The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by EEC WE CAN, 2021-10-28 01:07:53

Labor Market Restructuring

White Paper - September 2021

Thailand
Labor Market Restructuring

แนวทางการปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงาน เพอื่ ขับเคลอื่ นเศรษฐกิจไทย

September 2021

WHITE PAPER SEPTEMBER 2021

Thailand Labor Market Restructuring

แนวทางการปรับโครงสร้างตลาดแรงงาน เพอื่ ขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ไทย

1 สาสรบารัญบัญ

06 คานิยม
10 คานา
12 In Brief
18 บทสรุปผู้บริหาร
21 การพัฒนาทกั ษะแรงงาน

หวั ใจของการปรับโครงสร้างตลาดแรงงานและการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ไทย

30 ถอดแบบกลไกความสาเรจ็ ของการปรับโครงสร้างตลาดแรงงาน

กรณีศึกษา ในสหรัฐอเมรกิ า ออสเตรเลยี สิงคโปร์ เกาหลใี ต้ และสาธารณรฐั ประชาชนจนี

39 พัฒนาการดา้ นปจั จัยเชงิ สถาบันของไทย

จากแผนแม่บทการพฒั นากาลงั คน สู่โครงการ Big Rock การพัฒนาระบบการบรหิ าร
กาลังคนของประเทศแบบบูรณาการ

44 ระบบฐานข้อมูลด้านการจ้างงานและด้านการศึกษาของไทย

ตวั อยา่ ง การพฒั นาแพลตฟอรม์ “ไทยมีงานทา”

54 การออกแบบแรงจูงใจ เพอื่ ปรบั โครงสร้างตลาดแรงงาน

แรงจงู ใจเพื่อรับมอื ปจั จัยกระทบระยะส้ัน และเพื่อปรับโครงสรา้ งระยะยาว

61 EEC Sandbox

ตน้ แบบการพฒั นาแรงงานเชงิ พ้ืนท่ีและเชงิ ยุทธศาสตร์ ในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก

72 แนวทางการปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงาน

3 กลไกเพ่อื ความสาเร็จ: ปจั จยั เชิงสถาบัน ระบบฐานข้อมูล และแรงจงู ใจ

2 สาสรบารญั บภญั าภพาพ

23 ภาพท่ี 1.1 ความทา้ ทายของโครงสรา้ งตลาดแรงงานไทย
30 ภาพที่ 2.1 สรุปภาพกรอบแนวคดิ ร่วมการปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงาน
40 ภาพที่ 3.1 กระบวนการพัฒนาทักษะแรงงานของไทยมลี ักษณะแยกส่วนไมเ่ ป็นเอกภาพ
42 ภาพที่ 3.2 โครงสรา้ งเชงิ สถาบันดา้ นกาลงั คน เพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชวี ติ ของคนไทยทุกชว่ งวยั
45 ภาพที่ 4.1 กรอบแนวคิดการพฒั นาแพลตฟอรม์ ดจิ ิทัลเพื่อการจ้างงานและพัฒนาทกั ษะ
49 ภาพที่ 4.2 กรอบการพฒั นาแพลตฟอร์ม “ไทยมีงานทา”
50 ภาพที่ 4.3 ข้อมลู จากเว็บไซต์ไทยมงี านทา สะท้อนปัญหา Skills Mismatch ในตลาดแรงงานไทย
62 ภาพท่ี 6.1 EEC ปรบั รปู แบบการศกึ ษาและการพฒั นาทกั ษะแรงงานตามแนวทาง Demand-Driven
64 ภาพที่ 6.2 การพฒั นาทกั ษะแรงงานตาม EEC Model ผ่านกลไก 3Is
65 ภาพที่ 6.3 แนวทางการพัฒนาทักษะบคุ ลากรและการศกึ ษาในพ้นื ท่ี EEC
68 ภาพท่ี 6.4 ความรว่ มมอื การพฒั นาบุคลากรในพนื้ ที่ EEC เพือ่ รองรบั อตุ สาหกรรมเป้าหมาย

3 สารสบาัญรบตัญารตาางรแาลงะ BOX

36 ตาราง 2.1 เปรียบเทียบกลไกการปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงาน แบบ 3Is
37 ตาราง 2.2 การออกแบบแรงจงู ใจสาหรับโครงการสาคญั ภายใต้ SkillsFuture (ประเทศสิงคโปร์)
38 ตาราง 2.3 แรงจูงใจสนับสนุนการจ้างงานและการพัฒนาทกั ษะภายใต้แผนขจัดความยากจน

(ประเทศจีน)

59 ตาราง 5.1 การปรบั โครงสร้างตลาดแรงงานไทยตามองคป์ ระกอบ 3Is
69 ตาราง 6.1 ตัวอย่างรายชื่อหลกั สตู รระยะสั้น สถานประกอบการ และสถานศกึ ษาใน EEC
70 ตาราง 6.2 สิทธิประโยชนก์ ารลงทนุ ด้านการพฒั นาทกั ษะบคุ ลากร ในพน้ื ที่ EEC

สารบญั BOX

35 BOX ที่ 2.1 กลไกการปรบั โครงสร้างตลาดแรงงานในอดุ มคติ ต้นแบบสคู่ วามสาเร็จสาหรับ

ประเทศไทย

51 BOX ที่ 4.1 ฐานข้อมลู ตลาดแรงงาน: ขุมทรัพย์เพ่อื การออกแบบนโยบายอย่างตรงจดุ

คานยิ ม
4 คานยิ ม

วิกฤตการณ์ COVID-19 ที่กาลังเกิดขึ้นส่งผลกระทบอยา่ งยิ่งตอ่ การทางานและความเป็นอยู่ของคนไทย
พบว่า กว่า 5 ลา้ นคนกลายเปน็ ผเู้ สมือนว่างงาน กว่า 2 ล้านคนกลับคืนถิ่น เกือบ 3 แสนคนเรียนจบมาแลว้ ไมม่ ี
งานทา แรงกดดันของสถานการณก์ ระตนุ้ ใหภ้ าครัฐและเอกชนจบั มอื กันออกมาตรการช่วยเหลือในวงกวา้ ง ตัวเลข
ผูไ้ ด้รบั การเยยี วยาเพม่ิ ขึ้นสอดรับกับจานวนผู้ไดร้ ับผลกระทบ แต่การเยียวยาเพยี งอยา่ งเดียวไมไ่ ด้แก้ปัญหา
เชงิ โครงสรา้ งท่สี งั่ สมอยกู่ อ่ น ทั้งจานวนผู้สงู อายุที่จะเพิม่ เปน็ 1 ใน 3 ของประชากร และสว่ นใหญอ่ ย่ใู นภาคเกษตร
แรงงานกว่าครึ่งอย่นู อกระบบ และแรงงานกวา่ 10 ลา้ นคนอยูใ่ นกลมุ่ เส่ยี งทจี่ ะถกู ทดแทนดว้ ยหุ่นยนต์

รายงานฉบบั นี้ประมวลหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ และสงั เคราะหแ์ นวทางการปรบั โครงสร้างตลาดแรงงานจาก
การถอดบทเรียนจากตา่ งประเทศและหยิบยกตวั อยา่ งความสาเร็จในประเทศเพอื่ ให้เกดิ การขยายผลในวงกวา้ ง
จึงจุดประกายให้เหน็ ทิศทางการเดนิ หน้าปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงานไทย โดยอาศยั โอกาสจากความรว่ มมอื ทีเ่ กดิ ข้ึน
ในช่วงวิกฤต บนโครงสร้างพน้ื ฐานดา้ นข้อมลู ขนาดใหญ่จากการขึน้ ทะเบียนรับการช่วยเหลอื และการเชือ่ มโยง
ระหว่างหน่วยงาน เพ่ือออกแบบการสรา้ งแรงจงู ใจที่เพยี งพอ ทั่วถึง และตรงจดุ

ผมคาดหวังเปน็ อย่างยง่ิ ว่ากลไกการทางานท่ีไดป้ ฏบิ ัติจรงิ แลว้ ท้ังท่ีปรากฏในรายงานน้ี อาทิ การพัฒนา
ทกั ษะแรงงานของ EEC แพลตฟอร์มไทยมงี านทา และ E-Workforce Ecosystem และที่กาลังเกดิ ขน้ึ จะเป็นสปรงิ บอรด์
เพอ่ื ทค่ี นไทยจะกา้ วกระโดดยกระดับศกั ยภาพของตนเอง ให้ไมเ่ พียงเอาตวั รอดจากวิกฤต แต่จะพร้อมรบั มอื
การเปลยี่ นแปลงทก่ี าลังเกิดข้นึ ในโลกปกตใิ หม่

ดร.เศรษฐพฒุ ิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
ผู้วา่ การธนาคารแห่งประเทศไทย

คานิยม

ตลอดระยะเวลา 3 ปีท่ีผ่านมา EEC ให้ความสาคัญในการพัฒนาพ้ืนท่ี ในการขับเคลื่อนการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานและอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย EEC ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการพฒั นาทักษะบุคลากร
และได้ดาเนินการต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือแกป้ ัญหาและขจัดจุดอ่อนของระบบการศึกษา EEC ได้เสนอ
และดาเนินการในการสร้างความรว่ มมือกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถานศึกษา ตามแนวทาง
EEC Model ซ่งึ เปน็ ต้นแบบการศกึ ษายคุ ใหม่ ผลติ คนตรงตามความต้องการ (Demand-Driven Education)
โดยมเี ปา้ หมาย คอื ตอ้ งการใหเ้ ยาวชนคนรนุ่ ใหม่ ประชาชน มีงานทา รายได้ดี ดว้ ยทักษะความสามารถทมี่ ากข้นึ
ตรงตามความตอ้ งการของตลาด

ที่ผ่านมากระบวนการนี้ได้ผลิตบุคลากรร่วมกับภาคเอกชน ด้วยกลไกที่ผู้ประกอบการภาคเอกชน
มสี ่วนร่วมออกแบบหลกั สตู ร (Co-Endorse) และร่วมจา่ ย (Co-Pay) เพอื่ ใหม้ ่ันใจวา่ ไดค้ นตรงตามความต้องการจรงิ
ซงึ่ มี 2 รูปแบบ ดงั น้ี (1) เอกชนจ่าย 100% จบมามงี านทาทันที (2) เอกชนจ่าย 50% ในรูปแบบของหลักสูตรระยะส้นั
ในปี 2023 ตั้งเป้าการพัฒนาบุคลากร ให้ได้ 120,000 คน นอกจากนี้ ร่วมกับเอกชนระดับโลกยกระดับ
ทักษะบคุ ลากรดว้ ยเทคโนโลยใี หม่ เกิด MOU สาคัญ เชน่ หลกั สตู ร 5G, ICT และ Digital ภายใต้ Huawei ASEAN
Academy และอบรมด้านดิจิทัล ภายใต้ความร่วมมือ มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอร่ี ออโตเมช่ัน ผลักดัน
EEC Automation Park นาเทคโนโลยไี ปปรับใช้ เป้าหมาย 8,000 โรงงานใน EEC เป็นต้น

สาหรบั รายงานที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยสายนโยบายการเงิน และ สานกั งานคณะกรรมการ
นโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (สกพอ.) โดยสานักยทุ ธศาสตรอ์ งคก์ ร รว่ มจดั ทาขึ้นถือเป็นองคค์ วามรู้
สาคญั เพ่อื พัฒนาและยกระดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน สรา้ งบุคลากรไทยก้าวทนั ต่อกระแสการเปลยี่ นแปลง
เทคโนโลยีและเศรษฐกิจในอนาคต รวมท้ัง เป็นช่องทางส่ือสารต่อยอดนโยบายการพัฒนาทักษะบุคลากร
Demand-Driven ของ EEC ใหผ้ ทู้ ี่สนใจสามารถนาแนวคดิ แนวทางปฏบิ ตั ไิ ปพจิ ารณาปรับใช้ รวมท้งั ขยายผล
ให้เกดิ ความรว่ มมือภาครัฐและเอกชน ขบั เคลื่อนการพัฒนาทกั ษะบคุ ลากรตรงความต้องการภาคอตุ สาหกรรม
ตรงตามตาแหนง่ งานใหม่ สร้างรายได้สงู ข้ึน ตอ่ ไป

ผมต้องขอชื่นชม และขอบคุณทีมงานทุกท่าน โดยเฉพาะธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ไดแ้ สดงให้เห็นว่า
เราและหน่วยงานตา่ ง ๆ สามารถทางานรว่ มกนั ไดเ้ พ่อื ประโยชนข์ องประเทศ รายงานฉบบั นีเ้ ป็นส่วนสาคัญท่ีเกดิ ขึ้น
ด้วยความตง้ั ใจจริง ซ่ึงถือเปน็ กา้ วสาคญั ในการสร้างฐานขอ้ มูลร่วมกัน ย้าหลักการ และแนวคิดร่วมกัน เพ่ือพฒั นา
ตลาดแรงงานไทย เพิ่มความเข้มแขง็ เศรษฐกิจ ยกระดับรายไดข้ องชุมชน และทาให้คุณภาพชีวติ คนไทยทุกคนดีขึน้
อย่างสมดลุ และยง่ั ยนื

ดร.คณิศ แสงสุพรรณ
เลขาธกิ ารคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

คานยิ ม

แรงงานไทยเปน็ ปัจจยั สาคัญที่สนับสนุนการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศมาตลอดหลายทศวรรษ
ภาครฐั จึงให้ความสาคญั กับการดูแลสวัสดกิ าร พฒั นาฝีมือ จดั หางาน และสรา้ งโครงขา่ ยความค้มุ ครองทางสงั คม
รองรับ รวมถึงการเยียวยาผลกระทบ อย่างไรก็ดี การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม
รวมถึงผลกระทบจากวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ทาใหบ้ ทบาทดา้ นแรงงานของภาครัฐไม่จากดั
อยู่เพยี งภายใตค้ วามรับผิดชอบของกระทรวงแรงงานแตก่ ระจายตัวออกไปยังหนว่ ยงานภาครฐั อนื่ ๆ เพ่อื ให้
สามารถเยยี วยาแรงงานไดอ้ ยา่ งท่ัวถึงและเพียงพอ

กระทรวงแรงงานตระหนกั ถงึ ความจาเปน็ เรง่ ดว่ นของสถานการณด์ ังกลา่ ว จึงเล็งเห็นความสาคญั ของ
การร่วมมือบูรณาการการทางานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและขยายขอบเขตบทบาทหน้าที่จากด้านสังคมและ
ความมนั่ คงใหต้ อบโจทย์เป้าหมายทางเศรษฐกจิ เพอื่ ให้แรงงานทีไ่ ด้รับผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของ COVID-19
สามารถอยูร่ อด ขณะทีแ่ รงงานในกลุ่มเปราะบางสามารถปรับตัวรบั มือกับปัญหาเชงิ โครงสร้างได้

ในการน้ี ผมจงึ มคี วามยนิ ดเี ป็นอย่างยงิ่ ที่มาตรการและนโยบายของกระทรวงแรงงานไดถ้ กู นามาเป็น
ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาชนิ้ นี้ ซึง่ ไมเ่ พียงเป็นแหล่งอ้างอิงใหก้ ับวงการวชิ าการด้านนโยบาย แต่เปน็ แนวทางปฏิบตั ิ
ให้หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งท้ังภาครัฐและเอกชนสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทางานพฒั นาแรงงานไทย ตลอดจน
เปน็ ตัวอยา่ งสาคัญย่งิ ของกลไกความร่วมมอื ท่กี ่อใหเ้ กดิ ผลจริงอยา่ งเป็นรูปธรรมในทางปฏิบตั ิ

สุทธิ สุโกศล
ปลัดกระทรวงแรงงาน

คานยิ ม

คานิยม

ภาคการศกึ ษาไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณก์ ารแพร่ระบาดของ COVID-19 อย่างมาก การจัด
การเรยี นการสอนในห้องเรยี นตอ้ งหยดุ ชะงักลงในทกุ ระดับชน้ั การศกึ ษา ผสู้ อนตอ้ งพยายามปรับตวั ให้สามารถ
ถา่ ยทอดความรู้ทางไกลในคาบเรียน อกี ทัง้ ยงั ตอ้ งคานึงถึงการมอบหมายบทเรียน แบบฝกึ หัด รวมถงึ แบบทดสอบ
สาหรับติดตามประเมินผลการเรยี นรูท้ ่เี หมาะสม เพอ่ื ให้การใชเ้ วลาของนักเรยี น นักศึกษา เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิผล

ภายใตข้ อ้ จากดั ดงั กลา่ ว นักเรยี น นักศึกษา กลมุ่ ทอ่ี ยูใ่ นชั้นปีสดุ ทา้ ยและกาลงั จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน ไดร้ บั
ผลกระทบมาก เพราะตอ้ งเตรยี มตวั หาหนทางเขา้ ถึงตาแหน่งงานว่างทีม่ ีอยจู่ ากดั ในภาวะท่ตี ลาดแรงงานมีผู้ว่างงาน
อยเู่ ป็นจานวนมาก นอกจากนี้ ปญั หาด้านเศรษฐกจิ ไดซ้ ้าเติมปญั หาช่องวา่ งระหวา่ งทกั ษะท่นี กั เรยี น นักศกึ ษา
ไดร้ ับจากสถานศึกษาและทักษะท่ตี ลาดแรงงานต้องการ เพราะนกั เรยี น นักศึกษาในกลมุ่ ท่ีมีทกั ษะไมต่ รงตามความ
ตอ้ งการของนายจ้างมโี อกาสท่จี ะกลายเป็นผู้วา่ งงาน ซึ่งอาจกดดันใหต้ ้องทางานนอกระบบ และเป็นอปุ สรรคต่อ
การปรับตัวเขา้ สกู่ ารทางานในระบบในภายหลงั

การศกึ ษาชน้ิ นี้ได้นาเสนอกลไกความรว่ มมอื ระหวา่ งหน่วยงานต่าง ๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชน บนการใชง้ าน
โครงสร้างพืน้ ฐานด้านขอ้ มลู ขนาดใหญ่ และการใหแ้ รงจงู ใจแก่นกั เรยี น นักศึกษา แรงงาน นายจา้ ง และผู้ใหบ้ รกิ าร
พฒั นาทกั ษะอยา่ งเหมาะสม จงึ เปน็ เคร่อื งมอื สาคัญในการกาหนดทศิ ทางการทางานเพอื่ ใหท้ กุ ภาคส่วนสามารถ
ก้าวข้ามวิกฤตการณ์ COVID-19 ได้อย่างย่ังยืน

ศ.ดร.ศภุ ชยั ปทมุ นากลุ
รองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม

คานา
5 คานา

กว่าทศวรรษท่ผี า่ นมา เศรษฐกจิ ไทยเผชิญกับความทา้ ทายหลายครง้ั ท้ังวิกฤตเิ ศรษฐกจิ การเงนิ โลก
สถานการณ์มหาอทุ กภัย และความไมส่ งบทางการเมือง แตด่ ว้ ยพ้นื ฐานเศรษฐกิจการเงนิ ทีแ่ ข็งแรงทาให้ความเสียหาย
ตอ่ เศรษฐกจิ อยู่ในวงจากดั และฟ้นื ตวั ได้เรว็ อย่างไรก็ตาม วกิ ฤตโิ รคระบาด COVID-19 ครั้งนี้ ต่างออกไป เพราะ
ความเสียหายทางเศรษฐกจิ ที่รุนแรงและกระจายเปน็ วงกว้าง ผู้คนตอ้ งขาดรายได้ ตกงาน และอพยพคนื ถิ่นจานวนมาก
อีกทง้ั สถานการณ์ทยี่ ืดเยื้อยาวนาน ไดส้ รา้ งรอยแผลเปน็ ให้กบั ระบบเศรษฐกิจ และซ้าเติมปัญหาเชิงโครงสรา้ ง
ของตลาดแรงงานท่มี ีอยเู่ ดิมให้ยิ่งปรากฏชัดเจน เศรษฐกิจไทยในระยะขา้ งหน้าจึงอาจไมส่ ามารถฟ้นื ตัวกลับมาสู่
ระดบั เดิมไดอ้ ีก หากประเทศไทยไม่ผลักดนั ใหเ้ กดิ การปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงาน (Labor Market Restructuring)
ซึ่งจะเปน็ จดุ เปลีย่ นสาคญั ทีจ่ ะเอ้อื ให้แรงงานปรับตัวพร้อมรบั มอื และอยรู่ อดภายใต้โลกบรบิ ทใหม่ (New Normal)
และมงุ่ หนา้ สู่การขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ ดว้ ยผลติ ภาพแรงงาน (Labor Productivity)

