The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือในการใช้เป็นแนวทางให้กับสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือแผนเผชิญเหตุ

คู่มือในการใช้เป็นแนวทางให้กับสถานศึกษา

สำ นักงานเขตพื้นพื้ที่การศึกษาประถมศึกษาจันจัทบุรี เขต 1 คู่คู่คู่ คู่ มื คู่ คู่ มื คู่ คู่ มื คู่ อ มื อ มื อ มื สำ นักนังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นพื้ฐาน กระทรวงศึกษาธิกธิาร แผนเผชิชิ ชิชิ ญเหตุตุ ตุตุ ความปลอดภัย สถานศึกษา


สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ได้จัดทำ คู่มือแผนเผชิญเหตุเพื่อความปลอดภัยในสถานศึกษา เพื่อเป็นเครื่อ รื่ งมือ ในการจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย สร้าร้งความมั่นใจและความเชื่อมั่น ให้แก่นักเรีย รี น ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง ประชาชนทั่วไป ในการเรีย รี นรู้แรู้ละร่วร่มขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย สู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดความปลอดภัย อย่างมั่นคงและ ยั่งยืน ที่สำ คัญเพื่อให้สถานศึกษา นำ คู่มือมาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิด เหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อนักเรีย รี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา ป้องกันภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอื่นๆ ลดระดับความรุนแรง ระงับเหตุ ความไม่ปลอดภัยหรือ รื แก้ไขปัญหาต่อไป สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 หวังเป็น อย่างยิ่งว่าคู่มือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายในสถานศึกษา คำ นำ กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1


หน้า คำ นำ สารบัญ หลักการ คณะผู้บริหาร ติดต่อเรา 1 มาตรการกำ กับติดตาม 2 มาตรการความปลอดภัย มาตรการ 3 ป 3-4 ขอบข่ายความปลอดภัย 4 ภัยควรรู้ 5-6 แนวปฏิบัติการเผชิญเหตุ 7-8 สารบัญ


หน้า ขั้นตอนการดำ เนินการเผชิญเหตุ 9 แนวดำ เนินการเผชิญเหตุ 10-30 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 31-34 มาตรการรักษาความปลอดภัยของ สพป.จบ.1 35-48 ติดต่อสายด่านเหตุการณ์ฉุกเฉิน 49-50 รายชื่อผู้ประสานงาน 51-53 การจัดตั้งกลุ่มไลน์ 54 ระบบการจัดการรถรับ-ส่ง นักเรียน 55 สารบัญ ระบบการจัดการรถรับ-ส่ง นักเรียน มาตรฐานความปลอดภัยของรถรับ-ส่งนักเรียน 56-59 ขั้นตอนการขออนุญาตพานักเรียนไปนอกสถานศึกษา 60-62


หลักการ ความสำ คัญจำ เป็นการดำ เนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ปัจจุบันภัยคุกคามต่อความมั่นมั่คงรูปแบบใหม่ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและประเทศชาติ มีความซับซ้อนและรุ่นรุ่แรงมากขึ้นขึ้อาทิ ความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัพิบัติจาก ธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เป็นต้น การป้องกันภัยคุกคามดังกล่าวจะต้อง พิจพิารณาในมิติที่มีความเชื่อชื่มโยงกัน และการดำ เนินการเพื่อพื่วางรากฐานและกลไกการสร้าร้ง ความมั่นมั่คงเพื่อพื่ป้องกันและป้องปรามภัยเหล่านั้นจะต้องเริ่มริ่ที่กระบวนการจัดการศึกษาของ ประเทศตามแผนการศึกษาชาติ (พ.ศ.2560 - 2579) ยุทธศาสตร์ที่ ร์ ที่ 1 การจัดการศึกษา เพื่อพื่ความมั่นมั่คงของสังคมและประเทศชาติ จากความสำ คัญดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิกธิาร จึงได้กำ หนดนโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษาเพื่อพื่ความปลอดภัย เร่งร่สร้าร้งความปลอดภัย ในสถานศึกษา เพื่อพื่เพิ่มพิ่ความเชื่อชื่มั่นมั่ของสังคม และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิชีตวิรูปแบบใหม่ และภัยอื่นอื่ๆ โดยมีการดำ เนินการตามแผนและมาตรการด้านความปลอดภัย ให้แห้ก่ผู้เผู้รียรีน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่างๆ อย่าย่งเข้มข้ข้นข้กอปรกับนโยบายสำ นักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นขั้พื้นพื้ฐานให้เห้ป็น “การศึกษาขั้นขั้พื้นพื้ฐานวิถีวิถีใหม่ วิถีวิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัย ในสถานศึกษา ส่งเสริมริโอกาสทางการศึกษาที่ม่ีคุณภาพอย่าย่งเท่าเทียมและบริหริารจัดการ ศึกษาอย่าย่งมีประสิทธิภธิาพ โดยมุ่งเน้นพัฒพันาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้แห้ก่ ผู้เผู้รียรีน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษาจากภัยพิบัพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออื้ต่อการมีสุขภาวะที่ดี สามารถปรับรัตัวต่อโรคอุบัติใหม่และ อุบัติซ้ำ ส่งเสริมริความปลอดภัยสร้าร้งความมั่นมั่ ใจให้สัห้ สังคม เพื่อพื่คุ้มครองความปลอดภัย แก่นักเรียรีน ครู และบุคลากรทางการศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิกธิาร เพื่อพื่ให้กห้ารป้องกัน ดูแล ช่วช่ยเหลือ หรือรืเยียยีวยา และแก้ไขปัญหามีความเป็นเอกภาพมีข้อข้มูลสารสนเทศที่เป็น ระบบ สามารถแก้ไขปัญหาและบริหริารจัดการความเสี่ยงได้อย่าย่งยั่งยั่ยืนยืด้วยการบริหริาร จัดการตามมาตรการ 3 ป ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝังฝัและปราบปราม ให้เห้กิดความปลอดภัย ให้มห้ากที่สุด และไม่ให้เห้กิดเหตุการณ์นั้นซ้ำ อีกอี จากนโยบายดังกล่าว สำ นักงานเขตพื้นพื้ที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 จึงจัดทำ คู่มือแผนเผชิญชิเหตุ เพื่อพื่ความปลอดภัยในสถานศึกษา ให้สห้ถานศึกษาใช้เช้ป็นเครื่อรื่งมือในการ จัดการศึกษาเพื่อพื่ความปลอดภัย และการบริหริารสถานการณ์ที่เกิดขึ้นขึ้ โดยมีภาคีเครือรืข่าข่ย ด้านความปลอดภัย สร้าร้งความมั่นมั่ ใจและความเชื่อชื่มั่นมั่ ให้แห้ก่นักเรียรีน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ผู้ปผู้กครองและประชาชนทั่วทั่ ไป ในการเรียรีนรู้อรู้ย่าย่งมีคุณภาพ และเกิดความปลอดภัย อย่าย่งมั่นมั่คงและยั่งยั่ยืนยืและที่สำ คัญเพื่อพื่ให้สห้ถานศึกษานำ คู่มือเป็นแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิด เหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อนักเรียรีน ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อพื่ลดระดับ ความรุนแรง ระงับงัเหตุความไม่ปลอดภัยหรือรืแก้ไขปัญหาต่อไป


เพื่อ พื่ สร้า ร้ งความรู้ค รู้ วามเข้า ข้ใจในการเผชิญชิเหตุค ตุ วามปลอดภัย ภั ของสถานศึก ศึ ษา เพื่อ พื่ การดำ เนินนิงานการเผชิญชิเหตุค ตุ วามปลอดภัย ภั สถานศึก ศึ ษา เพื่อ พื่ รายงานการดำ เนินนิงานการเผชิญชิเหตุด้ ตุ า ด้ นความปลอดภัย ภั ต่อต่หน่วน่ยงานต้น ต้ สัง สั กัด กั เพื่อ พื่ สร้า ร้ งความเข้ม ข้ แข็ง ข็ การดำ เนินนิงานความปลอดภัย ภั สถานศึก ศึ ษา เพื่อ พื่ ดำ เนินนิงานความปลอดภัย ภั สถานศึก ศึ ษาอย่าย่งเป็น ป็ ระบบ วัตถุป ถุ ระสงค์ ระบบมาตรฐานความปลอดภัย MOE Safety Center


คณะผู้บริหาร นางลัดดาวัลย์ วิเศษะภูติ นายสาคร คำ แสน รอง ผอ.สพป.จันทบุรี เขต 1 รอง ผอ.สพป.จันทบุรี เขต 1 นายกฤษฎิพงศ์ มาตะรักษ์ สำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษา จันจัทบุรีบุรีเขต 1 นายสรุิยนต์ กัลยาณี ผอ.สพป.จันทบุรี เขต 1 รอง ผอ.สพป.จันทบุรี เขต 1


ติดต่อเรา 1 ถ.ตากสินสิอ.เมือมืวจันจัทบุรี จ.จันจัทบุรี 0 3932 1088 กลุ่มลุ่อำ นวยการ 0 3932 1088 ต่อ 11 http://www.chan1.go.th กลุ่มลุ่นโยบายและแผน 0 3932 1088 ต่อ 21 0 3932 1088 ต่อ 12 กลุ่มลุ่บริหริารงานบุคคล กลุ่มลุ่ส่งส่เสริมริการจัดจัการศึกษา 0 3932 1088 ต่อ 25 กลุ่มลุ่บริหริารงานการเงินและสินสิทรัพรัย์ กลุ่มลุ่นิเนิทศ ติดตาม และประเมินมิผล การจัดจัการศึกษา 0 3932 1088 ต่อ 16 กลุ่มลุ่ส่งส่เสริมริการศึกษาทางไกลฯ 0 3932 1088 ต่อ 20 0 3932 1088 ต่อ 24 กลุ่มลุ่พัฒพันาครูและบุคลากรทางการศึกษา 0 3932 1088 ต่อ 12 กลุ่มลุ่กฎหมายและคดี 0 3932 1088 ต่อ 15 หน่วยตรวจสอบภายใน 0 3932 1088 ต่อ 19


