The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือในการใช้เป็นแนวทางให้กับสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือแผนเผชิญเหตุ

คู่มือในการใช้เป็นแนวทางให้กับสถานศึกษา

วิธี วิป้ธีป้ องกันภัย ไม่ควรวางส่ิงของที่มีน้ำ หนักมากๆ ไว้ในที่ สูง เพราะอาจร่วงหล่นมาทำ ความเสียหาย หรือเป็นอันตรายได้ เตรียมการอพยพเคลื่อนย้ายหากถึงเวลา ที่จะต้องอพยพ วางแผนป้องกันภัยสำ หรับครอบครัว ที่ทำ งานและสถานศึกษา มีการชี้แจง บทบาทที่สมาชิกแต่ละบุคคลจะต้อง ปฏิบัติ มีการฝึกซ้อมแผนที่จัดทำ ไว้ เพื่อเพิ่มลักษณะและความคล่องตัว ในการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน เตรียมเครื่องอุปโภค บริโภคที่จำ เป็น เช่น ไฟฉาย อุปกรณ์ดับเพลิง น้ำ ดื่ม อาหารแห้ง ไว้ใช้ในกรณีไฟฟ้าดับหรือกรณีฉุกเฉินอื่นๆ จัดหาเครื่องรับวิทยุที่ใช้ถ่านไฟฉายหรือ แบตเตอรี่สำ หรับเปิดฟังข่าวสารคำ เตือน คำ แนะนำ และสถานการณ์ต่างๆ เตรียมอุปกรณ์นิรภัย สำ หรับการช่วยชีวิต เตรียมยารักษาโรคและเวชภัณฑ์ให้พร้อม ที่จะใช้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น จัดอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพื่อเป็นการ เตรียมพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บหรือ อันตรายให้พ้นขีดอันตรายก่อนที่จะถึงมือแพทย์ จัดตำ แหน่งของวาล์ว เปิด-ปิดน้ำ ตำ แหน่งของ สะพานไฟฟ้า เพื่อตัดตอนการส่งน้ำ ส่งไฟ ยึดเครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้สอยภายในบ้าน ที่ทำ งานและในสถานศึกษาให้มั่นคงแน่นหนา วิธีวิป้ธี ป้องกันภัยจากแผ่นผ่ดินไหว ก่อนเกิดแผ่นผ่ดินไหว 43


ตรวจเช็คระบบแก๊ส โดยวิธีการดมกลิ่น เท่านั้น หากพบว่ามีกลิ่นการรั่วซึมของแก๊ส ให้เปิดประตู หน้าต่าง แล้วออกจากอาคาร แจ้งเจ้าหน้าที่ได้ทราบ ออกจากอาคารที่ชำ รุดโดยด่วน รวมพล ณ ที่หมายที่ได้ตกลงนัดหมายกันไว้ ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการเข้าไปปฏิบัติงาน ในบริเวณที่ได้รับความเสียหาย อย่าออกจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นใต้น้ำ ซัดฝั่งได้ แม้ว่าการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน จะสิ้นสุดลงแล้วก็ตาม ตั้งสติอยู่ในที่ที่แข็งแรงปลอดภัย ห่างจากประตู หน้าต่าง สายไฟฟ้า เป็นต้น ปฏิบัติตามคำ แนะนำ ข้อควรปฏิบัติของทางราชการอย่าง เคร่งครัดไม่ตื่นตระหนกจนเกินไป ไม่ควรทำ ให้เกิดประกายไฟเพราะหมากมีการรั่วซึม ของแก๊สหรือวัตถุไวไฟอาจเกิดพิบัติจากไฟไหม้ ไฟลวก ซ้ำ ซ้อนกับแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นอีก เปิดวิทยุรับฟังสถานการณ์คำ แนะนำ ตักเตือนต่างๆ จากทางราชการอย่างต่อเนื่อง ไม่ควรใช้ลิฟท์เพราะหากไฟฟ้าดับอาจมีอันตรายจากการ ติดอยู่ภายในลิฟท์ มุดเข้าไปนอนใต้เตียงหรือตั่ง อย่าอยู่ใต้คานหรือที่ที่มีน้ำ หนักมาก อยู่ใต้โต๊ะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันภัยอันตรายจากสิ่งปรัก หักร่วงหล่นลงมา อยู่ห่างจากสิ่งที่ไม่มั่นคงแข็งแรง ให้รีบออกจากอาคาร เมื่อมีการสั่งการจากผู้ที่ควบคุมแผน ป้องกันภัยหรือผู้ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ หากอยู่ในรถ ให้หยุดรอจนกว่าแผ่นดินจะหยุดไหวหรือ สั่นสะเทือนหลังเกิดแผ่นดินไหว ตรวจเช็คการบาดเจ็บ และทำ การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับ บาดเจ็บ แล้วรีบนำ ส่งโรงพยาบาลโดยด่วนเพื่อให้แพทย์ ได้ทำ การรักษาต่อไป ขณะเกิดแผ่นดินไหว 44