ภายใตป้ ัญหาเชิงโครงสร้างทีเ่ รื้อรงั ท้ังคณุ ภาพแรงงานและทักษะท่ไี มต่ รงกับความตอ้ งการของตลาด และ
กระแสการเปลยี่ นแปลง โดยเฉพาะการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั ทีส่ ร้างความเส่ียงต่อการทดแทนการทางานของ
แรงงาน และการเข้าสสู่ งั คมผ้สู ูงอายุท่ที าใหก้ าลงั แรงงานมีแนวโน้มลดลง ต่างสรา้ งแรงกดดันให้แรงงานและภาคธรุ กิจ
ต้องปรับตัว ขณะเดยี วกันผูด้ าเนินนโยบายทง้ั ด้านแรงงาน ดา้ นการศึกษา และดา้ นเศรษฐกิจ ก็ต้องเร่งแก้ปัญหา
อย่างบูรณาการ กา้ วขา้ มการมองปัญหาแบบแยกสว่ น และผลกั ดนั ใหเ้ กดิ กลไกการปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงาน
ทสี่ าคญั ทง้ั 3 ประการ คอื 1. การบูรณาการปจั จยั เชงิ สถาบัน (Institution) ผ่านการเช่อื มโยงระบบการศึกษาและ
พัฒนาทักษะ เขา้ กบั นโยบายด้านแรงงานและการพัฒนาเศรษฐกิจ รวมถึงผสานบทบาทระหวา่ งภาครฐั และภาคเอกชน
ในฐานะผรู้ ว่ มคดิ และลงมือทา 2. การพฒั นาระบบโครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Infrastructure) ผา่ นการ
เชือ่ มโยงข้อมูลดา้ นแรงงานและการศกึ ษาท่ีสะทอ้ นการพฒั นาทกั ษะและการทางานของแรงงานในระดบั รายบุคคล
และผลักดันการใชป้ ระโยชนจ์ ากฐานขอ้ มลู เพ่ือออกแบบนโยบายที่ตรงจุด และมเี คร่ืองช้ีวดั ผลสาเร็จทชี่ ัดเจน
และ 3. การสรา้ งกลไกแรงจงู ใจทเ่ี หมาะสม (Incentive) ทส่ี นบั สนนุ ใหเ้ กดิ การยกระดบั ปรับทกั ษะให้พรอ้ มรบั มอื กบั
โลกในอนาคต มงุ่ สกู่ ารเรียนรู้ตลอดช่วงชวี ติ และตอบโจทย์การยกระดับผลิตภาพการผลติ

คณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก และธนาคารแห่งประเทศไทย เห็นถงึ ความสาคัญ
ของการปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงานผ่านกลไก 3 ประการดังกล่าว โดยในดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐานข้อมูลขนาดใหญ่
ในชว่ งที่ผ่านมาภาครฐั ได้พัฒนาฐานข้อมลู แรงงานอยา่ งครอบคลมุ แตย่ ังขาดการเชอื่ มโยงใหอ้ ยใู่ นระบบเดยี วกนั
ทั้งฐานขอ้ มลู แรงงานภายใตร้ ะบบประกันสงั คม ฐานขอ้ มูลแรงงานนอกระบบทัง้ ในและนอกภาคเกษตรผ่านฐานข้อมลู
มาตรการภาครัฐ และฐานขอ้ มลู ด้านการศึกษาและฝกึ อบรม ดงั นัน้ จึงควรผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ระบบฐานขอ้ มลู แรงงานท่ี
สมบรู ณ์ผา่ นการเช่อื มโยงฐานข้อมูลขา้ งตน้ ใหอ้ ยู่ในระบบเดยี วกัน พัฒนาฐานขอ้ มลู ให้มีความต่อเนอ่ื ง และสนบั สนุน
ให้เกิดการใชป้ ระโยชนด์ า้ นนโยบายอยา่ งเต็มศกั ยภาพ ขณะเดยี วกันกค็ วรขับเคล่ือนใหเ้ กดิ การบูรณาการปจั จัยเชงิ
สถาบันและการออกแบบแรงจูงใจทเ่ี หมาะสม ผ่านการผลกั ดนั การพฒั นากาลงั คนเพือ่ รองรับอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย
ของ EEC และโครงการ E-Workforce Ecosystem ใหเ้ กดิ การขยายผลในระดบั ประเทศ ซง่ึ จะนาไปสูค่ วามสาเร็จของ
การปรบั โครงสร้างตลาดแรงงานท่ีแท้จรงิ สร้างจุดเปล่ยี นสาคัญที่จะช่วยให้แรงงานมงี านทา มรี ายได้ และอยู่รอด
ภายใตโ้ ลกท่ีท้าทายขา้ งหนา้ อีกทง้ั นาไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทม่ี กี ารกระจายตวั อย่าง
ทัว่ ถงึ ตลอดจนมกี ารเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ที่มีเสถียรภาพและยง่ั ยืน

กลไก 3 ประการ เพื่อความสาเร็จของการปรับโครงสร้างตลาดแรงงาน

In Brief | 12

6 In Brief

In Brief | 13

In Brief | 14

In Brief | 15

In Brief | 16

In Brief | 17

บทสรุปผบู้ รหิ าร | 18

7บบททสสรปุรุปผผบู้ บู้ริหริหาราร

ความทา้ ทายของการพฒั นาประเทศท่สี าคัญประการหน่งึ กค็ ือ ปัญหาเชงิ โครงสรา้ งของตลาดแรงงาน
โดยเฉพาะปัญหาดา้ นคณุ ภาพของแรงงานทย่ี ังมีชอ่ งวา่ งทางทักษะ (Skills Gap) ระหว่างทักษะซ่งึ เปน็ ทต่ี อ้ งการกบั
ความรคู้ วามสามารถของแรงงาน ขณะที่สถานการณ์การระบาดของ COVID-19 สง่ ผลกระทบตอ่ ตลาดแรงงานไทย
ท่มี ีข้อจากดั อยเู่ ดมิ ให้ยง่ิ เปราะบางมากขึน้ โดยเฉพาะความเหลื่อมลา้ ทางเศรษฐกจิ และสงั คมใหท้ วีความรนุ แรงขึ้น
จากการที่แรงงานจานวนมากกลายเปน็ ผู้วา่ งงานและตอ้ งย้ายกลบั สภู่ มู ลิ าเนา และสว่ นใหญ่ยา้ ยกลับไปทางานในภาค
เกษตรทีม่ ีผลิตภาพการผลิตและรายได้ตา่ กวา่ เดิม อกี ทง้ั ในระยะต่อไป ปญั หาเชงิ โครงสรา้ งของตลาดแรงงานอาจ
ยงิ่ เลวร้ายลง เพราะสถานประกอบการมีแนวโน้มทีจ่ ะนาระบบอัตโนมตั ิ (Automation) มาทดแทนการใช้แรงงานคน
มากข้นึ รวมถึงต้องการแรงงานทม่ี ีทกั ษะใหม่เพือ่ มาทดแทนแรงงานทีม่ ที ักษะเดมิ และเพื่อเตรียมรบั มือกับกระแสการ
พฒั นาของเทคโนโลยีในระยะต่อไป สิ่งเหลา่ น้ีจงึ สะทอ้ นถึงความสาคญั ของการปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงานของไทย
ทต่ี อ้ งเร่งดาเนนิ การ เพอื่ ยกระดบั การพฒั นาประเทศให้มงุ่ หนา้ ไปสปู่ ระเทศรายไดส้ งู

บทสรุปผบู้ ริหาร | 19

บทความฉบับน้ีมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื เสนอทางออกในการแก้ไขปญั หาโครงสรา้ งตลาดแรงงานและยกระดับ
ผลิตภาพแรงงานให้พรอ้ มรับมอื กับโลกบรบิ ทใหม่ โดยมุ่งให้การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการทางานของ
แรงงานตอบโจทย์ความต้องการของตลาด (Demand-Driven) ผ่านกลไก 3 ดา้ นทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ ปัจจัยเชิงสถาบนั
(Institution) ระบบโครงสร้างพืน้ ฐานดา้ นข้อมูลขนาดใหญ่ (Infrastructure) และกลไกแรงจงู ใจ (Incentive)

o ปจั จยั เชงิ สถาบนั ต้องบรู ณาการเชือ่ มโยงระหวา่ งการพัฒนาแรงงานกบั การจา้ งงาน ท้งั ในระยะสัน้
ผา่ นการฝึกอบรมพัฒนาทักษะแรงงาน และในระยะยาวผา่ นสถาบนั การศึกษา รวมไปถงึ การเช่ือมโยง
บทบาทระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนตงั้ แต่ระดบั นโยบายสู่ระดบั ปฏิบตั ิ ทาให้เกิดการร่วมกนั คิด
รว่ มกนั ทา เพอื่ ตอบโจทยค์ วามต้องการของผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียทกุ ภาคสว่ นไดอ้ ย่างลงตวั ตามแนวทาง
Demand-Driven และพัฒนาทกั ษะแรงงานให้เทา่ ทันกบั การเปลีย่ นแปลง

o ระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ตอ้ งเชื่อมโยงฐานขอ้ มลู ดา้ นแรงงานและการเรียนรู้ เพื่อ
สะท้อนการพฒั นาทกั ษะและการทางานของแรงงานในระดบั รายบคุ คล และสนบั สนุนการใชป้ ระโยชน์จาก
ฐานขอ้ มูลในวงกวา้ งเพือ่ เอือ้ ให้เกดิ การออกแบบนโยบายพฒั นาทกั ษะอยา่ งตรงจดุ และมเี ครือ่ งช้ีวัดผล
สาเรจ็ ที่ชัดเจนตามหลัก Data-Driven Policy

o กลไกแรงจงู ใจ ต้องออกแบบให้เหมาะสมเพอื่ กระตุน้ ให้เกิดการยกระดบั ปรบั ทกั ษะของแรงงานใหพ้ รอ้ ม
รับมือกับโลกในอนาคต ม่งุ สู่การเรียนรู้ตลอดช่วงชีวติ และตอบโจทย์การยกระดบั ผลิตภาพการผลิต
ของประเทศ ขณะเดยี วกันก็สนับสนุนใหแ้ รงงานสามารถวางแผนเสน้ ทางอาชพี รวมถงึ การเรียนรู้แบบ
Lifelong Learning และเอ้อื ใหส้ ถานประกอบการเพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ผา่ นการพัฒนา
ทกั ษะและผลติ ภาพแรงงาน โดยทภ่ี าครฐั มบี ทบาทสาคัญในการสรา้ งระบบนเิ วศที่เออ้ื อานวยและ
มมี าตรการสนับสนนุ ท้งั ในรูปแบบภาษีและไมใ่ ชภ่ าษี

กรณีตวั อย่างของการปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงานของไทยทไ่ี ดด้ าเนนิ การในชว่ งทผ่ี ่านมา

o E-Workforce Ecosystem จุดเร่ิมต้นที่สาคญั ของการปรบั โครงสร้างเชิงสถาบัน ท่ีมุ่งสรา้ งกลไก
การแก้ไขปัญหาตลาดแรงงานให้มีเอกภาพและไม่แยกส่วน บูรณาการการทางานร่วมกันทั้งระหว่าง
หน่วยงานภาครฐั ดว้ ยกัน และระหวา่ งภาครฐั กับภาคเอกชน เพอ่ื ใหก้ ารกาหนดทศิ ทางนโยบายด้านแรงงาน
การศึกษา และเศรษฐกจิ เปน็ เนอ้ื เดียวกนั ผา่ นการร่วมพฒั นาระบบฐานข้อมลู ลกั ษณะ Single Platform
ท่ีเออื้ ใหค้ นไทยทกุ ชว่ งวยั ภาคธรุ กิจทกุ สาขา และสถาบนั การศกึ ษาและฝกึ อบรม เข้าถงึ ขอ้ มูลและนาไปสู่
การสรา้ งระบบนิเวศที่เออ้ื ใหเ้ กิดการพฒั นาสมรรถนะและทักษะที่เป็นไปตามกลไกตลาด ใหส้ อดรบั กับ
บรบิ ทและการพฒั นาอุตสาหกรรม และสง่ เสรมิ ให้เศรษฐกจิ ไทยเดินหนา้ เตบิ โตไดอ้ ยา่ งยั่งยนื

บทสรปุ ผู้บริหาร | 20

o แพลตฟอรม์ ไทยมงี านทา มีจุดมุ่งหมายเพ่ือแก้ปัญหาความไม่สอดคล้องกัน ระหวา่ งความตอ้ งการของ
สถานประกอบการและทักษะของแรงงาน (Skills Mismatch) ผา่ นการจัดหาตาแหนง่ งานทเ่ี หมาะสม และ
มุ่งลดปัญหาชอ่ งวา่ งทางทกั ษะ (Skills Gap) ระหวา่ งทักษะซงึ่ เปน็ ที่ต้องการกบั ความรคู้ วามสามารถ
ของแรงงาน ผา่ นการจัดหาหลกั สตู รการเรยี นการสอนเพ่ือพฒั นาทกั ษะแรงงาน ทส่ี าคญั การพัฒนา
แพลตฟอรม์ ทส่ี มบูรณจ์ ะเออื้ ใหเ้ กิดการยกระดับโครงสรา้ งตลาดแรงงาน ผา่ นการบริหารจัดการดา้ น
ขอ้ มูลขนาดใหญ่ และจะเป็นกลไกสาคญั ทจี่ ะนาไปสกู่ ารออกแบบนโยบายทเี่ หมาะสมในระดบั รายบุคคล

o การพฒั นากาลงั คนเพอ่ื รองรบั อตุ สาหกรรมเปา้ หมายของ EEC นบั เปน็ ต้นแบบการดาเนินนโยบาย
เชิงพนื้ ทีแ่ ละเชิงกลยุทธ์ (Policy Sandbox) ทีค่ วรผลกั ดันการขยายผลในการพฒั นากาลังคนในพื้นทีอ่ ่ืน
จนนาไปสูร่ ะดับประเทศ โดยแนวทางขบั เคลือ่ นที่สาคญั จาก EEC Demand-Driven Model ไดแ้ ก่

- การสร้างกลไกความร่วมมืออย่างเข้มขน้ จากภาคเอกชน (Collaborative Ecosystem) โดยให้
สถานประกอบการ เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการออกแบบหลักสตู ร รว่ มลงทนุ ในการฝึกอบรม
และการรบั ประกันการจ้างงานแรงงานอย่างนอ้ ย 1 ปีหลังจากผา่ นการอบรม

- การยกระดับการเรียนการสอนสายอาชีพ (Vocational and Education Training) ทเี่ นน้ การ
ปรบั รูปแบบการเรียนการสอนใหแ้ ข่งขันได้ มคี วามยืดหยุน่ โดยอาศัยองค์ความรจู้ ากภาคเอกชน

- การปรับแนวคดิ และระบบแรงจงู ใจ (Mindset and Incentive) ผ่านการสรา้ งแนวคิดรว่ มกัน
ระหว่างแรงงานและสถานประกอบการในเรื่องการพัฒนาทนุ มนษุ ย์ ทเี่ น้นส่งเสรมิ ให้แรงงาน
สามารถปรับตัวเท่าทนั กับการเปลยี่ นแปลงผา่ นการฝึกอบรม ขณะท่สี ถานประกอบการ
สามารถจัดหาแรงงานได้ตรงตามความต้องการ โดยภาครฐั สร้างแรงจงู ใจผา่ นเงินอดุ หนุน
ร้อยละ 50 ของคา่ ฝึกอบรม และการลดหยอ่ นภาษีนิตบิ คุ คล 2.5 เท่า

การปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงานเปน็ ประเด็นสาคญั ทจี่ ะนาไปสูก่ ารยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจของไทย
หากแต่การดาเนนิ นโยบายมกั เกดิ ข้นึ แล้วกห็ ายไปตามกาลเวลา เพราะขาดการสรา้ งกลไกการขบั เคล่ือนใหเ้ ป็นไป
ตามแนวทางท่ีวางไวอ้ ย่างจริงจังและตอ่ เน่ือง ดังน้ัน ภายใต้ภาวะทต่ี ลาดแรงงานไทยกาลังเผชิญปญั หาเชิงโครงสร้าง
และมคี วามท้าทายมากขึน้ ในระยะขา้ งหน้า จงึ จาเป็นอยา่ งย่ิงทผี่ ดู้ าเนินนโยบายต้องใหค้ วามสาคัญกับการผลักดนั
ให้เกดิ การวางรากฐานกลไกทจี่ ะนาไปสู่ความสาเรจ็ ในการปรบั โครงสร้างตลาดแรงงานทั้ง 3 ประการตามข้อเสนอ
นน่ั คือ การบรู ณาการปจั จัยเชงิ สถาบนั (Institution) การพัฒนาระบบโครงสรา้ งพืน้ ฐานดา้ นขอ้ มลู ขนาดใหญ่
(Infrastructure) และการสรา้ งกลไกแรงจูงใจท่ีเหมาะสม (Incentive)

บทสรุปผ้บู รหิ าร | 21

1 การพัฒนาทกั ษะแรงงาน

หวั ใจของการปรับโครงสร้างตลาดแรงงานและการขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ ไทย

การพัฒนาทกั ษะแรงงาน

หัวใจของการปรบั โครงสร้างตลาดแรงงานและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

เกอื บ 2 ทศวรรษมาแล้ว ท่ีเศรษฐกจิ ไทยอยู่ในภาวะ “โตชา้ ” จากปญั หาเชิงโครงสรา้ ง เพราะการดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ
ยงั เป็นแบบเดิม ๆ ทีก่ ลายเป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนา ท้งั ในระดบั ภาพรวม ท่ีพึ่งพาภาคเศรษฐกิจต่างประเทศจนขาดการ
สร้างความสมดุลให้กับการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ และในระดับสาขาเศรษฐกิจท่ียังคงกระบวนการผลิตหรือ
ให้บริการในรปู แบบเก่า และไม่ไดป้ รับตัวตามการพฒั นาของเทคโนโลยี รวมถึงในระดับหนว่ ยย่อยทีส่ ุดของระบบเศรษฐกจิ กค็ อื
“แรงงาน” ซ่ึงเปน็ ทรัพยากรที่มีความสาคัญตอ่ การสรา้ งมลู ค่าทางเศรษฐกิจ แตก่ ลบั ขาดโอกาสท่ีจะนาไปสกู่ ารปรบั ตวั และ
พัฒนาทักษะเพ่ือรับมือกับโลกในอนาคต ยิ่งไปกว่าน้ัน ในภาวะที่เศรษฐกิจและการจ้างงานถูกกระทบจากสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของ COVID-19 อยา่ งรุนแรง และสถานการณ์น้ซี า้ เตมิ ใหป้ ัญหาเชิงโครงสรา้ งของเศรษฐกจิ และตลาดแรงงานยงิ่
รุนแรงขนึ้ จงึ นามาสกู่ ารทบทวนนโยบายเพอ่ื ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่สาคัญ นั่นคือ การยกระดับผลิตภาพการผลิตผ่าน
“การพฒั นาทักษะแรงงาน” เพราะสิ่งน้ีจะเปน็ ทางออกท่ีจะชว่ ยลดผลกระทบเชิงลบจากกระแสการเปลยี่ นแปลงท่มี ตี ่อเศรษฐกิจ
และลดโอกาสการเกิดแผลเปน็ (Scar) ท่ฝี งั รากลกึ ในโครงสรา้ งตลาดแรงงาน (World Bank, 2021)

