The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MiMiie M'meew, 2022-04-28 23:47:04

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2.2

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2.2

แบบบันทกึ ผลการเรยี นรเู้ รอ่ื ง สังสรรค์ วรรณยกุ ต์

ผลการเรยี นรู้

การบอก การผัน เห็นความสาํ คัญ คะแนน
รวม
เลข ชื่อ-สกลุ หลกั การผนั วรรณยกุ ต์อักษร ของการเรียนผนั
ท่ี
เสียงวรรณยุกต์ ๓ หมู่ (P) วรรณยุกต์ (A)

อกั ษร ๓ หมู่ (K)

๒๘ ๓ คุณภาพ ๓๑

๑. เดก็ ชายปณุ ณัตถ์ ใจกลา้ ๒๒ ๓ ดี ๒๕

๒. เดก็ ชายวัชรินทร์ ใจกล้า ๒๓ ๓ ดี ๒๖

๓. เด็กชายจักรพงศ์ ใจกล้า ๑๙ ๒ พอใช้ ๒๑

๔. เดก็ ชายป๎ณพทั ธ์ ใจกล้า ๒๓ ๓ ดี ๑๖

๕. เด็กชายศภุ วิชญ์ บรู ณเ์ จรญิ ๑๕ ๑ พอใช้ ๑๖

๖. เด็กชายพรี ภทั ร ใจกลา้ ๑๙ ๒ ดี ๒๑

๗. เดก็ ชายเมธากุล ใจกล้า ๒๑ ๓ ดี ๑๔

๘. เด็กชายวรเมธ การะเวก ๑๗ ๑ ดี ๑๘

๙. เดก็ ชายประสพโชค วงษ์เกษ ๒๐ ๓ ดี ๒๓

๑๐. เดก็ ชายปวรฒุ น์ เอี้ยงทารัมย์ ๑๙ ๓ ดี ๒๒

๑๑. เดก็ ชายพนั ทวี หุบกระโทก ๑๓ ๑ พอใช้ ๑๔

๑๒. เดก็ ชายตะวนั ศรมณี ๑๔ ๑ พอใช้ ๑๕

๑๓. เดก็ หญงิ ปวเรศ ปากนํ้าเขยี ว ๑๔ ๑ ดี ๑๕

๑๔. เด็กหญงิ สนุ ิตา อินทะเสน ๑๙ ๒ ดี ๒๑

๑๕. เด็กหญงิ กิตยิ า ตือ้ จนั ตา ๑๙ ๓ ดี ๒๒

๑๖. เด็กหญิงญาโณทยั นามวิชยั ๒๐ ๓ ดี ๒๓

๑๗. เดก็ หญงิ ปราณณชิ า สดุ ใจ ๑๘ ๒ ดี ๒๐

๑๘. เดก็ หญิงธิติมา ทองดี ๒๓ ๓ ดี ๒๖

๑๙. เดก็ หญิงรุ่งนภา ผวิ สุข ๒๒ ๓ ดี ๒๕

๒๐. เด็กหญิงนปภา อนิ ทร์งาม ๑๘ ๓ ดี ๒๑

๒๑. เดก็ หญงิ สุภัสสร การเพียร ๑๕ ๒ พอใช้ ๑๗

๒๒. เดก็ หญงิ ปนัดดา ล้อประโคน ๑๙ ๓ ดี ๒๒

๒๓. เด็กหญงิ สมุ ชั ญา อนิ ใส ๑๘ ๓ ดี ๒๑

ผลการเรยี นรู้

การบอก การผัน เหน็ ความสําคัญ คะแนน
รวม
เลข ช่อื -สกลุ หลกั การผัน วรรณยุกต์อักษร ของการเรยี นผนั
ที่ เสียงวรรณยกุ ต์ ๓ หมู่ (P) วรรณยกุ ต์ (A) ๓๑
๒๒
อักษร ๓ หมู่ (K) ๑๕
๒๒
๒๘ ๓ คุณภาพ

๒๔. เดก็ หญงิ ศิริสมพร มะลิซอ้ น ๑๙ ๓ ดี

๒๕. เด็กหญงิ กนกวรรณ บางแสงอ่อน ๑๔ ๑ พอใช้

๒๖. เด็กหญิงวิไลวรรณ ไพรทอง ๑๙ ๓ ดี

ชื่อ…………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

แบบตรวจแบบทดสอบเร่ือง สงั สรรค์ วรรณยุกต์

๑. แบบตรวจการบอกหลักการผนั เสียงวรรณยุกต์อกั ษร ๓ หมู่

อกั ษรกลาง

๑. คาํ ทม่ี พี ยัญชนะตน้ เปน็ อักษรกลาง ผันเสียงวรรณยุกต์ได้ดงั น้ี

- คําเป็น ผันวรรณยุกต์ได้ครบ ๔ รูป ๕ เสียง รูปและเสียงวรรณยุกต์ตรงกัน เช่น อา อ่า อ้า อ๊า อ๋า พื้น

เสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยไม้เอก เป็นเสียงเอก ผันด้วยไม้โท เป็นเสียงโท ผันด้วยไม้ตรี เป็นเสียงตรี และผัน

ด้วยไม้จตั วา เปน็ เสียงจตั วา

- คําตาย ผนั วรรณยกุ ตไ์ ด้ ๓ รปู ๔ เสยี ง เรม่ิ ดว้ ยเสียงเอก เชน่ อะ อ้ะ อ๊ะ อะ๋

อกั ษรสูง

๑. คาํ ท่ีมพี ยญั ชนะต้นเป็นอกั ษรสงู ผนั เสียงวรรณยุกต์ได้ดงั นี้

- คําเป็น ผันวรรณยุกต์ได้ ๒ รูป ๓ เสียง เช่น ขัน ขั่น ข้ัน พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยไม้เอก เป็น

เสยี งเอก ผนั ดว้ ยไมโ้ ท เปน็ เสียงโท

- คาํ ตาย ผันวรรณยกุ ต์ได้ ๑ รูป ๒ เสียง เชน่ ขะ ขะ้ พน้ื เสียงเป็นเสียงเอก ผนั ดว้ ยไมโ้ ทเปน็ เสียงโท

อักษรต่า

๑. คาํ ที่มพี ยญั ชนะตน้ เปน็ อกั ษรตา่ํ ผนั เสียงวรรณยุกต์ไดด้ งั น้ี

- คําเป็น ผันวรรณยุกต์ได้ ๒ รูป ๓ เสียง เช่น คาน ค่าน ค้าน พ้ืนเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยไม้เอก

เป็นเสยี งโท ผันด้วยไม้โท เปน็ เสยี งตรี

- คําตาย สระเสียงยาว ผันได้ ๒ รูป ๓ เสียง เช่น คาด ค้าด ค๋าด พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันด้วยไม้โท เป็น

เสียงตรี ผันด้วยไม้จัตวา เปน็ เสียงจตั วา

- คาํ ตาย สระเสียงสน้ั ผันได้ ๒ รูป ๓ เสียง เช่น คะ ค่ะ ค๋ะ พ้ืนเสียงเป็นเสียงตรี ผันด้วยไม้เอก เป็นเสียง

โท ผันดว้ ยไมจ้ ัตวา เปน็ เสียงจตั วา

- อกั ษรคู่ ถา้ ผันเสยี งคู่กบั อักษรสูงจะสามารถผันไดค้ รบ ๕ เสียง เช่น คา ข่า คา่ -ข้า คา้ ขา

- อักษรเดย่ี ว เม่ือมี “ห” หรอื อกั ษรกลาง หรอื อกั ษรสงู มานําจะผันเสยี งได้ตามอักษรทนี่ ํา เช่น หนา หนา่

หนา้ หรอื คําว่า “ตลาด” จะอ่านวา่ “ตะ-หลาด” ไม่ใช่ “ตะ-ลาด” เป็นต้น

เกณฑ์การให้คะแนน

นกั เรยี นตอบถกู แต่ละตําแหน่ง ไดค้ ะแนน ๑ คะแนน

นกั เรยี นตอบผิดแต่ละตาํ แหน่ง ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน

สงั สรรค์ ผนั วรรณยุกต์

เสยี งวรรณยุกต์ เสียงสามัญ เสยี งเอก เสยี งโท เสยี งตรี เสียงจตั วา
อี
พยางค/์ คา เกา อี่ อ้ี อ๊ี อ๋ี
โป เกา่ เก้า เก๊า เก๋า
อี เต โปุ โปู โปฺ โป฻
เกา เต่ เด้ เต๊ เต๋
โป โง อุ อุ้ อุ๊ อุ๋
เต ราว แปะ แปูะ แปะฺ แปะ฻
อุ เวน จิต จิ้ต จ๊ิต จ๋ติ
แปะ นั่ง ขา่ ง ขา้ ง ขาง
จติ ฉ่ี ฉ้ี ฉี
ขาง ผู่ ผู้ ผู
ฉี เถา่ เถา้ เถา
ผู สาด สา้ ด
เถา หก ห้ก
สาด โง่
หก รา่ ว โง้
โง เว่น ร้าว
ราว นง่ั เว้น
เวน โนด นง้ั
นัง โน้ด โนด๋
โนด

เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรียนรู้ของนักเรยี น

รายการประเมิน ๓ คะแนน ๑
การผันวรรณยุกต์ ผันวรรณยกุ ต์ถกู ๑๓-๑๘ ๒ ผันวรรณยกุ ตถ์ กู ๑-๖ คาํ

การเหน็ ความสําคัญของการ คําขึ้นไป ผันวรรณยกุ ตถ์ กู ๗-๑๒ บอกความสําคัญของการ
เรยี นผนั วรรณยกุ ต์ บอกความสําคญั ของการ คาํ เรยี นผนั วรรณยุกต์ได้น้อย
เรยี นผนั วรรณยกุ ต์ได้ ๓
บอกความสําคญั ของการ กว่า ๒ ขอ้
ขอ้ ข้นึ ไป เรียนผนั วรรณยุกต์
ได้ ๒-๓ ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ระดบั คุณภาพ