ตรวจสอบข้อ ข้ มูล เบื้อบื้งต้น ประเมินมิสถานการณ์ ผู้พผู้ บเหตุก ตุ ารณ์ ผู้บผู้ ริหริารสถานศึกษา/ สำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่ การศึกษา ได้รัด้บรัแจ้งจ้เหตุ ร้ร้า ร้ร้ ยแรง ระงับเหตุไตุด้ สั่สั่งสั่สั่การตรวจสอบ ข้ข้อข้ข้เท็ท็ท็จท็จริริงริริ/ประสาน หน่น่วน่น่ยงานที่ที่ ที่ เ ที่ เกี่กี่ กี่ ย กี่ ยวข้ข้อข้ข้ง กำ กับติดตาม


มาตรการความปลอดภัย ภั 1.1 การประเมินปัจจัยเสี่ยงความไม่ปลอดภัยสถานศึกษา 1.2 การกำ หนดพื้นที่ความปลอดภัย 1.3 การจัดทำ แผนความปลอดภัยสถานศึกษา 1.4 การจัดสภาพสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศของสถานศึกษา 1.5 การจัดโครงสร้างบริหารจัดการความปลอดภัยสถานศึกษา 1.6 การจัดทำ ข้อมูลสารสนเทศความปลอดภัยสถานศึกษา 1.7 การสร้างการมีส่วนร่วมของสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย 1.8 การจัดระบบช่องทางสื่อสารด้านความปลอดภัย 1.9 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1.10 การประเมินนักเรียนรายบุคคล ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญา และความต้องการ มาตรการ 3 ป การป้องกัน หมายถึง การดำ เนินการเกี่ยวกับการวางแผนความปลอดภัย การจัดโครงสร้าง การบริหาร การวิเคราะห์ และการประเมินความเสี่ยงอย่าง รอบด้าน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยของสถานศึกษา ดังนี้ 1. การป้องกัน


2. การปลูกฝัง การปลูกฝัง หมายถึง การดำ เนินการเกี่ยวกับการ พัฒนาองค์ความรู้ การสร้างเจตคติที่ดี การมีจิตบริการ และ เสริมสร้างทักษะ ความปลอดภัย ให้แก่ นักเรียน ครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้เกิดความยั่งยืน 2.1 พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ครู และ บุคลากรทางการศึกษาและผู้ปกครอง 2.2 จัดกิจกรรมสร้างเจตคติที่ดี การมีจิตบริการ และเสริมสร้างทักษะ ความปลอดภัยให้แก่นักรเียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา การปราบปราม หมายถึง การดำ เนินงานเกี่ยวกับการ เผชิญเหตุ การเข้าถึงสถานการณ์ การแก้ไขปัญหา ความไม่ปลอดภัย และการดำ เนินการกับบุคคลที่ละเมิด หรือประพฤติไม่เหมาะสม ด้วยความรอบคอบ รวดเร็ว และเป็นธรรม รวมถึงการช่วยเหลือ เยียวยา ฟื้นฟู ดังนี้ 3.1 การจัดการแก้ไขปัญหา กรณีเกิดเหตุความ ไม่ปลอดภัยในสถานศึกษา 3.2 การช่วยเหลือ เยียวยา ฟื้นฟู จิตใจบุคคล ผู้ประสบเหตุความไม่ปลอดภัย 3.3 ดำ เนินการตามขั้นตอนของกฏหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ เป็นธรรม และรวดเร็ว 3. การปราบปราม


ข อ บ ข่ า ย ส ถ า น ศึ ก ษ า


SAFE สถานศึกษาปลอดภัย 4 ภัยควรรู้ Unhealthiness ภัยที่เกิดจากผล กระทบทางสุขสุภาวะทางการและจิตจิ ใจ 1.ภาวะจิตจิเวช 2.ติดเกม 3.ยาเสพติด 4.โรคระบาดในมนุษนุย์ 5.ภัยไซเบอร์ 6.การพนันนั 7.มลภาวะเป็นป็พิษพิ 8.โรคระบาดในสัตสัว์ 9.โรคภาวะทุพทุโภชนาการ Violence ภัยที่เกิดจากการ ใช้คช้วามรุนแรง 1.ล่วงละเมินมิทางเพศ 2.ทะเลาะวิววิาท 3.การกลั่นลั่แกล้งรังรัแก 4.การชุมนุมนุประท้วงและการจราจล 5.การก่อวินวิาศกรรม 6.การระเบิดบิ 7.สารเคมีแมีละวัตวัถุอัถุอันตรายทำ ให้เห้กิด มลภาวะเป็นป็พิษพิ 8.การล่อลวง ลักพาตัว Right ภัยที่เกิดจากการถูกถูละเมิดมิสิทสิธิ 1.การถูกถูปล่อยปละ ละเลยทอดทิ้ง 2.ไม่ไม่ด้รัด้บรัความเป็นป็ธรรมจาก สังสัคม 3.การคุกคุคามทางเพศ Accident ภัยที่เกิดจากอุบัติบั ติเหตุ 1.ภัยธรรมชาติ 2.ภัยจากอาคารเรียรีน สิ่งสิ่ก่อสร้าร้ง 3.ภัยจากยานพาหนะ 4.ภัยจากการจัดจักิจกรรม 5.ภัยจากเครื่อรื่งมือมือุปกรณ์


แนว ปฏิบัติ บั ติ การเผชิญชิ เหตุ MOE SAFETY CENTER ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ส ถ า น ศึ ก ษ า


1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุ สถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมิน ปัญหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหารสถานศึกษา แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center สามารถแจ้งเหตุผ่านช่องทาง ดังนี้ 1) หมายเลขโทรศัทพ์ 0 2123 8789 2) Line: @obecsfetycenter 3) Facebook: ศูนย์บริหารความสุขและ ความปลอดภัย สพฐ. 4) E-mail: [email protected] และ 5) Website:safetycenter.obec.go.th แจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำ เนินการช่วยเหลือ แจ้งผู้ปกครอง สถานศึกษาทุกแห่งต้องจัดให้มีการเตรียมความพร้อมการเผชิญเหตุความไม่ ปลอดภัยสถานศึกษา มีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด สม่ำ เสมอ หากเกิดกรณี ฉุกเฉิน เหตุความไม่ปลอดภัยสถานศึกษาต้องมีความพร้อมในการเผชิญเหตุ เพื่อลดระดับความรุนแรง ระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยหรือแก้ไขปัญหา ซึ่งมีขั้นตอนแนวทางการดำ เนินการเผชิญเหตุ ดังนี้ แ น ว ป ฏิ บั ติ ก า ร เ ผ ชิ ญ เ ห ตุ ขั้ น ต อ น แ น ว ท า ง ก า ร ดำ เ นิ น ก า ร เ ผ ชิ ญ เ ห ตุ 3. ดำ เนินการระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย หรือแก้ไขปัญหา 4. ติดตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุ้มครอง/ให้คำ ปรึกษาแก่เด็กนักเรียน โดยคำ นึง ถึงความปลอดภัย 5. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการดำ เนินงาน


ติดติตาม/ดูแดูล ช่วช่ยเหลือลื/ คุ้มคุ้ครอง/ ให้คำห้ คำ ปรึกรึษา ขั้ขั้นขั้ขั้ตอนการดำ ดำดำดำเนินินการเผชิชิญชิชิเหตุตุ ตุตุ แจ้งจ้หน่วน่ยงาน ที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้ง สถานศึกศึษารับรัแจ้งจ้ เหตุตรวจสอบ ข้อข้มูลมูประเมินมิ สถานการณ์ รายงานผู้บผู้ ริหริาร สถานศึกศึษาแจ้งจ้ใน ระบบ MOE SAFETYCENTER แจ้งจ้ผู้ปผู้ กครอง ดำ เนินนิการระงับงัเหตุ เด็กด็มีคมีวามเสี่ย สี่ ง ดำ เนินนิการทันทัที จัดจัเก็บก็ข้อข้มูลมู สรุปรุผลรายงาน


AMANDA J. เมื่อมื่เกิดเหตุกตุารณ์คณ์วามไม่ปม่ลอดภัย สถานศึกษาสามารถ ปฏิบัติบั ติการเผชิญชิเหตุ เพื่อพื่ลดระดับดัความรุนแรง ระงับเหตุกตุารณ์คณ์วามไม่ปม่ลอดภัย หรือรืแก้ไขปัญหา ตามขอบข่าข่ยความปลอดภัยของสถานศึกษา 4 กลุ่มลุ่ภัย ได้ดังดันี้ แนวดำ เนินการเผชิญเหตุ M O E S A F E T Y C E N T E R