บทท่ี 1 การพัฒนาทกั ษะแรงงาน | 22

การยกระดับผลิตภาพแรงงาน (Labor จุลภาคจากการเพมิ่ โอกาสในการเติบโตของคา่ ตอบแทน
Productivity) เปน็ ปจั จัยสาคญั ทจี่ ะช่วยใหบ้ รรลุ แรงงาน (2) เปา้ หมายการกระจายรายได้ท่ีดขี ้นึ และความ
เปา้ หมายทางเศรษฐกิจ เหล่อื มล้าท่ีน้อยลง จากการสร้างโอกาสในการพัฒนา
ทกั ษะที่ตอบโจทย์แรงงานแต่ละกลุ่มอย่างเท่าเทียม และ
การขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจไทยใหก้ า้ วข้ามกบั ดักประเทศ (3) เปา้ หมายเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ จากการเพ่มิ
รายไดป้ านกลาง (Middle Income Trap) เปน็ โจทย์ท่ี โอกาสในการมอี าชีพและมรี ายได้ท่ียัง่ ยืน จงึ นาไปสู่
ทา้ ทายและถกู บรรจุอยู่ในแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติ 20 ปี คาถามเชิงนโยบายตอ่ มาว่า ประเทศไทยจะดาเนินการ
โดยมเี ปา้ หมายทจ่ี ะพัฒนาประเทศไปสู่ Thailand 4.0 เพ่ือยกระดับผลติ ภาพแรงงานไดอ้ ยา่ งไร
ผ่านการผลักดันให้เกิดเศรษฐกิจมลู ค่าสูงทข่ี บั เคลื่อน
ด้วยนวัตกรรม (Value-Based and Innovation- “แรงงาน” เปรยี บเหมือนเสน้ เลือดหล่อเลี้ยงเศรษฐกจิ
Driven Economy) และยกระดบั ให้เป็นประเทศทีม่ ี เพราะเปน็ ปัจจัยการผลิตสาคัญทเ่ี ปน็ เบื้องหลงั การ
รายไดส้ งู ภายในปี 2036 และเพ่อื ที่จะบรรลเุ ป้าหมายน้ี สรา้ งมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ ให้แกป่ ระเทศ โดยเฉพาะใน
ธนาคารโลกประเมินไวว้ ่า ประเทศไทยจะต้องรักษา ภาวะท่ีการจดั สรรและกระจายทรัพยากร “ทุน” ยงั ทาได้
ระดับอัตราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ไมใ่ หต้ า่ กวา่ รอ้ ยละ 5 จากัด แตใ่ นทางกลับกัน การพัฒนาทรัพยากรแรงงาน
โดยเร่งผลกั ดนั การปฏิรปู เศรษฐกจิ เพือ่ ฟื้นฟู เพ่ือนาไปสู่เป้าหมายการยกระดับผลติ ภาพแรงงานยังมี
การลงทนุ ภาคเอกชน และปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงาน ช่องวา่ ง (Gap) ให้ทาได้อกี มาก โดยเฉพาะการพฒั นา
ผา่ นการยกระดบั ผลติ ภาพแรงงาน (World Bank, ทักษะ (Skills Development) ซึง่ จะเป็นกุญแจสาคญั
2020) อยา่ งไรกต็ าม ภายใตภ้ าวะทีก่ ระแสการ ที่ชว่ ยปลดล็อกศักยภาพการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ
เปล่ยี นแปลงยังคงสรา้ งความท้าทายต่อการเติบโต ในภาวะทีต่ ลาดแรงงานยงั คงเผชิญกับปญั หาเชิง
ของเศรษฐกิจไทยในระยะข้างหนา้ อีกท้ังการแพร่ โครงสร้างทเี่ รอ้ื รังมานาน อีกทั้งสถานการณ์การแพร่
ระบาดของ COVID-19 สรา้ งผลกระทบอยา่ งรนุ แรง ระบาดของ COVID-19 ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการ
ต่อเศรษฐกจิ และตลาดแรงงาน และยังไม่แนช่ ัดวา่ จะ จา้ งงาน และทาใหป้ ญั หาเชงิ โครงสร้างของตลาดแรงงาน
ฟนื้ ตวั กลับมาในสภาพทีพ่ รอ้ มรับมอื กับความท้าทาย ยิ่งรนุ แรงขึ้นจากกระแสการเปลี่ยนแปลงท่ีถกู Turbo
ข้างหนา้ หรือไม่ เสน้ ทางไปสเู่ ปา้ หมายน้นั จงึ ไมง่ า่ ยเลย Charge การผลกั ดันให้เกดิ การปรบั โครงสร้าง
ตลาดแรงงานผ่านการพัฒนาทักษะ จงึ เปน็ การดาเนิน
การยกระดบั ผลติ ภาพแรงงานน้นั หากทาสาเรจ็ กจ็ ะ นโยบายทีเ่ หมาะสมอย่างยิง่ กับสถานการณ์ เพราะจะ
นาไปสู่การบรรลเุ ปา้ หมายเศรษฐกจิ แบบยงิ ปนื นดั เดยี ว เอ้ือให้แรงงานได้ใช้โอกาสในวกิ ฤตเพอื่ พฒั นาตนเอง
ไดน้ ก 3 ตวั ได้แก่ (1) เปา้ หมายการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ สรา้ งความพรอ้ มในการปรับตัวรับมือและอยรู่ อด
ทัง้ ในระดับมหภาคจากการยกระดับผลิตภาพการผลติ ภายใต้โลกบรบิ ทใหม่ (New Normal) และเปน็ ฟันเฟอื ง
โดยรวมของประเทศผ่านการพัฒนาแรงงาน และในระดับ หลกั ทจ่ี ะสนับสนุนให้เศรษฐกจิ ฟนื้ ตัวและเติบโตตอ่ ไป

บทท่ี 1 การพัฒนาทกั ษะแรงงาน | 23

fHigh Labor Productivity1 ภาพท่ี 1.1 ความทา้ ทายของโครงสร้างตลาดแรงงานไทย

สู่นโยบายเพ่มิ SURVIVOR

NeSwTEGMrad STEM

(1.3m, 27k)
(0.07m,<27k) High-skilled
U(0nM.e1mmapn,lo1uy7ekd) (0U.nS2e1emmrpv,iloc1ye6edk) Labor at Risk (0B.N1ue9wsminG, <er2asd4sk)
of Automation2 Foreign Worker

(13m, 12k) (0.2m, 48.4k)

(0U.Tn1eo2mumpri,lso1mye2dk) N(0Ve.ow4cmGa,rta<iod1nu3aaktle)

Farmer Farmer WPuobrkliecr FLoroewig-nsWkiollerkder

Age>50 Age<50 (0.57m, 9k) (2.3m, 9k)
(6.4m, 8.4k)

(6.0m, 6.9k)

นโยบายลด VULNERABLE Higher Future Demand

1ประเมนิ จากระดับรายได้เฉลย่ี จาแนกตามสาขาเศรษฐกจิ และระดับทักษะ
2 พชั รพร และนนั ทนติ ย์ (2018) และตวั เลขในวงเลบ็ คอื (จานวนแรงงาน, รายได้เฉล่ยี ) ณ ไตรมาส 4 ปี 2020

ความท้าทายของโครงสรา้ งตลาดแรงงานไทย

การปรับโครงสร้างตลาดแรงงานเป็นความท้าทายท่ีสาคัญของเศรษฐกิจไทย เพราะต้องรับมือกับปัญหา
เชงิ โครงสรา้ งท่ถี าโถมทง้ั 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ (1) ปญั หาเชงิ โครงสรา้ งท่มี อี ยเู่ ดมิ คุณภาพแรงงานและทกั ษะที่ไม่ตรงกับ
ความตอ้ งการของตลาด (Qualification and Skills Mismatch) ท่เี ปน็ ปญั หาฝงั รากลกึ และเร้ือรงั มานาน
จากผลของนโยบายด้านการศึกษา ดา้ นแรงงาน และการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม ท่ียังขาดการสอดประสานกัน
ต้ังแต่ตน้ จนจบ (2) ความเสยี่ งดา้ นตลาดแรงงานทเ่ี พมิ่ ขนึ้ จากกระแสการเปลย่ี นแปลง (Megatrend) ไมว่ ่าจะเป็น
การพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทัลทเ่ี ขา้ มาเปลีย่ นแปลงรปู แบบการผลิตและบริการ ทส่ี ร้างความเสยี่ งจากการเข้ามาทดแทน
การทางานของแรงงาน และสรา้ งแรงกดดันต่อทั้งแรงงานและนายจา้ งใหต้ อ้ งเรง่ ปรบั ตวั เพอ่ื กา้ วทนั และอยูร่ อดภายใต้
โลกบริบทใหม่ รวมถงึ การเข้าสสู่ ังคมผู้สงู อายทุ ที่ าให้กาลังแรงงานมแี นวโนม้ ลดลงและจะส่งผลลบตอ่ ผลติ ภาพ
การผลติ และเศรษฐกิจในภาพรวม และ (3) ปญั หาเชงิ โครงสรา้ งทถ่ี กู ทาใหร้ นุ แรงขน้ึ จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของ COVID-19 โดยเฉพาะแรงงานกลุม่ เปราะบางทีต่ กงานและมีความเส่ยี งที่จะไมส่ ามารถปรบั ตวั กลบั เขา้ สู่ตลาดแรงงาน
ได้ดว้ ยขอ้ จากดั ดา้ นทักษะหรืออายุ และการเคลื่อนยา้ ยแรงงานคนื ถน่ิ ท่สี ่วนใหญ่เปน็ การยา้ ยออกไปสู่สาขา
เศรษฐกิจทม่ี ีผลิตภาพการผลติ ตา่ ลง (ภาพท่ี 1.1)

บทท่ี 1 การพัฒนาทักษะแรงงาน | 24

นโยบายดา้ นการศกึ ษา ด้านแรงงาน และ ปัญหาเชิงโครงสรา้ งของตลาดแรงงานยง่ิ นบั วัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ท่ีไมส่ อดประสานกนั ดูเหมือนจะยิง่ รุนแรงและฝังรากลึกในระบบเศรษฐกจิ
กลายเป็นต้นตอของปัญหาเชงิ โครงสรา้ งของ โดยท่ีแรงงานและสถานประกอบการ ผู้ซ่งึ มีส่วนได้
ตลาดแรงงาน ทง้ั การขาดแรงงานคุณภาพและ สว่ นเสยี ในเรอ่ื งนี้ยังไมท่ ันรูต้ ัว เห็นได้จากตัวเลข
มีทกั ษะทไ่ี ม่ตรงกับความต้องการของตลาด ความต้องการแรงงาน (อุปสงค์) และการผลิตแรงงาน
(อปุ ทาน) ที่ขัดแย้งกัน ท้งั น้ี สรุปปัญหาเชงิ โครงสร้าง
ประเทศไทยมีการจดั ทาแผนแมบ่ ทการพฒั นา ของตลาดแรงงานท่ีสาคญั ได้ 2 ประเดน็ คอื (1) ระดบั
กาลงั คนอยา่ งจรงิ จังเปน็ ครั้งแรกภายหลังเกิดวิกฤต การศกึ ษาทไี่ มส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด
การเงนิ เม่อื ปี 1997 โดยแผนแม่บทในช่วงแรก (Qualification Mismatch) สะทอ้ นจากตวั เลขภาพรวม
เน้นสร้างกาลงั คนเพอ่ื รองรับการขยายตัวของ ของกาลงั แรงงาน 37.6 ล้านคน ในปี 2020 ที่มีสัดส่วน
ภาคอตุ สาหกรรมการผลิตและภาคบริการทส่ี ่วนใหญ่ แรงงานทักษะสงู เพียงรอ้ ยละ 16 ขณะที่มกี ารผลติ
ใช้แรงงานแบบเข้มขน้ (Labor Intensive) จึงให้น้าหนัก กาลงั แรงงานจบใหม่ท่ีมวี ุฒิปรญิ ญาตรสี ูงถงึ รอ้ ยละ 60
กับการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนกาลงั แรงงาน ของผจู้ บการศึกษา รวมถึงในจานวนนยี้ งั มผี ู้ท่ีทางาน
และรองรับแรงงานทเี่ คลือ่ นยา้ ยมาจากภาคเกษตร ตา่ กวา่ ระดับการศึกษาเพ่ิมขึน้ อยา่ งมนี ัยและส่งผลตอ่
มากกว่าการสรา้ งกาลังแรงงานทีม่ ที กั ษะสูง ระดับรายไดข้ องแรงงาน (เสาวณี และกานต์ชนติ , 2018)
แมใ้ นระยะต่อมา แนวทางการพฒั นาภาคการผลติ และ (2) ปัญหาทกั ษะท่ีไมส่ อดคลอ้ งกบั ความ
และบรกิ ารจะเรมิ่ เปลยี่ นทศิ ทางไปสกู่ ารผลติ ที่ใช้ ตอ้ งการของตลาด (Skills Mismatch) สะท้อนจาก
เทคโนโลยกี ารผลิตเข้มข้นข้นึ และต้องการแรงงานทม่ี ี ตวั เลขผู้ว่างงานและการขาดแคลนแรงงาน ยังพบวา่
ทกั ษะ เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิตและช่วยให้ มีผ้วู ่างงานจานวน 4.0 แสนคน ในปี 2018 เปน็
ภาคเอกชนสามารถอยูร่ อดท่ามกลางการแข่งขันทาง ผู้จบการศึกษาปริญญาตรเี กือบรอ้ ยละ 43
การค้าที่รนุ แรงขึ้นได้ แตด่ ูเหมือนว่าการพฒั นา ซ่งึ อาจเกดิ ข้นึ เพราะความรูท้ ส่ี ูงเกนิ ความตอ้ งการ
แรงงานของประเทศไทยยงั อยู่ในสภาพตดิ หล่มปัญหา ของตลาด หรือสาขาที่เรียนไม่เปน็ ที่ต้องการของตลาด
เชิงโครงสรา้ งนานเกือบ 20 ปี ที่ทาให้เราไมส่ ามารถ ขณะเดยี วกนั ภาคเอกชนยังเผชิญปญั หาขาดแคลน
พัฒนาแรงงาน รวมถงึ พฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม แรงงานทกั ษะสงู โดยเฉพาะผู้ท่ีมีองค์ความรู้ดา้ น
ไปข้างหนา้ ได้ STEM รวมถงึ ขาดแรงงานทม่ี ที กั ษะนอกตาราท่จี ะชว่ ย
ใหก้ ารทางานมปี ระสิทธภิ าพ สอดคล้องกับรายงาน
ของกระทรวงแรงงาน (2017) ท่ีช้วี า่ แรงงานราวรอ้ ยละ 30
ในแต่ละสาขาอาชีพ ขาดความรู้เกี่ยวกบั ธรุ กิจและ
องค์กร การใชภ้ าษาและการส่อื สาร การจัดการ
ปัญหา และการใฝร่ ู้ เป็นต้น

บทท่ี 1 การพัฒนาทกั ษะแรงงาน | 25

ปัญหาระดบั การศึกษาและทกั ษะทีไ่ ม่ตรงกบั ความ การผลิตสินค้าและบรกิ ารทีย่ ังอยใู่ นระดับที่ไมส่ งู นกั
ตอ้ งการของตลาดเช่นน้ี แสดงให้เห็นถงึ ความไมม่ ี ขณะเดียวกันในด้านนโยบายก็มกี ารแก้ปัญหาระยะสัน้
ประสทิ ธภิ าพในการจดั สรรทรัพยากรแรงงาน ด้วยการดึงดูดแรงงานตา่ งด้าว แต่ก็อาจนามาสู่
ซง่ึ จะนาไปส่ปู ญั หาคอขวดในการพัฒนาเศรษฐกจิ ปัญหาในระยะยาวทก่ี ระทบต่อผลิตภาพการผลติ
และสรา้ งขอ้ จากัดให้กบั ภาคเอกชนในการพัฒนา โดยรวมของประเทศ (Productivity) และอาจสรา้ ง
นวัตกรรม ผลิตภาพ และความสามารถในการแขง่ ขัน แรงกดดนั ตอ่ ประเดน็ การเติบโตที่ทว่ั ถงึ และย่ังยืน
(OECD, 2020) สาหรบั ประเทศไทยทต่ี ้องการมุ่งหน้า (Inclusive Growth) ข้อเทจ็ จรงิ น้ีสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึง
ไปสู่ Thailand 4.0 จงึ จาเปน็ อย่างยงิ่ ท่ีจะตอ้ งเร่ง ปญั หาชอ่ งว่างดา้ นนโยบายท่สี าคญั ซง่ึ แม้รฐั บาลจะ
ทาความเขา้ ใจถงึ สาเหตุที่แท้จริงของปญั หาขา้ งตน้ ตง้ั เปา้ หมายความสาเรจ็ ในการพฒั นาประเทศไว้สงู
และหากลองเปิดใจและพิจารณาลึกลงไป ก็จะพบ และตอ้ งการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมลู ค่าสงู ด้วยการใช้
ต้นตอของปัญหาที่สาคญั นั่นคือ การวางกลยุทธ์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แต่ในทางปฏิบัติ นโยบาย
การพัฒนาประเทศและพัฒนาแรงงานทย่ี งั ขาดการ การพัฒนาเศรษฐกจิ ยังยดึ ตดิ กบั การผลติ ทเ่ี น้น
ผสานเชือ่ มโยงกันตั้งแต่ตน้ จนจบ การใช้แรงงานเขม้ ขน้ สถานประกอบการจานวนมาก
ยังต้องการแรงงานทที่ างานในลักษณะซ้าเดมิ และ
ประเทศไทยตง้ั เปา้ หมายท่จี ะสรา้ งเศรษฐกิจ ไม่จาเป็นตอ้ งมที ักษะมากนัก (Routine and Simple
มูลคา่ สงู และขับเคลือ่ นด้วยนวัตกรรม แตท่ ศิ ทาง Task) ส่วนหน่ึงเพ่ือรกั ษาต้นทนุ การผลิตใหต้ า่ และ
นโยบายนี้ไม่ไดถ้ กู สง่ ผา่ นไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลง อย่รู อดในโลกแหง่ การแข่งขนั
รปู แบบการผลิตสินค้าและบรกิ าร รวมถึง
ความต้องการจา้ งงานในระบบเศรษฐกิจ ในอกี ดา้ นหนึ่ง ภาคเศรษฐกิจบางสว่ นท่เี ตบิ โตและ
ดาเนินกิจการตอ่ ไปได้ กลับขาดแคลนแรงงานท่ีมีทักษะสูง
OECD (2020) ศกึ ษาเปรยี บเทยี บความไมส่ มดลุ ดา้ น และจะย่งิ มีความตอ้ งการแรงงานกลุ่มนี้มากขนึ้
ทกั ษะ (Skills Imbalance) ของกาลงั แรงงานในกลุม่ โดยเฉพาะในโลกทก่ี ระแสการพัฒนาของเทคโนโลยี
ประเทศเอเชยี พบข้อเทจ็ จริงทีน่ ่าสนใจว่า ประเทศ สร้างแรงกดดนั ใหภ้ าคเอกชนต้องนาเทคโนโลยีมาใช้
ส่วนใหญใ่ นกลมุ่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตเ้ ผชิญกบั ในกระบวนการผลิตและบริการ เพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ
ปัญหาอปุ ทานส่วนเกนิ ในกลมุ่ แรงงานทักษะต่า ซ่ึงเปน็ การทางานและรกั ษาความสามารถในการแข่งขันของ
ผลมาจากการท่ียงั ไมส่ ามารถแกป้ ัญหาการเขา้ ถึง ตนเองในเวทีโลก สะทอ้ นไดจ้ ากการเติบโตของการนา
และคุณภาพของระบบการศึกษาได้ ในทางตรงขา้ ม เทคโนโลยมี าใช้ในภาคอตุ สาหกรรมท่เี พม่ิ ข้นึ ถงึ 3 เท่า
ประเทศไทยกลับมปี ญั หาขาดแคลนแรงงานทักษะตา่ ภายในช่วง 10 ปี โดยเฉพาะสาขาการผลติ ยานยนต์
ทีส่ ะท้อนให้เหน็ ถึงระดับการพฒั นาเทคโนโลยี อย่างไรกต็ าม หากพิจารณาดา้ นนโยบาย กลับยงั ไม่
เหน็ การขบั เคลื่อนการพัฒนากาลังคนทมี่ ีสมรรถนะสูง

บทท่ี 1 การพฒั นาทักษะแรงงาน | 26

ผา่ นระบบการศึกษา หรือการสนับสนุนการพัฒนา อตั ราการเรยี นสทุ ธิ (Net Enrolment Rate) ทีว่ ดั
ทกั ษะแรงงานในสถานประกอบการที่ชัดเจน ท้ังที่ สดั ส่วนประชากรไทยทีเ่ ข้าสู่การศึกษาระดับประถม
ขอ้ เท็จจริงชี้วา่ ประชากรไทยทอ่ี ยใู่ นกาลงั แรงงาน ซ่ึงมสี ัดส่วนสงู ถึงร้อยละ 99.6 ทัดเทยี มประเทศช้ันนา
ทง้ั เยาวชนและวยั ทางานมีจุดออ่ นดา้ นทกั ษะเกย่ี วกบั ในกล่มุ OECD แต่สาหรับการไต่บนั ไดการพฒั นา
การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital Skills) ทสี่ งู กวา่ ประเทศ เศรษฐกิจและเป้าหมายยกระดบั เศรษฐกจิ สู่ประเทศ
อน่ื ๆ ในกลุ่มเอเชียและ OECD รวมถงึ การผลติ กาลัง ทม่ี ีรายไดส้ ูง นโยบายด้านการศึกษาขา้ งตน้ ยงั ไม่
แรงงานทม่ี ีความสามารถดา้ นการพัฒนาและปรบั เพยี งพอที่จะแก้ปัญหาการเขา้ ถึงการศกึ ษาในระดับ
ใช้เทคโนโลยียงั ทาได้คอ่ นข้างจากัด (OECD, 2020) ปานกลางถงึ สูง รวมถึงยังไม่เชื่อมโยงกับการจา้ งงาน
และยงั ไม่ตอบโจทย์การแก้ปญั หาคณุ ภาพและทกั ษะ
นโยบายการศึกษา คา่ นยิ ม และโครงสร้าง แรงงานทไี่ ม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
พื้นฐานในการจดั การเรียนการสอนและพัฒนา
หลกั สตู ร ยงั เปน็ อุปสรรคทส่ี าคญั สาหรบั การ หากพิจารณาการดาเนินนโยบายในช่วงที่ผา่ นมา
พฒั นาแรงงาน และยังไมส่ อดรับกบั เปา้ หมาย พบวา่ รฐั บาลจดั สรรงบประมาณจานวนไม่นอ้ ยเพ่อื
การพฒั นาประเทศ ใช้จ่ายในโครงการด้านการศึกษา โดยในแต่ละปี
มงี บประมาณราวร้อยละ 4 ของ GDP เพ่ือใช้จา่ ยเปน็
ประเทศไทยมกี ารเปลยี่ นแปลงนโยบายดา้ นการศึกษา คา่ สนบั สนนุ การเรียนการสอนตามนโยบายเรียนฟรี
ที่มนี ัยสาคญั ไม่กี่คร้งั ตลอดชว่ งกวา่ 2 ทศวรรษ 15 ปี และสนับสนุนระบบการศึกษาในโครงการอื่น ๆ
ทผ่ี า่ นมา คือ การกาหนดให้ประชาชนมสี ิทธิใน อยา่ งไรก็ดี แมว้ ่าเม็ดเงินจานวนน้ีจะเป็นสัดส่วนท่ี
การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน โดยในรัฐธรรมนญู แห่ง ใกล้เคยี งกบั ประเทศสิงคโปรแ์ ละญ่ีปนุ่ รวมถงึ เกาหลใี ต้
ราชอาณาจกั รไทย เมือ่ ปี 1997 ระบุว่า “บคุ คลย่อมมี ท่ีใชง้ บประมาณอยรู่ ้อยละ 3 และ 5 ของ GDP แต่การ
สทิ ธิเสมอกนั ในการรบั การศึกษาไม่น้อยกว่าสบิ สองปี เขา้ ถงึ การศกึ ษาระดบั มธั ยมขนึ้ ไปในประเทศไทยยงั อยู่
โดยรฐั จะต้องจดั ให้อยา่ งทวั่ ถงึ และมีคณุ ภาพโดยไมเ่ ก็บ ในระดับตา่ กว่าเมือ่ เทยี บกับประเทศเหล่าน้ีค่อนข้างมาก
คา่ ใชจ้ า่ ย” และใน พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติ ในปี 1999 โดยมสี ัดสว่ นประชากรไทยราวร้อยละ 30-50 ทย่ี งั
ที่นยิ ามการศึกษาขั้นพน้ื ฐานไวว้ า่ หมายถึงระดับ ไมส่ ามารถเขา้ สกู่ ารศึกษาในระดบั ปานกลางถงึ สงู ได้
ป.1-ม.6 และรฐั ธรรมนญู ในปี 2007 และ 2017 ทป่ี รบั และเปน็ เหตุใหแ้ รงงานไทยมีปัญหาดา้ นคุณภาพ
ช่วงเวลาการไดร้ ับการศึกษาฟรใี หค้ รอบคลมุ ตง้ั แต่ ในทางกลบั กัน ครอบครวั ท่ีมีฐานะกลับมีคา่ นยิ มสง่
ก่อนวยั เรียนจนจบการศกึ ษาภาคบังคบั ซึง่ เป็นที่ ลกู เรยี นในระดบั ปรญิ ญาตรขี น้ึ ไปหรอื ส่งลูกไปเรยี น
น่ายนิ ดีทกี่ ารเปลย่ี นแปลงนมี้ ผี ลชว่ ยลดปญั หา ต่างประเทศ ทัง้ ทข่ี ้อเทจ็ จริงของตลาดแรงงานไทย
การเขา้ ถงึ ระบบการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งชัดเจน สะทอ้ นจาก กลบั มีผู้จบการศกึ ษาปริญญาตรีจานวนมากท่เี ปน็
ผวู้ ่างงาน และมจี านวนไม่น้อยท่ีทางานตา่ กว่าระดับ