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรปรบั ปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ ปลอดภยั ไวก้ อ่ น เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๖/๘ เรอื่ ง ตง้ั ตอบให้ดี อยา่ งมเี หตผุ ล ผ้สู อน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรยี นวัดบา้ นไพบลู ย์ เวลา ๐๙.๓๐ น.-๑๐.๓๐ น.
สอนวนั ท่ี ๒๒ เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. มาตรฐานและตวั ช้ีวัด
สาระท่ี ๓ การฟ๎ง การดู และการพดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ
ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

ตัวชีว้ ดั ท ๓.๑ ป.๕/๒ ตง้ั คําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองท่ีฟง๎ และดู
ท ๓.๑ ป.๕/๖ มีมารยาทในการฟง๎ การดู และการพูด

๒. สาระสาคญั
การตั้งคาํ ถามเชิงเหตุผลจากเรอื่ งท่ีฟง๎ และดู เป็นการตง้ั คําถามและตอบคําถามจากเรื่องที่ฟ๎งและดู

ซงึ่ เปน็ วธิ กี ารหนง่ึ ท่ีทําให้สามารถจับประเด็นและวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของเร่ืองท่ีฟ๎งและดูได้ นักเรียนควร
เรยี นรู้หลักการต้ังคําถามและตอบคําถามจากเร่ืองท่ีฟ๎งและดูให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพ่ือให้นักเรียนสามารถจับ
ประเดน็ สาํ คญั และวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของเรอ่ื งท่ีฟ๎งและดใู นชวี ติ ประจาํ วนั ได้
๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

เมอื่ นักเรยี นไดเ้ รียนเรอ่ื ง “ตงั้ ตอบให้ดี อย่างมีเหตุผล” แล้วนักเรยี นสามารถ
๑. บอกแนวทางการต้งั คําถามและตอบคาํ ถามเชงิ เหตุผลจากเรื่องที่ฟ๎งและดูได้ (K)
๒. ตงั้ คาํ ถามและตอบคาํ ถามเชงิ เหตผุ ลจากเร่ืองท่ีฟง๎ และดูได้ (P)
๓. มมี ารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด (A)

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
ความหมาย
การตั้งคําถามเชิงเหตุผลจากเรอื่ งท่ีฟ๎งและดู เป็นการตั้งคําถามและตอบคําถามจากเรื่องท่ีฟ๎ง

และดซู ึง่ เป็นวิธีการหนึ่งท่ที าํ ให้สามารถจบั ประเดน็ และวเิ คราะห์ความนา่ เช่อื ถือของเรื่องทีฟ่ ง๎ และดูได้
การตัง้ คําถาม
การต้งั คําถาม เปน็ การพดู หรอื การเขยี นสง่ิ ทต่ี ้องการรหู้ รอื สิ่งท่ีสงสัยซึ่งสามารถต้ังคาํ ถามได้

จากการอ่าน การฟ๎ง และการดู
แนวทางการตง้ั คาํ ถามเชิงเหตุผล
๑. ต้งั ใจฟ๎งและทาํ ความเข้าใจกับเรื่อง

๒. หาสาระสําคญั ของเรอื่ ง
๓. กาํ หนดสิง่ ทีต่ อ้ งการรหู้ รือสิง่ ที่สงสัย
๔. พดู หรือเขียนคาํ ถาม เชน่ อะไร ทาไม อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
๕. ใชภ้ าษาท่ีเข้าใจง่าย ไม่วกวน ซับซอ้ น เพ่ือให้คําถามมคี วามชัดเจน
๖. ไม่ควรถามหลายเร่ืองหรือหลายประเด็น เพราะจะทําให้ผู้ตอบลืมคําถามหรือตอบยาว
เกินไปหรอื ไม่ต้องการตอบ
แนวทางการตอบคําถาม
๑. อ่านคําถามใหเ้ ขา้ ใจ
๒. ตอบใหต้ รงกบั ประเดน็ คําถาม ไมอ่ อ้ มค้อม วกวนหรอื ตอบยาวเกินไป
๓. ตอบให้ครบทกุ ประเด็นคําถาม
๔. ใช้คาํ เชอื่ ม เพราะ เนื่องจาก จึง ดังน้ัน เพื่อระบุตน้ เหตุของเรือ่ งราวและผลของเรื่องราว
๕. เรียบเรียงด้วยภาษาที่เข้าใจงา่ ยและเปน็ สํานวนภาษาของตนเอง
๖. พูดหรอื เขยี นคําตอบออกมาอย่างสละสลวย
๔.๒ ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Process)
ทกั ษะการตั้งคาํ ถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตผุ ล
๔.๓ ด้านเจตคติ (Attitude)
มารยาทในการฟ๎ง และการพูด

- ต้ังใจฟง๎ ตามองผู้พดู
- ไมร่ บกวนผู้อน่ื ขณะทีฟ่ ๎ง
- ใหเ้ กยี รติผู้พูดดว้ ยการปรบมอื
- ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะทีฟ่ ๎ง
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ข้ันนํา (๑๐ นาท)ี
๑. นักเรียนทํากิจกรรม “ตัง้ คําถาม ตามใจคดิ ” มขี นั้ ตอน ดงั นี้
- ครูนาํ เสนอภาพนิทานเร่อื งราพนั เซล ๑ ภาพ
- นักเรียนพิจารณาภาพทค่ี รูนาํ เสนอ
- นกั เรียนตั้งคาํ ถามเก่ียวกบั ภาพคนละ ๑ คาํ ถาม แล้วออกมาเขยี นบนกระดาน
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๑. ครอู ธบิ ายแนวทางการตง้ั คําถามเชิงเหตุผล โดยใช้แถบข้อความตดิ กระดาน
๒. นกั เรยี นดูวดี ิทัศนน์ ทิ านเร่ือง ราพันเซล
๓. นักเรยี นทบทวนความรูเ้ กย่ี วกบั แนวทางการตัง้ คําถามเชิงเหตผุ ลโดยการทํากจิ กรรม “จบั
เรียง” ซึ่งมขี ัน้ ตอน ดงั น้ี

- ครูแจกแถบข้อความเกี่ยวกับแนวทางการต้ังคําถามเชิงเหตุผลให้นักเรียนคนละ ๑
แถบข้อความ

- นักเรียนแต่ละคนนําแถบข้อความท่ีได้รับมาจัดเรียงร่วมกันกับเพ่ือนให้ถูกต้อง
ตามลําดับ

๓. นกั เรียนดูตัวอย่างการตั้งคําถามเชิงเหตุผลเก่ียวกับเรื่องราพันเซลท่ีครูติดแถบข้อความไว้
บนกระดานดาํ

ทาไมแม่มดไม่อนุญาตใหร้ าพนั เซลลงจากหอคอย

เพราะเหตุใด ราพันเซลจึงยอมปลอ่ ยเส้นผมลงมาเพอ่ื ใหเ้ จ้าชายขึ้นไปหาเธอได้

๕. นักเรยี นปรบั เปล่ียนคําถามในกจิ กรรม “ตงั้ คําถาม ตามใจคิด” ให้เปน็ คาํ ถามเชงิ เหตุผล
๖. ครูอธบิ ายแนวทางการตอบคําถามเชิงเหตผุ ล โดยใชแ้ ถบข้อความตดิ กระดาน
๗. นักเรยี นทบทวนความรเู้ กยี่ วกับแนวทางการตงั้ คําถามเชงิ เหตผุ ลโดยการทํากจิ กรรม “จับ
เรียง” ซง่ึ มขี ั้นตอน ดงั นี้

- ครูแจกแถบข้อความเกี่ยวกับแนวทางการตอบคําถามเชิงเหตุผลให้นักเรียนคนละ
๑ แถบขอ้ ความ

- นักเรียนแต่ละคนนําแถบข้อความท่ีได้รับมาจัดเรียงร่วมกันกับเพ่ือนให้ถูกต้อง
ตามลาํ ดับ

๘. นักเรียนดูตัวอย่างการตอบคําถามเชิงเหตุผลเก่ียวกับเรื่องราพันเซลที่ครูติดแถบข้อความ
ไวบ้ นกระดานดาํ

เพราะแม่มดตอ้ งการปกปอ้ งราพันเซลจากความช่ัวร้ายในโลกใบนี้

เพราะเจา้ ชายกับราพันเซลเปน็ เพือ่ นกนั และเจา้ ชายไม่ได้มาทารา้ ยราพนั เซล

๙. นกั เรียนทําแบบฝึกหัดเรื่อง ต้งั ตอบใหด้ ี อย่างมีเหตุผลจากการจบั สลากเลือกเร่อื ง ๑
เรอ่ื ง

ขนั้ สรุป (๑๐ นาที)
นักเรียนร่วมกับสรุปแนวการต้ังคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองท่ีฟ๎งและดู โดย

ตอบคาํ ถามดงั น้ี
- แนวทางการต้ังคําถามเชิงเหตุผลมีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ: ๑. ต้ังใจฟ๎งและทํา

ความเข้าใจกับเร่ือง, ๒. หาสาระสําคัญของเรื่อง, ๓. กําหนดส่ิงท่ีต้องการรู้หรือส่ิงท่ีสงสัย, ๔. พูดหรือเขียน
คําถาม เช่น อะไร ทาไม อย่างไร เพราะเหตุใด, ๕. ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ไม่วกวน ซับซ้อน เพ่ือให้คําถามมี

ความชัดเจน, ๖. ไม่ควรถามหลายเร่ืองหรือหลายประเด็น เพราะจะทําให้ผู้ตอบลืมคําถามหรือตอบยาวเกินไป

หรอื ไมต่ อ้ งการตอบ)

- แนวทางการตอบคําถามเชิงเหตุผลมีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ: ๑. อ่านคําถามให้