1.การเตรียรีมความพร้อร้ม 1.1จัดจัให้มีห้แมีผนผังผัอาคารและหน่วน่ยงาน เส้นส้ทางหนีไนีฟ 1.2 ตรวจสอบความพร้อร้มอุปอุกรณ์ป้ณ์ อป้งกันกัและระงับงัอัคอัคีภัคียภัเส้นส้ทางหนีไนีฟไม่ใม่ห้มีห้สิ่มีง สิ่ กีดกีขวาง 1.3จัดจัลำ ดับดัการเคลื่อ ลื่ นย้าย้ยคน และแจ้งจ้ให้เห้จ้าจ้หน้าน้ที่ใที่ นหน่วน่ยงานทราบ ดังดันี้ ลำ ดับดัที่ 1. ผู้ที่ผู้ช่ ที่ วช่ยเหลือลืตนเองได้สด้ามารถเดินดิเองได้ ลำ ดับดัที่ 2. ผู้ที่ผู้ต้ ที่ อต้งมีคมีนช่วช่ยพยุงยุนั่ง นั่ รถเข็น ข็ ลำ ดับดัที่ 3. ผู้ที่ผู้ไที่ ม่สม่ามารถช่วช่ยตนเองได้ นอนเปล ลำ ดับดัที่ 4. ผู้ที่ผู้ใที่ ช้อุช้ปอุกรณ์ช่ ณ์ วช่ยชีวิชีตวิ 1.4จัดจัลำ ดับดัการเคลื่อ ลื่ นย้าย้ยอุปอุกรณ์ แจ้งจ้ให้เห้จ้าจ้หน้าน้ที่ใที่ นหน่วน่ยงานทราบ ดังดันี้ ลำ ดับดัที่ 1.วัตวัถุไถุวไฟ ติดติไฟง่าง่ย ลำ ดับดัที่ 2. แฟ้มฟ้ข้อข้มูลมูสำ คัญคัเอกสารสำ คัญคั การป้อป้งกันกัระงับงัเหตุอัตุคอัคีภัคียภัสำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่ก ที่ ารศึกษาประถมศึกษาจันจัทบุรีบุรีเขต 1 1. นำ ถังถัดับดัเพลิงลิประจำ หน่วน่ยงานช่วช่ยดับดัเพลิงลิเบื้อ บื้ งต้นต้ 2. ปิดปิสะพานไฟ ปิดปิออกซิเซิจน ปิดปิหน้าน้ต่าต่ง ปิดปิประตู 3.ช่วช่ยดับดัเพลิงลิเบื้อ บื้ งต้นต้ด้วด้ยอุปอุกรณ์ดั ณ์ บดัเพลิงลิที่มี ที่ อมียู่ใยู่ นหน่วน่ยงาน 4. การแจ้งจ้เหตุจตุากกริ่ง ริ่ สัญสัญาณเตือตืนภัยภัให้เห้คลื่อ ลื่ นย้าย้ยออกจากอาคารในกรณี ที่อ ที่ ยู่ใยู่ นหน่วน่ยงานที่ ต้อต้งเคลื่อ ลื่ นย้าย้ยผู้ป่ผู้วป่ยให้ตห้รวจสอบไฟไหม้จม้ริงริหรือรืไม่ จากประชาสัมสัพันพัธ์ หน่วน่ยรักรัษาความปลอดภัยภัช่าช่งไฟฟ้าฟ้ 5. หน่วน่ยงานอื่น อื่ ให้เห้ตรียรีมความพร้อร้มและให้กห้ารช่วช่ยเหลือลืเช่นช่ทีมทีผจญเพลิงลิ ทีมทีช่าช่งฉุกฉุเฉินฉิทีมทีรักรัษาความสงบ/จราจร ทีมทีเคลื่อ ลื่ นย้าย้ยผู้ป่ผู้วป่ย ทีมทีสนับนัสนุนนุ หลังลัเกิดกิไฟไหม้ ทีมทีรักรัษาพยาบาล 6. เมื่อ มื่ ไฟไหม้สม้งบ ประชาสัมสัพันพัธ์ผ่ ธ์ าผ่นระบบกระจายเสียสีงให้ปห้ฏิบัฏิติบัตติามแผน หลังลัเกิดกิเหตุไตุฟไหม วิธี วิป้ธี อ ป้ งกัน กั ระงับ งั เหตุภั ตุ ย ภั จากอัค อั คีภั คี ย ภั แผนเคลื่อ ลื่ นย้าย้ยฉุก ฉุ เฉินฉิ จุด จุ รวมพลสพป.จัน จั ทบุรี บุ รี เขต 1 บริเ ริ วณหน้า น้ เสาธง 45