บทท่ี 1 การพัฒนาทักษะแรงงาน | 27

การศึกษา รวมถงึ กาลังแรงงานบางสว่ นท่มี ศี ักยภาพ ทาหนา้ ท่ีพัฒนาทกั ษะแรงงาน หรือรับบทบาทเป็น
แตไ่ ม่มนี โยบายในการดงึ ดดู แรงงานกลุ่มน้ใี ห้กลบั มา “ครู” โดยเนน้ บทบาทของภาคธรุ กิจในการเป็นผู้นา
ทางานในประเทศไทยหรือในองค์กรสาคญั ของประเทศ การพัฒนาทักษะแรงงาน (Business-Led) ซึ่งจะเปน็
เห็นไดจ้ ากปัญหา “สมองไหล” โดยเฉพาะในกลมุ่ สว่ นสาคัญในการเชื่อมโยงนโยบายการศึกษาเขา้ กบั
นกั เรียนทุน นอกจากนี้ สงั คมไทยยงั มีคา่ นิยม นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและการจา้ งงาน ท่สี าคญั
ไมย่ อมรบั ผู้ทเ่ี รยี นจบจากสาขาอาชวี ะ ทั้งท่เี ป็น ตอ้ งเปิดโอกาสใหภ้ าคเอกชนเขา้ มามสี ่วนรว่ มตง้ั แต่
สาขาวชิ าที่ตลาดแรงงานตอ้ งการ ซงึ่ แมว้ ่าสถานศึกษา ขนั้ แรกของการวางกลยุทธก์ ารขับเคล่อื นเศรษฐกิจ
ในภาคเอกชนจะพยายามแข่งขนั กนั ปรับปรุงภาพลักษณ์ การวางแผนพฒั นากาลังคน ร่วมลงมอื และรว่ มลงทุน
ของการศึกษาสายอาชวี ะ และขยายสาขาวชิ าท่ไี ม่ต้อง พฒั นาหลักสูตรและผู้สอน ขณะทภ่ี าครัฐตอ้ งปรบั
ทางานในโรงงานเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของ บทบาทมาเปน็ กองหลงั ผู้คอยสนับสนนุ ทดี่ ี ผ่านการ
ผ้เู รยี น เช่น สาขาการตลาด สาขาบรหิ ารธรุ กิจ สร้างระบบนเิ วศ ท้งั ด้านระบบโครงสรา้ งพืน้ ฐานและ
แต่ยังขาดระบบควบคมุ มาตรฐานและการรบั รอง กฎกติกาทเ่ี อ้ือต่อการดึงดดู บคุ ลากรคณุ ภาพมาทา
คณุ ภาพการศกึ ษา ซ่ึงเป็นความเสี่ยงที่อาจทาให้ หนา้ ทค่ี รู สนับสนุนการลงทุนพัฒนาแรงงานของ
ผเู้ รยี นไม่สามารถหางานทาไดเ้ ม่ือจบการศึกษา สถานประกอบการ และสรา้ งระบบฐานขอ้ มลู ทชี่ ว่ ยใน
การควบคมุ คณุ ภาพและสร้างมาตรฐานระดบั ประเทศ
ปญั หาทีส่ าคัญอกี ประการหนึ่ง คือ การขาดบคุ ลากร
ผสู้ อน และปจั จยั โครงสรา้ งพน้ื ฐานเพือ่ จัดการเรียน ก้าวขา้ งหนา้ ของการปรบั โครงสรา้ ง
การสอนและพัฒนาหลกั สูตร โดยเฉพาะปัญหาผสู้ อน ตลาดแรงงานยงั เต็มไปด้วยความทา้ ทาย
ทมี่ ขี ้อจากัดทงั้ ดา้ นปรมิ าณผู้สอน และองค์ความรู้ จากท้ังกระแสการเปลย่ี นแปลง และผลกระทบ
ในสาขาวิชาท่มี ีแนวโน้มความตอ้ งการสูงในอนาคต เช่น จาก COVID-19 ที่ทุกภาคส่วนต้องร่วมกนั
ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่งึ มสี าเหตุ แกป้ ญั หาและสรา้ งความพร้อมเพอ่ื เตรียมรับมอื
มาจากทง้ั แรงจูงใจ (Pull Factor) ทีไ่ ม่มากพอทจ่ี ะ
ดงึ ดดู ให้บุคลากรท่ีมคี ุณภาพเข้ามาทางานในอาชีพน้ี ในระยะต่อไป การปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงาน
และปัจจัยทผี่ ลัก (Push Factor) ใหบ้ คุ ลากรในอาชีพน้ี มคี วามท้าทายอีกมากท่ตี อ้ งคานงึ ถงึ นอกเหนอื จาก
ออกจากงาน ทั้งปัจจยั เรื่องค่าตอบแทน สทิ ธปิ ระโยชน์ ปญั หาเชิงโครงสร้างทมี่ ีอยู่เดิม โดยเฉพาะสถานการณ์
และความค้มุ ครองทางสังคม และโอกาสการเติบโต การแพรร่ ะบาดของ COVID-19 ทท่ี าให้กระแสการ
ในหน้าทกี่ ารงาน ท้งั น้ี คงปฏิเสธไม่ไดว้ ่าการพัฒนา เปล่ียนแปลงถกู Turbo Charge และทาให้ปญั หา
แรงงานจาเป็นอย่างยงิ่ ที่จะตอ้ งมุ่งสรา้ ง “ครู” เพอื่ ทา เชงิ โครงสรา้ งรุนแรงขน้ึ ทงั้ น้ี ในภาพรวมการ
หน้าที่สรา้ ง “คน” ผา่ นการปรบั แรงจูงใจเพอื่ ปลดลอ็ ก แพรร่ ะบาดของ COVID-19 สง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
ข้อจากดั ขา้ งต้น โดยเปดิ กวา้ งให้ภาคเอกชนเขา้ มา

บทท่ี 1 การพฒั นาทักษะแรงงาน | 28

และตลาดแรงงานอย่างรุนแรง สะทอ้ นจากตวั เลข ทแ่ี ม้โครงสร้างประชากรเคล่ือนเขา้ สสู่ งั คมสูงวัยเร็ว
ผวู้ ่างงานที่อย่ใู นระดับสูงเปน็ ประวัตกิ ารณ์ที่ 7.5 แสนคน แตเ่ กดิ ข้ึนในช่วงท่เี ศรษฐกจิ พัฒนาเปน็ ประเทศรายได้
และอตั ราการวา่ งงานพุ่งขึน้ เกอื บเทา่ ตวั ของชว่ งเวลา สงู แลว้ นอกจากน้ี กระแสการเปลยี่ นแปลงท่ีสาคญั
ปกติ โดยครง่ึ หนง่ึ เปน็ แรงงานทกั ษะตา่ ท่อี ย่ใู นสาขา อีกประการหนึง่ คอื การพฒั นาของเทคโนโลยี
โรงแรมและภตั ตาคาร และอกี คร่งึ หนงึ่ อยใู่ นสาขา (Technological Change) ที่แม้กระแสนจ้ี ะสร้าง
การผลิต นอกจากน้ี ยงั มแี รงงานเสมือนว่างงานราว ผลกระทบเชงิ บวกสาหรบั เศรษฐกจิ แตส่ าหรบั ธุรกจิ
5 ลา้ นคน ในปี 2020 และอาจเพ่ิมขึ้นอีกในปีต่อ ๆ ไป และแรงงานท่ีขาดการเขา้ ถึงและปรับตวั รบั มอื ไม่ทัน
หากสถานการณย์ ืดเยอื้ ซึ่งแรงงานกลุม่ น้ีได้รบั กับกระแสน้ี อาจได้รับผลกระทบในทางตรงข้าม
ผลกระทบจากการลดคา่ แรงหรือลดจานวนชั่วโมง โดยมีการประเมินว่า กระแสการพัฒนาเทคโนโลยจี ะ
การทางาน ไมเ่ พยี งแตผ่ ลกระทบเฉพาะหนา้ ท่ตี ้องเรง่ ทาให้ความต้องการแรงงานท่วั โลกหายไปราว 85 ล้าน
แก้ไข แตส่ ถานการณ์ครั้งนีอ้ าจฝังแผลเปน็ ลงบน ตาแหน่ง (World Economic Forum, 2020) และ
โครงสร้างของตลาดแรงงาน หากการดาเนินนโยบาย สาหรับประเทศไทย แรงงานราว 13 ลา้ นคน ในภาค
ดา้ นแรงงานไมไ่ ด้คานึงถงึ ประเดน็ เหลา่ นี้ การผลติ มคี วามเสย่ี งทจ่ี ะถกู ทดแทนด้วยระบบ
หุน่ ยนต์ (Automation) โดยเฉพาะกลุม่ ที่มที กั ษะตา่
การแพร่ระบาดของ COVID-19 ซา้ เตมิ ปัญหา (พชั รพร และนันทนิตย์, 2018)
เชิงโครงสรา้ งท่มี คี วามเสย่ี งอยู่เดมิ จากกระแสการ
เปลี่ยนแปลง (Megatrend) โดยเฉพาะกระแสการ ทัง้ นี้ กระแสการเปลยี่ นแปลงทกี่ ล่าวข้างตน้ ประกอบกบั
เปลย่ี นแปลงโครงสร้างประชากร (Demographic สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ COVID-19
Change) ทป่ี ระเทศไทยกาลังจะเข้าสู่สังคมสูงวัย สรา้ งแรงกดดันต่อตลาดแรงงานใหเ้ กดิ การเคลือ่ นยา้ ย
โดยสมบรู ณใ์ นอีกไม่ถงึ 10 ปี ซึง่ คาดว่าจะสง่ ผลลบ แรงงานและการจดั สรรทรัพยากรในลกั ษณะท่ีสวน
ต่อตลาดแรงงานอยา่ งมนี ยั สาคญั ใน 2 มติ ิ คอื ทศิ ทางกบั การพฒั นา น่ันคอื แรงงานกลมุ่ เปราะบาง
(1) ในอีก 20 ปีขา้ งหนา้ กาลงั แรงงานจะลดลงจาก ทเ่ี ป็นผู้สูงวยั และ/หรอื ผทู้ ีม่ ีทักษะตา่ มีความเส่ยี งที่จะ
ปัจจุบนั ที่ 38 ลา้ นคนเหลอื 31 ล้านคน และมสี ัดส่วน ถกู ปลดออกจากงานในภาคอตุ สาหกรรมและภาค
แรงงานสงู วัย (มากกว่า 45 ป)ี สงู ถงึ ร้อยละ 36 บริการ และเคลอ่ื นย้ายออกจากเมืองสู่ภูมิลาเนาและ/
ของกาลงั แรงงาน และ (2) ประเทศไทยตกอย่ใู นภาวะ หรือกลบั ไปทางานในภาคเกษตรซ่ึงมีผลิตภาพ
“แก่กอ่ นรวย” เพราะการเปลย่ี นแปลงนเ้ี กิดข้ึนในชว่ งที่ การผลติ ตา่ กว่าเดิม ท่อี าจได้รบั คา่ จ้างค่าแรงท่ตี า่
ตลาดแรงงานยงั มปี ัญหาด้านคณุ ภาพและทกั ษะของ กวา่ เดิม และตอ้ งกลายเป็นแรงงานนอกระบบที่ไมไ่ ด้
แรงงานท่ีทาใหแ้ รงงานกลมุ่ นไ้ี ด้รบั ค่าตอบแทนอยใู่ น รับความคุ้มครองทางสังคม และนั่นหมายถึง
ระดับต่าท่ีประมาณ 8,600 บาทต่อเดือน ซ่ึงตา่ งจาก ความเสยี หายในเชิงเศรษฐกิจและสังคมทจ่ี ะตามมา
สหรัฐอเมรกิ า ญ่ปี ุ่น ไตห้ วนั สิงคโปร์ และเกาหลใี ต้

BIBLIOGRAPHY 1 | 29

Asian Productivity Organization. (2020). APO Productivity Databook 2020. World Economic Forum. (2021). Building Back Broader: Policy
https://www.apo-tokyo.org/publications/wp- Pathways for an Economic Transformation.
content/uploads/sites/5/APO-Productivity-Databook-2020.pdf http://www3.weforum.org/docs/WEF_GFC_NES_Policy_Pathways_fo
r_an_Economic_Transformation_2021.pdf
Bank of Thailand. (2019). Monetary Policy Report: Implications of low
unemployment rate in Thailand. กระทรวงแรงงาน. (2017). รายงานการศึกษาการวเิ คราะห์ฐานข้อมลู แรงงาน
https://www.bot.or.th/English/MonetaryPolicy/MonetPolicyComittee/MPR/ และประมาณการความต้องการแรงงานของอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นท่ี
BOX_MRP/BOXMPR_EN_March2019_01.pdf ระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC). http://old.rmutto.ac.th/fileupload/
นายเดด็ เดย่ี ว%20บญุ มา10EEC%20กระทรวงแรงงาน.pdf
Deegan, J., & Martin, N. (2018). Demand Driven Education: Merging work &
learning to develop the human skills that matter. Pearson. พัชรพร ลีพิพฒั น์ไพบลู ย์, และนันทนิตย์ ทองศร.ี (2018). หนุ่ ยนต์อตุ สาหกรรม:
https://www.pearson.com/content/dam/one-dot-com/one-dot- กระแสใหม่ที่แรงงานตอ้ งกังวลจรงิ หรือ?. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย.
com/global/Files/about-pearson/innovation/open- https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA
ideas/DDE_Pearson_Report_3.pdf /3AutomationLobur16Aug2017.pdf

OECD. (2020). Thailand’s education system and skills imbalances: เสาวณี จนั ทะพงษ์. (2018). การศกึ ษาสายอาชพี (1): เส้นทางเพอื่ ลดความ
Assessment and policy recommendations. OECD Economics Department เหลอ่ื มลา้ และการพัฒนาอยา่ งมีสว่ นรว่ ม. https://www.eef.or.th/การศกึ ษา
Working Papers. https://www.oecd-ilibrary.org/economics/thailand-s- สายอาชพี 1/
education-system-and-skills-imbalances-assessment-and-policy-
recommendations_b79addb6-en เสาวณี จันทะพงษ์, และกานต์ชนติ เลิศเพียรธรรม. (2018). กบั ดกั Skills
Mismatch และความทา้ ทายสู่ Education 4.0. ธนาคารแห่งประเทศไทย.
Sungsup Ra, Brian Chin, & Amy Liu. (2015). Challenges and opportunities https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article
for skills development in Asia: Changing supply, demand, and _24Jul2018.pdf
mismatches. Asian Development Bank.
https://www.adb.org/sites/default/files/publication/176736/challenges-
and-opportunities-skills-asia.pdf

United Nations. (2019). Population Division World Population Prospects
2019. https://population.un.org/wpp/Download/Standard/Population/

W Audi Pattarapatumthong. (2021). Skills change. Bangkok Post.
https://www.bangkokpost.com/business/2143523/skills-challenge

World Bank. (2020). Higher Productivity is Key to Thailand’s Future
Economic Growth and Prosperity.
https://www.worldbank.org/en/news/press-release/2020/01/17/higher-
productivity-is-key-to-thailands-future-economic-growth-and-prosperity-
--world-bank

World Bank. (2021). Thailand Economic Monitor January 2021: Restoring
Incomes; Recovering Jobs.
https://www.worldbank.org/en/country/thailand/publication/key-findings-
thailand-economic-monitor-january-2021-restoring-incomes-recovering-
jobs

บทที่ 2 ถอดแบบกลไกความสาเร็จ | 30

ถอดแบบกลไกความสาเร็จของการปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงาน
กรณ2 ีศึกษถาอใดนสแบหรบฐั กอลเมไรกกิ คาวอาอมสเสตารเเลรยี็จขสองิ คงโกปาร์รเกปารหบัลใีโตค้ รแลงะสสราธา้ างรณรฐั ประชาชนจนี
ตลาดแรงงานแนวทางการปรบั โครงสร้างตลาดแรงงานของตา่ งประเทศ แมม้ ีกลไกเชงิ สถาบันและรปู แบบการดาเนินนโยบายทเี่ ฉพาะตวั

และมีจุดแขง็ ทกี่แตรกณตา่ งศี กนัึกขษน้ึ อายกู่ในับบสรหิบทรทฐั างอเศเรมษรฐกิกจิ าแลอะสองั คสมเรตวมรถเลึงปียัญหสาิงเชคงิ โคโปรงรส์รเา้กงขาอหงตลลใีาตดแ้ รแงลงาะนที่แตกตา่ งกัน
แเชตงิ ม่ สีกถราอบบนั แน(Inสวsคาtดิitธuรtว่าioมรn()ณCทoีเ่ ชmรือ่ mฐั มปoโยnงรFระะrชหamวาา่ eชงwกนoารrจkศนี)ึกสษาาคแญั ละทกจ่ี าะรนจาา้ ไงปงสาผู่นลแสลาะเเชรื่อจ็ มสโรยปุ งบไดท้ 3บาปทรระกะหาวร่างปภราะกคารรฐั แแรลกะภคาอืคเมอีกกลชไนกตง้ั แต่

รข้อะดมบัแลู ลนแะลโปยะรบสบั าะทโยคอ้สรนู่รงสเะสดรน้ ับ้าทงปตาฏงลิบกาตัาดริแรพปงรฒังะากนนาารททกั ส่ี ษอะงแลคะอืกามรรี ทะบางบาโคนขรงอสงรแรา้ งงงพาน้ืนฐาแลนะดปา้ รนะกข้อารมสลู ดุขนทาา้ ยดใคหอืญม่ (กีInลfrไaกsแtรruงจcูงtuใจre(I)nทcเ่ี eชnอื่ tมivโeย)ง
ท่ีเหม1 าะสมทจ่ี ะเอือ้ ให้เกิดการพัฒนาทกั ษะและปรับโครงสร้างตลาดแรงงาน1 บทน้ีจงึ ไดช้ ใ้ี หเ้ ห็นถึงแง่มุมท่นี ่าสนใจของการใช้
กลไก 3 ประการ และนาไปสู่การถอดบทเรียนเพ่ือเปน็ ตน้ แบบสาหรบั การวางกรอบแนวทางการปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงาน
ของไทยตอ่ ไป (ภาพที่ 2.1 และตาราง 2.1)

ภาพท่ี 2.1 สรุปภาพกรอบแนวคดิ รว่ มการปรบั โครงสร้างตลาดแรงงาน
ผ่านกลไก 3Is (Institution, Infrastructure and Incentive)

SOUTH KOREA

Focus on Vulnerable Group

Employment Success Package Program 
Korea Employment Information Service 
Employment Success Allowance (Employment Insurance) 

CHINA SINGAPORE

Local Job Creation Lifelong Learning

Party Secretaries at the 5 Administrative Levels   Industry Transformation Map
National Poverty Alleviation Data System   Platform: MyCareersFuture & SkillsFuture
Business Startup Subsidy   S$500 SkillsFuture Credit

UNITED STATES AUSTRALIA

Business-Led Workforce Development System Market-Based Employment Services

 Workforce Innovation and Opportunity Act  Jobactive Service Provider
 Workforce and Labor Market Information System  ESSWeb - DESE’s Administrative System
 Individual Training Account  Outcome-Based Payment

1 พรพรรณ รจุ วิ าณิชย์. กลไกการปรับโครงสร้างตลาดแรงงาน.