เข้าใจ, ๒. ตอบให้ตรงกับประเด็นคําถาม ไม่อ้อมค้อม วกวนหรือตอบยาวเกินไป, ๓. ตอบให้ครบทุกประเด็น

คาํ ถาม, ๔. ใชค้ าํ เชอ่ื ม เพราะ เนอื่ งจาก จึง ดังนน้ั เพื่อระบุต้นเหตขุ องเรือ่ งราวและผลของเรื่องราว, ๕. เรียบ

เรียงดว้ ยภาษาที่เขา้ ใจงา่ ยและเปน็ สาํ นวนภาษาของตนเอง, ๖. พดู หรือเขยี นคาํ ตอบออกมาอยา่ งสละสลวย)

๖. สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้

๖.๑ ภาพประกอบเร่ือง ราพันเซล

๖.๒ วีดิทัศนน์ ทิ านเร่ือง ราพันเซล

๖.๓ แถบข้อความเรอ่ื ง การตั้งคาํ ถามเชิงเหตุผลจากเรือ่ งท่ีฟ๎งและดู

๗. การวดั และประเมนิ ผล

สิง่ ที่จะวดั วิธกี ารวัด เคร่ืองมือท่ใี ช้วดั เกณฑผ์ ่าน

๑. บอกแนวทางการตั้งคําถาม สังเกตพฤตกิ รรมการตอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ

และตอบคําถามเชิงเหตุผลจาก คําถาม ตอบคําถาม ๗๐ ข้ึนไป

เรื่องท่ฟี ๎งและดู (K)

๒. ตัง้ คําถามและตอบคาํ ถามเชิง ตรวจแบบฝกึ หัดเร่ือง ตั้ง แบบตรวจแบบฝึกหัดเรื่อง ได้คะแนนรอ้ ยละ

เหตผุ ลจากเรอื่ งท่ีฟง๎ และดู (P) ตอบให้ดี อย่างมีเหตุผล ตงั้ ตอบให้ดี อยา่ งมเี หตุผล ๗๐ ขน้ึ ไป

๓. มีมารยาทในการฟง๎ การดู สังเกตพฤตกิ รรมการฟง๎ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ในระดับ ดี

และการพูด (A) การดู และการพูด ฟ๎ง การดู และการพูด ข้ึนไป

๘. บนั ทกึ ผลการจัดการเรยี นรู้

๘.๑ ด้านการวางแผนการจดั การเรยี นรู้

ในการจดั การเรียนรูจ้ รงิ ครไู ด้ปรับเปลี่ยนขน้ั ตอนการสอน เนอื่ งจากเสียเวลาในตอนตน้ คาบ

ไปในการทํากิจกรรมของโรงเรียน ดังน้ัน ครูจึงให้นักเรียนต้ังคําถามและตอบคําถามจากวีดิทัศน์ท่ีดูในขั้นนํา

เพ่ือกระชบั เวลา และให้นักเรยี นเขยี นคาํ ถามบนกระดานและตอบคาํ ถามของตนเองโดยการพดู เปน็ รายบุคคล

๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู

ครอู ธบิ ายความรูห้ ลายรอบ และยกตัวอย่าง เพ่ือให้นกั เรียนเขา้ ใจงา่ ยขน้ึ นอกจากนีค้ รูยัง

อธิบายเพิม่ เติมและตอบคาํ ถามที่นกั เรยี นสงสยั เป็นรายบุคคล

๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนักเรียนและผลการเรยี นรู้

การมอบหมายใหน้ ักเรียนแต่ละคนได้มสี ่วนรว่ มในการทํากิจกรรมทาํ ให้นักเรยี นได้ใชท้ ักษะและ

ความสามารถของตนเอง และทําใหค้ รวู ัดและประเมินผลการเรยี นรู้ได้งา่ ยขึ้น เพื่อจะไดแ้ นะนํา และอธิบายความรู้

เพม่ิ เติมเปน็ รายบุคคลไดง้ ่ายข้นึ

๘.๔ อุปสรรค ปญ๎ หา และข้อเสนอแนะ
ส่อื โทรทศั น์มปี ๎ญหาเรอื่ งสียง ทาํ ให้นักเรียนฟ๎งเสียงวีดิทัศน์ไม่ค่อยค่อยเข้าใจ แต่นักเรียนพอ

มีความรูเ้ ดิมเกี่ยวกับนิทานท่ีดูจึงทําให้นักเรียนพอเข้าใจเร่ืองราว ดังน้ันครูควรหาลําโพงมาเช่ือมต่อ เพ่ือให้ได้
ยนิ เสยี งปกติและชัดเจน

ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔

แบบฝกึ หดั เร่ือง
ตงั้ ตอบใหด้ ี อย่างมีเหตผุ ล

ชือ่ ___________________________________________ชนั้ __________ เลขท_ี่ ___________

ตอนที่ ๑ ตั้งตอบใหด้ อี ยา่ งมีเหตุผล
คาชี้แจง ให้นกั เรียนตั้งใจฟง๎ เร่ือง แมวกับรองเทา้ บูท แล้วตั้งคําถามเชิงเหตผุ ลเก่ยี วกับเร่ืองท่ีฟง๎
๓ คาํ ถาม พรอ้ มท้งั ตอบคําถามเชิงเหตุผลของคาํ ถามทีต่ งั้ น้นั ใหถ้ กู ต้อง

คาํ ถามที่ ๑ ______________________________________________________________
คําตอบที่ ๑______________________________________________________________
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________

คาํ ถามท่ี ๒______________________________________________________________
คาํ ตอบท่ี ๒______________________________________________________________
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________

คําถามที่ ๓______________________________________________________________
คาํ ตอบท่ี ๓______________________________________________________________
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________

แบบบันทึกผลการเรยี นรู้เร่ือง ตงั้ ตอบให้ดี อย่างมเี หตผุ ล
ผลการเรยี นรู้

เลขท่ี ชอ่ื -สกลุ
การบอกแนวทางการ คะแนน
ตั้งคําถามและตอบ รวม
คําถามเชิงเห ุตผลจาก
เรื่องที่ ๎ฟงและ ูด (K)
การ ้ตัง ํคาถามและตอบ
คําถามเ ิชงเหตุผลจาก
เรื่องที่ ๎ฟงและ ูด (P))
ีมมารยาทในการ ๎ฟง
การดู และการ ูพด (A)

๖ ๖ คุณภาพ ๑๒

๑. เดก็ ชายปุณณตั ถ์ ใจกลา้ ๕ ๕ ดี ๑๐

๒. เด็กชายวชั รนิ ทร์ ใจกลา้ ๕ ๕ ดี ๑๐

๓. เด็กชายจักรพงศ์ ใจกล้า ๕ ๕ พอใช้ ๑๐

๔. เด็กชายป๎ณพทั ธ์ ใจกลา้ ๕ ๕ ดี ๑๐

๕. เดก็ ชายศภุ วชิ ญ์ บรู ณเ์ จริญ ๓ ๔ พอใช้ ๗

๖. เด็กชายพรี ภัทร ใจกล้า ๔ ๔ ดี ๘

๗. เด็กชายเมธากลุ ใจกลา้ ๕ ๕ ดี ๑๐

๘. เด็กชายวรเมธ การะเวก ๔ ๔ ดี ๘

๙. เด็กชายประสพโชค วงษเ์ กษ ๕ ๕ ดี ๑๐

๑๐. เด็กชายปวรุฒน์ เอี้ยงทารมั ย์ ๔ ๕ ดี ๙

๑๑. เด็กชายพันทวี หุบกระโทก ๒ ๓ พอใช้ ๕

๑๒. เดก็ ชายตะวัน ศรมณี ๓ ๓ พอใช้ ๖

๑๓. เด็กหญิงปวเรศ ปากนํ้าเขียว ๓ ๔ ดี ๗

๑๔. เดก็ หญงิ สนุ ิตา อนิ ทะเสน ๔ ๕ ดี ๙

๑๕. เดก็ หญิงกิตยิ า ต้ือจันตา ๕ ๕ ดี ๑๐

๑๖. เด็กหญิงญาโณทยั นามวิชยั ๔ ๔ ดี ๘

๑๗. เดก็ หญงิ ปราณณชิ า สุดใจ ๓ ๔ ดี ๗

๑๘. เด็กหญงิ ธิติมา ทองดี ๕ ๕ ดี ๑๐

๑๙. เดก็ หญงิ ร่งุ นภา ผวิ สขุ ๕ ๕ ดี ๑๐

๒๐. เดก็ หญิงนปภา อนิ ทร์งาม ๔ ๔ ดี ๘

๒๑. เด็กหญงิ สภุ ัสสร การเพยี ร ๓ ๔ พอใช้ ๗

๒๒. เด็กหญิงปนดั ดา ล้อประโคน ๕ ๕ ดี ๑๐

๒๓. เดก็ หญิงสุมัชญา อินใส ๕ ๕ ดี ๑๐

๒๔. เด็กหญิงศริ สิ มพร มะลซิ ้อน ๕ ๕ ดี ๑๐

ผลการเรียนรู้

เลขท่ี ชอื่ -สกลุ การบอกแนวทางการ คะแนน
ตั้งคําถามและตอบ รวม
๒๕. เด็กหญิงกนกวรรณ บางแสงออ่ น คําถามเชิงเหตุผลจาก
๒๖. เดก็ หญิงวไิ ลวรรณ ไพรทอง เรื่องที่ ๎ฟงและดู (K)
การ ้ตัง ํคาถามและตอบ
คําถามเ ิชงเห ุตผลจาก
เรื่องที่ ๎ฟงและดู (P))
ีมมารยาทในการ ๎ฟง
การดู และการ ูพด (A)