1)สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุสถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ 2)รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา แจ้งครูที่ปรึกรึษา หรือรืผู้ที่เกี่ยวข้องในการ ดำ เนินการช่วยเหลือและแจ้งผู้ปกครอง 3) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4) ดำ เนินการระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย หรือรืแก้ไขปัญหา 5)ติดตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุ้มครอง/ให้คำ ปรึกรึษาแก่เด็กนักเรียรีนโดยคำ นึงถึง ความปลอดภัย 6)กรณีเด็กนักเรียรีนที่มีความเสี่ยงต้องได้รับการคุ้มครอง/การสงเคราะห์ ในเบื้องต้นโดยทันที 7)กรณีเด็กนักเรียรีนต้องได้รับการสงเคราะห์ให้เจ้าหน้ามี่ส่งต่อไปรับบริกริาร สงเคราะห์ตามระเบียบกระทรวงว่าว่ด้วยการสงเคราะห์เด็กนักเรียรีน 8)จัดเก็บข้อมูลการดำ เนินงานของสถานศึกษา/สรุปผลการทำ งานและ รายงานหน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 1. ภัยที่เกิดจากการใช้ความรุนแรงของมนุษย์ 1.1 การล่วงละเมิดทางเพศ


มาตรการความปลอดภัยภัสถานศึกษา ใช้หช้ลักลั 3 ป ได้แด้ก่ การป้อป้งกันกั ปลูกลูฝังฝัและปรามปราบ มีรมีายละเอียอีดดังดันี้ 1) สำ รวจนักเรียรีนกลุ่มลุ่เสี่ยงและ พื้น พื้ ที่ที่ ที่ เ ที่ ป็นป็จุดจุเสี่ยง 2) เฝ้าระวังวัสังเกตพฤติกติรรม นักเรียรีน และพัฒพันาพื้น พื้ ที่เ ที่ สี่ยงให้ ปลอดภัยภั 3) สร้าร้งเครือรืข่าข่ยเฝ้าระวังวัทั้งทั้ ในสถานศึกษาและชุมชุชน 4) จัดจัระบบการสื่อสารเพื่อ พื่ รับรั ส่งข้อข้มูลมูด้าด้นพฤติกติรรมทั้งทั้ ใน สถานศึกษาและชุมชุชน การล่วล่งละเมิดมิทางเพศ การป้อป้งกันกั การปลูกลูฝังฝั 1) จัดจักิจกิกรรมส่งเสริมริความตระหนักรู้แรู้ ละ เห็นคุณค่าค่ ในตนเอง 2) จัดจักิจกิกรรมพัฒพันาทักทัษะชีวิชีตวิ 3) ฝึกทักทัษะการปฏิเฏิสธ และการเอาตัวตัรอด ในสถานการณ์ต่าต่งๆ การปราบปราม 1) เผยแพร่ปร่ระชาสัมพันพัธ์ ช่อช่งทางในการขอความช่วช่ย เหลือลื 2) แต่งต่ตั้งตั้คณะทำ งานให้ ความช่วช่ยเหลือลืเร่งร่ด่วด่น ที่ สามารถให้ความช่วช่ยเหลือลืได้ ทันทัเหตุการณ์ 3) แต่งต่ตั้งตั้คณะทำ งานด้าด้น กฎหมายเพื่อ พื่ ให้ความช่วช่ย เหลือลื 4) ประสานภาคีเคีครือรืข่าข่ย เพื่อ พื่ การส่งต่อต่ที่เ ที่ หมาะสม


1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุ สถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหา สถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา แจ้งครูที่ปรึกรึษา ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหยุดเหตุการณ์ นั้นๆ หากเกินกำ ลังให้หาคนช่วยเหลือในการระงับเหตุแล้วแจ้งให้ผู้บิรหารสถาน ศึกษาทราบทันที 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safaty Center 4. ครูที่ปรึกรึษา/ครูผู้ประสบเหตุ พูดคุย ให้กำ ลังใจ สร้างความไว้วว้างใจแก่เด็ก นักเรียรีน รอจนเด็กนักเรียรีนผ่อนคลายลง แล้วประสานเชิญผู้ปกครองมาพบ เด็กนักเรียรีนที่สถานศึกษาเพื่อรับทราบข้อเท็จจริงริจากคำ บอกเล่าของเด็กนักเรียรีน ด้วยตนเองแล้วร่วมกันแสวงหาแนวทางช่วยเหลือเด็กนักเรียรีนไม่ให้ไปกระทำ พฤติกรรมความรุนแรงขึ้นอีก 5. หากคู่กรณีอยู่ในสถานศึกษาเดียวกันให้หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากัน และเมื่อ ความขัดแย้งลดลงฝ่ายกิจการนักเรียรีนจึงจัดให้ทั้งสองฝ่ายได้พบเพื่อปรับ ความเข้าใจและสร้างความรักความสามัคคีกัน 6. หากคู่กรณีเป็นบุคคลภายนอกสถานศึกษา ผู้บริหริารสถานศึกษามอบหมาย บุคคลที่เหมาะสมเป็นผู้ดำ เนินการในการแก้ไขปัญหา 7. จัดให้มีเด็กนักเรียรีนเพื่อนที่ปรึกรึษาสำ หรับเด็กนักเรียรีนที่อยู่ระหว่าว่ง ปรับพฤติกรรมคอยช่วยเหลือแนะนำ และให้คำ ปรึกรึษา 8. กรณีเหตุการณ์รุนแรงให้รายงานข้อมูลรายละเอียดเบื้องต้นอย่างเป็นทางการ ต่อหน่วยงานต้นสังกัด ภายใน 24 ชั่วโมง 9. เมื่อเด็กนักเรียรีนถูกเจ้าหน้าที่ตำ รวจควบคุมตัว หรือรืมอบตัว ทางสถานศึกษา ต้องออกหนังสือรับรองการเป็นเด็กนักเรียรีนให้ 10. กรณีต้องการประกันตัวนักเรียรีนสามารถใช้ตำ แหน่งหน้าที่ของข้าราชการ ในการประกันตัวได้ 11. จัดเก็บข้อมูลการดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน ไปยังหน่วยงานต้นสังกัด และผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 1.2 การทะเลาะวิว วิ าท


1) ให้ความรู้เรู้รื่อ รื่ งการอยู่ร่ยู่ วร่ม กันกั ในสังคมและผลกระทบที่เ ที่ กิดกิ จากการทะเลาะวิววิาท 2) จัดจักิจกิกรรมส่งเสริมริการอยู่ ร่วร่มกันกั ในสังคม 3) จัดจัเวทีกิทีจกิกรรมให้นักเรียรีน ได้แด้สดงออก การทะเลาะวิววิาท/ทำ ร้าร้ยร่าร่งกาย การป้อ ป้ งกัน กั 1) จัดจัทำ ระเบียบีบในการปฏิบัฏิติบัตตินในสถานศึกษา 2) ประชุมชุชี้แ ชี้ จงทำ ความเข้าข้ใจในการปฏิบัฏิติบัตตินตามระเบียบีบ 3) เฝ้าระวังวัสังเกตพฤติกติรรมทั้งทั้ ในระดับดัชั้นชั้เรียรีน สถานศึกษา และชุมชุชน 4) สร้าร้งเครือรืข่าข่ยเฝ้าระวังวั ในสถานศึกษาและชุมชุชน 5) จัดจัระบบติดติต่อต่สื่อสารเพื่อ พื่ ติดติตามพฤติกติรรมนักเรียรีนอย่าย่งต่อต่เนื่อง การถูกถูปล่อล่ยปละ ละเลย ทอดทิ้งทิ้ การปลูก ลู ฝัง การปราบปราม 1) แต่งต่ตั้งตั้คณะทำ งานเพื่อ พื่ ระงับงั เหตุทั้งทั้ ในสถานศึกษาและชุมชุชน 2) ประสานเครือรืข่าข่ยการมีส่มีส่วน ร่วร่มเพื่อ พื่ ร่วร่มแก้ปัก้ญปัหา 3) ดำ เนินการตามระเบียบีบ กฏ หมาย โดยเน้นการไกล่เล่กลี่ย ลี่ ประนีประนอม เหมาะสม การป้อป้งกันกั 1) สร้าร้งเครือรืข่าข่ยเฝ้าระวังวัทั้งทั้ ใน สถานศึกษาและชุมชุชน 2) จัดจัระบบการติดติต่อต่สื่อสารเพื่อ พื่ รับรัส่งข้อข้มูลมูพฤติกติรรมนักเรียรีน และ ผู้ใผู้กล้ชิล้ดชิ 3) จัดจัทำ ข้อข้มูลมูช่อช่งทางขอความ ช่วช่ยเหลือลืเผยแพร่ ประชาสัมพันพัธ์ใธ์ห้ นักเรียรีนและชุมชุชน 1) แต่งต่ตั้งตั้คณะทำ งานให้ความช่วช่ยเหลือลืเร่งร่ด่วด่น ที่ส ที่ ามารถให้ความช่วช่ยเหลือลืได้ทัด้นทัเหตุการณ์ 2) แต่งต่ตั้งตั้คณะทำ งานให้ความช่วช่ยเหลือลืด้าด้นกฏ หมาย 3) ประสานภาคีเคีครือรืข่าข่ย 4) ติดติตามเยี่ย ยี่ มเยียยีนให้กำ ลังลั ใจอย่าย่งสม่ำ เสมอ การปราบปราม 1) จัดจักิจกิกรรมส่งเสริมริความ ตระหนักรู้แรู้ ละเห็นคุณค่าค่ ในตนเอง 2) จัดจักิจกิกรรมพัฒพันาทักทัษะชีวิชีตวิ อย่าย่งรอบด้าด้น 3) ฝึกทักทัษะการปฏิเฏิสธการเอาตัวตั รอด และการขอความช่วช่ยเหลือลื การปลูก ลู ฝัง