บทท่ี 2 ถอดแบบกลไกความสาเร็จ | 31

กลไกเชงิ สถาบนั (Institution) ระบบโครงสร้าง สร้างโอกาสในการพฒั นาทักษะแรงงานตั้งแตว่ นั แรก
พน้ื ฐานดา้ นข้อมลู (Infrastructure) และแรงจงู ใจ ของการเขา้ สู่วัยกาลงั แรงงาน ผ่านการผสานบทบาท
(Incentive) เป็นกรอบแนวคิดรว่ มและเปน็ หวั ใจ ระหว่างหนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชนในฐานะผูร้ ว่ ม
สาคญั ทีจ่ ะนาไปสกู่ ารบรรลุผลสาเรจ็ ในการ วางแผนขับเคลื่อนนโยบายและผู้ลงมือปฏิบัติ
ปรบั โครงสรา้ งตลาดแรงงาน โดยประเทศต้นแบบที่มตี ัวอย่างการสร้างกลไกเชงิ
สถาบันท่ีน่าสนใจ ดังน้ี
การศกึ ษาแนวทางการปรับโครงสร้างตลาดแรงงาน
ของประเทศตน้ แบบ ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมริกา ออสเตรเลยี สหรฐั อเมรกิ าทใี่ ช้กฎหมาย Workforce Innovation
สงิ คโปร์ เกาหลใี ต้ และสาธารณรฐั ประชาชนจีน and Opportunity Act (WIOA) เป็นกลไกผลกั ดนั ให้
สะทอ้ นให้เห็นข้อสรุปท่สี าคัญ 2 ประการ ได้แก่ เกิดการบรู ณาการเชิงสถาบนั และมีคณะกรรมการ
ประการแรก แม้วา่ ประเทศต้นแบบแต่ละประเทศเผชญิ พัฒนาแรงงาน (Workforce Development Board:
กับปัญหาทางเศรษฐกิจและการจา้ งงานทแ่ี ตกตา่ งกัน WDB) ทีม่ ีภาคธรุ กจิ เป็นหวั จักรหลกั ในการพฒั นา
แต่การปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงานเป็นหนึง่ ในกลยทุ ธ์ ทกั ษะแรงงานใหต้ รงตามความต้องการของตลาดและ
สาคัญทจ่ี ะนาไปสกู่ ารบรรลเุ ป้าหมายการพัฒนาทาง สร้างกาลงั แรงงานท่ีมสี มรรถนะสงู เพื่อรองรับการ
เศรษฐกิจ และประการท่ีสอง ประเทศต้นแบบมีกรอบ พัฒนาเศรษฐกจิ ประเทศในอนาคต
แนวคดิ ร่วมที่นาไปสูค่ วามสาเรจ็ ของการปรบั
โครงสร้างตลาดแรงงาน นั่นคอื การปรับโครงสรา้ ง ออสเตรเลยี ทใ่ี นระดบั นโยบายมีกระทรวงการศกึ ษา
ตลาดแรงงานผ่านกลไก 3Is ไดแ้ ก่ กลไกเชงิ สถาบนั ทกั ษะอาชพี และการจา้ งงาน (Department of
(Institution) ระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นขอ้ มลู Education, Skills and Employment: DESE)
(Infrastructure) และกลไกแรงจงู ใจ (Incentive) ซ่ึงเป็น เป็นหน่วยงานหลักในกาหนดนโยบายด้านแรงงาน
แนวทางทส่ี ามารถนามาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื แกป้ ัญหา การศกึ ษา และพัฒนาทกั ษะ ขณะทีใ่ นระดับปฏบิ ตั ิ
โครงสรา้ งตลาดแรงงานสาหรับประเทศไทยตอ่ ไป เปิดโอกาสใหภ้ าคเอกชนเข้ามาทาหนา้ ทีเ่ ป็นผดู้ าเนิน
โครงการจดั หางานทงั้ หมด ทัง้ แรงงานกล่มุ ที่มี
1. การบรู ณาการปจั จยั เชิงสถาบนั (Institution) ศักยภาพและแรงงานกลมุ่ เปราะบาง และมีกลไกการ
ควบคุมคณุ ภาพการใหบ้ รกิ ารที่เปน็ ไปตามหลัก
การบูรณาการปัจจยั เชิงสถาบนั ทเ่ี ชอ่ื มโยงระหวา่ งการ Outcome-Based สง่ ผลให้การดาเนนิ โครงการ
จา้ งงานกบั การศกึ ษาและการพฒั นาทักษะ โดยมงุ่ เน้น มีประสทิ ธภิ าพสงู มผี ลลพั ธใ์ นการจับครู่ ะหวา่ ง
การแก้ปญั หาโครงสรา้ งตลาดแรงงานผ่านการสรา้ ง อุปสงค์และอปุ ทานในตลาดแรงงานที่ชัดเจน และ
แรงงานท่ีตรงกบั ความต้องการของตลาดและ ประหยดั งบประมาณ

บทท่ี 2 ถอดแบบกลไกความสาเร็จ | 32

สงิ คโปร์ ทเี่ ปดิ โอกาสให้ภาคเอกชนเขา้ มามบี ทบาท Leading Group Office of Poverty Alleviation and
ตั้งแต่ระดับวางแผนยุทธศาสตรช์ าตจิ นถึงระดับปฏบิ ัติ Development2 เปน็ หน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน
โดยมีกลไกการขับเคลอื่ นนโยบายและวางแผนกาลังคน กลยทุ ธ์ และมีกลไกการบริหารงานภายใตร้ ปู แบบ
ตามแผนแมบ่ ทการเปลยี่ นแปลงภาคอุตสาหกรรม เลขาธกิ าร 5 ระดับ (รัฐบาลระดับมณฑล ทอ้ งถ่นิ
(Industry Transformation Map: ITM) และมี ตาบล หมบู่ า้ น ไปจนถึงคณะทางานยอ่ ย) เพอ่ื สง่ ผา่ น
สภาเศรษฐกจิ อนาคต (Future Economy Council: นโยบายไปสกู่ ารปฏิบตั ิ แบบกระจายอานาจบริหารและ
FEC) ท่ีมสี มาชกิ ประกอบด้วยภาครฐั ภาคเอกชน และ เข้าถงึ กลมุ่ เป้าหมายในระดบั บุคคล
แรงงาน รว่ มกันทาหน้าที่แบบไตรภาคีในการรบั ผิดชอบ
และผลกั ดันใหม้ กี ารนาแผนยทุ ธศาสตรไ์ ปปฏิบัติ 2. การพฒั นาระบบโครงสร้างพน้ื ฐานดา้ นขอ้ มลู
เพอ่ื ปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงาน (Infrastructure)

เกาหลใี ต้ ทีม่ กี ารปรบั โครงสร้างสถาบันคร้งั ใหญ่ การพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลที่เช่ือมโยงขอ้ มลู และสะทอ้ น
ภายหลงั วิกฤตการเงนิ เอเชีย โดยจัดตงั้ กระทรวง เส้นทางการพัฒนาทักษะตลอดชว่ งชีวิตการทางาน
แรงงานและการจา้ งงาน (Ministry of Employment and ของแรงงานซง่ึ เปน็ ปจั จยั สาคัญทีเ่ ออ้ื ใหก้ ารออกแบบ
Labor: MOEL) เป็นผูร้ บั ผดิ ชอบนโยบายด้านแรงงาน นโยบายพัฒนาทกั ษะทาได้อย่างตรงจุด อีกท้งั เปน็
แบบรวมศูนย์ เพ่อื ทาหนา้ ท่ีกาหนดนโยบายและจัดสรร ประโยชน์ต่อการปรับปรุงกระบวนการและติดตาม
งบประมาณทง้ั ส่วนที่เกีย่ วข้องกับการจ้างงานและ ประเมินผลการปรับโครงสร้างตลาดแรงงาน
การพฒั นาทักษะ และมี Job Center หนว่ ยงานภายใต้ ตัวอย่างการพฒั นาระบบฐานข้อมูลด้านแรงงาน
สงั กัด ทาหน้าทีเ่ ปน็ ผูใ้ ห้บรกิ ารจดั หางาน ผา่ นการ ที่นา่ สนใจ ดังน้ี
ประสานความร่วมมือกับรัฐบาลทอ้ งถนิ่ เพอื่ ออกแบบ
มาตรการท่ีคานงึ ถึงความต้องการของตลาดแรงงาน สหรฐั อเมรกิ า ทม่ี ีการพฒั นาระบบฐานข้อมูลชอื่ ว่า
ในแตล่ ะพ้ืนที่ Workforce and Labor Market Information
System (WLMIS) เพือ่ รวบรวมวเิ คราะห์ และเผยแพร่
สาธารณรฐั ประชาชนจีน ทม่ี ีเป้าหมายการพัฒนา ข้อมลู ที่เก่ียวข้องกับการจ้างงานรวมถงึ มกี ารพัฒนา
ประเทศโดยเน้นกลยุทธก์ ารขจัดความยากจน ตัวช้ีวดั ร่วมเพื่อวดั ผลสาเร็จของโครงการและมกี าร
ผ่านการยกระดบั ผลติ ภาพแรงงานและสรา้ งอาชีพ รายงานผลบนมาตรฐานเดียวกัน ซึง่ ชว่ ยสรา้ งการมี
โดยมหี น่วยงานกลางทช่ี ่อื ว่า The State Council ส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน โดยเฉพาะชว่ ยให้ภาคธุรกจิ

2 ในปี 2021 ถกู เปลย่ี นชื่อใหม่เป็นหนว่ ยงานฟ้ืนฟูชนบท (National
Administration for Rural Revitalization) ท่ยี ังคงติดตามการพฒั นา
ชนบทอย่างตอ่ เน่ือง เพ่ือป้องกนั การกลับเขา้ สูค่ วามยากจนอีกคร้งั

บทท่ี 2 ถอดแบบกลไกความสาเรจ็ | 33

เห็นประโยชน์และยินดสี นับสนนุ การพัฒนาทักษะ ในการออกแบบนโยบายทเี่ ฉพาะเจาะจงสาหรับแตล่ ะ
แรงงาน และช่วยใหแ้ รงงานได้รบั ข้อมูลท่ีครบถ้วนเพอื่ กล่มุ เป้าหมายแล้ว ยงั เปน็ ฐานข้อมลู สาหรบั การ
วางแผนพัฒนาทกั ษะและหางานที่เหมาะสมกับตนเอง ติดตามและประเมนิ ผลการดาเนินโครงการจัดหางาน
ของหน่วยงานเอกชนและใช้เพ่ือพิจารณาการตอ่
ออสเตรเลยี ที่มีการพัฒนาระบบฐานข้อมลู ด้าน สัญญาดาเนินโครงการกับรฐั บาลในระยะตอ่ ไป
การจา้ งงาน การฝึกอบรม และการรับสวัสดกิ าร
และระบบติดตามและประเมินผลโครงการจัดหางานท่ี สาธารณรฐั ประชาชนจนี ที่พฒั นาระบบฐานขอ้ มูล
ชื่อว่า ESSWeb ซงึ่ กลายเป็นเครอื่ งมอื สาคญั ที่เอ้ือให้ ขนาดใหญ่ ทช่ี อ่ื วา่ National Poverty Alleviation
ภาครฐั สามารถออกแบบมาตรการให้ความช่วยเหลอื Data System ซ่งึ เชือ่ มโยงระบบฐานขอ้ มูลระหวา่ ง
แรงงานได้อย่างตรงจดุ และแกป้ ัญหาโครงสร้าง หน่วยงานรัฐ ข้อมูลภาคอตุ สาหกรรม และขอ้ มูล
ตลาดแรงงานได้อย่างต่อเนื่อง ครวั เรือนยากจนเชิงลกึ รวมถึงใช้เทคโนโลยใี นการ
ประมวลผล คัดกรองกลุม่ คนจน และวิเคราะห์สาเหตุ
สงิ คโปร์ ทพ่ี ัฒนาระบบฐานข้อมลู ผ่านแพลตฟอร์ม ท่กี ่อให้เกิดความยากจนท่แี ทจ้ ริงของแต่ละบุคคลอยา่ ง
ดิจทิ ัล และใช้ประโยชน์จากฐานขอ้ มูลเพ่ือสนบั สนุน ละเอยี ด ส่งผลให้ภาครฐั สามารถออกแบบมาตรการ
การวางแผนการจัดสรรกาลงั คน รวมถงึ การออกแบบ พัฒนาแรงงานและแกไ้ ขความยากจนไดอ้ ย่างตรงจดุ
มาตรการเพื่อพัฒนาทกั ษะและจัดทาหลักสตู รท่ตี อบ และติดตามประเมนิ ผลไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง และทาให้
โจทยก์ ารพัฒนาอตุ สาหกรรมของประเทศ โดยมรี ะบบ การขจัดความยากจนผา่ นการยกระดับผลิตภาพ
แพลตฟอรม์ หลัก ไดแ้ ก่ แพลตฟอร์มการหางาน แรงงานและสร้างอาชพี ประสบความสาเรจ็ ภายใน
(MyCareers Future) ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีทที่ นั สมยั ระยะเวลาไมน่ าน
ในการจบั คูต่ าแหน่งงานตามทักษะ (Job-To-Skills)
และแพลตฟอรม์ การฝึกอบรม (SkillsFuture) 3. การสรา้ งกลไกแรงจงู ใจทเี่ หมาะสม (Incentive)
ท่อี อกแบบมาเพื่อพฒั นาทักษะแรงงานทุกชว่ งวัย
นอกจากน้ี แพลตฟอรม์ ทงั้ คู่ยงั เช่ือมโยงกัน ทาให้มี การออกแบบแรงจงู ใจท่ีสนบั สนุนใหเ้ กิดการยกระดับ
ระบบฐานข้อมูลทัง้ ฝ่ังผู้ที่ต้องการแรงงาน (Demand) ปรบั ทักษะใหพ้ รอ้ มรับมือกบั โลกในอนาคต และตอบ
และแรงงาน (Supply) ที่ครอบคลมุ โจทยก์ ารยกระดับผลิตภาพการผลิตภาคธรุ กิจ
ตัวอยา่ งกลไกแรงจูงใจทนี่ ่าสนใจ ดังน้ี
เกาหลใี ต้ ท่มี หี น่วยงานรับผิดชอบการพัฒนาระบบ
ฐานขอ้ มูลทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจ้างงานทัง้ หมด ท่ีชื่อว่า สหรฐั อเมรกิ า มกี ลไกแรงจูงใจทเ่ี น้นการพัฒนาทักษะ
Korea Employment Information Service (KEIS) แบบ Job-Driven Training โดยเฉพาะการเรยี นร้จู าก
ซ่งึ นอกจากฐานข้อมูลน้ีจะถกู นามาใชเ้ พอ่ื ประโยชน์ การทางาน (Work-Based Learning) เช่น On-The-
Job Training หรือโครงการฝกึ งานท่ีได้รับการ

บทท่ี 2 ถอดแบบกลไกความสาเรจ็ | 34

ขึน้ ทะเบยี น (Registered Apprenticeships) เปน็ ตน้ เกาหลใี ต้ ใหแ้ รงจูงใจในรูปแบบของเงินอดุ หนุนเพอ่ื
โดยภาครฐั ให้การสนบั สนุนผา่ นรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ ดึงดดู แรงงานกลุ่มเปราะบางเขา้ ส่ตู ลาดแรงงาน
สถานประกอบการสามารถเบิกจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยที่ และกระตนุ้ ใหแ้ รงงานท่วี า่ งงานโดยเฉพาะในกลุ่ม
เกย่ี วกบั การฝึกอบรมไดต้ ามสดั ส่วนท่กี าหนด การให้ เปราะบางสามารถกลับเขา้ สู่ตลาดแรงงานได้ เช่น
เงนิ อุดหนนุ แกแ่ รงงาน (Individual Training Account) เงนิ อดุ หนุนเม่อื เขา้ รว่ มจดั ทาแผนหางานรายบคุ คล
ทีเ่ ลอื กพฒั นาทกั ษะในหลกั สูตรทตี่ รงกับความ (Individual Action Plan: IAP) เงินอดุ หนนุ เพม่ิ เติม
ตอ้ งการด้านอาชีพในทอ้ งถ่ิน และการทาสัญญา เม่ือเข้าร่วมการฝึกทกั ษะทางวชิ าชพี และเงินอดุ หนุน
กับผ้ใู ห้บรกิ ารฝึกอบรมในรปู แบบ Pay-For- เมือ่ หางานทาได้สาเร็จ โดยตอ้ งเปน็ งานทีม่ ากกวา่
Performance Contract เปน็ ต้น 30 ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์ เข้ารว่ มระบบประกนั การจา้ งงาน
ออสเตรเลยี ทม่ี ีกลไกแรงจงู ใจผา่ นการจ่ายเงิน (Employment Insurance: EI) และสามารถคงอยู่ใน
สวสั ดิการและเงนิ เยียวยา ทีม่ เี งื่อนไขให้แรงงานที่ การจา้ งงานได้ระยะเวลา 3, 6 และ 12 เดือน รวมทงั้
วา่ งงานปฏิบตั ติ ามขอ้ กาหนดในภาระผูกพันร่วม มกี ลไกแรงจงู ใจเพอื่ ควบคุมคณุ ภาพการให้บรกิ าร
(Mutual Obligation Requirement: MOR) เพื่อ ของหน่วยจดั หางานเอกชน ผ่านการใหค้ า่ ตอบแทน
กระต้นุ ให้มคี วามกระตือรือร้นในการหางานและลด ตามผลงาน (Performance-Based Payment)
การพ่งึ พาเงนิ เยียวยา รวมถึงการกาหนดค่าตอบแทน ซึง่ มีเงื่อนไขขนึ้ อย่กู ับระยะเวลาท่ีใชใ้ นการจัดหางานและ
แบบมงุ่ เนน้ ผลสาเร็จ (Outcome-Based Payment) เกณฑร์ ายไดข้ องผหู้ างาน
ทเ่ี ปน็ แรงจูงใจใหห้ นว่ ยงานเอกชนผใู้ หบ้ รกิ ารจดั หางาน สาธารณรฐั ประชาชนจนี ที่ออกแบบแรงจูงใจทเี่ ออ้ื ให้
ปรับปรงุ คณุ ภาพและเพ่มิ ประสิทธภิ าพของโครงการ เกดิ การสร้างอาชีพในท้องถ่นิ โดยภาครฐั สนบั สนุนให้
โดยที่ผใู้ ห้บรกิ ารจะไดร้ ับคา่ ตอบแทนกต็ อ่ เม่ือแรงงาน เกดิ การดดู ซบั แรงงานยากจนผ่านการจา้ งงานทัง้ ใน
สามารถหางานทาได้สาเรจ็ คงอย่ใู นการจา้ งงานได้ ภาครฐั และภาคเอกชน การสง่ เสรมิ การเรม่ิ ต้น
เปน็ ระยะเวลานาน และยังข้ึนกับปัจจยั เชิงพื้นท่ี ทาธุรกจิ ใหม่ รวมถงึ การสนับสนุนการเคลอ่ื นย้าย
โดยเฉพาะการหางานใหก้ บั แรงงานที่อยนู่ อกเมอื ง แรงงานในโครงการจบั คเู่ มอื ง นอกจากนี้ ยงั ให้
สงิ คโปร์ ที่มีการสรา้ งแรงจูงใจใหเ้ หมาะสมกบั แตล่ ะ แรงจูงใจเพือ่ สนบั สนุนการพัฒนาทกั ษะและเพ่ิม
กลมุ่ เป้าหมายทง้ั กาลงั แรงงานทอ่ี ยใู่ นวยั เรยี น ศักยภาพแรงงานใหส้ ามารถพ่งึ พาตนเองได้ เชน่
และวยั ทางาน รวมถงึ ผ้ปู ระกอบการ และผ้ใู หบ้ ริการ โครงการจดั อบรมฝกึ ทกั ษะทางวิชาชีพแบบไมเ่ สีย
ฝึกอบรม โดยกระตุ้นให้ชาวสงิ คโปร์ทุกกลุ่มอาชีพ คา่ ใชจ้ า่ ยของภาครฐั การสง่ เสรมิ การฝกึ อบรมกอ่ น
และทุกระดับทักษะมโี อกาสพฒั นาศักยภาพของตนเอง เรม่ิ และระหว่างทางานในภาคธุรกิจ และการสนบั สนนุ
สรา้ งวฒั นธรรมการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ (Lifelong ให้ภาคธุรกิจจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมในพ้ืนที่ที่มี
Learning) และกรอบความคิด (Mindset) ในการมุ่งสู่ คนยากจน ซ่งึ ส่งผลให้คนจนกลบั เข้าสู่ตลาดแรงงาน
ความเป็นเลิศผ่านการเรยี นรู้ (ตาราง 2.2) และท้องถ่ินมีกาลังแรงงานเพ่ิมขึ้น (ตาราง 2.3)