๖ ๖ คุณภาพ ๑๒
๓ ๓ พอใช้ ๖
๕ ๕ ดี ๑๐

ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

เกณฑ์การให้คะแนนผลการเรยี นรู้ของนกั เรยี น

รายการประเมนิ ๓ คะแนน ๑
๒ แนวทางการตงั้
แนวทางการตั้งคาถามเชิงเหตุผล บอกแนวทางการ คาํ ถามเชิงเหตุผล
แนวทางการตั้ง ไดน้ ้อยกว่า ๓
(๑. ต้ังใจฟ๎งและทําความเข้าใจกับเร่ือง, ๒. หาสาระสําคัญ ต้ังคาํ ถามเชิงเหตุ คําถามเชิงเหตุผล
ได้ ๓-๔ แนวทาง แนวทาง
ของเร่ือง, ๓. กําหนดสิ่งท่ีต้องการรู้หรือส่ิงที่สงสัย, ๔. พูด ผลได้ ๕-๖
แนวทางการตอบ แนวทางการตอบ
หรือเขียนคําถาม เช่น อะไร ทาไม อย่างไร เพราะเหตุใด, แนวทาง คาํ ถามเชงิ เหตผุ ล คาํ ถามเชงิ เหตุผล
ได้ ๓-๔ แนวทาง ได้นอ้ ยกวา่ ๓
๕. ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ไม่วกวน ซับซ้อน เพื่อให้คําถามมี
- ใชค้ ําถาม อะไร แนวทาง
ความชัดเจน, ๖. ไม่ควรถามหลายเร่ืองหรือหลายประเด็น ทาไม อยา่ งไร
เพราะเหตุใด - ใช้คาํ ถาม อะไร
เพราะจะทําให้ผู้ตอบลืมคําถามหรือตอบยาวเกินไปหรือไม่ - คําถามยงั ไม่ค่อย ทาไม อยา่ งไร
สอดคล้องกับเรื่อง เพราะเหตใุ ด
ตอ้ งการตอบ) - คําถามไม่
ท่ฟี ๎งและดู สอดคล้องกบั เร่ือง
แนวทางการตอบคาถามเชงิ เหตุผล บอกแนวทางการ - ใชภ้ าษายังไม่
คอ่ ยเหมาะสม ที่ฟง๎ และดู
(๑. อ่านคําถามให้เข้าใจ, ๒. ตอบให้ตรงกับประเด็นคําถาม ตอบคําถามเชิงเหตุ และไมค่ ่อยชดั เจน - ใชภ้ าษาไม่
- ตอบยังไม่คอ่ ย เหมาะสม และไม่
ไม่อ้อมค้อม วกวนหรือตอบยาวเกินไป, ๓. ตอบให้ครบทุก ผลได้ ๕-๖
ตรงคําถาม ชดั เจน
ประเด็นคําถาม, ๔. ใช้คําเช่ือม เพราะ เน่ืองจาก จึง ดังนั้น แนวทาง - บอกเหตุและผล - ตอบยงั ไม่ตรง
ยงั ไม่ค่อยชดั เจน
เพื่อระบุต้นเหตุของเร่ืองราวและผลของเร่ืองราว, ๕. เรียบ - ใช้คําเช่อื มยังไม่ คําถาม
- บอกเหตุและผล
เรียงด้วยภาษาท่ีเข้าใจง่ายและเป็นสํานวนภาษาของตนเอง,
ไมช่ ัดเจน
๖. พูดหรือเขียนคําตอบออกมาอย่างสละสลวย) - ใช้คําเช่ือมยงั ไม่

การตง้ั คาถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองที่ฟังและดู - ใชค้ าํ ถาม อะไร

ทาไม อย่างไร

เพราะเหตใุ ด

- คาํ ถามสอดคลอ้ ง

กบั เรือ่ งทีฟ่ ๎งและดู

- ใช้ภาษาที่

เหมาะสม ชดั เจน

การตอบคาถามเชงิ เหตุผลจากเรือ่ งท่ีฟังและดู - ตอบตรงคําถาม
- บอกเหตแุ ละผล

ชดั เจน
- ใชค้ ําเช่ือม
เหมาะสม

รายการประเมนิ ๓ คะแนน ๑
- ใช้ภาษาที่ ๒ คอ่ ยเหมาะสม
มารยาทในการฟงั การดู และการพูด เหมาะสม เรยี บ
(มารยาทในการฟง๎ เรยี งสละสลวย คอ่ ยเหมาะสม - ใช้ภาษา
- ฟ๎งอย่างต้ังใจ ตามองผู้พูด ไม่คุยหรือเล่นในขณะที่ฟ๎ง - ใชภ้ าษายงั ไม่ เหมาะสมแตเ่ รียบ
- ไมแ่ สดงกริ ิยาทไ่ี มเ่ หมาะสม ปฏบิ ตั ิตาม ค่อยเหมาะสมและ เรียงภาษายงั ไม่
- ปรบมือเพื่อเปน็ การใหเ้ กียรตผิ ู้พดู ก่อนท่ีผู้พดู จะพดู และ มารยาทในการฟ๎ง เรียบเรียงยงั ไม่ ค่อยสละสลวย
หลงั จากที่ผู้พูดพดู จบแลว้ การดู และการพูด คอ่ ยสละสลวย
มารยาทในการพูด ครบทกุ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ติ าม ไม่ปฏบิ ตั ิตาม
- เตรียมตัวให้พรอ้ มก่อนท่จี ะพูด มารยาทในการฟ๎ง มารยาทในการฟ๎ง
- ใชน้ า้ํ เสยี งท่นี มุ่ นวล ไม่กระโชกโฮกฮาก และใช้ถอ้ ยคําที่ การดู และการพดู การดู และการพดู
สภุ าพ เหมาะสม ไมเ่ กนิ ๓ ข้อ เกนิ ๓ ข้อปฏิบตั ิ
- พูดเสียงดงั ฟ๎งชัด และมองผู้ฟ๎งอย่างท่วั ถงึ
- กล่าวคําขอโทษเมื่อพูดผดิ และกล่าวคําขอบคณุ เม่ือไดร้ ับ ปฏบิ ตั ิ
การยกย่อง ชมเชย
มารยาทในการดู
- ดดู ว้ ยความต้ังใจ ไม่คยุ เล่นในขณะท่ดี ู
- ไม่ส่งเสยี งดัง หรอื ทาํ ความรําคาญให้กับผู้อืน่
- เมอื่ ตอ้ งเดนิ ผา่ นผูอ้ น่ื ที่กาํ ลังดู ให้เดินอย่างสาํ รวมและ
ระมดั ระวงั มิใหก้ ระทบผู้อื่น)

เกณฑก์ ารประเมนิ

คะแนน ระดบั คณุ ภาพ

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรปรับปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ ปลอดภัยไวก้ ่อน เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๗/๘ เรอ่ื ง กรอกให้ถกู ผู้สอน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรยี นวัดบา้ นไพบูลย์ เวลา ๐๙.๓๐ น.-๑๐.๓๐ น.
สอนวนั ท่ี ๒๓ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวใน

รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมีประสทิ ธิภาพ
ตวั ชีว้ ัด ท ๒.๑ ป.๕/๗ กรอกแบบรายการต่างๆ
ท ๒.๑ ป.๕/๙ มมี ารยาทในการเขียน

๒. สาระการเรยี นรู้
การกรอกแบบรายการ เป็นการเขียนรายละเอียดต่าง ๆ ลงในแบบรายการซึ่งเป็นเอกสารที่จัดขึ้นเพื่อ

นําข้อมูลท่ีกรอกไปใช้งาน นักเรียนควรเรียนรู้หลักการกรอกข้อมูลให้ครบถ้วนและถูกต้อง เพ่ือให้นักเรียน
สามารถกรอกแบบรายการได้อยา่ งถูกต้อง ทําใหไ้ ด้รบั สทิ ธปิ ระโยชนส์ งู สดุ จากการนําข้อมลู ไปใช้งาน
๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

เมอื่ นกั เรียนไดเ้ รียนเรอ่ื ง “กรอกให้ถูก” แล้วนกั เรียนสามารถ
๑. บอกหลกั การกรอกรายการตา่ ง ๆ ได้ (K)
๒. กรอกแบบรายการต่าง ๆ ได้ (P)
๓. ตระหนกั ถึงความสําคญั ของการกรอกแบบรายการอยา่ งถูกต้อง (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
๔.๑ ด้านองค์ความรู้ (Knowledge)
การกรอกแบบรายการ เป็นการเขียนรายละเอียดต่าง ๆ ลงในแบบรายการซึ่งเป็นเอกสารท่ี
จดั ขนึ้

เพ่ือนาํ ขอ้ มลู ทก่ี รอกไปใช้งาน ดังน้ันต้องกรอกขอ้ มูลใหค้ รบถว้ นและถูกต้อง ซ่ึงมขี ้อควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
๑. อ่านแบบฟอร์มใหล้ ะเอียดเพ่อื ทราบแนวทางการกรอกข้อมลู
๒. เขยี นข้อความดว้ ยตนเองใหอ้ า่ นง่าย
๓. เขียนข้อมูลท่ีเป็นจรงิ
๔. เขยี นตัวสะกดใหถ้ กู ตอ้ ง
๕. เขยี นขอ้ มูลทลี ะรายการจนครบ
๖. เขียนรายละเอยี ดเท่าทีจ่ าํ เปน็ เขยี นพอเหมาะกบั ช่องว่างท่ีเว้นไวใ้ ห้

๗. สอบถามเจ้าหนา้ ท่ี หากไมเ่ ขา้ ใจการกรอกบางรายการ
๘. รกั ษาความสะอาด พยายามอยา่ เขียนผิด
๙. เมอื่ กรอกขอ้ มูลสําคญั ผิดพลาด ตอ้ งมีการแก้ไขและลงชอ่ื กาํ กับ
๑๐. อา่ นทบทวนการกรอกแบบรายการเพือ่ สํารวจความถกู ต้องและครบถ้วน
๑๑. ไมท่ ําให้แบบรายการเสียหาย
๔.๒ ด้านทักษะและกระบวนการ (Process)
ทกั ษะการเขยี นกรอกแบบรายการ
๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
ตระหนักถึงความสําคัญของการกรอกแบบรายการอย่างถูกต้อง (A)
๕. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ข้นั นํา (๑๕ นาท)ี
๑. นักเรียนทาํ กิจกรรม “ควรหรือไม่” ซ่งึ มขี ้ันตอน ดังนี้