• ปิดสวิตซ์และถอดปลั๊กอุปกรณ์ไฟฟ้า เมื่อเลิกใช้งานแล้วทุกครั้ง • สำ รวจอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าว่าได้ปิดสวิตซ์และถอดปลั๊กแล้วหลังเลิกงาน และก่อนออกจากห้อง • การกระทำ ใดๆ ที่จะทำ ให้เกิดหรืออาจเกิดประกายไฟต้องนำ สารไวไฟ สารเชื้อเพลิงออกจากบริเวณนั้นก่อน • เครื่องใช้ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ช ารุด ต้องหยุดใช้และส่งแก้ไขไม่ควรแก้ไขเอง โดยลำ พังหากไม่มีความรู้ความชำ นาญ แผนปฏิบัติหลังเกิดไฟไหม้ 1. ตรวจนับจำ นวนคนที่อยู่ในอาคารเกิดเหตุไฟไหม้ 2. ตรวจสอบความแข็งแรงของอาคารที่เกิดเหตุไฟไหม้ 3. สำ รวจและประเมินความเสียหาย รายงานตามขั้นตอน 4. ประเมินปัญหาและอุปสรรค เพื่อปรับปรุงแก้ไขต่อไป วิธีดำ เนินการ ข้อควรปฏิบัติในการป้องกันอัคคีภัย เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ อย่าตื่นตกใจ เตรียมใจต่อสู้ พร้อมดูทางหนี เล็งรี่ทางหนีไฟ อย่ายืดยาด รีบออกนอกอาคาร พบเหตุ แจ้งเหตุ ระงับเหตุ 46


แผนจัจั จั ดจั ดการด้ด้ ด้ าด้ านอัอั อั คอั คคีคี คี ภัคี ภั ภั ยภั ย เครื่องมือพร้อม อบรม สัมมนา เรื่องอัคคีภัย จัดทำ ป้าย สัญลักษณ์บอกทาง ตำ แหน่งประตูหนีไฟ ฝึกใช้เครื่องมือดับเพลิง สำ รวจ เตรียมอุปกรณ์ความพร้อมใช้ จำ นวนชุดผจญเพลิง เครื่องมือสื่อสาร ให้ความรู้ ฝึกซ้อมแผน ทบทวนความรู้ ขั้นตอน จัดทำ แผนผังทิศทางการหนีไฟ เตรียมความสะดวก ขจัดอุปสรรคทางหนีไฟ สำ รวจตรวจตราวัสดุติดไฟ เครื่องใช้ไฟฟ้า ซ้อมแผนอัคคีภัย ประจำ ปี เตรียมจุดรวมพล 47


48


หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน 191 ติดต่อสายด่วนเหตุการณ์ฉุกเฉิน 1669 แจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย 1323 สายด่วนสุขภาพจิต 199 แจ้งเหตุเพลิงไหม้ 1132 งานป้อป้งกันกับรรเทาสาธารภัยภัเทศบาลเมือมืง จันจัทบุรี สายด่วน หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน 49


หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน สำ นักงานป้อป้งกันกัและบรรเทาสาธารภัยภั จังจัหวัดวัจันจัทบุรี 1129 ติดต่อสายด่วนเหตุการณ์ฉุกเฉิน 1422 แจ้งเหตุไฟฟ้าขัดข้อง 1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1196 ศูนย์ปลอดภัยทางน้ำ 1784 039-312-100/039-325-139 กรมควบคุมโรค 50


นางสาวสมพร อุร อุ ะเกตุ กรณีเณีกิดกิเหตุต ตุ ามมาตรการความปลอดภัยภั สถานศึกษา รายชื่อผู้ปผู้ระสานงาน กลุ่มลุ่ส่งเสริมริการจัดจัการศึกษา ผอ.กลุ่มลุ่ส่งเสริมริการจัดจัการศึกษา นักนัวิชวิาการศึกษาชำ นาญการ นางสาวสำ อาง คงนิลนิ 080-151-1221 นักนัวิชวิาการศึกษาชำ นาญการ 06-4628-2956 นางสาวนิชนิาพัฒพัน์ ธนพลผโลทัยทั นางสาวกันกัย์สิย์ สินี ชัยชัวุฒิ วุ รัฒิฐรั นักนัวิชวิาการศึกษาชำ นาญการ 097-926-3541 086-426-2365 51