บทท่ี 2 ถอดแบบกลไกความสาเร็จ | 35

BOX ที่ 2.1
กลไกการปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงานในอุดมคติ ตน้ แบบสู่ความสาเร็จสาหรบั ประเทศไทย

ภายใตบ้ รบิ ทเศรษฐกจิ และสงั คมไทยทมี่ ปี ญั หาเฉพาะตวั แตกตา่ งจากประเทศตน้ แบบ แตส่ ามารถนากรอบแนวคิดการปรบั
โครงสรา้ งตลาดแรงงานของประเทศต้นแบบมาปรบั ใชแ้ ละดงึ หลกั การทนี่ า่ สนใจมาประกอบร่างเปน็ แนวคิดตั้งตน้ สาหรบั
ประเทศไทยได้ โดยวางกรอบแนวคดิ ในภาพรวมตามกลไก 3Is คือมุ่งสร้างกลไกการบรู ณาการปจั จัยเชงิ สถาบัน
(Institution) พฒั นาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นข้อมลู (Infrastructure) และสรา้ งกลไกแรงจงู ใจทเ่ี หมาะสม (Incentive)
โดยทก่ี ลไกทง้ั 3 ประการขา้ งตน้ ตอ้ งไดร้ บั การขบั เคลอื่ นใหเ้ กดิ ขน้ึ พรอ้ ม ๆ กนั เพอื่ เออื้ ใหเ้ กดิ การทางานทสี่ อดรบั กนั ได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และนาไปส่คู วามสาเรจ็ ในการปรบั โครงสรา้ งอยา่ งทต่ี ง้ั เป้าหมายไว้ ทง้ั น้ี ภายใตก้ ลไก 3Is สามารถ
สรปุ หลกั การทสี่ าคญั ทค่ี วรผลักดนั ใหเ้ กิดข้นึ อย่างเปน็ รปู ธรรม ดังนี้
หลกั การที่ 1 เชอ่ื มโยงยทุ ธศาสตร์การเติบโตทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน และการพัฒนาแรงงานไปพรอ้ มกนั
หลกั การท่ี 2 สลายอปุ สรรคและผสานความร่วมมอื ระหวา่ งหน่วยงานภาครฐั เพอื่ ขบั เคลื่อนการปรับโครงสรา้ ง
หลกั การท่ี 3 เพม่ิ บทบาทและการมสี ่วนรว่ มของภาคเอกชน ทง้ั ในระดับกลยทุ ธ์และระดับปฏิบตั ิ
หลกั การที่ 4 มีระบบฐานขอ้ มลู ทะเบยี นกาลงั แรงงาน ทสี่ ะทอ้ นการพฒั นาทกั ษะแรงงาน การทางาน และคา่ ตอบแทน
หลกั การที่ 5 ใช้ประโยชน์จากฐานขอ้ มูลอยา่ งเตม็ ศักยภาพเพอ่ื ออกแบบนโยบายทตี่ รงจุด และใช้เทคโนโลยใี นการประเมิน

และตดิ ตามผลการปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงาน
หลกั การท่ี 6 สรา้ งระบบมาตรฐานทกั ษะแรงงานซง่ึ เป็นทย่ี อมรับในระดบั ประเทศ ครอบคลมุ ระดับโรงเรยี น อาชีวศกึ ษา

อุดมศกึ ษา และการฝกึ อบรม และเชอื่ มโยงกับระบบควบคมุ คณุ ภาพหลกั สตู รเพอ่ื การพฒั นาทกั ษะ
หลกั การท่ี 7 สรา้ งแรงจงู ใจใหภ้ าคเอกชนยกระดบั ผลติ ภาพผา่ นการพฒั นาทกั ษะแรงงาน และสร้างแรงจูงใจใหแ้ รงงาน

เข้าถงึ และมกี ารเรยี นรูต้ ลอดช่วงชีวิต

Act

National Strategy System of Work and Learning

System of Education Recommend LABOR
EDUCATION Performance-Based Fee

- Tertiary Education Human Career Services
- General Education DeCveoluonpcmilent
- Vocational Education +Public Private
Accredit Employer Job Seeker /
Job + Training Training Seeker
Platform

Curriculum Develop Training TSruabinsiindgy
Course
Training Provider
National Education Private Public
Standard
LABOR Database System

APPENDIX 2 | 36

ตาราง 2.1 เปรียบเทียบกลไกการปรับโครงสร้างตลาดแรงงาน แบบ 3Is

Institution Infrastructure Incentive

• WorkforceInnovation and Opportunity Act (WIOA) • Workforceand Labor Market Information • ออกแบบแรงจูงใจทใี่ หค้ วามสาคัญกบั กลมุ่ เปราะบาง
System(WLMIS) ระบบฐานขอ้ มูลด้าน • ใช้แรงจูงใจเพื่อส่งเสรมิ การพฒั นาทกั ษะแบบ
United States กฎหมายสรา้ งความรว่ มมอื ระหว่างรัฐและเอกชน แรงงานและระบบติดตามผลและจัดทา Job-Driven Training โดยเฉพาะการเรียนรู้จาก
• ภาคเอกชนเปน็ ผนู้ าในการวางแผนพฒั นาทนุ มนษุ ย์ใน ตวั ชว้ี ดั รว่ ม เพ่ือใช้ประเมินผลการดาเนินงาน การทางาน

ระดบั ทอ้ งถิน่ ผ่านกลไก คณะกรรมการพฒั นาแรงงาน โครงการ
(WDB) ท่ีมีรฐั และเอกชนเปน็ สมาชิก
• American Job Center (AJC) ศูนย์ให้บริการด้าน
แรงงานแบบครบวงจรอย่างไรร้ อยตอ่

Australia • กระทรวงการศกึ ษา ทักษะอาชพี และการจา้ งงาน (DESE) • พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการจา้ งงาน • ข้อกาหนดภาระผกู พนั รว่ มกนั (MOR) กระตนุ้ ใหเ้ กดิ
เป็นผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั ดา้ นนโยบายแรงงานการศึกษา และ การฝกึ อบรม และการรบั สวสั ดกิ ารและ ความกระตอื รือรน้ ในการหางานและลดการพงึ่ พา
พัฒนาทกั ษะ เงินเยยี วยา เงนิ เยยี วยา

• ภาคอุตสาหกรรมเปน็ ผนู้ าการพัฒนาหลกั สตู รวิชาชพี • ESSWebระบบตดิ ตามและประเมินผล • ใชค้ า่ ตอบแทนแบบ Outcome-Based Payment
(VET) ผ่าน Regulatory Framework โครงการจัดหางาน ท่ีเออื้ ให้ภาครฐั สามารถ จงู ใจใหเ้ อกชนดาเนนิ การจดั หางาน โดยคานงึ ถึง
พฒั นาและปรับปรงุ การให้ความชว่ ยเหลือ ปจั จัยเชิงพืน้ ทแ่ี ละความเปราะบางของกลุ่มแรงงาน
• ภาคเอกชนดาเนนิ การจดั หางาน 100% ผ่านโครงการ แรงงานไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง
Jobactive • Employment Fund กองทนุ สนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ย
ทงั้ หมดที่เกยี่ วกับการพฒั นาทกั ษะทต่ี อบโจทย์
ความต้องการนายจา้ ง

Singapore • แผนแมบ่ ทการเปลยี่ นแปลงภาคอตุ สาหกรรม (ITM) • พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ตลาดแรงงานที่ • โครงการ Adapt and Grow สร้างแรงจูงใจโดย
เช่ือมโยงยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาเศรษฐกจิ กับการพฒั นา ครอบคลุมท้งั การจัดหางานและการฝึกอบรม กาหนดเงอื่ นไขใหเ้ กดิ การพฒั นาทกั ษะและ
ฝีมือแรงงาน ผ่านแพลตฟอรม์ MyCareersFuture และ การจา้ งงาน
แพลตฟอรม์ SkillsFuture ที่ออกแบบให้
• มีกลไกความรว่ มมอื ระหวา่ งรัฐและเอกชนต้งั แต่ระดบั เช่อื มโยงกนั • โครงการ SkillsFuture ใช้แรงจูงใจท้งั ด้านการเงนิ
กาหนดแผนยทุ ธศาสตร์จนถึงระดับปฏิบตั ิและกลไกการ และไมใ่ ช่ด้านการเงินสนับสนนุ ตง้ั แต่วยั เรียน
ตรวจสอบคณุ ภาพหลกั สตู รใหส้ อดคล้องกบั การพฒั นา วัยทางาน ผู้ประกอบการและผูใ้ หบ้ รกิ ารฝึกอบรม
อตุ สาหกรรม เพ่อื สร้างวัฒนธรรมการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ

South Korea • กระทรวงแรงงานและการจา้ งงาน(MOEL)เป็นผูร้ บั ผิดชอบ • Korea EmploymentInformation Service • ดงึ ดูดแรงงานกล่มุ เปราะบางเข้าสตู่ ลาดแรงงาน

หลักด้านนโยบายแรงงานท้ังจ้างงานและพัฒนาทกั ษะ (KEIS) ทาหน้าทใ่ี ห้การสนบั สนนุ ด้านระบบ ผ่านการวางแผนหางาน จัดหางาน และการพฒั นา
• รฐั บาลทอ้ งถ่ินดาเนินโครงการสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ข้อมลู การจา้ งงานแบบเบด็ เสรจ็ ท้ังการ ทกั ษะ โดยผกู เงอ่ื นไขกบั การเขา้ รว่ มระบบประกนั
รวบรวม วเิ คราะห์ ใหข้ อ้ มูลดา้ นการจ้างงาน การจา้ งงาน (EI)
เชิงพ้ืนท่ี ผ่านศูนยจ์ ัดหางาน Job Center อาชพี และตาแหน่งงานรวมถึงสง่ เสรมิ งาน • ใช้ค่าตอบแทนแบบ Performance-Based
• รฐั วา่ จา้ งเอกชนใหด้ าเนินโครงการสนบั สนุนการจา้ งงาน บรกิ ารจัดหางาน Payment จูงใจให้เอกชนดาเนนิ การจัดหางาน
โดยคานงึ ถงึ ผลลัพธใ์ นการกลบั เขา้ ส่ตู ลาดแรงงาน
สาธารณะ ผ่านโครงการ EmploymentSuccess ของผู้วา่ งงาน
Package Program(ESPP)
• สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาการอาชวี ศกึ ษาแหง่ สาธารณรฐั
เกาหลี(KRIVET) และ Judging Committee รว่ มกบั
MOEL กลน่ั กรองโปรแกรมการฝึกอบรมให้สอดคลอ้ ง
กับความต้องการของภาคอตุ สาหกรรม

China • รัฐบาลกลาง โดย The StateCouncil Leading Group • National Poverty Alleviation Data System • ใช้แรงจูงใจทง้ั ดา้ นการเงินและไมใ่ ช่ด้านการเงนิ
ระบบฐานขอ้ มูลขนาดใหญท่ เ่ี ชือ่ มโยงขอ้ มลู เพ่อื สนบั สนนุ การจา้ งงาน การเรม่ิ ตน้ ประกอบธรุ กจิ
Officeof Poverty Alleviationand Development ระหวา่ งหน่วยงานรัฐ ภาคอตุ สาหกรรม และ และการพฒั นาทกั ษะ โดยเฉพาะกลุม่ เปา้ หมาย
เป็นผ้วู างกรอบนโยบายหลกั ข้อมูลสารวจครัวเรือนยากจนเชิงลึกเพือ่ ใช้ วยั เรียนท่มี าจากครอบครัวยากจน
ประโยชนใ์ นการชเ้ี ปา้ ตดิ ตาม และประเมินผล
Natio• nมรูปaีกแลlบไQกบเเชuลื่อขaมาโlธยifกิงiหาcรนa5่วtยรiงoะาดนnับภแาFลคะrรคaฐัณmเพะทอ่ื eาบงwราหิ นoาปรrรงkะาจนาใหนม่บู า้ น

• มกี ลไกความร่วมมอื เชิงพน้ื ท่ผี า่ น East-WestPairing-
Up Program และความรว่ มมอื กบั ภาคเอกชนผา่ น
10,000Enterprises Helping 10,000 Villages
Program เพ่ือพัฒนาทกั ษะและสรา้ งโอกาสการทางาน

APPENDIX 2 | 37

ตาราง 2.2 การออกแบบแรงจงู ใจสาหรับโครงการสาคญั ภายใต้ SkillsFuture (ประเทศสงิ คโปร)์

กลุ่มเป้าหมาย โครงการสาคญั

นกั เรียน นกั ศกึ ษา  แนะแนวนกั เรยี น โดยนักเรยี นจะไดร้ บั การประเมินทกั ษะของตนกบั อาชพี ทีต่ ้องการทา พรอ้ มแนะนาหลกั สูตรที่จาเปน็
ต้องมใี นโครงการ MySkillsFuture (Individual Learning Portfolio) ซง่ึ เร่มิ ดาเนนิ การตงั้ แต่ปี 2017

 ใหท้ นุ การศกึ ษาสาหรับนกั ศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษากลมุ่ Talent ทใี่ กลจ้ บการศกึ ษาไปฝึกงานในตา่ งประเทศเพ่อื หา
ประสบการณ์ในโครงการ Young Talent Program

วัยเร่มิ ทางาน  ให้เงนิ อดุ หนนุ การฝกึ อบรมสาหรบั คนทม่ี อี ายุ 25 ปีขนึ้ ไป 500 เหรียญสงิ คโปรต์ อ่ คนตอ่ ปีโดยสามารถสะสมเครดติ ได้
ในโครงการ SkillsFuture Credit

 ใหน้ กั ศกึ ษาทเี่ พงิ่ จบจากสายอาชีพสามารถมเี งนิ เดอื นในชว่ งฝกึ งาน ซึง่ สามารถเลอื กฝกึ งานไดม้ ากกวา่ 25 อาชพี
ในโครงการ Earn and Learn Program

วัยกลางคน  ใหเ้ งินอดุ หนนุ การฝกึ อบรมสาหรบั คนทม่ี อี ายุ 40+ 90% ของคา่ อบรม
 ใหเ้ งินอดุ หนนุ เพอื่ Upskill ทกั ษะเฉพาะดา้ นท่จี าเป็นเพื่อยกระดับ Career Path ในโครงการ SkillsFuture Study Award
 ใหเ้ งนิ อดุ หนนุ เพอ่ื Reskill ทักษะสาหรับพนักงานกลมุ่ ที่เสี่ยงไดผ้ ลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงของภาคธรุ กจิ ในโครงการ

SkillsFuture Mid-Career Enhanced Subsidy

นายจ้าง  จ่ายเงนิ ชดเชยใหน้ ายจา้ งทส่ี ง่ ลูกจ้างไปฝึกอบรมในหลักสตู รทก่ี าหนด 80% ของค่าจา้ งรายช่วั โมงกรณีอมรมในเวลางาน
และ 90% ของค่าจ้างรายชั่วโมงกรณีอบรมนอกเวลางานในโครงการ Absentee Payroll Funding เพอื่ สง่ เสรมิ
การยอมรับจากนายจ้างในการฝึกอบรม

 แนะแนวนายจา้ งในการวางแผนกาลงั คน (Manpower Saving) และการพัฒนากระบวนการทางาน (Process Innovation)
เพื่อการเตบิ โตของธรุ กิจในโครงการ Manpower Lean and Productivity Program

 ใหร้ างวลั แกน่ ายจ้างท่สี นบั สนนุ การพฒั นาทักษะของพนกั งานและสร้างวฒั นธรรมการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ในท่ีทางาน
จากประธานาธบิ ดใี นโครงการ SkillsFuture Employer Awards ซึ่งชว่ ยสรา้ งความไดเ้ ปรียบทางการแข่งขันในการดงึ ดูด
และการรกั ษาลูกจา้ งทีม่ ีความสามารถ

สถาบนั ฝกึ อบรม  สร้างระบบใหเ้ กดิ การแขง่ ขนั ระหวา่ งสถาบนั อบรม เพอ่ื ให้สถาบนั สรา้ งและพฒั นาหลักสูตรของตนเองได้ดขี ้นึ
 ให้สถาบนั อบรมรว่ มแบง่ ปนั และพฒั นาหลกั สตู รใหมใ่ ห้ทนั สมยั โดยการสนบั สนุนอปุ กรณ์ เครือ่ งมอื และหอ้ งทดลอง

เพือ่ การเรียนรู้แบบต่อเน่ืองในโครงการ iN.LEARN 2020 (CET)

หมายเหตุ: อ้างอิงจาก https://www.skillsfuture.gov.sg/

APPENDIX 2 | 38

ตาราง 2.3 แรงจงู ใจสนับสนนุ การจ้างงานและการพัฒนาทกั ษะภายใต้แผนขจดั ความยากจน (ประเทศจนี )

วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เงอื่ นไข แรงจงู ใจ

1. จ้างงานในพน้ื ที่  สถานประกอบการ  รับแรงงานคนจนเข้าทางาน  เงินอุดหนนุ ประกนั สังคม
 Poverty Alleviation  รับแรงงานคนจนเข้าทางานและดาเนนิ การ
 เงนิ อุดหนุนการฝกึ อบรม (ไมเ่ กนิ 6 เดอื น)
Workshop ฝึกอบรมแบบ On-The-Job Training
 สหกรณก์ ารเกษตร ล  รบั แรงงานคนจนเขา้ ทางานจานวนมากและ  เงนิ อดุ หนุนการจา้ งงาน (Reward)
 พ้นื ท่ยี ากจน  ได้รบั การฝกึ อบรม Business Startup
ดาเนินการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ  เงนิ อุดหนุน/สทิ ธิพเิ ศษทางภาษี/จัดเตรยี ม
2. เรม่ิ ตน้ ธรุ กจิ  แรงงานคนจน
เปน็ ผปู้ ระกอบการ  มีความสนใจและมีความพร้อมในการเรม่ิ ตน้ สถานท่ปี ระกอบธุรกิจ
ประกอบธรุ กิจ  สินเชือ่ ธรุ กจิ ทม่ี กี ลไกการคา้ ประกันหรือ
 ศูนย์บม่ เพาะธุรกจิ
(Business Incubator)  เร่มิ ตน้ ธรุ กจิ ครัง้ แรกและสามารถดาเนิน ได้สว่ นลดดอกเบี้ย
ธุรกจิ ได้ 6 เดือนข้นึ ไปนบั ตั้งแต่จดทะเบยี น  เงินอดุ หนุนการเรม่ิ ตน้ ประกอบธรุ กิจ
 หน่วยจัดหางานภาครัฐ  เงนิ อดุ หนนุ /Reward เพม่ิ เตมิ
 สนบั สนุนคนจนเรม่ิ ตน้ ธุรกจิ เปน็ จานวนมาก
3. เคลอ่ื นยา้ ยแรงงาน  หน่วยจัดหางานเอกชน และดาเนนิ การอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ อย่างเหมาะสม
โครงการจบั คู่เมอื ง  เงินอุดหนุนการให้บรกิ ารจัดหางาน
ตะวนั ออก-ตะวันตก  สถานประกอบการ  แนะแนวอาชพี /จดั Job Fair/หรอื ให้บรกิ าร  เงนิ อุดหนนุ สาหรับค่าใช้จา่ ยทเี่ กย่ี วกบั
จัดหางานอืน่ ๆ
ล การบรกิ ารจดั หางาน
 ดาเนินการจัดสง่ แรงงานคนจนไปยงั สถานท่ี  เงินอดุ หนนุ ประกันสงั คม
 แรงงานคนจน ต่าง ๆ เพื่อใหไ้ ดร้ ับการจ้างงาน
 เงนิ อุดหนนุ การหางาน
 รบั แรงงานคนจนตา่ งพน้ื ทเ่ี ข้าทางาน
 แรงจูงใจสาหรบั การเรม่ิ ตน้ ประกอบธุรกจิ 1
 ไดง้ านทานอกพน้ื ท่ี

 จดั ตัง้ ธุรกจิ นอกพนื้ ท่ี

 แรงงานคนจน  เขา้ รว่ มการฝกึ อบรมพฒั นาทกั ษะทาง  ได้รบั การฝกึ อบรมฟรแี ละได้รบั เงิน
วิชาชีพ ชว่ ยเหลอื คา่ ครองชีพระหวา่ งฝกึ

4. พัฒนาทกั ษะ  นกั เรียนจากครอบครัว  กาลังเรยี นในวทิ ยาลัยเทคนิค  ยกเว้นคา่ เล่าเรยี นและได้รบั เงนิ ช่วยเหลอื
ฝึกอาชพี ยากจน สนบั สนุนใหส้ าเรจ็ การศึกษาอย่างราบร่ืน