- ครูแจกตัวอยา่ งการกรอกแบบรายการให้นักเรยี นคนละ ๑ ตวั อยา่ ง
- นักเรยี นพิจารณาตัวอยา่ งการกรอกแบบรายการ
- ครูถามนักเรียนแต่ละคนว่า ตัวอย่างแบบกรอกรายการที่นักเรียนได้รับ เป็น
ตวั อยา่ ง
ทีค่ วรปฏิบตั ติ าม/ไมค่ วรปฏบิ ัติตาม

ขัน้ สอน (๓๕ นาที)
๑. ครูอธิบายหลักการและข้อควรปฏิบัติในการกรอกแบบรายการที่ถูกต้อง โดยใช้แถบ

ข้อความตดิ กระดานดําเรื่อง หลกั การกรอกแบบรายการประกอบ
๒. นักเรียนแต่ละคนเฉลยและอธิบายเหตุผลประกอบเก่ียวกับภาพตัวอย่างการกรอกแบบ

รายการทตี่ นไดร้ บั มอบหมายใหต้ อบคําถาม
๓. นกั เรียนทาํ กิจกรรม “แบบน้ีใช่ หรอื ไม่” ดังน้ี
- ครนู ําเสนอตวั อยา่ งการกรอกแบบรายการจาํ นวน ๓ ตวั อยา่ ง
- นักเรียนพิจารณาการกรอกแบบรายการทีละตัวอย่าง แล้วระบุว่า ตัวอย่างใด

“ใช่” หรอื “ไมใ่ ช่”
- ครูเฉลยทีละตวั อย่างหลงั จากทีน่ ักเรียนระบเุ รียบร้อยแล้ว

๔. นกั เรียนรว่ มกันสรุปหลักการกรอกแบบรายการ โดยตอบคําถามท่ีว่า หลักการกรอกแบบ
รายการมีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ: อ่านแบบรายการเพื่อทราบแนวทางการกรอกข้อมูล, เขียนข้อมูลทีละ
รายการจนครบ, สอบถามเจ้าหน้าที่ หากไม่เข้าใจการกรอกบางรายการ, อ่านทบทวนการกรอกแบบรายการ
เพ่ือสํารวจความถูกต้องและครบถ้วน, เม่ือกรอกข้อมูลสําคัญผิดพลาด ต้องมีการแก้ไขและลงช่ือกํากับ, ควร
เขียนด้วยลายมือที่อ่านงา่ ยและใช้ภาษาท่ถี ูกตอ้ ง ให้ขอ้ มลู ทถ่ี กู ต้อง รวมทัง้ ไม่ทาํ ใหแ้ บบรายการเสยี หาย)

๕. นกั เรยี นทาํ แบบฝกึ หัดเรือ่ ง กรอกใหถ้ ูก

ขนั้ สรุป (๑๐ นาท)ี

นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญของการกรอกแบบรายการอย่าง

ถูกต้อง

๖. สอื่ และแหล่งการเรียนรู้

๖.๑ ภาพตวั อยา่ งการกรอกแบบรายการจาํ นวน ๑๐ ตัวอย่าง

๖.๒ แถบขอ้ ความเรอ่ื ง การกรอกแบบรายการ

๗. การวัดและประเมินผล

สิ่งที่จะวดั วธิ ีการวดั เครือ่ งมอื ท่ใี ช้วัด เกณฑผ์ ่าน

๑. บอกหลักการกรอกรายการตา่ ง ๆ (K) สงั เกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ ไดค้ ะแนนร้อย

ตอบคําถาม คาํ ถาม ละ ๗๐ ข้นึ ไป

๒. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ (P) ตรวจช้นิ งานการกรอก แบบตรวจชิน้ งานการกรอก ไดค้ ะแนนร้อย

แบบรายการ แบบรายการ ละ ๗๐ ขึน้ ไป

๓. ตระหนักถึงความสําคัญของการกรอก สงั เกตพฤตกิ รรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการตอบ ผา่ นเกณฑ์ใน

แบบรายการอยา่ งถกู ต้อง (A) ตอบคําถาม คาํ ถาม ระดับ ดี ขึ้นไป

๘. บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรู้
ครูดาํ เนินกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามที่วางแผนไว้ แตใ่ ช้เวลาเร็วกวา่ ที่กาํ หนดไว้

กิจกรรมการเรยี นเน้นใหน้ ักเรียนฝึกสงั เกตและศึกษาหาความรดู้ ้วยตนเอง ส่วนครอู ธิบายเพิ่มเตมิ ส่วนที่สําคญั
ให้นกั เรียนฟ๎ง

๘.๒ ดา้ นพฤตกิ รรมครู
ครูอธิบายความรู้ และยกตวั อย่าง โดยเนน้ ยกสถานการณต์ ัวอย่างในชวี ติ ประจําวนั เพ่ือให้

นกั เรียนได้เรยี นรู้ เห็นถึงความเหมือน ความแตกต่าง และสิง่ ทถ่ี ูกและผิด ของหลกั การกรอกแบรายการต่าง ๆ
๘.๓ ด้านพฤตกิ รรมนักเรียนและผลการเรียนรู้
นักเรยี นเรียนรหู้ ลักการกรอกแบบรายการด้วยตนเอง โดยการศึกษาตัวอย่างและฟ๎งครู

ยกตวั อย่างสถานการณ์ในชีวติ ประจาํ วัน สง่ ผลใหน้ กั เรียนเกดิ การเรียนรดู้ ว้ ยตน และเข้าใจเนอ้ื หาความรู้มาก
ข้นึ

๘.๔ อุปสรรค ปญ๎ หา และข้อเสนอแนะ
นักเรียนใช้เวลาศกึ ษาหาความรูด้ ้วยตนเองเร็ว เพราะเป็นเร่ืองทีเ่ ข้าใจงา่ ย ครูควรออกแบบ

กิจกรรมให้นักเรยี นได้ใชเ้ วลาทาํ มากกว่า

ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔

แบบฝกึ หัดเร่ือง
กรอกใหถ้ ูก

ชื่อ ___________________________________________ช้นั __________ เลขท_่ี ___________
คาชแ้ี จง ให้นักเรียนกรอกข้อมุลขา้ งลา่ งใหถ้ กู ต้องตามหลกั การทเี่ รียนมา

แบบบันทกึ ผลการเรียนร้เู รือ่ ง กรอกให้ถกู

การบอกหลักการ ผลการเรยี นรู้ การตระหนักถึง คะแนน
กรอกรายการตา่ ง การกรอกแบบ ความสําคญั ของ รวม
รายการต่าง ๆ (P) การกรอกแบบ
ๆ (K) รายการอยา่ ง ๑๒
เลขที่ ชอื่ -สกลุ ๑๒
ถกู ต้อง (A) ๑๒
๑. เด็กชายปณุ ณตั ถ์ ใจกลา้ ๑๐
๒. เด็กชายวชั รนิ ทร์ ใจกลา้ ๓ ๙ คุณภาพ ๑๒
๓. เด็กชายจักรพงศ์ ใจกล้า ๓ ๙ ดี ๗
๔. เด็กชายปณ๎ พัทธ์ ใจกลา้ ๓ ๙ ดี ๑๐
๕. เด็กชายศภุ วชิ ญ์ บรู ณเ์ จรญิ ๒ ๘ พอใช้ ๑๒
๖. เดก็ ชายพรี ภัทร ใจกลา้ ๓ ๙ ดี ๑๐
๗. เดก็ ชายเมธากุล ใจกล้า ๑ ๖ พอใช้ ๑๒
๘. เด็กชายวรเมธ การะเวก ๒ ๘ ดี ๑๑
๙. เดก็ ชายประสพโชค วงษ์เกษ ๓ ๙ ดี ๖
๑๐. เด็กชายปวรฒุ น์ เอยี้ งทารัมย์ ๒ ๘ ดี ๖
๑๑. เด็กชายพนั ทวี หบุ กระโทก ๓ ๙ ดี ๖
๑๒. เดก็ ชายตะวัน ศรมณี ๓ ๘ ดี ๑๐
๑๓. เดก็ หญงิ ปวเรศ ปากน้ําเขยี ว ๑ ๕ พอใช้ ๑๐
๑๔. เดก็ หญงิ สุนติ า อินทะเสน ๑ ๕ พอใช้ ๑๒
๑๕. เดก็ หญงิ กิตยิ า ต้อื จนั ตา ๑ ๕ ดี ๘
๑๖. เด็กหญงิ ญาโณทยั นามวชิ ยั ๒ ๘ ดี ๑๒
๑๗. เด็กหญงิ ปราณณชิ า สุดใจ ๓ ๗ ดี ๑๒
๑๘. เดก็ หญงิ ธติ ิมา ทองดี ๓ ๙ ดี ๙
๑๙. เดก็ หญิงรุง่ นภา ผวิ สขุ ๒ ๖ ดี ๗
๒๐. เดก็ หญิงนปภา อินทร์งาม ๓ ๙ ดี ๑๒
๒๑. เด็กหญิงสุภัสสร การเพยี ร ๓ ๙ ดี ๑๑
๒๒. เด็กหญิงปนัดดา ล้อประโคน ๓ ๖ ดี
๒๓. เด็กหญงิ สุมัชญา อินใส ๒ ๕ พอใช้
๓ ๘ ดี
๓ ๘ ดี