099-609-7146 กรณีเณีกิดกิเหตุต ตุ ามมาตรการความปลอดภัยภั สถานศึกษา รายชื่อผู้ปผู้ระสานงาน กลุ่มลุ่ส่งเสริมริการจัดจัการศึกษา นางสาวรัตรันาวดี เตชะนอก เจ้าจ้พนักนังานธุร ธุ การปฏิบัฏิติบังติาน นายนิพินิทพิมหาชัยชั เจ้าจ้พนักนังานธุร ธุ การชำ นาญงาน 092-149-9955 084-020-8818 นักนัวิชวิาการศึกษาชำ นาญการ นางสาวทับทัทิมทิอาจหาญ 52


086-054-5546 กรณีเณีกิดกิเหตุต ตุ ามมาตรการความปลอดภัยภั สถานศึกษา รายชื่อผู้ปผู้ระสานงาน กลุ่มลุ่ส่งเสริมริการจัดจัการศึกษา นางสาวอรวรรณ ศรีปรีระเสริฐริ นักนัจิตจิวิทวิยาโรงเรียรีน ประจำ เขตพื้นพื้ที่กที่ารศึกษา เจ้าจ้หน้าน้ที่ลูที่ก ลู เสือ 092-525-3525 นายธนบดี สิทธิโธิชค 53


เพื่พื่อ พื่พื่ ดำดำดำดำ ดำดำ เนินินนินิการด้ด้า ด้ด้ นความปลอดภัภัย ภัภั การจัจัด จัจั ตั้ตั้ง ตั้ตั้ กลุ่ลุ่มลุ่ลุ่ ไลน์น์ น์น์ Line สำ นักงานเขตพื้นพื้ที่กที่ารศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 54


โครงการศึกษาวิจัวิจัยการขับเคลื่อนมาตรฐานความปลอดภัยรถรับส่งนักเรียรีน พื้นที่นำ ร่อง จันทบุรี ภายใต้ศูนย์วิชวิาการเพื่อความปลอดภัยทางถนนจึงได้เริ่มริ่ต้นขึ้น มีการประสานความร่วมมือกับสำ นักงานขนส่งจังหวัดจันทบุรี และได้ลงเก็บและจัด ทำ ข้อมูลพร้อมวิเวิคราะห์สภาพปัญหา ความเสี่ยงรถรับ-ส่งนักเรียรีนของจังหวัด จันทบุรี มีการเริ่มริ่พูดคุยหารือรืกับกลุ่มรถรับส่งนักเรียรีนที่รวมตัวแบบไม่เป็นทางการ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ในพื้นที่อย่างละเอียด เช่น จำ นวนรถ ประเภทคนใช้ในการ รับส่ง-นักเรียรีน สภาพรถ การตรวจสภาพ การขออนุญาตเป็นรถรับ-ส่งนักเรียรีน อุปกรณ์ความปลอดภัย เส้นทาง ที่วิ่งวิ่จำ นวนนักเรียรีนที่โดยสารในรถคันนั้น มีการติดตามประเมินผลด้าน “พฤติกรรม” กำ หนดให้สมาชิกทุกชมรมต้อง มีไลน์ เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร และที่สำ คัญสำ หรับใช้รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ ในแต่ละวัน โดยมีไลน์ทั้งหมด 3 กลุ่ม คือ (1) ไลน์พนักงานขับรถส่งนักเรียรีน (รถทุกคัน พอถึงบ้านปุ๊ปจะรายงานเข้าระบบไลน์ ถึงแล้วนะ เด็กปลอดภัย) (2) ไลน์ของนักเรียรีน (ทำ หน้าที่ตรวจสอบความเรียรีบร้อยและปัญหาต่างๆ ขณะที่ นักเรียรีนนั่งอยู่บนรถ) (3) กลุ่มไลน์ spy ในรถ (กำ หนดให้นักเรียรีนหนึ่งคนในรถ คอยรายงานว่า ที่คนขับรถรายงานกับเด็กรายงานตรงกันหรือรืเปล่า) ทุกวันจะมีการ ติดตามผลอยู่ทุกวัน โดยให้คณะกรรมการชมรมแต่ละชมรมเป็นคนประเมินผล และระบบไลน์ยังมีประโยชน์โดยเฉพสาะไว้รายงานเหตุฉุกเฉิน เช่น รถเสีย รถประสบอุบัติเหตุ เป็นต้น จังหวัดจันทบุรีเรีป็นจังหวัดที่มีการทดลองพัฒนารูปแบบการจัดการ รถรับ - ส่งนักเรียรีนโดยเริ่มริ่จากกระบวนการในการวิเวิคราะห์ความเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับรถรับ - ส่งนักเรียรีนในพื้นที่ที่มีแนวโน้มไปที่ปัจจัยด้านคน เป็นหลัก โครงการฯ ในช่วงเริ่มริ่ต้นจึงมุ่งเน้นไปที่การจัดการเครือรืข่ายรถ รับ-ส่งนักเรียรีนซึ่งเป็นหัวใจหลักของการพัฒนาระบบให้เกิดความยั่งยืน ต่อไป เรียรีกได้ว่า ระบบการจัดการรถรับ-ส่งนักเรียนที่ปลอดภัย จังหวัดจันทบุรี “เป็นการเริ่มริ่ต้นจากพฤติกรรมเสี่ยงสู่การจัดการเครือรืข่ายผู้ประกอบ การรถรับ-ส่งนักเรียรีนอย่างเป็นระบบ” 55