1.3 การกลั่นแกล้งรังแก 1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง สถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมิน ปัญหาสถานการณ์ คัดกรองระดับความรุนแรงของการถูกกลั่นแกล้ง รังแก 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา มอบหมายครูที่ปรึกรึษา หรือรืผู้เกี่ยวข้อง ให้คำ แนะนำ ปรึกรึษาในการแก้ไขปัญหา 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ติดตามดูแลการให้ความช่วยเหลือส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียรีน 5. จัดเก็บข้อมูลการดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทำ งานและ รายงานหน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 1.4 การชุมนุมประท้วงและการจราจล 1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง สถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหา สถานการณ์เพื่อระงับเหตุทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานเครือรืข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อร่วมแก้ปัญหาโดยเน้นการไกล่เกลี่ย ประนีประนอมตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 5. ติดตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุ้มครอง/ให้คำ ปรึกรึษาแก่เด็กนักเรียรีนโดยคำ นึงถึง ความปลอดภัย 6. จัดเก็บข้อมูลการดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี


1) ให้ความรู้ครู้ วามเข้าข้ใจหลักลั ในการอยู่ร่ยู่ วร่มกันกั ในสังคม 2) จัดจักิจกิกรรมให้นักเรียรีนได้ทำด้ทำร่วร่มกันกัอย่าย่ง ต่อต่เนื่อง 3) จัดจัเวทีใทีห้นักเรียรีนได้แด้สดงออกตามความ สามารถอย่าย่งเหมาะสม การกลั่นลั่แกล้งล้รังรัแก 1) สำ รวจนักเรียรีนกลุ่มลุ่เสี่ยงทั้งทั้กลุ่มลุ่ผู้กผู้ ระทำ และผู้ถูผู้ กถูกระทำ 2) จัดจัทำ ระเบียบีบข้อข้ตกลงร่วร่มกันกัทั้งทั้ ในระดับดั ชั้นชั้เรียรีนและระดับดัสถานศึกษา 3) สร้าร้งเครือรืข่าข่ยเฝ้าระวังวัทั้งทั้ ในสถานศึกษา และชุมชุชน 4) จัดจัระบบการสื่อสารเพื่อ พื่ ติดติตามพฤติกติรรม นักเรียรีน การป้อป้งกันกั การปลูกลูฝัง 1) แต่งต่ตั้งตั้คณะทำ งานเพื่อ พื่ ระงับงัเหตุ ทั้งทั้ ใน ระดับดัชั้นชั้เรียรีน สถานศึกษา และชุมชุชน 2) ดำ เนินการเอาโทษตามระเบียบีบข้อข้ตกลง โดยเน้นการไกล่เล่กลี่ย ลี่ ประนีประนอมตาม มาตรการจากเบาไปหาหนัก 3) ติดติตาม เยี่ย ยี่ มเยียยีน ให้กำ ลังลั ใจผู้ถูผู้ กถูกระทำ และสร้าร้งความเข้าข้ใจกับกัผู้กผู้ ระทำ เหมาะสม การปราบปราม 16


1) สำ รวจนักเรียรีนกลุ่มลุ่เสี่ยงทั้งทั้กลุ่มลุ่ผู้กผู้ ระทำ และผู้ถูผู้ กถูกระทำ 2) จัดจัทำ ระเบียบีบข้อข้ตกลงร่วร่มกันกัทั้งทั้ ในระดับดัชั้นชั้เรียรีนและระดับดัสถานศึกษา 3) สร้าร้งเครือรืข่าข่ยเฝ้าระวังวัทั้งทั้ ในสถานศึกษาและชุมชุชน 4) จัดจัระบบการสื่อสารเพื่อ พื่ ติดติตามพฤติกติรรมนักเรียรีน การไม่ไม่ด้รัด้บรัความเป็นป็ธรรมจากสังคม/การถูกถูปฏิเฏิสธทางสังคม การป้อป้งกันกั 1) แต่งต่ตั้งตั้คณะทำ งานให้ความ ช่วช่ยเหลือลืเร่งร่ด่วด่น ที่ส ที่ ามารให้ ความช่วช่ยเหลือลืได้ทัด้นทัเหตุการณ์ 2) ประสานเภาคีเคีครือรืข่าข่ยเพื่อ พื่ ร่วร่มแก้ปัก้ญปัหา 3) ติดติตามเยี่ย ยี่ มเยียยีนให้กำ ลังลั ใจอย่าย่งสม่ำ เสมอ การปราบปราม 1) สร้าร้งความรู้ครู้ วามเข้าข้ใจถึงถึ สิทธิ หน้าที่ และความรับรัผิดผิชอบ ต่อต่สังคม 2) บริกริารให้คำ ปรึกรึษาสำ หรับรั นักเรียรีนกลุ่มลุ่เสี่ยง 3) จัดจักิจกิกรรมส่งเสริมริการ สร้าร้งจิตจิสำ นึกในความเสมอภาค เอื้อ อื้ เฟื้อเผื่อ ผื่ แผ่ต่ผ่อต่กันกั ใน สถานการณ์ต่าต่งๆ การปลูกลูฝัง 17


1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อระงับเหตุ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา ประสานศูนย์ฉุกเฉิน โทร.1669 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานสถานีตำ รวจในท้องที่ หรือรืหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา สนับสนุนข้อมูลและอำ นวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 5. ตรวจสอบจำ นวนนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบภัย 6. ประสานหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือดร้อนของนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ประสบภัย 7. ดำ เนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเน้นการไกล่เกลี่ยประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 8. ติดตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุ้มครอง/ให้คำ ปรึกรึษาแก่เด็กนักเรียรีนโดยคำ นึงถึง ความปลอดภัย 9. จัดเก็บข้อมูลการดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 1.5 การก่อวิน วิ าศกรรม 18


1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อระงับเหตุทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา ประสานศูนย์ฉุกเฉิน โทร.1669 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานสถานีตำ รวจในท้องที่ หรือรืหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา สนับสนุนข้อมูลและอำ นวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 5. ตรวจสอบจำ นวนนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบภัย 6. ประสานหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือดร้อนของนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ประสบภัย 7. ดำ เนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเน้นการไกล่เกลี่ยประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 8. ติดตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุ้มครอง/ให้คำ ปรึกรึษาแก่เด็กนักเรียรีนโดยคำ นึงถึง ความปลอดภัย 9. จัดเก็บข้อมูลการดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 1.6 การระเบิด 19


1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อระงับเหตุทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา ประสานศูนย์ฉุกเฉิน โทร.1669 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานสถานีตำ รวจในท้องที่ หรือรืหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา สนับสนุนข้อมูลและอำ นวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 5. ตรวจสอบจำ นวนนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบภัย 6. ประสานหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือดร้อนของนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ประสบภัย 7. ดำ เนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเน้นการไกล่เกลี่ยประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 8. ติดตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุ้มครอง/ให้คำ ปรึกรึษาแก่เด็กนักเรียรีนโดยคำ นึงถึง ความปลอดภัย 9. จัดเก็บข้อมูลการดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 1.7 สารเคมีและวัตถุอันตราย 20


1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา หรือรืครูที่ปรึกรึษา หรือรืผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำ เนิน การช่วยเหลือและแจ้งผู้ปกครอง 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ดำ เนินการช่วยเหลือนักเรียรีนด้านร่างกาย จิตใจ ให้คำ ปรึกรึษาแก่เด็กนักเรียรีน 5. ติดตาม ดูแลช่วยเหลือนักเรียรีนเด็กนักเรียรีน/คุ้มครอง/ติดตาม โดยคำ นึงถึง ความปลอดภัยของเด็กนักเรียรีน 6. กรณีเด็กนักเรียรีนที่มีความเสี่ยง ต้องให้ได้รับการคุ้มครอง/การสงเคราะห์ ในเบื้องต้นโดยทันที 7. กรณีเด็กนักเรียรีนต้องได้รับการสงเคราะห์ให้เจ้าหน้าที่ส่งต่อไปรับบริกริาร สงเคราะห์ตามระเบียบกระทรวงว่าว่ด้วยการสงเคราะห์เด็กนักเรียรีน 8. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 1.8 การล่อลวง ลักพาตัว 21


2. ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ 2.1 ภัยธรรมชาติ 1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อแจ้งสัญญาณเตือนภัย 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินและประเมินสถานการณ์ 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือรืข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อร่วมแก้ปัญหา 5. อพยพเด็กนักเรียรีนเข้าสู่พื้นที่ปลอดภัย 6. คัดแยกปฐมพยาบาลเบื้องต้น 7. ส่งต่อ ติดตาม ช่วยเหลือ เยียวยา รายกรณี 8. สำ รวจความเสียหาย 9. จัดเก็บข้อมูลการดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 2.2 ภัยจากอาคารเรีย รี น สิ่งก่อสร้าง 1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อแจ้งสัญญาณเตือนภัย 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา ดำ เนินการช่วยเหลือนักเรียรีนที่ประสบอุบัติเหตุ 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานเครือรืข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อร่วมแก้ปัญหา 5. ให้การดูแลช่วยเหลือเด็กนักเรียรีน/คุ้มครอง/ติดตาม 6. จัดทำ จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและ รายงานหน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 22