การบอกหลักการ ผลการเรยี นรู้ การตระหนักถึง คะแนน
กรอกรายการตา่ ง การกรอกแบบ ความสาํ คญั ของ รวม
รายการตา่ ง ๆ (P) การกรอกแบบ
ๆ (K) รายการอย่าง ๑๒
เลขท่ี ชื่อ-สกลุ ๑๑
ถูกต้อง (A) ๘
๒๔. เดก็ หญิงศิรสิ มพร มะลซิ ้อน ๑๑
๒๕. เดก็ หญงิ กนกวรรณ บางแสงออ่ น ๓ ๙ คุณภาพ
๒๖. เดก็ หญงิ วิไลวรรณ ไพรทอง ๓ ๘ ดี
๒ ๖ พอใช้
๓ ๘ ดี

ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น

รายการประเมนิ คะแนน

หลักการการกรอกแบบรายการ (อา่ นแบบ ๓๒๑
รายการเพ่ือทราบแนวทางการกรอกขอ้ มลู ,
เขยี นข้อมูลทลี ะรายการจนครบ, สอบถาม บอกหลกั การการเขยี น บอกหลักการการเขียน บอกหลกั การการเขยี น
เจ้าหน้าที่ หากไมเ่ ข้าใจการกรอกบาง
รายการ, อา่ นทบทวนการกรอกแบบ แผนภาพโครงเรื่องได้ แผนภาพโครงเร่อื งขาด แผนภาพโครงเร่อื งขาด
รายการเพ่ือสาํ รวจความถูกต้องและ
ครบถ้วน, เม่ือกรอกขอ้ มูลสาํ คัญผดิ พลาด ครบถว้ น ไป ๑-๓ ประการ ไปเกิน ๓ ประการ
ต้องมีการแกไ้ ขและลงชอื่ กาํ กับ, ควรเขียน
ด้วยลายมือท่ีอ่านงา่ ยและใช้ภาษาที่ถูกต้อง กรอกข้อมลู ครบถว้ น กรอกข้อมูลไม่ครบ ๑ กรอกขอ้ มลู ไม่ครบ
ให้ข้อมลู ทถี่ ูกต้อง รวมทงั้ ไมท่ ําใหแ้ บบ ทกุ รายการ รายการ มากกวา่ ๑ รายการ
รายการเสียหาย)
กรอกแบบรายการ ไมใ่ ชภ้ าษาพูด ใช้คาํ ท่ี ไม่ใช้ภาษาพูด ใชค้ าํ ที่ ใชภ้ าษาพูด ใช้คาํ ท่ี
สภุ าพ ใช้คําท่ีสามารถ สภุ าพ ใชค้ ําท่สี อื่ สุภาพ ใชค้ าํ ที่สอื่ ความ
๑. ความถูกต้อง ครบถ้วน ความหมายไม่ค่อย
๒. การใชภ้ าษา ความไดช้ ัดเจน ชัดเจน ไมค่ ่อยชัดเจน

๓. ความสมบรู ณ์ เรียบร้อยของแบบ แบบกรอกรายการ แบบกรอกรายการยบั แบบกรอกรายการยับ
รายการ สะอาด เรียบร้อย ไม่มี หรือมีรอยแก้ไข ๑ จดุ หรอื มีรอยแก้ไข
รอยพบั หรือการแก้ไข มากกว่า ๑ จดุ
ความสาคญั ของการกรอกแบบรายการ บอกความสาํ คญั ของ บอกความสาํ คัญของ
อยา่ งถกู ต้อง การกรอกแบบรายการ การกรอกแบบรายการ บอกความสาํ คญั ของ
อยา่ งถูกต้องได้ ๓ ข้อ อยา่ งถูกต้องได้ ๒-๓ การกรอกแบบรายการ
ขน้ึ ไป อยา่ งถูกต้องไดน้ ้อย
ข้อ
กวา่ ๒ ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ระดบั คุณภาพ
๓ ดี

๑ พอใช้
ควรปรบั ปรุง

แผนการจดั การเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๒ ปลอดภยั ไวก้ ่อน เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘/๘ เรอื่ ง คุยเฟ่ือง เร่อื งก่องข้าวนอ้ ยฆ่าแม่ ผู้สอน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวดั บ้านไพบูลย์ เวลา ๐๙.๓๐ น.-๑๐.๓๐ น.
สอนวนั ท่ี ๒๔ เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. มาตรฐานและตวั ชี้วดั
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่
และนํามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ

ตวั ชว้ี ดั ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบคุ วามร้แู ละข้อคดิ จากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่สามารถ
นําไปใช้ในชวี ิตจรงิ

ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่านและนําไประยุกต์ใช้
ในชวี ิตจริง
๒. สาระการเรียนรู้

นทิ านกอ่ งข้าวน้อยฆ่าแม่ เป็นนิทานประจําถ่ินภาคอีสานที่มีเค้าโครงมาจากเร่ืองจริง ซ่ึงเป็นเรื่องราว
ของชายหนุ่มคนหนึ่งที่โมโหหิวจนฆ่าแม่ตัวเองตาย และสอดแทรกเร่ืองความกตัญํูรู้คุณ นักเรียนควรตั้งใจ
เรียนรู้นิทานเร่ือง ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเร่ืองราวและเห็นคุณค่าของ
นิทานเรอื่ ง ก่องข้าวน้อยฆา่ แมใ่ นฐานะนิทานพน้ื บา้ นภาคอสี านอันทรงคุณคา่
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้

เม่อื นักเรียนได้เรียนเรื่อง “คยุ เฟื่อง เร่ืองก่องขา้ วน้อยฆ่าแม่” แล้วนกั เรยี นสามารถ
๑. เล่าเรอ่ื งย่อวรรณคดีที่อา่ นได้ (K)
๒. บอกความรู้และข้อคดิ จากวรรณกรรมที่อา่ นได้ (K)
๓. อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีท่ีอ่านได้ (P)
๔. เห็นคณุ ค่าของวรรณคดีท่ีอา่ น (A)

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ด้านองค์ความรู้ (Knowledge)
นทิ านเรอื่ ง กอ่ งข้าวนอ้ ยฆ่าแม่
ชายหน่มุ ชาวนา (บา้ งวา่ ชือ่ ทอง) ทไี่ ด้ทํานาทัง้ ชีวิต วนั หน่งึ เขาออกไปไถนา ในเวลา

เที่ยงเขาเหนื่อยล้า รู้สึกเกิดอาการร้อนรนและหิวโซ มารดาของหนุ่มชาวนามาส่งข้าว แต่มาช้ากว่าเวลาปกติ
ชายหนุ่มเห็นว่าก่องข้าวท่ีมารดาถือมาให้น้ันก่องเล็กมาก เขาโกรธมารดามากจึงทําร้ายมารดาด้วยความโมโห

หิว เอาคันไถนาฟาดไปท่ีมารดาจนมารดาล้มและเสียชีวิต หลังจากนั้นเขากินข้าวท่ีมารดานํามาให้ แต่ก็กิน
เทา่ ไรขา้ วก่องนอ้ ยนน้ั ก็ไม่หมดก่อง ลูกชายเรม่ิ ได้สติ หันมาเห็นมารดานอนเสียชีวิตบนพื้น จึงรู้สึกเสียใจมากท่ี
ไดท้ ําผดิ ไป จงึ ไดส้ รา้ งธาตุก่องขา้ วนอ้ ยแหง่ นี้ขึน้ มาด้วยมือเพ่ือชดใชบ้ าปกรรม

การระบุความรแู้ ละหาขอ้ คิดจากเร่อื งทอ่ี ่าน
การระบุความรู้และหาข้อคิดจากเรือ่ งทีอ่ า่ น คอื การบอกความรทู้ ่ีไดจ้ ากเรื่องและ
หาขอ้ คิดหรือคตสิ อนใจจากที่เปน็ ประโยชนข์ องเรื่อง แลว้ จึงนาํ ความรู้และข้อคิดที่ได้มาประยุกต์ใชใ้ น
ชีวิตประจาํ วัน
๔.๒ ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Process)
ทักษะการอธบิ ายเรอ่ื ง
๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
เหน็ คณุ คา่ ของวรรณคดที อี่ ่าน (A)
๕. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขน้ั นํา (๕ นาที)
๑. นักเรยี นทาํ กิจกรรม “เปดิ แผ่นปูายทายเรอ่ื ง” ดังนี้
- ครเู ขยี นคาํ ใบเ้ ก่ยี วกบั เรื่อง กอ่ งขา้ วนอ้ ยฆา่ แม่ ไว้ในแผน่ ปาู ย ๔ แผนปาู ย
- ครูนาํ แผน่ ปาู ยปิดไว้บนกระดานดาํ
- นกั เรยี นเลอื กหมายเลขเพ่ือเปิดแผ่นปูายทีละแผ่นปูาย โดยนักเรียนจะต้องบอกว่า
เรือ่ งท่คี รนู ํามาใหเ้ รียนรูว้ ันนคี้ ือเรือ่ งอะไร

๑๒

๓๔

๒. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสนทนาเรื่อง กอ่ งข้าวน้อยฆา่ แม่
ขั้นสอน (๔๐ นาที)

๑. นักเรยี นอ่านนทิ านเร่อื ง ก่องขา้ วน้อยฆ่าแม่
๒. นกั เรยี นฟ๎งครูอธบิ ายลกั ษณะของคุณค่าของวรรณคดี
๓. นักเรยี นดูวดี ิทศั นเ์ ร่ือง กอ่ งขา้ วน้อยฆ่าแม่
๔. นักเรียนทําใบกจิ กรรมเรือ่ ง คุยเฟอื่ ง เรอ่ื งก่องขา้ วน้อยฆ่าแม่

ข้นั สรุป (๑๐)
นักเรียนตอบคาํ ถาม ตอ่ ไปนี้
- นิทานเรื่อง ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ มีความสําคัญไร (แนวคําตอบ: ตามเจตคติของ