1. อนุญาตให้นำ รถที่จดทะเบียนเป็นรถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน แต่ไม่ เกิน 12 คน ทั้งรถสองแถวและรถตู้มาใช้เป็นรถรับ-ส่งนักเรียนได้ โดยต้อง มีการรับรองการใช้รถดังกล่าวจากโรงเรียนหรือสถานศึกษาซึ่งได้ มาตรฐานตามที่กรมการขนส่งทางบกกำ หนด 4. รถรับ-ส่งนักเรียนทุกคันต้องติดแผ่นป้ายพื้นสีส้ม มีข้อความตัวอักษรสี ดำ ว่า “รถโรงเรียน” ติดอยู่ด้านหน้าน้และด้านท้าย และมีไฟสัญญาณสี เหลืองอำ พันหรือสีแดงเปิด-ปิดเป็นระยะติดไว้ที่ด้านหน้าน้และด้านท้ายของ รถ 5. ต้องมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำ เป็นกรณีฉุกเฉิน อาทิ เครื่องดังเพลิง หรือ ค้อนทุบกระจก วัสดุภายในรถส่วนของผู้โดยสารต้องไม่มีส่วนแหลมคม 2. ที่นั่งผู้โดยสารต้องยึดแน่นอย่างมั่นคงแข็งแรง และต้องไม่มีพื้นที่สำ หรับ นักเรียนยืน โดยรถสองแถวต้องมีประตูและที่กั้นป้องกันนักเรียนตก ส่วนรถ ตู้ต้องจัดวางที่นั่งเป็นแถวนอน ตามความกว้างของตัวรถเท่านั้น 3. รถต้องผ่านการตรวจสอบจากสำ นักงานขนส่งจังหวัด ที่โรงเรียนหรือ สถานศึกษาสังกัดอยู่ 6. คนขับต้องได้รับใบอนุญาตขับรถยนต์ส่วนบุคคลมาแล้วไม่น้อน้ยกว่า 3 ปี หรือได้รับใบอนุญาตขับรถยนต์สาธารณะ มีผู้ดูแลนักเรียนประจำ อยู่ใน รถตลอดเวลาที่ใช้รับ-ส่งนักเรียน มาตรฐานความปลอดภัยของ “รถรับ - ส่งนักเรียน 56


1 2 3 4 รถรับ-ส่งนักเรียนที่ให้บริการ เป็นของใคร อันดับแรก ผู้ปกครองควรรู้ก่อนว่า รถรับ-ส่งนักเรียนที่ให้บริการ นั้น มีโรงเรียนเป็นผู้ดำ เนินการ หรือเป็นผู้ประกอบการจ้าง นอก ประวัติคนขับรถ ไม่ว่า บริการรถรับ-ส่งนักเรียน จะมีใครเป็นผู้ดำ เนินการ ผู้ ปกครองควรทราบเสียก่อนว่า คนขับรถชื่ออะไร ขับรถอย่างไร มี คุณสมบัติ ที่เหมาะสมแก่การขับรถรับ-ส่งนักเรียนหรือไม่ ซึ่ง เรื่องนี้สามารถเช็คกับทางโรงเรียนได้ เนื่องจากโรงเรียนต้องมี กระบวนการตรวจสอบ มาก่อนแล้ว มาตรการหรือนโยบายเกี่ยวกับรถรับ-ส่งนักเรียน เป็นการเช็กว่า ทางโรงเรียนมีนโยบายและมาตรการเกี่ยวกับรถ รับ-ส่งนักเรียนอย่างไร อาทิ รถทุกคันมีครูหรือครูพี่เลี้ยงอยู่ ประจำ รถหรือไม่ หากไม่มีครูหรือครูพี่เลี้ยง ใครเป็นผู้คอยดูแดล เด็กนักเรียนขณะโดยสารรถรับ-ส่ง มีการเช็คชื่อเด็กนักเรียนใน เวลาขึ้นขึ้รถ หรือลงรถหรือไม่ เรื่องนี้ ถือว่าเป็นเรื่องสำ คัญอย่างยิ่ง เพราะหากดูตามข่าวพบว่า เหตุที่เด็กถูกหลงลืมในรถรับ-ส่งนักเรียน ส่วนใหญ่เป็นเพราะคน ขับรถ ครูหรือครูพี่เลี้ยง ซึ่งมีหน้าน้ที่อยู่ประจำ บนรถคันดังกล่าว ไม่ได้มีการเช็คชื่อว่ามีเด็กขึ้นขึ้รถมากี่คน และเมื่อถึงโรงเรียนเด็ก ได้ลงจากรถไปทั้งหมดกี่คน ตรวจสอบสภาพรถและอุปกรณ์ที่ณ์ที่อยู่ภายใน ผู้ปกครองควรตรวจสอบสภาพรถว่ามีการดัดแปลงสภาพมา หรือไม่ ระบบล็อคทั้งประตู หน้าน้ต่าง ได้มาตรฐานหรือไม่ จำ นวนที่นั่งบนรถสัมพันธ์กับจำ นวนเด็กไหม (ควรนั่ง 1 คน ต่อ 1 เบาะ) เข็มขัดนิรภัยมีครบทุกที่นั่งและสามารถใช้งานได้ จริงหรือไม่ 57


