรรณยุกต์ได้ครบ ๔ รูป ๕ เสยี ง รูปและเสียงวรรณยุกตต์ รงกัน เช่น อา
อ่า อา้ อา๊ อา๋ พน้ื เสียงเป็นเสยี งสามัญ ผนั ด้วยไม้เอก เป็นเสียงเอก ผันด้วยไม้โทเป็นเสียงโท ผันด้วยไม้ตรีเป็น
เสียงตรี และผันด้วยไมจ้ ัตวา เปน็ เสียงจัตวา
- คําตาย ผันวรรณยุกต์ได้ ๓ รูป ๔ เสียง เรม่ิ ด้วยเสยี งเอก เชน่ อะ อ้ะ อ๊ะ อะ๋
คาํ “อะ” เสียงเอกไมม่ รี ูปวรรณยกุ ต์
๒. คาํ ทมี่ พี ยัญชนะต้นเปน็ อกั ษรสงู ผนั เสียงวรรณยกุ ตไ์ ด้ดังน้ี
- คาํ เปน็ ผันวรรณยุกตไ์ ด้ ๒ รปู ๓ เสยี ง ขนั ขน่ั ขั้น พนื้ เสยี งเปน็ เสียงจตั วา ผัน
ดว้ ยไมเ้ อก เปน็ เสียงเอก ผนั ด้วยไม้โทเปน็ เสียงโท
- คาํ ตาย ผนั วรรณยุกต์ได้ ๑ รปู ๒ เสียง ขะ ข้ะ พืน้ เสยี งเปน็ เสียงเอก ผนั ดว้ ยไม้โท
เป็นเสียงโท
๓. คําทีม่ พี ยัญชนะตน้ เป็นอักษรตํ่า ผันเสยี งวรรณยกุ ตไ์ ด้ดงั น้ี
- คําเปน็ ผนั วรรณยุกตไ์ ด้ ๒ รูป ๓ เสียง คาน คา่ น คา้ น พนื้ เสียงเปน็ เสียงสามญั
ผนั ดว้ ยไมเ้ อก เป็นเสียงโท ผนั ดว้ ยไมโ้ ทเป็นเสยี งตรี
- คาํ ตาย สระเสยี งยาว ผันได้ ๒ รูป ๓ เสียง คาด ค้าด คา๋ ด พื้นเสยี งเป็นเสียงโท
ผนั ดว้ ยไมโ้ ทเป็นเสียงตรี ผันด้วยไม้จตั วา เปน็ เสียงจัตวา
- คาํ ตาย สระเสยี งสน้ั ผนั ได้ ๒ รปู ๓ เสยี ง คะ ค่ะ คะ๋ พื้นเสยี งเป็นเสียงตรี ผันด้วย
ไม้เอกเปน็ เสียงโท ผันด้วยไม้จัตวาเป็นเสียงจัตวา
- อักษรคู่ ถา้ ผันเสียงคกู่ ับอกั ษรสูงจะสามารถผันได้ครบ ๕ เสยี ง เช่น คา ข่า คา่ -ข้า
ค้า ขา
- อกั ษรเด่ยี ว เมอื่ มี “ห” หรอื อักษรสงู หรอื อกั ษรกลางมานําจะผนั เสียงไดต้ าม
อกั ษรที่นํา เช่น หนา หน่า หน้า หรือคาํ ว่า “ตลาด” จะอา่ นว่า “ตะ-หลาด” ไมใ่ ช่ “ตะ-ลาด” เป็นตน้
๔.๒ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Process)
ทกั ษะการผนั วรรณยุกต์
๔.๓ ด้านเจตคติ (Attitude)
เห็นความสําคญั ของการเรยี นผันวรรณยกุ ต์
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ชวั่ โมงแรก
ข้ันนํา (๑๐ นาท)ี
๑. นกั เรยี นทบทวนอักษร ๓ หมู่ บนบัตรก้อนเมฆและเม็ดฝน โดยการท่องข้อความ
ชว่ ยจําอกั ษร ๓ หมู่
ขนั้ สอน (๔๐ นาที)
๑. ครอู ธบิ ายหลกั การผันวรรณยุกตอ์ กั ษรกลาง โดยใชแ้ ผนภูมิประกอบ
๒. นกั เรียนทํากิจกรรม “จับ ผัน วรรณยุกต์ กลาง” โดยมีขน้ั ตอน ดังน้ี
- นักเรียนจบั สลากพยญั ชนะขน้ึ มา ๑ ตัว แลว้ ผนั วรรณยุกตต์ ามที่กําหนด
บ สระเสียงยาว
มาตราแม่กน
ด้านหน้า ด้านหลัง
๓. ครอู ธิบายหลักการผันวรรณยุกต์อักษรสูง โดยใชแ้ ผนภมู ิประกอบ