1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุหรือรืประสบเหตุ สถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา ครูที่ปรึกรึษา ศูนย์ฉุกเฉิน โทร. 1669 แจ้งเจ้าหน้าที่ตำ รวจและแจ้งผู้ปกครอง 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานงานติดตามอาการของเด็กนักเรียรีนและติดตามเรื่อรื่งการประกัน แจ้ง ทะเบียนรถประเภทรถที่ประสบอุบัติเหตุ เพื่อสถานพยาบาลจะได้ดำ เนินการค่าใช้จ่ายใน การรักษาพยาบาลจาก พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ โดยผู้ปกครองนักเรียรีนไม่ ต้องสำ รองจ่าย 5. แจ้งความลงบันทึกประจำ วันวัต่อเจ้าหน้าพนักงานไว้เว้ป็นหลักฐานในการเรียรีกร้อง สินไหมทดแทน 6. กรณีที่เด็กนักเรียรีนทำ ประกันอุบัติเหตุกับบริษัริษัทประกันภัย ให้ดำ เนินการเรียรีก ค่าเสียหายและค่าสินไหมทดแทน หากมีปัญหาให้ติดต่อประสานกับสำ นักงานคณะ กรรมการกำ กับและส่งเสริมริการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) 7. กรณีเด็กนักเรียรีนเสียชีวิตวิให้ติดต่อขอรับใบรับรองของการเสียชีวิตวิจากสถาน พยาบาลในพื้นที่ 8. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงานหน่วย งานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 2.3 ภัยจากยานพาหนะ 2.4 ภัยจากการจัดกิจกรรม 1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อระงับเหตุทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานศูนย์ฉุกเฉิน โทร.1669 และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา สนับสนุนข้อมูล และอำ นวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 5. ตรวจสอบจำ นวนนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบอุบัติเหตุ 6. ดำ เนินการช่วยเหลือด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ให้คำ ปรึกรึษาแก่นักเรียรีน 7. จัดทำ จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 23


1. สถานศึกศึษาได้รัด้บรัแจ้งจ้เหตุหตุรือรืประสบเหตุ สถานศึกศึษาตรวจสอบข้อข้มูลมู เบื้อบื้งต้นต้ ประเมินมิปัญปัหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา แจ้งจ้ครูที่ปที่รึกรึษา หรือรืผู้เผู้กี่ยกี่วข้อข้ง ในการดำ เนินนิ การช่วช่ยเหลือลืและแจ้งจ้ผู้ปผู้ กครอง 3. แจ้งจ้เหตุใตุนระบบ MOE Safety Center 4. บันบัทึกทึข้อข้มูลมูในระบบการดูแดูลช่วช่ยเหลือลืนักนัเรียรีนของสถานศึกศึษาและแจ้งจ้ หน่วน่ยงานที่เที่กี่ยกี่วข้อข้ง 5. ติดติตาม/ดูแดูลช่วช่ยเหลือลื/คุ้มคุ้ ครอง/ให้คำห้ คำปรึกรึษาแก่เก่ด็กด็นักนัเรียรีนโดยคำ นึงนึ ถึงถึความปลอดภัยภั 6. กรณีเณีด็กด็นักนัเรียรีนที่มีที่คมีวามเสี่ยสี่ง ต้อต้งให้ไห้ด้รัด้บรัการคุ้มคุ้ ครอง/การสงเคราะห็ ในเบื้อบื้งต้นต้โดยทันทัที 7. กรณีเณีด็กด็นักนัเรียรีนต้อต้งได้รัด้บรัการสงเคราะห์ให์ห้เห้จ้าจ้หน้าน้ที่สิ่ที่งสิ่ต่อต่ ไปรับรับริกริาร สงเคราะห์ตห์ามระเบียบีบกระทรวงว่าว่ด้วด้ยการสงเคราะห์เห์ด็กด็นักนัเรียรีน 8. จัดจัเก็บก็ข้อข้มูลมูการดำ เนินนิงานของสถานศึกศึษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วน่ยงานต้นต้สังสักัดกัและผู้เผู้กี่ยกี่วข้อข้งทราบตามกรณี 1. สถานศึกศึษาได้รัด้บรัแจ้งจ้เหตุ ตรวจสอบข้อข้มูลมูเบื้อบื้งต้นต้ ประเมินมิปัญปัหา สถานการณ์ 2. รายงานผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา 3. แจ้งจ้เหตุใตุนระบบ MOE Safety Center 4. ประสานหน่วน่ยงานที่เที่กี่ยกี่วข้อข้งในการแก้ไก้ขปัญปัหา สนับนัสนุนนุข้อข้มูลมูและอำ นวย ความสะดวกในการปฏิบัฏิติบังติานของเจ้าจ้หน้าน้ที่ 5. ตรวจสอบจำ นวนนักนัเรียรีน ข้าข้ราชการ ครู และบุคบุลากรทางการศึกศึษา ที่ปที่ระสบเหตุ 6. ดำ เนินนิการช่วช่ยเหลือลืด้าด้นร่าร่งกาย ด้าด้นจิตจิใจ ให้คำห้ คำปรึกรึษาแก่นัก่กนัเรียรีน 7. จัดจัเก็บก็ข้อข้มูลมูการดำ เนินนิงานของสถานศึกศึษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วน่ยงานต้นต้สังสักัดกัและผู้เผู้กี่ยกี่วข้อข้งทราบตามกรณี 3. ภัยภัที่เ ที่ กิดกิจากการถูก ถู ละเมิดมิสิทสิธิ์ (Right) 3.1 การถูก ถู ปล่อล่ยปละ ละเลย ทอดทิ้งทิ้ 3.2 การคุก คุ คามทางเพศ 24


2.5 ภัยจากเครื่อ รื่ งมือ อุปกรณ์ 1. สถานศึกษาได้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อระงับเหตุทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานศูนย์ฉุกเฉิน โทร.1669 และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา สนับสนุนข้อมูล และอำ นวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 5. ตรวจสอบจำ นวนนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบอุบัติเหตุ 6. ดำ เนินการช่วยเหลือด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ให้คำ ปรึกรึษาแก่นักเรียรีน 7. จัดทำ จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 25


1.สถานศึกศึษาได้รัด้บรัแจ้งจ้เหตุ ตรวจสอบข้อข้มูลมูเบื้อบื้งต้นต้ ประเมินมิปัญปัหาสถานการณ์ รายงานผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา แจ้งจ้ผู้ปผู้ กครองเพื่อพื่นำ นักนัเรียรีนเข้าข้สู่กสู่ ระบวนการ คัดคักรองโดยผู้เผู้ชี่ยชี่วชาญเฉพาะทาง 2. 3.แจ้งจ้เหตุใตุนระบบ MOE Safety Center 4.ประสานความร่วร่มมือมืหน่วน่ยงาน/ผู้ที่ผู้ มีที่ส่มีวส่นเกี่ยกี่วข้อข้ง เพื่อพื่แก้ปัก้ญปัหา แจ้งจ้หน่วน่ยงานที่เที่กี่ยกี่วข้อข้ง เพื่อพื่ให้กห้ารช่วช่ยเหลือลืดูแดูล บรรเทาความเดือดืดร้อร้น ของนักนัเรียรีน 5. จัดจัเก็บก็ข้อข้มูลมูการดำ เนินนิงานของสถานศึกศึษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วน่ยงานต้นต้สังสักัดกัและผู้เผู้กี่ยกี่วข้อข้งทราบตามกรณี 6. 4. ภัยภัที่เ ที่ กิดกิจากผลกระทบต่อ ต่ สุข สุ ภาวะทายกาย และจิตจิ ใจ (UNHEALTHINESS) 4.1 ภาวะจิตจิเวช 4.2 ติดติเกม 1.สถานศึกศึษาได้รัด้บรัแจ้งจ้เหตุ ตรวจสอบข้อข้มูลมูเบื้อบื้งต้นต้ ประเมินมิปัญปัหาสถานการณ์ 2.รายงานผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา แจ้งจ้ผู้ปผู้ กครอง 3.แจ้งจ้เหตุใตุนระบบ MOE Safety Center 4.ประสานความร่วร่มมือมืหน่วน่ยงาน/ผู้ที่ผู้ มีที่ส่มีวส่นเกี่ยกี่วข้อข้ง เพื่อพื่แก้ปัก้ญปัหา แจ้งจ้หน่วน่ยงานที่เที่กี่ยกี่วข้อข้ง เพื่อพื่ให้กห้ารช่วช่ยเหลือลืดูแดูล บรรเทาความเดือดืดร้อร้น ของนักนัเรียรีน 5. จัดจัเก็บก็ข้อข้มูลมูการดำ เนินนิงานของสถานศึกศึษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วน่ยงานต้นต้สังสักัดกัและผู้เผู้กี่ยกี่วข้อข้งทราบตามกรณี 6. 26