5 6 7 ขณะที่อุปกรณ์ด้ณ์าด้นความปลอดภัย อาทิ ถังดับดัเพลิง หรือรืค้อน ทุบทุกระจก ควรติดตั้งตั้อยู่ตยู่รงจุดที่พร้อร้มหยิบยิมาใช้งช้าน ในกรณี ที่เกิดเหตุฉุตุกฉุเฉิน โดยส่วนใหญ่ทางโรงเรียนจะให้ครูประจำ ชั้นมีการพูดคุยกับคน ขับรถประจำ มีไลน์ขน์องคนขับรถ ผู้ปกครองจะมีไลน์มีน์ มีเบอร์โทร ของ คนขับรถ เผื่อกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ซึ่งผู้ปกครองอาจโทร สอบถามตามเบอร์ดังกล่าวว่าลูกของตนเดินทางถึงโรงเรียน หรือยัง หากยังขณะนี้รถรับ-ส่งนักเรียน เดินทางถึงจุดไหน เด็กที่ใช้บริการรถรับ-ส่ง นักเรียน มีใครบ้าง เป็นการตรวจสอบว่า รถรับ-ส่งนักเรียนที่ลูกขึ้นขึ้นั้น มีเพื่อน ของลูกหรือไม่ หากมีคือใครบ้าง เพื่อที่ผู้ปกครองจะได้รู้ว่า เด็กที่ต้องเดินทางด้วยกันทุกวันเป็นใคร บ้านอยู่ที่ไหน ผู้ ปกครองคือใคร พร้อมทั้งควรขอเบอร์ผู้ปกครองของเด็กที่ ต้องใช้เส้นทางลงก่อนหน้าน้ลูก หรือลงหลังลูกของเรา เผื่อมี กรณีผิดเวลาจะได้สามารถสอบถามกันได้ สอนวิธีการเอาตัวรอดเบื้องต้น ผู้ปกครองและโรงเรียนควรสอนเด็กนักเรียนให้รู้จักแตร รถยนต์ พร้อมสอนด้วยว่า หากต้องอยู่ในรถยนต์เพียงลำ พัง หรือต้องการความช่วยเหลือให้กดแตรตรงไหน รวมถึงวิธี การปลดล็อกประตูรถ โดยการสอนเด็กเล็กนั้น ครู ผู้ ปกครองต้องใจเย็นและค่อยๆ สอนแบบย้ำ ๆ ซ้ำ ๆ บ่อยๆ ให้ เด็กได้เรียนรู้และจดจำ นำ ไปใช้ หากเกิดกรณีที่ต้องติดอยู่ใน รถ วิธีตรวจสอบรถนักเรียน ขณะเดินทาง 58