๔. นกั เรยี นทาํ กจิ กรรม “จับ ผัน วรรณยกุ ต์ สงู ” โดยมขี น้ั ตอนเชน่ เดยี วกบั กจิ กรรม
“จับ ผัน วรรณยุกต์ กลาง” แต่เปลีย่ นพยัญชนะและข้อกําหนดเปน็ ของอักษรสงู
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
นกั เรยี นรว่ มกันสรุปหลกั การผนั วรรณยุกตอ์ ักษรกลางและอักษรสูง
โดยตอบคาํ ถาม ดงั นี้
- อักษรกลางและอักษรสูงมีหลักการผันวรรณยุกต์อยา่ งไร (แนวคาํ ตอบ:
อกั ษรกลาง - คาํ เปน็ ผันวรรณยุกตไ์ ด้ครบ ๔ รปู ๕ เสยี ง พน้ื เสียงเป็นเสยี งสามญั ผนั ดว้ ยไม้เอก เป็นเสียงเอก
ผันดว้ ยไม้โท เปน็ เสยี งโท ผันดว้ ยไม้ตรีเปน็ เสียงตรี และผันดว้ ยไม้จตั วาเป็นเสียงจัตวา - คําตาย ผันวรรณยุกต์
ได้ ๓ รปู ๔ เสียง เสียงเอกไมม่ รี ูปวรรณยุกต์, อักษรสูง - คําเป็น ผันวรรณยุกต์ได้ ๒ รูป ๓ เสียง พื้นเสียงเป็น
เสยี งจัตวา ผันด้วยไมเ้ อก เป็นเสยี งเอก ผันด้วยไม้โทเป็นเสียงโท - คําตาย ผนั วรรณยุกต์ได้ ๑ รูป ๒ เสียง พ้ืน
เสยี งเปน็ เสยี งเอก ผันด้วยไม้โท เปน็ เสยี งโท)
- นกั เรยี นทําแบบทดสอบเรื่อง สงั สรรค์ วรรณยกุ ต์ ตอนที่ ๑ และ ๒
ช่วั โมงแรก
ข้นั นํา (๑๐ นาท)ี
๑. นักเรียนทบทวนอักษร ๓ หมู่ โดยท่องจําข้อความช่วยจําพยัญชนะอักษรต่ํา
จํานวน ๓ รอบ
๒. ครอู ธิบายหลักการผนั วรรณยกุ ตอ์ กั ษรตํา่ โดยใช้แผนภมู ปิ ระกอบ
๓. นกั เรียนทํากจิ กรรม “จบั ผนั วรรณยุกต์ ตํ่า” โดยมีขัน้ ตอนเช่นเดียวกับกจิ กรรม
“จบั ผัน วรรณยุกต์ กลาง” แตเ่ ปลย่ี นพยัญชนะและขอ้ กาํ หนดเปน็ ของอักษรตํา่
๔. นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ หลักการผันวรรณยกุ ตอ์ กั ษรตํา่ โดยตอบคําถาม ดงั น้ี
- อักษรต่ํามหี ลักการผนั วรรณยุกตอ์ ย่างไร (แนวคาํ ตอบ: อักษรต่า
- คาํ เปน็ ผนั วรรณยกุ ตไ์ ด้ ๒ รูป ๓ เสยี ง พื้นเสยี งเปน็ เสียงสามัญ ผันด้วยไม้เอก เป็นเสียงโท ผันด้วยไม้โทเป็น
เสียงตรี - คําตาย สระเสียงยาว ผันได้ ๒ รูป ๓ เสียง พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันด้วยไม้โท เป็นเสียงตรี ผันด้วย
ไม้จัตวา เป็นเสียงจัตวา - คําตาย สระเสียงสั้น ผันได้ ๒ รูป ๓ เสียง พื้นเสียงเป็นเสียงตรี ผันด้วยไม้เอก เป็น
เสยี งโท ผนั ด้วยไม้จตั วา เปน็ เสยี งจตั วา - อักษรคู่ ถา้ ผนั เสียงคกู่ ับอกั ษรสงู จะสามารถผนั ไดค้ รบ ๕ เสียง
- อักษรเดีย่ ว เม่อื มี “ห” หรอื อกั ษรสูง หรืออกั ษรกลางมานําจะผันเสยี งไดต้ ามอักษรที่นาํ )
ข้ันสรปุ (๑๐ นาท)ี
นักเรยี นร่วมกันตอบคาํ ถาม ดังน้ี