1. สถานศึกศึษาได้รัด้บรัแจ้งจ้เหตุหตุรือรืประสบเหตุ สถานศึกศึษาตรวจสอบข้อข้มูลมู เบื้อบื้งต้นต้ ประเมินมิปัญปัหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา แจ้งจ้ครูที่ปที่รึกรึษา หรือรืผู้เผู้กี่ยกี่วข้อข้งในการดำ เนินนิ การช่วช่ยเหลือลืและแจ้งจ้ผู้ปผู้ กครอง 3. แจ้งจ้เหตุใตุนระบบ MOE Safety Center 4. ดำ เนินนิการแก้ไก้ขปัญปัหารายกรณี ให้เห้ป็นป็ไปตามระเบียบีบกฏหมายโดยเน้นน้ การไกล่เล่กลี่ยลี่ประนีปนีระนอมตามมาตรการจากเบาไปหาหนักนัและช่วช่ยเหลือลื นักนัเรียรีนด้าด้นร่าร่งกาย จิตจิใจ ให้คำห้ คำปรึกรึษาแก่เก่ด็กด็นักนัเรียรีน 5. ติดติตาม/ดูแดูลช่วช่ยเหลือลื/คุ้มคุ้ ครอง/ให้คำห้ คำปรึกรึษาแก่เก่ด็กด็นักนัเรียรีนโดยคำ นึงนึ ถึงถึความปลอดภัยภั 6. กรณีเณีด็กด็นักนัเรียรีนที่มีที่คมีวามเสี่ยสี่ง ต้อต้งให้ไห้ด้รัด้บรัการคุ้มคุ้ ครอง/การสงเคราะห์ ในเบื้อบื้งต้นต้โดยทันทัที 7. กรณีเณีด็กด็นักนัเรียรีนต้อต้งได้รัด้บรัการสงเคราะห์ให์ห้เห้จ้าจ้หน้าน้ที่สิ่ที่งสิ่ต่อต่ ไปรับรับริกริาร สงเคราะห์ตห์ามระเบียบีบกระทรวงว่าว่ด้วด้ยการสงเคราะห์เห์ด็กด็นักนัเรียรีน 8. จัดจัเก็บก็ข้อข้มูลมูการดำ เนินนิงานของสถานศึกศึษาสรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วน่ยงานต้นต้สังสักัดกัและผู้เผู้กี่ยกี่วข้อข้งทราบตามกรณี 4.3 ยาเสพติดติ 27


1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา แจ้งผู้ปกครอง 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานความร่วมมือหน่วยงาน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหา แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือนร้อน ของนักเรียรีน 5. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 6. 4.4 โรคระบาดในมนุษย์ 1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา แจ้งผู้ปกครอง 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานความร่วมมือหน่วยงาน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหา แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือนร้อน ของนักเรียรีน 5. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 6. 4.5 ภัยไซเบอร์ 28


1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา แจ้งผู้ปกครอง 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานความร่วมมือหน่วยงาน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหา แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือนร้อน ของนักเรียรีน 5. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 6. 4.6 ติดการพนัน 1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา ประสานศูนย์ฉุกเฉิน ไทร.1669 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานความร่วมมือหน่วยงาน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหา 5. ตรวจสอบจำ นวนนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบภัย คัดกรองและแยกผู้เกิดโรคระบาดเพื่อรักษาและกลุ่มเสี่ยงเพื่อป้องกันการแพร่ ระบาด 6. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือนร้อน ของนักเรียรีน ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบภัย 7. ติดตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุ้มครอง/ให้คำ ปรึกรึษาแก่เด็กนักเรียรีน โดยคำ นึง ถึงความปลอดภัย 8. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 4.7 มลภาวะเป็นพิษ 29


1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อแจ้งเตือนนักเรียรีน 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา ประสานศูนย์ฉุกเฉิน โทร.1669 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานความร่วมมือหน่วยงาน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหา 5. ตรวจสอบจำ นวนนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบภัย คัดกรองและแยกผู้เกิดโรคระบาดเพื่อรักษาและกลุ่มเสี่ยงเพื่อป้องกันการแพร่ ระบาด 6. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือนร้อน ของนักเรียรีน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบภัย 7. ดำ เนินการช่วยเหลือ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ให้คำ ปรึกรึษาแก่นักเรียรีน 8. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 4.7 โรคระบาดในสัตว์ 1. สถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ 2. รายงานผู้บริหริารสถานศึกษา 3. แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center 4. ประสานความร่วมมือหน่วยงาน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหา 5. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือนร้อน ของนักเรียรีน ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสบภัย 6. ดำ เนินการช่วยเหลือด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ให้คำ ปรึกรึษาแก่นักเรียรีน 7. จัดเก็บข้อมูล การดำ เนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทำ งานและรายงาน หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี 4.8 ภาวะทุพโภชนาการ 30


ที่เกี่ยวข้อ ข้ ง บทบาทของหน่วยงาน 31


สถานศึกษาเป็นหน่วยงานที่เผชิญเหตุความปลอดภัย จึงมีความ สำ คัญในการดำ เนินงานด้านความปลอดภัย ตลอดจนการลดระดับความ รุนแรงของภัยที่ีเกิดโดยตรง ระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย หรือรืแก้ไข ปัญหา เมื่อเกิดเหตุการณ์ ไม่ปลอดภัย มีบทบาทหน้าที่ ดังนี้ 1. เมื่อเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยหรือรืรับแจ้งเหตุ จากระบบ MOE Safety Center สามารถแจ้งเหตุได้ ดังนี้ 1) หมายเลขโทรศัทพ์ 0 2123 8789 2) Line: @obecsfetycenter 3) Facebook: ศูนย์บริหริารความสุขและความปลอดภัย สพฐ. 4) E-mail: [email protected] และ 5) Website:safetycenter.obec.go.th 2. ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์เพื่อระงับ เหตุการณ์ ความไม่ปลอดภัยหรือรืแก้ไขปัญหา 3. รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำ ดับขั้นและรายงานในระบบ MOE Safety Center 4. ระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย หรือรืแก้ไขปัญหาประสานหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหา 5. คุ้มครอง ดูแลช่วยเหลือแก้ไข และเยียวยา 6. ดำ เนินการช่วยเหลือด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ให้คำ ปรึกรึษา 7. สรุป รายงานผล รายงานสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา และจัดทำ สารสนเทศผลการดำ เนินงาน สถานศึกษา บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 32


สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานดำ เนินงานตามนโยบาย โดยประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการ ศึกษา และดำ เนินงานด้านความปลอดภัย ลดระดับความรุนแรงของภัย ที่จะเกิดขึ้น ระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย หรือรืแก้ไขปัญหาเมื่อเกิด เหตุการณ์ไม่ปลอดภัย มีบทบาทหน้าที่ ดังนี้ 1. เมื่อได้รับแจ้งเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยหรือรืรับเรื่อรื่งร้องทุกข์ จากระบบ MOE Safety Center หรือรืศูนย์ความปลอดภัยสำ นักงาน เขตพื้นที่การศึกษา/โทรศัทพ์/สื่อต่างๆ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมิน ปัญหาสถานการณ์เพื่อระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย หรือรืแก้ไขปัญหา 2. รายงานผู้บังคับบัญชา ตามลำ ดับขั้น รายงานในระบบ MOE Safety Center 3. ติดตามสถานการณ์ ประสานสถานศึกษา ศึกษาที่เกิดเหตุและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยหรือรืแก้ไขปัญหา 4. ลงพื้นที่และตรวจสอบข้อเท็จจริงริ 5. คุ้มครอง ดูแลช่วยเหลือและเยียวยานักเรียรีน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษารายกรณี 6. ดำ เนินการช่วยเหลือด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ให้คำ ปรึกรึษา 7. สรุปรายงานสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและจัดทำ สารสนเทศผลการดำ เนินงาน สำ นักงานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกษา บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 33


สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหน่วยงานหลักในการ กำ หนดนโยบายการดำ เนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และการ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียรีนให้สามารถพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพ จึงมีความสำ คัญ จำ เป็นในการดำ เนินงานด้านความปลอดภัย ตลอดจนการลดระดับความรุง แรงของภัยที่จะเกิดขึ้น ระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย หรือรืแก้ไขปัญหา เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่ปลอดภัย มีบทบาทหน้าที่ ดังนี้ 1. เมื่อได้รับแจ้งเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยหรือรืรับเรื่อรื่งร้องทุกข์ จากระบบ MOE Safety Center สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อระงับ เหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย หรือรืแก้ไขปัญหา 2. รายงานผู้บังคับบัญชา ตามลำ ดับขั้น 3. ติดตามสถานการณ์ ประสานสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่เกิดเหตุ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยหรือรืแก้ไข ปัญหา 4. กรณีเกิดเหตุร้ายแรง ลงพื้นที่และตรวจสอบข้อเท็จจริงริจากการรับ เรื่อรื่งร้องทุกข์ 5. คุ้มครอง ดูแลช่วยเหลือและเยียวยานักเรียรีน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษารายกรณี 6. ติดตาม รายงานผล และจัดทำ สารสนเทศผลการดำ เนินงาน สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้น พื้ ฐาน บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 34


ในปัจจุบันทั่วโลกเผชิญกับปัญหาภัยพิบัตและสาธารณภัยที่เกิดขึ้น บ่อยครั้งและรุนแรงขึ้น ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตวิและทรัพย์สินแก่ประชาชน อย่างมากแนวทางหนึ่งในการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติและสาธารณภัย อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนคือการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยซึ่งเป็นวิธีวิธีการ ที่สามารถปฏิบัติได้ตั้งแต่ในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ การประเมิน ความเสี่ยงเป็นกระบวนการที่ต้องมีการสื่อสารกันระหว่าว่งผู้เชี่ยวชาญที่เป็นผู้ประเมิน ความเสี่ยงและผู้ที่จะนำ ผลของการประเมินไปใช้ อย่างเป็นประจำ และต่อเนื่องนั่น หมายความว่าว่ทุกขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยงมีความสำ คัญและไม่ควรเกิดขึ้น แบบแยกส่วนแต่จะต้องมีการปรึกรึษาและสร้างความเข้าใจระหว่าว่งผู้ประเมินฯ และ ผู้ใช้ผลการประเมินฯไปพร้อมกันแม้กระบวนการและขั้นตอนที่นำ เสนอไว้ใว้นมาตรการ นี้ไม่จำ เป็นต้องเกิดขึ้นตามลำ ดับที่นำ เสนอ แต่การดำ เนินงานและผลที่ได้ในขั้นตอน จะเป็นข้อมูลสำ หรับการดำ เนินงานในขั้นตอนอื่นๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ ทั้งหมดในภาพรวม สิ่งสำ คัญคือผู้อ่านควรสร้างความเข้าใจในเหตุและผล รวมถึง จุดประสงค์ของแต่ละขั้นตอนเพื่อให้สามารถตัดสินใจได้ว่าว่ควรจะดำ เนินการ ตาม ขั้นตอนที่นำ เสนอ หรือรืประยุกต์ใช้เพียงบางขั้นตอนให้เกิดความเหมาะสมกับบริบริท ของตนเอง ทั้งนี้ ในการดำ เนินงานจริงริอาจไม่สามารถปฏิบัติตามกระบวนการ ประเมินความเสี่ยงแบบที่นำ เสนอในมาตรการได้ทุกกรณี ข้าราชการและบุคลากร ทางการศึกษาสามารถประยุกต์การนำ มาตรการรักษาความปลอดภัยของข้าราชครู และบุคลากรทางการศึกษาไปใช้ให้เหมาะกับบริทริบและเงื่อนไขของพื้นที่ให้ได้มาก ที่สุด มาตรการรักษาความปลอดภัย สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต1 งานอาคารสถานที่ 35