1. ต้องขับขัรถด้วยความปลอดภัย 2. ต้องให้นั ห้ กนัเรีย รี นขึ้น ขึ้ นั่งนั่ประจำ ที่ให้พ ห้ ร้อ ร้ มก่อน เคลื่อนรถ 3. ต้องกำ กับดูแดูลให้นั ห้ กนัเรีย รี นรัดรัร่าร่งกายด้วย เข็ม ข็ ขัดขันิรนิภัยไว้กับที่นั่งนั่เพื่อ พื่ป้อ ป้ งกันอันตราย ในขณะโดยสาร ตามกฏหมายว่าด้วยการขนส่งส่ ทางบก 4. ต้องไม่ขัม่บขัรถในลักษณะประมาณหรือ รื น่าน่ หวาดเสีย สี วอันน่าน่จะเป็น ป็ อันตรายแก่บุคคลหรือ รื ทรัพรัย์สิ ย์ นสิ 5. ต้องไม่ใม่ช้โช้ ทรศัพศัท์เคลื่อนที่ขณะขับขัรถเว้น แต่การใช้โช้ ทรศัพศัท์เคลื่ือนที่โดยใช้อุ ช้อุปกรณ์เ ณ์ สริมริ สำ หรับรัการสนทนาโดยพนักนังานขับขัรถไม่ต้ม่ ต้ อง ถือหรือ รื จับโทรศัพศัท์เคลื่อนที่นั้นนั้ 6. ต้องประพฤติปฏิบัติบั ติามกฏหมาย กฎ และ ระเบีย บี บ 7. เข้า ข้ รับรัการอบรมตามที่โรงเรีย รี นหรือ รื ผู้ดำผู้ ดำเนินนิ กิจการรถโรงเรีย รี นกำ หนด สิ่สิ่สิ่สิ่งสิ่สิ่ที่ที่ต้ต้ ที่ที่ อ ต้ต้ งทำทำทำทำ ทำทำ เพิ่พิ่พิ่พิ่มพิ่พิ่ / มีมีเ มีมี พิ่พิ่พิ่พิ่มพิ่พิ่ เพิ่มพิ่หน้าน้ที่ข ที่ องพนักนังานขับขัรถ รถรับรั-ส่งส่ นักนัเรียรีน 59


ขั้นขั้ตอนการขออนุญนุาตพานักนัเรียรีนไปนอกสถานศึกษา แจ้งจ้แนวทางในการขออนุญนุาตนำ นักนัเรียรีน ไปนอกสถานศึกษา 1. ระเบียบีบกระทรวงศึกษาธิกธิารว่าว่ด้วด้ยการพานักนัเรียรีนและนักนัศึกษาไปนอกสถาน ศึกษา พ.ศ.2562 2. ระเบียบีบกระทรวงศึกษาธิกธิารว่าว่ด้วด้ยการพานักนัเรียรีนและนักนัศึกษาไปนอกสถาน ศึกษา พ.ศ.2563 (ฉบับบัที่ 2) 3. แนวทางการพิจพิารณาอนุญนุาตพานักนัเรียรีนในสังสักัดสำ นักนังานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นขั้พื้นพื้ฐานไปนอกราชอาณาจักจัร ลงวันวัที่ 11 เมษายน 2566 4. การมอบอำ นาจการอนุญนุาตการพานักนัเรียรีนไปนอกราชอาณาจักจัรในสังสักัด สำ นักนังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นพื้ฐาน ลงวันวัที่ 8 มกราคม 2567 5. คำ สั่งสั่สำ นักนังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นพื้ฐาน ที่ 35/2567 สั่งสั่ณ วันวัที่ 8 มกราคม พ.ศ.2567 6. ประกาศกระทรวงศึกษาธิกธิารเรื่อรื่ง มาตรการในการพานักนัเรียรีนและนักนัศึกษาไป นอกสถานศึกษาและเดินดิทางไกลเข้าข้ค่ายพักพัแรมของลูกลูเสือสืเนตรนารี และ ยุวกาชาด ระเบีย บี บ/ประกาศ และมาตรการ ที่เ ที่ กี่ยวข้อง 60


ขั้นขั้ตอนการขออนุญนุาตพานักนัเรียรีนไปนอกสถานศึกษา สถานศึกษายื่นยื่อนุญนุาตพา นักนัเรียรีนไปนอกสถานศึกษา แบบไม่ค้ม่ ค้างคืน ผอ.โรงเรียรีนเป็นป็ ผู้อผู้ นุญนุาต สถานศึกษายื่นยื่อนุญนุาตพา นักนัเรียรีนไปนอกสถานศึกษา แบบค้างคืน ผอ.สพป.จบ.1 เป็นป็ผู้อผู้ นุญนุาต ยื่นยื่เอกสารก่อนเดินดิทางไม่น้ม่อน้ย กว่าว่ 15 วันวัแนบเอกสาร ดังดันี้ 1.โครงการ 2.รายชื่อชื่ครูผู้รูคผู้ วบคุมคุและนักนัเรียรีน 3.กำ หนดการเดินดิทาง สำ เนาหนังนัสือสืขออนุญนุาตผู้ ปกครอง 4. 5.สำ เนากรมธรรม์ปม์ระกันภัยหมู่ 6.แผนที่การเดินดิทาง สัญสัญาจ้าจ้งเหมารถ (กรณีจ้ณีาจ้ง เหมารถ) 7. 8.ใบรับรัรองการตรวจสภาพรถ สำ เนาใบขับขัขี่ร ขี่ ถของพนักนังานคน ขับขั 9. 10.ใบรองแพทย์พย์นักนังานขับขัรถ เจ้าจ้หน้าน้ที่ตรวจสอบเอกสาร หากไม่คม่รบถ้วนโทรประสาน สถานศึกษาให้นำห้นำเอกสารมา เพิ่มพิ่เติมให้คห้รบถ้วน และ บันบัทึกเสนอขอ ผอ.สพป.จบ.1 อนุญนุาต ส่งส่หนังสือ สื อนุญาตให้หสถาน ศึก ศึ ษาผ่าผ่นระบบ AMss++ สถานศึก ศึ ษาเดินทาง เมื่อ มื่ สถานศึก ศึ ษากลับจากการพานักเรีย รี นไปนอกสถาน ศึก ศึ ษาแล้ว รายงาน สพป.จบ.1 ทราบ 61