- การเรียนผันวรรณยกุ ตม์ คี วามสาํ คัญอยา่ งไร (แนวคําตอบ: ตามเจตคติ
ของนักเรียน)
- นกั เรียนทําแบบทดสอบเร่ือง สังสรรค์ วรรณยกุ ต์ ตอนที่ ๓
๖. ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
๖.๑ บัตรกอ้ นเมฆและเม็ดฝนพยญั ชนะ
๖.๒ บตั รคําพยญั ชนะและขอ้ กาํ หนด
๖.๓ แผนภมู กิ ารผนั วรรณยุกต์
๗. การวดั และประเมนิ ผล วิธกี ารวัด เครอื่ งมอื ท่ีใช้วดั เกณฑ์ผ่าน
ส่ิงท่จี ะวัด ตรวจแบบทดสอบเรื่อง แบบตรวจแบบทดสอบ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
สังสรรค์ วรรณยุกต์ เร่ือง สงั สรรค์ วรรณยุกต์
๑. บอกหลักการผันเสียงวรรณยกุ ต์ ๗๐ ขนึ้ ไป
อกั ษร ๓ หมู่ (K)
๒. ผนั วรรณยกุ ต์อักษร ๓ หมู่ (P) สังเกตพฤติกรรมการผัน แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ไดค้ ะแนนร้อยละ
วรรณยกุ ต์ ผันวรรณยุกต์ ๗๐ ขึ้นไป
๓. เหน็ ความสําคัญของการเรียนผนั
วรรณยุกต์ (A) สงั เกตพฤติกรรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ในระดบั
ตอบคาํ ถาม ตอบคาํ ถาม ดี ขึ้นไป
๘. บนั ทึกผลการจัดการเรียนรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจดั การเรยี นรู้
ในการจดั การเรียนร้จู รงิ ครูไดป้ รบั เปลย่ี นเรื่องงเวลาในแตล่ ะขัน้ ตอนการสอน เนื่องจาก
นักเรียนยังไม่ค่อยเขข้าใจหลักการผันวรรณยุกต์ ครูจึงต้องเน้น ซํ้า ย้ํา ทวนการผันวรรณยุกต์และให้นักเรียน
ฝึกผนั วรรณยุกต์หลายคร้ัง การใช้สื่อการเรียนรู้แบบติดกระดานประกอบกับสื่อ PowerPoint ช่วยให้นักเรียน
สามารถเชอื่ มโยงเน้ือหาที่ครอู ธบิ ายมากขน้ึ
๘.๒ ดา้ นพฤติกรรมครู
ครอู ธิบายความรหู้ ลายรอบเพ่ือทบทวนและใหน้ ักเรียนเข้าใจง่ายขน้ึ นอกจากนี้ครยู งั อธิบาย
เพมิ่ เติมและตอบคําถามที่นกั เรยี นสงสัยเปน็ รายบคุ คล
๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนักเรียนและผลการเรยี นรู้
การเน้น ซํา้ ย้ํา ทวนให้นักเรยี นเป็นรายบุคคล ประกอบกับการเรียนการสอนโดยใช้ส่ือติด
กระดานทําให้นกั เรยี นสนใจ และเข้าใจเน้อื หาความร้ไู ด้ดแี ละง่ายข้ึน นักเรยี นทกุ คนต้งั ใจและสนใจเรยี นเปน็ อย่าง
ดี เม่ือมีข้อสงสัย นกั เรียนจะขอใหค้ รูอธิบายให้ฟ๎งเป็นรายบุคคล ทาํ ใหผ้ ลการเรียนรชู้ วั่ โมงน้ีอยูใ่ นระดับ ดีมาก
๘.๔ อปุ สรรค ป๎ญหา และข้อเสนอแนะ
สื่อติดกระดานท่ีใช้ประกอบการสอนไม่ค่อยคงทน แข็งแรง ครูจึงต้องใช้ความระมัดระวังใน
การหยบิ จับมากข้ึน
ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