 ได้รับความช่วยเหลอื ในการจดั หางานเม่ือ
เรยี นจบ

ท่มี า: 人力资源社会保障部. (2018). 两部门关于进一步加大就业扶贫政策支持力度着力提高劳务组织化程度的通知.
1การเรมิ่ ตน้ ประกอบธุรกจิ นอกพน้ื ที่ สามารถได้รับแรงจูงใจดังเชน่ เดยี วกบั แรงจงู ใจในวัตถุประสงคท์ ่ี 2

3 การพัฒนาทักษะแรงงาน

หัวใจของการปรับโครงสร้างตลาดแรงงานและการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ ไทย

พฒั นาการด้านปัจจยั เชิงสถาบันของไทย

จากแผนแมบ่ ทการพัฒนากาลงั คน สโู่ ครงการ Big Rock การพฒั นา
ระบบการบรหิ ารกาลังคนของประเทศแบบบูรณาการ

E-Workforce Ecosystem เป็นจดุ เริ่มต้นของการปรบั โครงสร้างเชิงสถาบันทีส่ าคญั ท่ีจะเอื้อให้ผดู้ าเนนิ นโยบายร่วมออกแบบ
มาตรการรบั มือกบั วิกฤตการณเ์ ศรษฐกจิ และการเงิน ภายใต้การดแู ลธรรมาภบิ าลข้อมูลอยา่ งเหมาะสม และมีศกั ยภาพทจี่ ะชว่ ย
ใหก้ ารแกไ้ ขปัญหาตลาดแรงงานมเี อกภาพและไมท่ างานแบบแยกส่วนทง้ั ระหว่างหนว่ ยงานภาครฐั และระหวา่ งภาครฐั และภาคเอกชน
เพ่ือให้ตลาดแรงงานไทยสามารถปรับโครงสร้างเป็นกลไกสนบั สนนุ สาคัญใหเ้ ศรษฐกิจไทยเดนิ หน้าเตบิ โตไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน

บทที่ 3 พฒั นาการดา้ นปัจจยั เชิงสถาบนั ของไทย | 40

ท่ีผา่ นมาการออกแบบกลไกการจดั การแรงงานไทย กรณีตัวอย่างทีช่ ัดเจนทีผ่ า่ นมาในช่วงการแพรร่ ะบาด
เป็นแบบ Fragmented และ Supply-Driven ของ COVID-19 ในปี 2020 กจิ การหลายแห่งปดิ ตวั ลง
และเลกิ จา้ งแรงงานจานวนมาก แตข่ ณะเดียวกพ็ บวา่
ปัญหาของระบบการพฒั นากาลังคนไมไ่ ดเ้ กิดจาก บริษทั เอกชนอีกบางกลมุ่ ยงั คงมีความตอ้ งการแรงงาน
ข้อจากัดดา้ นงบประมาณ (อัมมาร และคณะ, 2012) ตอ่ เน่อื ง อาการเหลา่ นีส้ ะท้อนวา่ ประชาชนไมส่ ามารถ
แตส่ าเหตหุ ลกั เกิดจากการขาดประสิทธิภาพในการ เขา้ ถึงหรอื มองเห็นภาพรวมของภาวะตลาดแรงงานได้ว่า
บรหิ ารจดั การรว่ มกันระหว่างหนว่ ยงาน คากล่าวนี้ มีหนว่ ยงานรฐั หรือเอกชนใดท่เี ปิดรบั สมคั รงานหรือ
สะท้อนปัญหาปจั จัยเชิงสถาบัน (Institution) ของไทย ตอ้ งการแรงงานทักษะประเภทใดไดอ้ ยา่ งเป็นระบบหรือ
อย่างน้อย 2 มิติ ไดแ้ ก่ มิติแรก การพัฒนากาลังคน ขาด Single Platform ขณะท่ีกลไกการพัฒนาทกั ษะ
ของไทยแยกส่วนออกจากการพัฒนาเศรษฐกิจและ แรงงานก็ไม่ตอบโจทย์ความตอ้ งการตลาดและสนบั สนนุ
สังคม สง่ ผลให้เกดิ การขาดแคลนบุคลากรท่ีมสี มรรถนะ ใหเ้ กิดการย้ายงาน การฝกึ อบรมท่ีดาเนินการโดย
หรือทักษะที่สอดรบั กับการพฒั นาอตุ สาหกรรม มติ ทิ ี่สอง ภาครฐั ขับเคลือ่ นจากฝ่งั ผู้สอนเปน็ หลัก (Supply-
ขาดการประสานระหวา่ งหนว่ ยงานผู้กาหนดนโยบาย และ Driven) และถูกจากัดด้วยงบประมาณ สง่ ผลให้การ
ขาดการติดตามและประเมินผล สง่ ผลให้ระบบบริหาร อบรมต้องเน้นกลุม่ เปา้ หมายเพียงบางกลุม่ ไมส่ ามารถ
จดั การด้านกาลงั คนไมอ่ านวยตอ่ การปฏิบตั งิ าน สรา้ งหลักสตู รท่คี รบถ้วนและทนั สมยั ตามความตอ้ งการ
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ อกี ท้งั ยังขาดความร่วมมือ ของภาคเอกชนและตลาดได้ (ภาพท่ี 3.1)
จากภาคเอกชน ผเู้ ลน่ สาคญั ในตลาดแรงงาน

ภาพท่ี 3.1 กระบวนการพัฒนาทักษะแรงงานของไทยมลี ักษณะแยกส่วนไม่เป็นเอกภาพ

ท่ีมา: กมั พล พรพฒั นไพศาลกลุ . (2020). Labor Market Digital Transformation: หนทางตา้ นวกิ ฤต. ธนาคารแห่งประเทศไทย.

บทท่ี 3 พัฒนาการดา้ นปัจจยั เชิงสถาบนั ของไทย | 41

ดังนั้น หากไทยตอ้ งการยกระดบั การพัฒนาประเทศ และโครงการท่ีชดั เจน ลดความซา้ ซอ้ น และระบุ
กต็ ้องยกระดบั ผลิตภาพของแรงงานใหไ้ ด้ บทบาทของ หนว่ ยงานหลกั เพ่ือสรา้ งกลไกความรับผิดชอบ
ภาครฐั ในการวางแผนการผลติ กาลังคนให้สอดคล้อง (Accountability) อาทิ โครงการ E-Workforce
กับบริบทและความต้องการของประเทศทั้งในดา้ น Ecosystem (EWE) ซงึ่ อยู่ภายใตแ้ นวทางการพฒั นา
ปริมาณและคุณภาพ พรอ้ มกบั การมรี ะบบตดิ ตามและ ระบบการบริหารจัดการกาลังคนของประเทศแบบ
ความรับผิดชอบ (Accountability) จงึ เป็นเรอื่ งสาคัญ บูรณาการ โดยมสี ถาบันคุณวุฒวิ ิชาชีพเป็น
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบหลกั และรว่ มดาเนินการกบั
โครงการ Big Rock การพฒั นาระบบการ หน่วยงานอื่นท่ีเกย่ี วข้อง
บรหิ ารกาลงั คนของประเทศแบบบูรณาการ:
โมเดลใหมข่ องการยกระดับปัจจัยเชิงสถาบัน E-Workforce Ecosystem โครงการพฒั นา
ดา้ นแรงงานของไทย ระบบแพลตฟอรม์ อัจฉรยิ ะเพ่ือการบริหาร
จัดการด้านกาลังคนและการพัฒนาสมรรถนะ
ในอดตี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ด้วยการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตของประเทศไทย
ฉบับที่ 8 (1997-2001) ถือวา่ เปน็ แผนแมบ่ ทการ
พัฒนากาลังคนแผนแรกของไทย โดยเน้น “คน” ใหเ้ ป็น ดังทีก่ ลา่ วไว้ขา้ งตน้ ความท้าทายสาคัญของการ
ศูนยก์ ลางของการพฒั นา มุ่งการกระจายอานาจ พฒั นาทักษะบุคลากรของไทย คอื การบรหิ ารจัดการ
สทู่ ้องถ่ิน เพ่อื รองรับการเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว แบบแยกสว่ น ไม่บรู ณาการการทางานระหว่าง
ในยคุ โลกไรพ้ รมแดนและสามารถแขง่ ขนั ในตลาดโลกได้ หน่วยงาน โครงการ EWE จงึ ถอื ไดว้ ่าเปน็ จดุ เรม่ิ ต้น
ในปจั จุบนั เพ่อื กาหนดเปา้ หมายการพัฒนาประเทศ สาคัญในการช่วยปลดล็อกข้อจากัดด้านปัจจยั
ในระยะยาวทชี่ ัดเจน จึงมีการจดั ทาแผนยุทธศาสตรช์ าติ เชิงสถาบนั โครงการ EWE เกิดขึ้นจากความร่วมมือ
20 ปี (2018-2037) สาหรบั เปน็ กรอบในการจดั ทาแผน ระหว่างหน่วยงานด้านแรงงาน การศกึ ษา และ
ตา่ ง ๆ เพ่ือใช้กาหนดทศิ ทางในการดาเนนิ นโยบาย เศรษฐกจิ ในการรว่ มกันพฒั นาระบบฐานขอ้ มูล
ประเทศในระยะกลางและสั้นใหเ้ กิดความสอดคล้องกนั ลกั ษณะ Single Platform ท่เี ออ้ื ใหค้ นไทยทุกช่วงวัย
โดยแผนระดบั รองที่เกย่ี วข้องกบั การพัฒนากาลงั คน ภาคธุรกจิ สถาบนั การศกึ ษา/ผ้ใู ห้บรกิ ารฝกึ อบรม และ
ทส่ี าคญั คอื แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นวฒั นธรรม โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ผูก้ าหนดนโยบาย สามารถเขา้ ถึง
กฬี า แรงงาน และการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ โดย ฐานขอ้ มลู แรงงานแบบครบวงจร ตงั้ แต่ขอ้ มูลส่วน
ภาครฐั กาหนดกิจกรรมปฏริ ปู (Big Rock) ให้การ บุคคล ขอ้ มูลประวัติการศึกษา/ฝึกอบรม ข้อมูล
ขบั เคล่ือนเปน็ รปู ธรรมและมกี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ขึน้ สถานะการทางาน/ผู้ประกันตน ซ่ึงจะนาไปสกู่ าร
ต่อประชาชนอย่างมนี ัยสาคญั ผา่ นการวางแผนงาน ออกแบบมาตรการชว่ ยเหลอื ระบบแรงจงู ใจ ระบบ

บทท่ี 3 พฒั นาการด้านปัจจยั เชงิ สถาบันของไทย | 42

คุ้มครองทางสังคม และระบบการพฒั นาทักษะแรงงาน ผา่ นการสะสมรายวชิ าหนว่ ยยอ่ ยเพ่อื รวบรวมออก
ที่สามารถติดตามผลสัมฤทธิ์ทั้งในเชิงปริมาณและ ใบประกาศหรือเทยี บวฒุ ิการศกึ ษาได้ (Micro-Credential)
คุณภาพ ผา่ นช่องทางแพลตฟอรม์ ออนไลน์ (ภาพท่ี 3.2)
โครงการ EWE นับว่าเป็นนมิ ิตหมายที่ดีสาหรับระบบ
หลักการของ EWE Platform เน้นการสง่ เสริมและ โครงสรา้ งเชงิ สถาบนั ดา้ นการพฒั นากาลังคนของ
สนับสนุนหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบหลกั ท่หี นว่ ยงาน ประเทศไทย สามารถทลายกาแพง สรา้ งความร่วมมอื
ดา้ นแรงงานดาเนนิ การอยู่แลว้ โดยสถาบันคุณวุฒิ ให้เกิดข้ึนระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั ท้ังดา้ นแรงงาน
วิชาชีพรวบรวมฐานขอ้ มูลขนาดใหญ่ด้านแรงงานให้ การศกึ ษาและเศรษฐกิจ ผา่ นการพฒั นาโครงสร้าง
เชอื่ มโยงได้บนโครงสรา้ งพน้ื ฐานเดียวกนั และเปิดให้ พืน้ ฐานดา้ นข้อมูล อนั จะนาไปสกู่ ารสรา้ งระบบนเิ วศ
ประชาชนเข้าถงึ ข้อมูลดงั กลา่ วเพ่อื เปน็ ทางเลือกใน ทเ่ี ออ้ื ให้เกดิ การพัฒนาสมรรถนะและทกั ษะท่ีเปน็ ไป
การวางแผนอาชีพผ่านระบบแฟม้ สะสมผลงานอัจฉริยะ ตามกลไกตลาด ใหส้ อดรับกับบรบิ ทและการพฒั นา
รายบุคคล (E-Portfolio) อีกทงั้ ยังมีระบบสนบั สนุน อตุ สาหกรรม สง่ เสริมใหเ้ ศรษฐกิจไทยเดินหนา้ เติบโต
และส่งเสรมิ การรับรองการเรียนรูต้ ลอดช่วงวยั ไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน

ภาพท่ี 3.2 โครงสร้างเชิงสถาบันดา้ นกาลังคน เพอ่ื การเรียนรตู้ ลอดชีวิตของคนไทยทกุ ช่วงวัย

BIBLIOGRAPHY 3 | 43

กัมพล พรพัฒนไพศาลกลุ . (2020). Labor Market Digital Transformation:
หนทางตา้ นวิกฤต. ธนาคารแห่งประเทศไทย.
https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearch/Pages/FA
Q171.aspx

ฝ่ายการวจิ ยั ทรัพยากรมนุษย์และพัฒนาสงั คม. (1998). แผนแมบ่ ทการพฒั นา
กาลังคน เพื่ออุตสาหกรรมการผลิตและบริการของประเทศไทย พ.ศ. 2541-2549.
มลู นิธิสถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI). https://tdri.or.th/wp-
content/uploads/2013/01/H89.pdf

นครินทร์ อมเรศ และพรชนก เทพขาม. (2021). E-Workforce Ecosystem กับการ
แก้ปญั หาในตลาดแรงงาน. สถาบันคณุ วุฒวิ ิชาชีพ (องคก์ ารมหาชน)

สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2021). แผนการปฏริ ูป
ประเทศ (ฉบับปรบั ปรงุ ).
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/E/044/T_0001.PDF

อัมมาร สยามวาลา, ดิลกะ ลัทธพิพฒั น์ และสมเกยี รติ ตั้งกจิ วานิชย์. (2012).
การปฏิรูปการศึกษารอบใหม่: สู่การศกึ ษาท่มี คี ุณภาพอย่างทว่ั ถงึ . สถาบนั วจิ ัย
เพื่อการพัฒนาประเทศไทย
https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2012/10/s1_ammar.pdf

บทท่ี 3 ระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นการจา้ งงานและดา้ นการศึกษาของไทย | 44

4 ระบบฐานขอ้ มูลดา้ นการจ้างงานและดา้ นการศึกษาของไทย

ตวั อยา่ ง การพัฒนาแพลตฟอร์ม “ไทยมีงานทา”

ระบบฐานข้อมูลด้านการจา้ งงานและดา้ นการศกึ ษาของไทย

ตัวอย่าง การพฒั นาแพลตฟอร์ม “ไทยมีงานทา”

ปญั หาด้านคุณภาพของแรงงาน (Qualification Mismatch) และความไมส่ อดคล้องดา้ นทกั ษะ (Skills Mismatch) เปน็ ปัญหา
เชงิ โครงสร้างทฝี่ ังรากลกึ และเรื้อรังมานาน และการแก้ปญั หานจ้ี ะย่งิ มคี วามท้าทายมากขน้ึ ในระยะขา้ งหนา้ เพราะกระแส
การเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะการพฒั นาของเทคโนโลยที ี่จะทาใหร้ ปู แบบการผลิตสนิ ค้าและให้บริการ รวมถึงความตอ้ งการของ
ผู้บรโิ ภคเปลยี่ นแปลงไป ดังนน้ั การพฒั นาระบบแพลตฟอรม์ ที่รวบรวมฐานข้อมลู ขนาดใหญแ่ ละใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นการจดั การ
ขอ้ มลู ทมี่ ีความกา้ วหนา้ จงึ กลายเป็นส่ิงสาคญั ทต่ี ้องเรง่ ผลกั ดัน เพ่ือสนับสนุนการทางานของกลไกการบูรณาการปจั จัย
เชงิ สถาบนั ท่ตี อ้ งเชือ่ มโยงนโยบายด้านการศกึ ษา นโยบายดา้ นแรงงาน และนโยบายด้านการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม รวมถงึ
สนับสนุนการออกแบบกลไกแรงจูงใจท่ีเหมาะสมกับแตล่ ะกลุ่มเป้าหมาย ซึง่ จะนาไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาเชิงโครงสร้างอยา่ งตรงจดุ
และนาไปสกู่ ารปรับโครงสรา้ งตลาดแรงงานอยา่ งเปน็ รูปธรรม

บทท่ี 4 ระบบฐานขอ้ มูลดา้ นการจา้ งงานและดา้ นการศึกษาของไทย | 45

ภาพที่ 4.1 กรอบแนวคดิ การพัฒนาแพลตฟอรม์ ดจิ ิทลั เพื่อการจ้างงานและพัฒนาทกั ษะ

ระบบแพลตฟอร์มตลาดแรงงานมสี ่วนสาคญั อย่างยิ่ง และนาไปสรู่ ายไดท้ ี่เพิ่มขึ้น ขณะเดยี วกันก็เอือ้ ใหภ้ าค
ทช่ี ่วยชี้ใหเ้ ห็นถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งทักษะซงึ่ เปน็ ธุรกจิ สามารถวางแผนกาลงั แรงงานเพอื่ กระจายหรือ
ที่ต้องการกบั ความรู้ความสามารถของแรงงาน หรือ ขยายการลงทนุ ได้เหมาะสม สว่ นสถาบนั การศึกษา
ช่องว่างทางทกั ษะ (Skills Gap) ชว่ ยลดความไมส่ มดุล และผ้ใู ห้บรกิ ารฝกึ อบรมกส็ ามารถพฒั นาหลกั สูตรได้
ของขอ้ มูลในตลาดแรงงาน(Information Asymmetry) เทา่ ทันและสอดคลอ้ งกับสภาพตลาดแรงงานในปจั จุบัน
และเอ้อื ใหก้ ารเคลื่อนยา้ ยแรงงานคล่องตวั มากขน้ึ และแนวโน้มในอนาคต สดุ ทา้ ย สาหรบั ผู้กาหนด
ทสี่ าคญั ระบบแพลตฟอร์มจะทาหน้าทีเ่ ปน็ สะพาน นโยบาย ระบบฐานขอ้ มูลจากแพลตฟอรม์ จะสนบั สนุน
ที่เชือ่ มโยงฐานข้อมูลการจ้างงานเข้ากับฐานขอ้ มลู การออกแบบนโยบายทต่ี รงจดุ มีความเฉพาะเจาะจง
การศึกษาและการพัฒนาทักษะ ซ่ึงชว่ ยใหแ้ รงงาน (Tailor-Made Policy) และเหมาะสมกับผู้มีสว่ นได้
ตัดสนิ ใจวางแผนพัฒนาทักษะตนเองไดส้ อดคล้องกับ สว่ นเสียทกุ ฝ่าย (ภาพที่ 4.1)
ความตอ้ งการของตลาด และเพ่ิมโอกาสในการหางาน

บทท่ี 4 ระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นการจ้างงานและดา้ นการศกึ ษาของไทย | 46