งานให้บริก ริ าร การขออนุญาต พานักเรีย รี นไปนอกสถานศึกษา ประเภทงาน ให้บริกริาร ขั้นตอนการ ให้บริกริาร กระบวนงานที่เ ที่ บ็ด บ็ เสร็จ ร็ ในหน่วยงานเดียว 2. จัดพิมพ์หนังสือ อนุญาตนักเรีย รี น ไปนอกสถาน ศึกษา (10 นาที) เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ เอกสารหลักฐาน การอนุญาตพา นักเรีย รี น ไปนอกสถาน ศึกษา (5 นาที) 1. 4.ส่งหนังสือ ให้โรงเรีย รี นผ่าน ระบบ AMSS++ (5 นาที) 3. เสนอ ผู้บังคับบัญชา ลงนาม (20 นาที) ระยะเวลาที่ใที่ ช้ใช้นการให้บริกริาร ให้บริกริาร 4 ขั้นขั้ตอน ใช้เช้วลา 20 นาที ผู้รัผู้บรัผิดผิชอบในการให้บริกริาร นางสาวกันย์สิย์นีสิ นี ชัยชัวุฒิ วุ รัฒิฐรั กลุ่ม ลุ่ ส่งส่เสริมริการจัดการศึก ศึ ษา สพป.จป.1 62


เอกสารอ้า อ้ งอิงอิ คู่มืคู่ อมืการดำ เนินนิงานความปลอดภัยภัสถานศึกศึษา สำ นักนังานคณะกรรมการ การศึกศึษาขั้นขั้พื้น พื้ ฐาน สำ นักนังานเขตพื้นที่กที่ารศึกษาประถมศึกษาจันจัทบุรีบุรีเขต 1 คู่มืคู่ อมืการคุ้มคุ้ ครองช่วช่ยเหลือลืเด็กด็นักนัเรียรีนของสถานศึกศึษา สังสักัดกัสำ นักนังาน คณะกรรมการการศึกศึษาขั้นขั้พื้น พื้ ฐาน (ฉบับบัพัฒพันา พ.ศ.2563) คู่มืคู่ อมืแนวทางปฏิบัฏิติบัแติละมาตรการรักรัษาความปลอดภัยภัอาชีวชีอนามัยมัและ สภาพแวดล้อล้มในการทำ งานในสถานศึกศึษา คู่มืคู่ อมืการรับรัมือมืแผ่นผ่ดินดิ ไหว คู่มืคู่ อมืการปฏิบัฏิติบัสำติ สำหรับรัสถานศึกศึษาในการป้อป้งกันกัการแพร่รร่ะบาดของโรค โควิดวิ 19 กรมอนามัยมักระทรวงสาธารณสุขสุ พระราชบัญบัญัติญัคติวามปลอดภัยภัอาชีวชีอนามัยมัและสภาพแวดล้อล้มในการ ทำ งาน พ.ศ.2554 มาตรฐานโรงเรียรีนคุ้มคุ้ ครองเด็กด็ กฏกระทรวงกำ หนดมาตรฐานในการบริหริาร จัดจัการ และดำ เนินนิการด้าด้น ความปลอดภัยภัอนามัยมัและสภาพแวดล้อล้มในการทำ งานเกี่ยกี่วกับกัสารเคมี อันอัตราย พ.ศ.2556 กลุ่มลุ่ ส่งเสริมริการจัดจัการศึกษา ผู้จัผู้ ดจัทำ


กลุ่มลุ่ส่งส่เสริมริการจัดจัการศึกษา สำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่การศึกษาประถมศึกษาจันจัทบุรี เขต 1 สำ นักนังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นพื้ฐาน จัดจัทำ โดย แผนเผชิญชิเหตุ กระทรวงศึกษาธิกธิาร


Click to View FlipBook Version