มาตรการป้ ป้องกักักันกัและแก้ก้ ก้ไก้ ขปัปัปัญปัหาอุอุอุบัอุบัติบัติบั ติเติหตุตุตุตุ อุบัติบัภัติภัย และปัญปัหาทางสังคม 1.อุบัอุติบัเติหตุจตุากบริเริวณ สำ นักนังาน ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ 1. ติดติตั้งตั้ ไฟฟ้าฟ้ส่อส่งสว่าว่ง 2. จัดจั ให้มีห้รมีะบบการขออนุญนุาตออก นอกสถานที่ร ที่ าชการ 3. จัดจั ให้มีห้กมีารบำ รุงรุดูแดูลรักรัษาความ สะอาดโดยรอบอาคารสม่ำ เสมอ 4. จัดจั ให้มีห้ถัมีงถัขยะแยกประเภทเพื่อ พื่ สะดวกในการจัดจัเก็บก็และทำ ลาย สาเหตุ มาตรการป้องกันกั และแก้ไก้ข ผู้รับรัผิดชอบ 2.อุบัอุติบัเติหตุจตุากสภาพ แวดล้อล้มของ สำ นักนังาน 1. มีกมีารสำ รวจสภาพปัญปัหาด้าด้นสิ่งสิ่ แวดล้อล้ม มลภาวะในสถานที่ร ที่ าชการ เพื่อ พื่ หาแนวทางแก้วก้ ไข 2. แต่งต่ตั้งตั้คณะกรรมการเพื่อ พื่ ให้มีห้มี ส่วส่นร่วร่มในการหาแนวทางป้อป้งกันกั และแก้วก้ ไข 3. ประสานงานกับกัหน่วน่ยอื่น อื่ 4. จัดจักิจกิกรรมสร้าร้งจิตจิสำ นึกนึและ ความตระหนักนัต่อต่ ปัญปัหาสิ่งสิ่แวดล้อล้ม ให้กัห้บกับุคบุลากรทางการศึกศึษาใน สำ นักนังาน ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ 36


มาตรการป้ ป้องกักักันกัและแก้ก้ ก้ไก้ ขปัปัปัญปัหาอุอุอุบัอุบัติบัติบั ติเติหตุตุตุตุ อุบัติบัภัติภัย และปัญปัหาทางสังคม ด้าด้นการป้อป้งกันกัและ แก้ไก้ขปัญปัหาอุบัอุติบัเติหตุ ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ 1. ตรวจสอบโครงสร้าร้งและส่วส่น ประกอบอาคารสถานที่อ ที่ ย่าย่ง สม่ำ เสมอ 2. แต่งต่ตั้งตั้บุคบุลากรในการดูแดูลอาคาร สถานที่ 3. สร้าร้งความตระหนักนัและให้คห้วามรู้ การรักรัษาความปลอดภัยภัแก่บุก่คบุลากร ในสังสักัดกั 4. จัดจัทำ ป้าป้ยข้อข้ความระวังวัด้าด้น ความปลอดภัยภั ในจุดจุอันอัตราย 5. ซ่อซ่มแซมส่วส่นประกอบอาคารให้ อยู่ใยู่ นสภาพที่ปที่ ลอดภัยภั 6. จัดจั ให้มีห้แมีผนการป้อป้งกันกัและการ เคลื่อ ลื่ นย้าย้ยกรณีเณีกิดกิเหตุฉุตุ ฉุกเฉิน สาเหตุ มาตรการป้องกันกั และแก้ไก้ข ผู้รับรัผิดชอบ 4.อุบัอุติบัเติหตุจตุาก เครื่อ รื่ งมือมืเครื่อ รื่ งใช้แช้ละ อุปอุกรณ์ต่ณ์าต่งๆ ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ 3.อุบัอุติบัเติหตุจตุากอาคาร สำ นักนังาน 1. ตรวจสอบเครื่อ รื่ งมือมืเครื่อ รื่ งใช้ และอุปอุกรณ์ต่ณ์าต่งๆ ก่อก่นใช้ทุช้กทุครั้งรั้ 2. ห้าห้มใช้เช้ครื่อ รื่ งมือมืเครื่อ รื่ งใช้แช้ละ อุปอุกรณ์ที่ณ์ชำ ที่ ชำรุดรุ 3. แนะนำ สาธิตธิและควบคุมคุการใช้ อย่าย่งถูกถูวิธีวิตธีามประเภทของ อุปอุกรณ์ 4. จัดจัเก็บก็เครื่อ รื่ งมือมืเครื่อ รื่ งใช้ อุปอุกรณ์ใณ์นที่เ ที่ ก็บก็ทุกทุครั้งรั้อย่าย่งเป็นป็ ระเบียบีบปลอดภัยภั 5. กำ กับกัและดูแดูลบุคบุลากรในการใช้ เครื่อ รื่ งมือมืเครื่อ รื่ งใช้ อุปอุกรณ์ใณ์ห้ถูห้กถู ต้อต้งเหมาะกับกั ประเภทกิจกิกรรม 37


มาตรการป้ ป้องกักักันกัและแก้ก้ ก้ไก้ ขปัปัปัญปัหาอุอุอุบัอุบัติบัติบั ติเติหตุตุตุตุ 1. แต่งต่ตั้งตั้คณะกรรมการรับรัผิดผิชอบ ตรวจสอบอุปอุกรณ์อณ์ย่าย่งสม่ำ เสมอ 2. ให้บุห้คบุลากรในสังสักัดกัตรวจสอบ การใช้อุช้ ปอุกรณ์ไณ์ฟฟ้าฟ้ให้สห้ามารถใช้ งานได้อด้ย่าย่งมีปมีระสิทสิธิภธิาพอย่าย่ง สม่ำ เสมอ หากพบว่าว่มีอุมี ปอุกรณ์ ชำ รุดรุให้เห้ร่งร่ดำ เนินนิการซ่อซ่มแซมทันทัที 3. ให้คห้วามรู้บุรู้ คบุลากรเกี่ย กี่ วกับกัการ ดับดั ไฟ หนีไนีฟ 4. จัดจั ให้มีห้เมีจ้าจ้หน้าน้ที่อ ที่ ยู่เยู่ วรรักรัษา สถานที่ร ที่ าชการอย่าย่งเคร่งร่ครัดรั 5. วางแผนรับรัสถานการณ์ไณ์ว้ล่ว้วล่ง หน้าน้ 6. จัดจัแหล่งล่ข้อข้มูลมูที่ส ที่ ามารถติดติต่อต่ ขอความช่วช่ยเหลือลืไว้ล่ว้วล่งหน้าน้ 7. ขจัดจัสิ่งสิ่รกรุงรุรังรั ในบริเริวณ สำ นักนังาน อาคารและห้อห้งต่าต่งๆ 8. รายงานต้นต้สังสักัดกัทันทัที อุบัติบัภัติภัย และปัญปัหาทางสังคม ด้าด้นการป้อป้งกันกัและ แก้ไก้ขปัญปัหาอุบัอุติบัภัติยภั ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ สาเหตุ มาตรการป้องกันกั และแก้ไก้ข ผู้รับรัผิดชอบ 1.อัคอัคีภัคียภั 38


มาตรการป้ ป้องกักักันกัและแก้ก้ ก้ไก้ ขปัปัปัญปัหาอุอุอุบัอุบัติบัติบั ติเติหตุตุตุตุ 1.ให้คห้วามรู้ใรู้นการปฏิบัฏิติบัตตินแก่ บุคบุลากรให้พ้ห้นพ้จากอันอัตราย 2.จัดจั ให้มีห้กมีารอยู่เยู่ วรรักรัษาสถานที่ ราชการ 3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่าต่งๆ อย่าย่งสม่ำ เสมอ 4. ตัดตัแต่งต่กิ่งกิ่ไม้ที่ม้อ ที่ ยู่ใยู่ กล้อล้าคาร 5. ติดติตามข่าวพยากรณ์อณ์ากาศ สม่ำ เสมอ 6. จัดจั ให้มีห้เมีวชภัณภัฑ์ที่ฑ์จำ ที่ จำเป็นป็ ในการ ปฐมพยายาลเบื้อ บื้ งต้นต้ อุบัติบัภัติภัย และปัญปัหาทางสังคม ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ สาเหตุ มาตรการป้องกันกั และแก้ไก้ข ผู้รับรัผิดชอบ 2. วาตภัยภั 3. อุทอุกภัยภั 1.ให้คห้วามรู้ใรู้นการปฏิบัฏิติบัตตินแก่ บุคบุลากรให้พ้ห้นพ้จากอันอัตราย 2.จัดจั ให้มีห้กมีารอยู่เยู่ วรรักรัษาสถานที่ ราชการ 3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่าต่งๆ อย่าย่งสม่ำ เสมอ 4. ติดติตามข่าวพยากรณ์อณ์ากาศ สม่ำ เสมอ 5. จัดจั ให้มีห้เมีวชภัณภัฑ์ที่ฑ์จำ ที่ จำเป็นป็ ในการ ปฐมพยาบาลเบื้อ บื้ งต้นต้ ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ 38