นกั เรยี น)
๖. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้

๖.๑ บทอ่านนิทานเรื่อง กอ่ งขา้ วนอ้ ยฆ่าแม่
๖.๒ วดี ิทัศน์นิทานเรือ่ ง ก่องขา้ วน้อยฆา่ แม่
๗. การวดั และการประเมนิ ผล

สง่ิ ที่จะวัด วิธีการวัด เคร่ืองมือทีใ่ ช้วดั เกณฑ์ผา่ น
แบบตรวจใบกิจกรรมเรื่อง คุย ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
๑. เล่าเร่ืองย่อวรรณคดีทอ่ี ่าน (K) ตรวจใบกิจกรรมเรื่อง คุยเฟอ่ื ง เฟื่อง เร่ืองก่องขา้ วนอ้ ยฆา่ แม่
แบบตรวจใบกิจกรรมเรอ่ื ง คุย ๗๐ ขน้ึ ไป
เร่ืองก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ เฟอ่ื ง เรื่องก่องข้าวนอ้ ยฆ่าแม่ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
แบบตรวจใบกจิ กรรมเรือ่ ง คุย
๒. บอกข้อคิดของวรรณคดที ่ีอา่ น (P) ตรวจใบกจิ กรรมเร่ือง คุยเฟอื่ ง เฟอ่ื ง เรื่องกอ่ งข้าวนอ้ ยฆา่ แม่ ๗๐ ขึ้นไป
แบบตรวจใบกจิ กรรมเรื่อง คุย ได้คะแนนร้อยละ
เรือ่ งก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ เฟื่อง เรื่องก่องขา้ วน้อยฆา่ แม่
๗๐ ขน้ึ ไป
๓. อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีทีอ่ า่ น ตรวจใบกจิ กรรมเรื่อง คยุ เฟื่อง ผ่านเกณฑ์ในระดบั

เร่ืองก่องข้าวน้อยฆา่ แม่ ดี ขน้ึ ไป

๔. เหน็ คณุ ค่าของวรรณคดีท่ีอา่ น (A) ตรวจใบกจิ กรรมเร่ือง คุย

เฟ่อื ง เร่ืองกอ่ งข้าวน้อยฆ่าแม่

๘. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ครูดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนท่ีกําหนด โดยนักเรียนจะได้ดูวีดิทัศน์เร่ืองก่อง

ข้าวน้อยฆ่าแม่ ประกอบการอ่านนิทานเรื่อง ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ ทําให้ใช้เวลาในการเรียนรู้เรื่องนาน นักเรียน
บางส่วนจงึ ทาํ งานไม่เสร็จในคาบเรียน ครจู งึ มอบหมายให้เป็นภาระรับผิดชอบ

๘.๒ ดา้ นพฤตกิ รรมครู
ครูอธบิ ายความหมายของคุณค่าของเร่ืองที่อ่าน พรอ้ มทั้งยกตวั อยา่ งคณุ ค่าของนทิ านบาง

เรอ่ื ง เพื่อใหน้ ักเรยี นเข้าใจ นอกจากน้ีครูยังช่วยสรุปเรื่องราวท่ีนักเรียนได้เรียนรู้อีกรอบหนึ่งก่อนที่นักเรียนจะ
ทาํ กิจกรรม

๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนกั เรยี นและผลการเรยี นรู้
นักเรียนสนใจสื่อวีดิทัศน์มากกว่าการอ่าน นักเรียนต้ังใจดูสื่อวีดิทัศน์เป็นอย่างดี และตั้งใจทํา

กิจกรรมเป็นอย่างดีซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจและใส่ใจภาระของตน นักเรียนในห้องรักและช่วยเหลือกันเป็น
อย่างดี เมื่อนักเรียนบางคนไม่เข้าใจคําช้ีแจงของภาระงาน นักเรียนคนที่เข้าใจก็จะช่วยอธิบายให้เพ่ือนเข้าใจได้
ถูกตอ้ ง

๘.๔ อปุ สรรค ปญ๎ หา และขอ้ เสนอแนะ
ความรักและสามัคคีกันของนักเรียนมีส่วนช่วยในการช่วยเหลือเพื่อนด้วยกันเป็นอย่างดี ดังนั้น

การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้อาจจัดกิจกรรมแบบเพ่ือนช่วยเพ่ือนในห้องเรียนเพื่อช่วยอธิบายข้อสงสัยให้เพ่ือน
ได้

ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔

ใบกจิ กรรมเรื่อง
คุยเฟอ่ื ง เร่ืองก่องข้าวนอ้ ยฆา่ แม่

ชอ่ื -สกลุ ________________________________________ชนั้ ___________เลขท่ี ___________

คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นนําข้อความต่อไปน้ีไปเรียบเรยี งข้อความ ใหไ้ ด้ความเร่ือง กอ่ งขา้ วน้อยฆา่ แม่

• แมม่ าสง่ ข้าวช้ากวา่ ปกติ ทองจงึ น่ังรอแม่อยู่ที่ใต้ตน้ ไม้
• ทองไถนาจนตะวนั สาย เขารสู้ กึ ออ่ นเพลยี และหิวมากกวา่ ทุก ๆ วัน

• ทองร้สู ึกผดิ จงึ วิ่งไปดูแม่ แต่แม่กลบั เสยี ชวี ิตแลว้
• ทองต่อวา่ แม่

• แม่เดนิ เลยี บมาตามคนั นาพรอ้ มก่องข้าวน้อย ๆ
• ทองตอ่ วา่ และทะเลาะกบั แม่ และได้ควา้ ไม้มาตีแม่จนลม้ ลง จากนั้นจงึ เดนิ ไปน่ังกินข้าว

• ทองรสู้ กึ ไมพ่ อใจท่ีแม่มาชา้ และก่องใส่ข้าวมีขนาดเล็ก เพราะเขากลวั กนิ ขา้ วไมอ่ ิ่ม
• แมบ่ อกว่า แมก้ ่องข้าวจะเล็ก แต่อัดขา้ วมาแนน่ จนเต็ม

• ทองรู้สึกผดิ จงึ วิ่งไปดแู ม่ แต่แม่กลับเสียชีวิตแล้ว
• ทองกนิ ข้าวท่แี ม่ใส่กอ่ งขา้ วเล็กมาให้ไม่หมด

• ทองรูส้ กึ ผิดและเสยี ใจ จงึ ก่อเจดีย์ธาตุขึ้นมาเพ่ือเก็บอฐั ิของแม่และไถ่บาปของตนเอง

ขอ้ คิดทีน่ ักเรยี นได้จากเรื่อง กอ่ งขา้ วนอ้ ยฆา่ แม่

________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________

ความสาคัญของนิทานเร่ือง กอ่ งขา้ วน้อยฆา่ แม่

________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________

ช่อื -สกลุ ________________________________________ชน้ั ___________เลขท่ี ___________

แบบบนั ทึกผลการเรยี นร้เู รือ่ ง คุยเฟอื่ ง เรื่องสังข์ทอง
ผลการเรยี นรู้

เลขท่ี ชื่อ-สกลุ
การเล่าเร่ือง ่ยอวรรณคดีที่ คะแนน
อ่าน (K) รวม

การบอก ้ขอคิดของ
วรรณคดีที่ ่อาน (P)
การเห็นคุณค่าของวรรณค ีด

ี่ท ่อาน (A)

๑๐ ๓ คณุ ภาพ ๑๒

๑. เดก็ ชายปณุ ณตั ถ์ ใจกลา้ ๙๓ ดี ๑๒

๒. เด็กชายวัชรินทร์ ใจกลา้ ๙๓ ดี ๑๒

๓. เดก็ ชายจักรพงศ์ ใจกลา้ ๘ ๒ พอใช้ ๑๐

๔. เดก็ ชายปณ๎ พทั ธ์ ใจกลา้ ๙๓ ดี ๑๒

๕. เด็กชายศุภวิชญ์ บรู ณ์เจรญิ ๖ ๑ พอใช้ ๗

๖. เด็กชายพีรภัทร ใจกลา้ ๘๒ ดี ๑๐

๗. เด็กชายเมธากุล ใจกล้า ๙๓ ดี ๑๒

๘. เดก็ ชายวรเมธ การะเวก ๘๑ ดี ๙

๙. เดก็ ชายประสพโชค วงษ์เกษ ๙ ๓ ดี ๑๒

๑๐. เดก็ ชายปวรุฒน์ เอยี้ งทารมั ย์ ๘ ๓ ดี ๑๑

๑๑. เดก็ ชายพนั ทวี หบุ กระโทก ๕ ๑ พอใช้ ๖

๑๒. เด็กชายตะวัน ศรมณี ๕ ๑ พอใช้ ๖

๑๓. เด็กหญงิ ปวเรศ ปากน้ําเขยี ว ๕ ๑ ดี ๖

๑๔. เดก็ หญิงสนุ ติ า อนิ ทะเสน ๘๒ ดี ๑๐

๑๕. เดก็ หญิงกิตยิ า ตอ้ื จนั ตา ๗๓ ดี ๑๐

๑๖. เดก็ หญงิ ญาโณทยั นามวิชยั ๙๓ ดี ๑๒

๑๗. เด็กหญงิ ปราณณชิ า สดุ ใจ ๖๒ ดี ๘

๑๘. เด็กหญงิ ธติ มิ า ทองดี ๙๓ ดี ๑๒

๑๙. เด็กหญิงรุ่งนภา ผิวสุข ๙๓ ดี ๑๒

๒๐. เด็กหญงิ นปภา อนิ ทร์งาม ๖๓ ดี ๙

๒๑. เด็กหญิงสุภัสสร การเพียร ๕ ๒ พอใช้ ๗

๒๒. เด็กหญงิ ปนดั ดา ล้อประโคน ๘ ๓ ดี ๑๑

ผลการเรียนรู้

เลขท่ี ชื่อ-สกลุ การเล่าเร่ือง ่ยอวรรณคดีที่ คะแนน
อ่าน (K) รวม

การบอก ้ขอคิดของ
วรรณคดีที่ ่อาน (P)
การเห็นคุณค่าของวรรณคดี

ี่ท ่อาน (A)