แพลตฟอรม์ ดา้ นการจ้างงาน และงานลกู จา้ งชว่ั คราว และตาแหนง่ งานส่วนมากจะ
กระจุกตัวอย่ใู นพื้นทกี่ รงุ เทพมหานครและปริมณฑล
ในโลกยุคดิจทิ ัล การประกาศรบั สมคั รงานผา่ น รวมถึงแพลตฟอรม์ Startup อยา่ ง Work Venture
แพลตฟอรม์ ออนไลน์ หรอื Online Job Platform ทม่ี ีความโดดเดน่ จากการพัฒนาฟงั กช์ ันรวี ิวบริษทั
ถอื วา่ เปน็ ช่องทางยอดนิยมและประสบความสาเรจ็ จากพนกั งานจริง GetLinks ท่ีเป็นแหล่งหางานเฉพาะ
เพราะมีความไดเ้ ปรยี บมากกว่าช่องทางออฟไลนแ์ บบ ด้านเทคโนโลยแี ละดจิ ทิ ลั (3D: Developer, Digital
ดง้ั เดมิ อย่างเหน็ ได้ชัด เน่ืองจากสามารถชว่ ยลด Marketer, Designer) และแพลตฟอร์มหางานเฉพาะกลุ่ม
ตน้ ทนุ ทางการเงินและเวลาในการสรรหาแรงงานของ อาทิ ThaiJobsGov รวบรวมงานราชการทงั้ ขา้ ราชการ
ภาคธรุ กจิ และของแรงงานเอง อีกทง้ั ได้เปรยี บกวา่ ประจาและลูกจา้ งชว่ั คราว EngineerJob แพลตฟอร์ม
ชอ่ งทางออนไลน์อ่นื ๆ เช่น เวบ็ ไซตข์ ององค์กร และ สาหรบั ทุกสายงานทต่ี อ้ งการวิศวกร Hotel Job
เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ดา้ นธุรกิจ (Business Social แพลตฟอรม์ สาหรบั อุตสาหกรรมโรงแรม JOB THAI
Network) เนอ่ื งจากการประกาศรับสมัครงาน GUARD สาหรับงานดา้ นรักษาความปลอดภัยท่มี ี
ผา่ น Job Platform ทม่ี ีชอ่ื เสียงจะช่วยกระจายขอ้ มูล เครือข่ายแรงงาน รปภ. ทั่วประเทศ JobSugoi
ได้ในวงกวา้ ง และอีกด้านหน่ึงก็เป็นแหล่งรวบรวม แพลตฟอรม์ หางานที่เจาะจงไปที่บริษัทญ่ีป่นุ เปน็ ตน้
ขอ้ มลู จานวนมหาศาลท้งั ฝง่ั ผทู้ ตี่ อ้ งการแรงงาน
(Demand) และผูใ้ ช้แรงงาน (Supply) อยา่ งไรกด็ ี ถึงแม้จะมีแพลตฟอร์มดา้ นการจา้ งงาน
มากมายเป็นตวั เลอื กใหแ้ รงงานและนายจ้าง
สาหรบั ประเทศไทย ในปจั จุบันมแี พลตฟอร์มด้าน แตแ่ พลตฟอร์มกม็ ีความเหมาะสมกับกลมุ่ ผหู้ างาน
การจา้ งงานมากมายทง้ั จากภาครัฐและภาคเอกชน และนายจา้ งแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไป และไม่ได้เช่อื มโยง
เช่น Smart Job Center ของกระทรวงแรงงาน กนั ซงึ่ ไม่เอือ้ ให้เกดิ การเขา้ ถงึ ตาแหนง่ งานขา้ ม
ทเี่ ปน็ ศูนย์รวมข้อมลู ตาแหนง่ งานและบรกิ ารจัดหางาน แพลตฟอรม์ ฐานข้อมูลตลาดแรงงานของประเทศไทย
ทวั่ ไปและให้บรกิ ารฟรแี กป่ ระชาชน ขณะเดียวกนั กม็ ี จงึ ยังขาดมิตกิ ารบูรณาการท่เี ป็นเอกภาพ ซึ่งทาให้
แพลตฟอร์มเอกชนจากต่างประเทศ อยา่ งเช่น การประเมนิ สถานการณแ์ ละการแก้ปัญหาเชิงโครงสรา้ ง
JobsDB แพลตฟอรม์ สาหรับการสรรหาบุคลากรใน ของตลาดแรงงานมลี กั ษณะเปน็ แบบแยกส่วน และ
ตาแหนง่ งานระดับกลางถึงสูง ซงึ่ มเี ครือขา่ ยแขง็ แกร่ง การแกป้ ญั หาทกั ษะแรงงานท่ีไมส่ อดคล้องกับ
ในภมู ิภาคเอเชียและมีความเช่ียวชาญในธุรกจิ การ ความต้องการของตลาดจึงยงั ทาได้จากัด
จดั หางานผ่านการใช้เทคโนโลยีทที่ นั สมัย นอกจากน้ี
ยงั มแี พลตฟอรม์ ไทยอีกมากมาย อาทิ JOBBKK
JobThai และ Job Top Gun ทเ่ี หมาะสาหรับการ
สรรหาบุคลากรในตาแหนง่ งานทั่วไป งาน Part Time

บทท่ี 4 ระบบฐานขอ้ มูลดา้ นการจ้างงานและดา้ นการศกึ ษาของไทย | 47

แพลตฟอร์มด้านการศกึ ษาและฝกึ อบรม ห้องเรยี นเสมอื นจรงิ (Virtual Classroom) อีกท้ัง
สามารถใช้เทียบหลกั สูตรกบั สถาบันอดุ มศึกษาช่อื ดัง
กระแสความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยสี ง่ ผลใหร้ ูปแบบ เพ่อื ใช้สมัครงานได้ ตัวอยา่ งแพลตฟอรม์ จาก
การเรียนรู้เปลีย่ นแปลงไป โดยเฉพาะรปู แบบการ ตา่ งประเทศ ได้แก่ Coursera และ edX ทพี่ ัฒนาขึน้
เรยี นร้ทู ใ่ี ช้ประโยชน์จากการพฒั นาเทคโนโลยดี จิ ิทลั โดยบุคลากรจากมหาวทิ ยาลยั ชั้นนาของโลก
อาทิ หลักสูตรออนไลน์ (Online Course) ส่ือวีดทิ ศั น์ และ Udacity เน้นหลกั สูตรดา้ น Data Science and
(YouTube) หรอื สื่อทางเสยี ง (Audiobook and Coding สว่ นแพลตฟอร์ม MOOC ทพี่ ฒั นาขนึ้
Podcast) ซึง่ ช่วยใหแ้ รงงานมีชอ่ งทางเขา้ ถงึ หลกั สตู ร ในประเทศไทย อาทิ Chula MOOC ที่พฒั นาโดย
เพอ่ื การพัฒนาทกั ษะท่หี ลากหลายและมโี อกาสเลอื ก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั Gen Next Academy
หลักสูตรไดเ้ หมาะสมกับพื้นฐานของตนเอง โดยไมถ่ กู โดยมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ Mahidol University
จากัดจากความสามารถในการจัดการเรียนการสอน Extension (MUx) โดยมหาวทิ ยาลัยมหิดล
อปุ กรณ์และสถานที่ แมแ้ ต่การพัฒนาทักษะแบบขา้ ม และ Thai MOOC ทจี่ ดั ทาโดยสานักงานปลัดกระทรวง
ประเทศก็สามารถเข้าถึงไดไ้ ม่ยากเช่นกนั การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (อว.)
ร่วมมือกบั กระทรวงดจิ ิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม
สาหรบั ประเทศไทย แพลตฟอร์มท่ีใหบ้ ริการในรปู แบบ นอกจากนี้ ยังมแี พลตฟอรม์ Cooperative and
หลกั สูตรออนไลน์มหี ลากหลายทั้งของภาครฐั และ Work Integrated Education (CWIE) ท่ีจดั ทาโดย
ภาคเอกชน โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ อว. เพอ่ื เปน็ แพลตฟอรม์ สาหรับการพฒั นาแรงงาน
(1) แพลตฟอรม์ ใหบ้ รกิ ารรวบรวมเนอื้ หาและหลกั สตู ร ผ่านการสนับสนนุ ให้สถานประกอบการจับคู่
เชน่ แพลตฟอรม์ ของกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน สถานศกึ ษา และร่วมกนั ออกแบบหลักสูตรท่ีเน้นการ
ทรี่ วบรวมหลกั สตู รช่างฝมี ือ ภาษาตา่ งประเทศ และ สร้างความสมดลุ ระหว่างวชิ าการ วิชาชพี และวชิ าชีวติ
สอนทาอาชีพอสิ ระ DIGITAL SKILL ของสานักงาน
ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล ท่ีรวบรวมหลักสตู รและ ไม่ว่าจะเป็นแพลตฟอร์มประเภทใด ก็ลว้ นเอ้อื ให้
ตาแหน่งงานด้านดิจทิ ลั รวมถงึ แพลตฟอรม์ ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงช่องทางการพฒั นาทกั ษะ
ภาคเอกชน อาทิ SkillLane ทรี่ วบรวมหลักสตู ร ตนเองไดส้ ะดวกคลอ่ งตวั มากขน้ึ แต่การเขา้ ถงึ
เกย่ี วกับการทาธรุ กจิ การตลาด ดิจทิ ัลและกราฟฟิก หลกั สตู รผา่ นแพลตฟอรม์ ดา้ นศึกษาและฝกึ อบรม
UCourse ทรี่ วบรวมหลักสูตรด้านการเงนิ การลงทุน ข้างตน้ ยังมอี ุปสรรคที่เกดิ จากขอ้ จากัด 3 ด้าน คอื
และอสังหาริมทรัพย์ (2) แพลตฟอรม์ พฒั นาหลกั สตู ร (1) ดา้ นการเขา้ ถงึ และใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital
แบบ Massive Open Online Courses (MOOC) Literacy) (2) ดา้ นภาษา โดยเฉพาะหลกั สตู รคณุ ภาพ
ซงึ่ เนน้ การพัฒนาหลักสตู รทีต่ อบสนองความ จากต่างประเทศทใ่ี ช้ภาษาอังกฤษในการสอื่ สาร
ต้องการของตลาด และจดั สอนหลกั สูตรในรปู แบบ และ (3) ดา้ นกาลงั ทรพั ย์ทหี่ ลกั สูตรคุณภาพส่วนใหญ่

บทท่ี 4 ระบบฐานขอ้ มูลดา้ นการจา้ งงานและดา้ นการศกึ ษาของไทย | 48

มีราคาสูง ที่สาคัญคอื หลายแพลตฟอร์มยงั ขาดระบบ หลกั สตู รฝกึ อบรมผ่านการวิเคราะห์รายการทกั ษะ
การรับรองคณุ ภาพหลกั สูตร และขาดการเช่ือมโยงกบั ทแ่ี รงงานยงั ไม่มีและเปน็ เหตใุ หไ้ มไ่ ด้รับตาแหน่งงาน
การจ้างงานและการพัฒนาหลักสตู รร่วมกบั สถาน ท่สี มคั ร และการคน้ หาตาแหนง่ งานและหลกั สตู ร
ประกอบการ/ภาคอตุ สาหกรรม ทาใหไ้ มส่ ามารถตอบ พฒั นาทักษะทแ่ี รงงานสนใจผา่ นการคน้ หาแบบอสิ ระ
โจทย์การพัฒนาทกั ษะแรงงานทต่ี รงความตอ้ งการ ซ่ึงหากแพลตฟอร์มมฐี านขอ้ มลู จากผู้เข้าใช้งาน
ของตลาดได้อย่างแทจ้ รงิ ในปรมิ าณทมี่ ากพอ ฟงั ก์ชันนจี้ ะเป็นกลไกสาคัญ
ทท่ี าหนา้ ท่เี ช่อื มโยงข้อมูลทักษะทีน่ ายจ้างตอ้ งการ
แพลตฟอร์ม “ไทยมงี านทา” ไปสกู่ ารวางแผนการพัฒนาทักษะของแรงงาน
เพราะจะชว่ ยระบุ Skills Gap และจะช่วยลดปัญหา
เพื่อชว่ ยแกป้ ญั หาเชงิ โครงสร้างของตลาดแรงงาน Skills Mismatch ในตลาดแรงงานได้ (ภาพที่ 4.2)
โดยเฉพาะปญั หาความไม่สอดคลอ้ งของทักษะกับ อยา่ งไรก็ดี ดว้ ยความจาเป็นท่ีต้องเร่งผลักดันและ
ความตอ้ งการของตลาดซ่ึงเป็นปญั หาสาคญั ท่ีเรอื้ รงั เปิดใชง้ านแพลตฟอร์มให้ทนั รองรับสถานการณ์
มานานสาหรับตลาดแรงงานไทย รวมถงึ เป็นแหล่ง การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่มีผู้ว่างงาน
รวบรวมขอ้ มูลขนาดใหญท่ ่ชี ว่ ยให้แรงงานท่ไี ดร้ ับ จานวนมาก จงึ มกี ารเปดิ ตวั แพลตฟอรม์ ทีพ่ ัฒนา
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ ในขั้นต้นเป็นคร้ังแรก เมื่อ 26 กันยายน 2020
COVID-19 ท้ังผู้วา่ งงานและเสมือนวา่ งงาน ไดม้ ี ในงาน Job Expo ซ่งึ ผลตอบรบั จากการเปิดใช้งาน
โอกาสเขา้ ถงึ ตาแหน่งงานทั้งจากภาครัฐและ แพลตฟอร์มนับวา่ ค่อนข้างดี เพราะหลงั จากเปิดตัว
ภาคเอกชน กระทรวงแรงงาน รว่ มกับธนาคารแหง่ มาไม่ถึงปี แต่สามารถชว่ ยแกป้ ัญหาการวา่ งงาน
ประเทศไทย และอีกหลายหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ระยะสั้นได้ โดยข้อมลู ณ เดอื น พฤษภาคม 2021
ทง้ั กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและ พบว่ามกี ารจ้างงานผ่านแพลตฟอรม์ แล้วกว่า
นวัตกรรม (อว.) สานกั งานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั 1.9 แสนราย
และสถาบันคณุ วฒุ ิวชิ าชพี จึงไดร้ ่วมกันพัฒนา
แพลตฟอรม์ ข้ึน ในชือ่ วา่ “www.ไทยมงี านทา.com”
โดยมีแนวคิดเพ่ือสรา้ งกลไกการจา้ งงานและพฒั นา
ทักษะผา่ นการฝึกอบรมแบบรวมศูนย์ และสร้างโอกาส
ในการเขา้ ถงึ ฐานข้อมลู แกป่ ระชาชนแบบ One-Stop
Service โดยมกี ารพัฒนาฟงั กช์ ันพ้นื ฐานสาคัญ
ได้แก่ ระบบจบั คตู่ าแหนง่ งานผา่ นชดุ ทกั ษะทตี่ รงกนั
ระหว่างทักษะท่ีจาเปน็ สาหรับตาแหน่งงานทนี่ ายจ้าง
ต้องการและทักษะของแรงงาน ระบบการแนะนา

บทท่ี 4 ระบบฐานข้อมูลดา้ นการจา้ งงานและดา้ นการศกึ ษาของไทย | 49

ภาพที่ 4.2 กรอบการพฒั นาแพลตฟอร์ม “ไทยมีงานทา”

แพลตฟอร์มไทยมงี านทา เปน็ หนง่ึ ในความก้าวหนา้ ชัดเจนวา่ ตาแหน่งงานท่ีนายจ้างเปิดรบั สมัครหรือ
ของการพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลดา้ นตลาดแรงงาน มคี วามต้องการส่วนใหญ่ คือ แรงงานทีจ่ บการศกึ ษา
ขนาดใหญ่ของไทยที่สามารถนามาใช้เป็นเคร่อื งมือ ในระดบั ปริญญาและสายอาชีพ โดยตาแหน่งงานท่ี
สาคัญในการตอบโจทย์การปรับโครงสร้าง ตอ้ งการมากทสี่ ดุ จะอยูใ่ นภาคการผลติ ทอี่ าศยั
ตลาดแรงงานของประเทศ เช่นเดยี วกับแพลตฟอร์ม ความรู้ทางดา้ น STEM ขณะท่ผี ู้สมัครงานสว่ นใหญ่
ในประเทศต้นแบบทนี่ ามาเป็นกรณีศึกษา (บทที่ 2) กลับมีความสนใจหางานในสาขาบรหิ ารธรุ กิจตามวฒุ ิ
ตวั อย่างสาคญั ของการใชง้ าน คือ การประเมนิ และ ที่ตนเองมีขณะสมคั รงาน จึงไมน่ ่าแปลกใจว่าทาไม
วางมาตรการแก้ปัญหา Skills Mismatch หลายคนเรยี นจบมาแล้วจึงยังว่างงานอยู่ ข้อมลู นี้
ในตลาดแรงงาน ทัง้ ทีม่ าจากระดับวฒุ ิการศึกษา เปน็ เพยี งหนึง่ ในตวั อยา่ งท่ีเราสามารถนาขอ้ มลู ทเ่ี กดิ
ทไี่ มส่ อดคลอ้ งกับตาแหน่งงานที่เปิดรับสมัคร จากแพลตฟอรม์ มาใชใ้ นการวิเคราะห์และส่อื สารกับ
(Qualification Mismatch) และสาขาวิชาที่ผูห้ างาน ทกุ ฝ่ายทีเ่ กีย่ วขอ้ งตัง้ แต่ระดบั นโยบายจนถึงแรงงาน
เรียนไมต่ รงกับสาขาวชิ าทน่ี ายจ้างต้องการ (Field of เพื่อปรับเปลย่ี นวธิ กี ารทางานและการวางแผนอาชพี
Study Mismatch) จากขอ้ มูลในภาพท่ี 4.3 จะเหน็ ได้
ของบคุ คลตัง้ แตก่ ารเลอื กวชิ าเรยี นในสถานศกึ ษา

บทท่ี 4 ระบบฐานข้อมูลดา้ นการจา้ งงานและดา้ นการศึกษาของไทย | 50

ภาพที่ 4.3 ข้อมูลจากเวบ็ ไซต์ไทยมงี านทา สะทอ้ นปัญหา Skills Mismatch ในตลาดแรงงานไทย

การผลติ ธรุ การ การจดั การทวั่ ไป

192,116 อตั รา 12,125 อัตรา

การตลาด PR การตลาด PR

60,813 อตั รา 11,344 อตั รา

เสอ้ื ผา้ สงิ่ ทอ ชา่ งแพทเทริ น์ บรหิ าร ผู้จัดการ

32,614 อัตรา 11,056 อตั รา

ออกแบบ เขียนแบบ กราฟกิ ชา่ งภาพ การผลติ

32,035 อตั รา 8,637 อัตรา

DEMAND ก่อสร้าง วิศวกรรม SUPPLY

30,312 อัตรา 7,736 อตั รา

หมายเหตุ: 5 อันดับประเภทงานท่นี ายจา้ งเปิดรบั สมคั รมากทสี่ ุดและผหู้ างานสมคั รมากทสี่ ดุ
ทม่ี า: ข้อมูลจากเวบ็ ไซตไ์ ทยมงี านทา ณ ตุลาคม 2020

ในระยะต่อไป มีความจาเปน็ อยา่ งยงิ่ ท่จี ะตอ้ งพัฒนา ตาแหนง่ งานของแรงงานและการจดั หาแรงงานของธรุ กิจ
ระบบฐานขอ้ มลู แพลตฟอรม์ ไทยมงี านทาให้สามารถ คลอ่ งตัวยงิ่ ขึ้น (3) พฒั นาระบบรบั รองคณุ ภาพ
ทางานได้เต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผ่านกลไก ผใู้ หบ้ รกิ ารจดั หางานและผใู้ หบ้ รกิ ารฝกึ อบรม รวมถงึ
(1) จดั ทาชดุ ทกั ษะมาตรฐานทจ่ี าเป็นสาหรับตาแหนง่ หลักสตู รที่บรรจุอยู่ในฐานข้อมูลแพลตฟอร์ม ให้เปน็
งานแต่ละประเภท ซง่ึ ตอ้ งสอดคล้องกบั ความต้องการ มาตรฐานและคุณภาพเดียวกนั (4) พฒั นาระบบสรปุ
ของภาคธรุ กิจและใช้อา้ งองิ ในการพัฒนาทกั ษะ เพอ่ื ขอ้ มลู (Dashboard) ทีค่ านงึ ถงึ User Experience
เพมิ่ โอกาสการได้รบั บรรจุงาน โดยในข้ันต้นจาเป็นต้อง เชน่ รูปแบบทเี่ ขา้ ใจงา่ ยและนา่ ดึงดดู รวมถงึ เปดิ เผย
อาศัยความรว่ มมอื จากภาครฐั และภาคเอกชนในการ รายละเอียดข้อมูลส่วนอ่ืน ๆ ในรูปแบบท่ยี ืดหยนุ่ และ
จดั ทาชุดทักษะมาตรฐาน และเม่อื มีปรมิ าณขอ้ มูลมาก พร้อมใช้งาน เพ่อื สนับสนนุ การใชป้ ระโยชน์ฐานข้อมูล
พอกค็ วรนาระบบ Artificial Intelligence (AI) มาใช้เพื่อ สาหรบั ท้งั เชิงวชิ าการและเชงิ นโยบาย และ (5) ผสาน
พฒั นาชุดทักษะมาตรฐานให้มีพลวตั เปล่ียนแปลง ความรว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ นทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชน
สอดรบั กับสถานการณต์ ลาดแรงงานในระยะต่อไป ในการร่วมกันพฒั นา ใช้งาน และขยายผลการใช้
(2) สรา้ งโครงขา่ ยฐานขอ้ มลู ดา้ นตลาดแรงงาน ประโยชนแ์ พลตฟอร์มในวงกวา้ ง รวมถึงเปิดโอกาส
ทเี่ ช่อื มโยงข้อมูลกบั ระบบแพลตฟอรม์ และฐานขอ้ มลู ใหภ้ าคเอกชนท่ีเชย่ี วชาญเขา้ มามีสว่ นร่วมในการบรหิ าร
ด้านตลาดแรงงานอื่นๆ และยกระดับเป็นแพลตฟอร์ม จัดการแพลตฟอร์มใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพสูงสุด และเพอื่ ให้
ดา้ นแรงงานของประเทศ เพอื่ ทาหน้าทีบ่ รู ณาการ ภาครฐั สามารถมบี ทบาทเปน็ ผ้กู ากบั ดแู ลระบบได้
ฐานขอ้ มูลแบบรวมศูนย์ และจะเอือ้ ใหก้ ารเขา้ ถึง อย่างเต็มศักยภาพ


Click to View FlipBook Version