มาตรการป้ ป้องกักักันกัและแก้ก้ ก้ไก้ ขปัปัปัญปัหาอุอุอุบัอุบัติบัติบั ติเติหตุตุตุตุ 1.ให้คห้วามรู้ใรู้นการปฏิบัฏิติบัตตินแก่ บุคบุลากรให้พ้ห้นพ้จากอันอัตราย 2.จัดจั ให้มีห้กมีารอยู่เยู่ วรรักรัษาสถานที่ ราชการ 3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่าต่งๆ อย่าย่งสม่ำ เสมอ 4. ตัดตัแต่งต่กิ่งกิ่ไม้ที่ม้อ ที่ ยู่ใยู่ กล้อล้าคาร 5. ติดติตามข่าวพยากรณ์อณ์ากาศ สม่ำ เสมอ 6. จัดจั ให้มีห้เมีวชภัณภัฑ์ที่ฑ์จำ ที่ จำเป็นป็ ในการ ปฐมพยายาลเบื้อ บื้ งต้นต้ อุบัติบัภัติภัย และปัญปัหาทางสังคม ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ สาเหตุ มาตรการป้องกันกั และแก้ไก้ข ผู้รับรัผิดชอบ 4. ธรณีพิณีบัพิติบัภัติยภั 5. สาธารณภัยภั1.ชี้แ ชี้ จงให้บุห้คบุลากรทางการศึกศึษา ศึกศึษาและปฏิบัฏิติบัตติามระเบียบีบว่าว่ด้วด้ย การเดินดิทางไปราชการอย่าย่ง เคร่งร่ครัดรั 2.ตรวจสอบสภาพรถยนต์ขต์องทาง ราชการให้พห้ร้อร้มใช้งช้านอยู่เยู่ สมอ 3. ตรวจสอบร่าร่งกายของพนักนังาน ขับขัรถยนต์แต์ละกำ ชับชั ให้ปห้ฏิบัฏิติบัตติาม พระราชบัญบัญัติญัจติราจรทางบก อย่าย่งเคร่งร่ครัดรั 4. ตัดตัแต่งต่กิ่งกิ่ไม้ที่ม้อ ที่ ยู่ใยู่ กล้อล้าคาร 5. ศึกศึษาเส้นส้ทางและสถานที่ใที่ นการ เดินดิทางไปราชการ ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ บุคบุลากรทุกทุคนในสังสักัดกั 39


มาตรการป้ ป้องกักักันกัและแก้ก้ ก้ไก้ ขปัปัปัญปัหาอุอุอุบัอุบัติบัติบั ติเติหตุตุตุตุ 1. เตรียรีมหาข้อข้มูลมูของโรคนั้นนั้ๆ ว่าว่ คือคืโรคอะไร มีวิมีธีวิกธีารรักรัษาหรือรืไม่ และจะต้อต้งปฏิบัฏิติบัตัติวตัยังยั ไงเพื่อ พื่ ป้อป้งกันกัตัวตัเองให้ห่ห้าห่งไกลจากโรคที่ เกิดกิขึ้น ขึ้ 2. เตรียรีมปรับรัเปลี่ย ลี่ นวิถีวิชีถีวิชีตวิเพื่อ พื่ ให้ สอดรับรักับกัสถานการณ์กณ์ารแพร่ ระบาดของโรค เพราะเมื่อ มื่ มีกมีาร ระบาดของโรคเกิดกิขึ้น ขึ้ มักมัจะส่งส่ผล ต่อต่การดำ เนินนิชีวิชีตวิหลังลัจากนี้ แน่นน่อน ไม่ว่ม่าว่จะ new normal หรือรื next normal การเตรียรีมตัวตัและปรับรั ตัวตัต่อต่สถานการณ์ที่ณ์เ ที่ ปลี่ย ลี่ นแปลงไป คือคืส่ิงส่ิที่เ ที่ ราเลี่ย ลี่ งไม่ไม่ด้ 3. เตรียรีมสุขสุภาพร่าร่งกายและจิตจิใจ ให้พห้ร้อร้มและหันหัมาดูแดูลเรื่อ รื่ งสุขสุภาพ และสุขสุอนามัยมั ให้มห้ากขึ้น ขึ้ กินกิอาหาร ที่ดี ที่ ต่ดีอต่ร่าร่งกายและดูแดูลจิตจิใจตัวตัเอง ให้เห้บิกบิบานไม่กัม่งกัวลจนเกินกิไป อุบัติบัภัติภัย และปัญปัหาทางสังคม ผอ.สพป.จบ.1 รองผอ.สพป.จบ.1 กลุ่มลุ่ อำ นวยการ บุคบุลากรทุกทุคนในสังสักัดกั สาเหตุ มาตรการป้องกันกั และแก้ไก้ข ผู้รับรัผิดชอบ 6. โรคอุบัอุติบั ใติหม่ 40


อุทกภัย อัคคีภัย พายุมีหลากหลายรูปแบบ คือ พายุแถบเส้นที่มีแหล่ง กำ เนิดในมหาสมุทร พายุหมุนที่มีแหล่งกำ เนิดบนบก พายุฟ้าคะนอง แผ่นดินไหว ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้น ส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการระทำ ของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ เกิดการลุกไหม้ต่อเนื่อง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากขึ้นถ้าการลุกไหม้ที่มี เชื้อเพลิงหนุนเนื่อง หรือมีไอของเชื้อเพลิงถูกขับออกมามาก ความร้อน แรงก็จะมากยิ่งขึ้น สร้างความสูญเสียให้ทรัพย์สินและชีวิต คือภัยที่เกิดจากพายุ เป็นปรากฏการณ์การสั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลกเพื่อปรับตัวให้อยู่ใน สภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อ บ้านเมือง ที่อยู่อาศัยสิ่งมีชีวิต ภัยอันตรายที่เกิดจากการควบคุมดูแล ทำ ให้เกิดการติดต่อลุกลามไปตาม บริเวณที่มีเชื้อเพลิง อาจจะเป็นน้ำ ท่วม น้ำ ป่า หรืออื่นๆ คือภัยที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีน้ำ เป็นสาเหตุ วิธีการรับมือต่อภัยพิบัติ วาตภัย ภัยพิบัติ หมายถึง สิ่งที่เกิดจากการกระทำ ของมนุษย์ที่เข้าไปคุกคามโดยการทำ ลายป่าไม้หรือแหล่งทรัพยากร ธรรมชิาตที่สำ คัญ ทำ ให้ธรรมชาติเสียสมดุลจนเกิดภัยพิบัติต่างๆ ภัยธรรมชาติก็มีมากมาย อาทิเช่น 41


วิธีวิป้ธี ป้ องกันวาตภัย วิธี วิป้ธีป้ องกันภัย ติดตามสภาวะอากาศฟังคำ เตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา อย่างสม่ำ เสมอ สอบถามแจ้งสภาวะอากาศ แก่กรมอุตุนิยมวิทยา ซ่อมแซม อาคารให้แข็งแรง เตรียมป้องกันภัยให้สัตว์เลี้ยง และพืชผลการเกษตร ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือและ วางแผนอพยพหากจำ เป็น เตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุ กระเป๋าหิ้ว ติดตามข่าวสาร เตรียมพร้อมอพยพเมื่อได้รับ แจ้งให้อพยพ ควรติดตามฟังข่าวอากาศของกรม อุตุนิยมวิทยาอย่างสม่ำ เสมอ เมือใด ที่กรมอุตุนิยมวิทยาเตือนให้อพยพ ทั้งคนและสัตว์เลี้ยงควรรีบอพยพ ไปอยู่ในที่สูง อาคารที่มั่นคงแข็ง แรง ถ้าอยู่ที่ราบให้ระมัดระวังน้ำ ป่า หลากจากภูเขาที่ราบสูงลงมา กระแสน้ำ จะรวดเร็วมากควร สังเกตเมื่อมีฝนตกหนักติดต่อกันบน ภูเขาหลายๆวัน ให้เตรียมตัวอพยพ ขนของไว้ที่สูง ถ้าอยู่รินน้ำ ให้เอาเรือหลบเข้าฝั่ง ไว้ในที่จะใช้งานได้เมื่อเกิดน้ำ ท่วม เพื่อการคมนาคมควรมีการวางแผน อพยพว่าจะไปอยู่ที่ใดพบกันที่ไหน อย่างไร กระแสน้ำ หลากจะทำ ลายวัสดุ ก่อสร้าง เส้นทางคมนาคม ต้นไม้ และพืชไร่ ต้องระวังกระแสน้ำ พัด พาไป อย่าขับรถยนต์ฝ่าไปใน กระแสน้ำ หลาก อย่าลงเล่นน้ำ อาจจะประสบอุบัติภัยอื่นๆ ก็ได้ วิธีวิป้ธี ป้องกันภัยจากอุทกภัย 42


Click to View FlipBook Version