๑๐ ๓ คณุ ภาพ ๑๒

๒๓. เด็กหญิงสมุ ชั ญา อินใส ๘ ๓ ดี ๑๑
๒๔. เด็กหญงิ ศิริสมพร มะลซิ อ้ น ๖
๒๕. เดก็ หญงิ กนกวรรณ บางแสงออ่ น ๘ ๓ ดี ๑๑
๒๖. เด็กหญงิ วิไลวรรณ ไพรทอง
๑ พอใช้ ๗

๓ ดี ๑๒

ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔

แบบตรวจการเลา่ เรอื่ งย่อ

๑. ทองไถนาจนตะวนั สาย เขารู้สึกอ่อนเพลียและหิวมากกว่าทุก ๆ วัน
๒. แมม่ าส่งขา้ วชา้ กว่าปกติ ทองจึงนงั่ รอแม่อย่ทู ี่ใต้ต้นไม้
๓. แม่เดินเลยี บมาตามคนั นาพร้อมก่องขา้ วน้อย ๆ
๔. ทองร้สู ึกไม่พอใจท่ีแมม่ าช้าและก่องใส่ข้าวมขี นาดเล็ก เพราะเขากลัวกนิ ขา้ วไม่อ่ิม
๕. ทองต่อว่าแม่
๖. แม่บอกว่า แม้ก่องขา้ วจะเล็ก แตอ่ ัดข้าวมาแน่นจนเต็ม
๗. ทองต่อว่าและทะเลาะกับแม่ และได้ควา้ ไม้มาตีแมจ่ นล้มลง จากน้นั จงึ เดนิ ไปนง่ั กินข้าว
๘. ทองกนิ ข้าวที่แมใ่ ส่ก่องข้าวเลก็ มาใหไ้ ม่หมด
๙. ทองรสู้ ึกผิดจึงวิ่งไปดูแม่ แต่แม่กลับเสยี ชวี ติ แล้ว
๑๐. ทองรูส้ ึกผิดและเสียใจ จึงกอ่ เจดียธ์ าตุขึ้นมาเพื่อเกบ็ อัฐิของแมแ่ ละไถบ่ าปของตนเอง

เกณฑก์ ารให้คะแนน ได้คะแนน ๑ คะแนน
ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน
นักเรยี นเรยี งถูก ๑ ตําแหนง่
นกั เรียนเรียงผิด ๑ ตาํ แหน่ง

เกณฑ์การประเมินการบอกข้อคิดจากวรรณคดีท่อี า่ น

รายการประเมิน ๓ คะแนน ๑
บอกข้อคิดจากวรรณคดีท่ีอา่ น บอกขอ้ คิดจากวรรณคดีที่ ๒ บอกข้อคิดจากวรรณคดีที่
อ่านได้ ๒ ข้อข้นึ ไป อา่ นได้ ๑-๒ ข้อ แต่ไม่ได้
เห็นความสาคญั ของวรรณคดี พร้อมท้งั บอกแนว บอกข้อคดิ จากวรรณคดีท่ี บอกแนวทางการนาํ ไปใช้
ทีอ่ า่ น ทางการนําไปใช้ใน อา่ นได้ ๑-๒ ข้อ พร้อม
ชวี ติ ประจําวัน ทั้งบอกแนวทางการ ในชวี ิตประจําวัน
นาํ ไปใช้ในชวี ิตประจําวัน
บอกความสําคัญของ บอกความสําคญั ของ
วรรณคดที ี่อ่านได้ ๓ ข้อ บอกความสําคญั ของ วรรณคดที อี่ ่านได้น้อย
วรรณคดีทีอ่ ่านได้ ๒-๓
ขึ้นไป กว่า ๒ ขอ้
ขอ้

เกณฑก์ ารประเมิน

คะแนน ระดับคณุ ภาพ
๓ ดี

๑ พอใช้
ควรปรับปรุง

กาลครงั้ หนง่ึ เมื่อหลายร้อยปีท่ีผา่ นมา ณ บ้านตาดทอง เม่ือชว่ งฤดูฝนมาเยือน ผคู้ นกเ็ ริม่ เตรยี มตัวทาํ
ไรท่ าํ นา เช่นเดยี วกับครอบครัวของ “ทอง” ชายหนมุ่ กําพร้าพ่ออาศัยอยู่กบั แมส่ องคน (บางแหง่ ก็ไมป่ รากฏชือ่
น้ี เพียงแค่บอกวา่ เป็นชายคนหนึง่ เทา่ น้ัน) ซ่ึงทองกอ็ อกไปปฏิบตั ภิ ารกจิ เช่นเดียวกับครอบครัวอน่ื ๆ

กระทง่ั วนั หนง่ึ ที่ทองไถนาอยู่นานจนตะวันสายโด่งเขารูส้ กึ เหน็ดเหนื่อยและอ่อนเพลียมากกว่าปกติ
ทั้งยังหิวข้าวมากกว่าทุกๆ วัน เพราะปกติแล้วแม่จะมาส่งข้าวเร็วกว่านี้ แต่วันน้ีกลับมาช้าผิดปกติ ทองจึงหยุด
ไถนาและมาพกั เหนื่อยอยูใ่ ตต้ ้นไม้ ปลอ่ ยให้เจ้าทยุ กนิ หญ้าไป

สายตาของทองก็เหม่อมองไปทางบ้าน รอคอยแม่ทจี่ ะมาส่งขา้ วตามเวลาท่คี วรจะมา ดว้ ยความรูส้ ึก
กระวนกระวายใจ ย่งิ สายตะวันก็ขน้ึ สูง แดดก็ยง่ิ รอ้ น ทาํ ให้ความหิวกระหายของทองยงิ่ ทวีคูณข้ึนเร่อื ยๆ

หลงั จากเหมอ่ มองทางอยู่นาน พอทองเห็นแมเ่ ดินเลยี บมาตามคนั นาพร้อมกอ่ งข้าวนอ้ ยๆ ห้อย
ต่องแต่งอยทู่ ่ีไม้คาน เขากร็ ู้สึกไม่พอใจทแี่ มม่ าชา้ อีกทงั้ ก่องข้าวท่ีนาํ มาดูเหมือนจะกนิ ไม่อ่มิ ดว้ ยความหวิ
กระหายจนตาลาย อารมณ์พลงุ่ พล่าน ทองคดิ วา่ ขา้ วในกอ่ งข้าวนอ้ ยนนั้ คงกนิ ไม่อมิ่ เป็นแน่ จึงเอ่ยต่อว่าแมข่ อง
ตนวา่
“อีแม่มัวไปทําอะไรอยู่จงึ มาสง่ ข้าวใหข้ า้ กนิ ช้านักก่องขา้ วก็เอามาแต่ก่องน้อยๆ ขา้ จะกินอิ่มหรอื ”

ผู้เป็นแม่กเ็ อ่ยปากตอบลูกว่า “ถึงก่องข้าวจะน้อยก็น้อยต้อนแตน้ แน่นในดอกลูกเอ๋ย ลองกินเบิ่ง
ก่อน” (ถงึ แมก้ ่องข้าวจะเล็กๆ อย่างนีแ้ ต่ขา้ งในกอ่ งขา้ วน้ันอดั แน่นนะลูกลองกินดูกอ่ น)

แต่ด้วยความหิว ความเหนด็ เหนอื่ ย บวกกับความโมโหจนหอู ื้อตาลาย ทองจึงไม่ยอมฟ๎งเสยี งใดๆ
กระท่ังเกดิ บันดาลโทสะอยา่ งแรง คว้าได้ไมแ้ อกน้อยเข้าตีแมท่ ่แี ก่ชราจนล้มลงแล้วกเ็ ดินไปกินข้าว

เมอื่ กินขา้ วจนอิ่มแล้วแต่ขา้ วก็ยงั ไม่หมด ดว้ ยความทแ่ี ม่อัดข้าวมาแน่นก่องข้าวน้อย ทองจึงรสู้ ึกผดิ
ชอบชว่ั ดเี ม่อื คดิ ไดด้ ังนจี้ ึงรบี วิง่ ไปดูอาการของแม่และเขา้ สวมกอดแม่แตอ่ นจิ จา แมไ่ ด้ส้นิ ใจไปเสียแล้ว

ทองร้องไห้สํานกึ ผิดที่ฆา่ แม่ของตนดว้ ยอารมณ์เพียงชวั่ วบู เขาไม่ร้จู ะทําประการใดดีจึงเขา้ ไปกราบ
นมสั การสมภารวัด แล้วเล่าเรอ่ื งใหท้ า่ นฟ๎งโดยละเอียด สมภารกเ็ ลยสอนวา่
“การฆ่าบดิ ามารดาผ้บู ังเกิดเกลา้ ของตนเองน้ันเปน็ บาปหนัก เปน็ มาตุฆาต ต้องตกนรกอเวจีตายแล้วไม่ได้ผดุ
ไมไ่ ด้เกิดเปน็ คนอีก มที างเดยี วจะใหบ้ าปเบาลงได้กด็ ว้ ยการสรา้ งธาตกุ ่อรวมกระดูกแม่ไว้ ให้สูงเทา่ นกเขาเหิน
จะไดเ้ ป็นการไถบ่ าปหนักใหเ้ ป็นเบาลงได้บา้ ง”

เม่อื ทองปลงศพแม่แล้ว เขากข็ อรอ้ งชักชวนญาติมิตรชาวบา้ นใหม้ าช่วยกันป้๎นอฐิ ก่อเป็นธาตุเจดีย์
บรรจุอฐั แิ มไ่ ว้ และมีคนเรยี กขานชือ่ ว่า “ธาตุกอ่ งข้าวน้อย” บา้ งก็วา่ “ธาตุกอ่ งข้าวนอ้ ยฆา่ แม่” จนตราบทุก
วันน้ี


Click to View FlipBook Version