The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwannnn2542, 2022-04-04 02:25:38

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

คำนำ

ด้วยสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ได้จัดทำ โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา:
ผ่านนามสกุลคนโคราช ด้วยการสนับสนุนงบดำเนินการจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ซึ่งสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม พ. ศ. 2559 มาตรา 4 กำหนดให้มรดกภูมิ
ปญั ญาทางวัฒนธรรมทไี่ ดร้ บั การส่งเสรมิ และรกั ษาตามพระราชบัญญตั ินี้ ไดแ้ ก่ ความรู้ และการปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกับ
ธรรมชาติและจักรวาล โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นเอกลักษณ์ โดดเด่น ของจังหวัด
นครราชสีมา ให้แก่เยาวชนและประชาชน ได้นำไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง
และแพร่หลาย

สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ได้บูรณาการการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ
และเอกชน ทั้งในด้านวทิ ยากรผู้ให้ความรู้ สถานที่ฝึกอบรม และคณะกรรมการ ทายาทผู้สืบทอดสกุลโคราช
และประชาชนทวั่ ไปไดต้ ระหนักเห็นคุณค่าและภาคภมู ใิ จในประวตั ิศาสตร์ท้องถน่ิ ของตน เก่ียวกับนามสกุลคน
โคราชจงั หวัดนครราชสีมา

ในนามสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสภาวัฒนธรรม
จังหวัดนครราชสีมา ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอและผู้ให้ข้อมูล สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลติ กลุ และผ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่ายท่ีทำให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
ไปดว้ ยดี

คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจังหวัดนครราชสมี า
๒๕ ธนั วาคม 2564

สารบัญ หนา้

๑. ชื่อโครงการ ๑
๒. ระยะเวลาดำเนินโครงการ ๑
๓. หนว่ ยงานดำเนินงานหลัก ๑
๔. หนว่ ยงานทรี่ ่วมดำเนนิ การ ๑
๕. งบประมาณ ๓
๖. ขน้ั ตอนการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ๓
๗. ผลการดำเนินโครงการ / กิจกรรม ๓
๘. ปญั หาและอปุ สรรค ๔
๙. ขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะและประเดน็ ตอ้ งตดิ ตาม ๕
๑๐. ภาคผนวก ๖
๑๓
- โครงการเล่าขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า ผา่ นนามสกุลคนโคราช ๒๕
- หนงั สือขอใช้สถานท่ี เชญิ วทิ ยากรจดั เสวนาและผูเ้ ข้ารว่ มประชุม ๒๖
๑๑.ภาพกจิ กรรม ๓๒
- ร่วมฟงั การเสวนา ๔๒
๑๒. สบื คน้ ข้อมลู เชงิ ลกึ ของนามสกุลคนโคราช โดยสมั ภาษณ์ทายาทผู้สืบสกลุ ๔๖
- อำเภอเมือง ๔๘
- อำเภอโนนไทย ๘๕
- อำเภอโชคชยั ๘๘
- อำเภอพิมาย ๑๑๑
- อำเภอด่านขนุ ทด
- อำเภอบวั ใหญ่



รายงานผลการดาเนิ นงาน
โครงการเล่าขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา : ผ่านนามสกลุ คนโคราช

๑. ช่ือโครงการ

โครงการเลา่ ขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า : ผา่ นนามสกุลคนโคราช

๒. ระยะเวลาดาเนินโครงการ / กิจกรรม

เดอื นกรกฎาคม – เดอื นธนั วาคม 2564

๓. หน่วยงานหลกั ดาเนินงานหลกั

๓.๑ สภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า

๔. หน่วยงานท่ีรว่ มดาเนินการ

๔.๑ สภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
๔.๒ สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
๔.๓ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
๔.๔ มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กุล
๔.๕ ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอจกั ราช
๔.๖ ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอโชคชยั
๔.๗ ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอดา่ นขนุ ทด
๔.๘ ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอโนนไทย
๔.๙ ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอโนนสงู
๔.๑๐ ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอพมิ าย
๔.๑๑ คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
๔.๑๒ องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั นครราชสมี า

๕. งบประมาณ

๕.๑ กรมส่งเสรมิ งานวฒั นธรรมสนับสนุนงบประมาณ จานวน 193,000 บาท + สภา
วฒั นธรรม

จงั หวดั นครราชสมี า ๒๓,๖๐๐ บาท
๕.๒ ใชง้ บประมาณระหว่างเดอื นกรกฎาคม – เดอื นธนั วาคม 2564 จานวน ๒๑๖,๖00บาท
๕.๓ คงเหลอื งบประมาณ จานวน - บาท



รายละเอียดคา่ ใช้จา่ ยดาเนินการดงั นี้

ท่ี วิธีการดาเนินกิจกรรม งบประมาณ

(บาท)

๑. การจดั ประชุม

- คา่ อาหาร / เครอ่ื งดม่ื ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน (๒๐x ๒,๔00

๑๒๐)

- คา่ อาหาร / เครอ่ื งดม่ื จดั เสวนาโครงการเล่าขานประวตั ศิ าสตร์ ๗,๒๐๐

นครราชสมี า : ผ่านนามสกุลคนโคราช (๖๐x๑๒๐)

-คา่ ตอบแทนวทิ ยากร ๓,๐๐๐

รวม ๑๒,๖00

๒. การศกึ ษาคน้ ควา้ สบื คน้ รวบรวมและจดั เกบ็ ขอ้ มูลนามสกลุ คนโคราช

-ค่าจดั เกบ็ ขอ้ มลู (32 อาเภอ)( ๓๒x๒,๐๐๐) ๖๔,000

-ค่าเรยี บเรยี งขอ้ มูลและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ๑๒,000

-ค่าจา้ งพมิ พต์ วั อกั ษร ๕,000

-คา่ ออกแบบ Art Work ๕,000

-ค่าจดั พมิ พห์ นงั สอื อบี ๊คุ ๑๕,000

รวม ๑๐๑,000

๓. การจดั กจิ กรรมพรอ้ มเปิดเวทถี ่ายทอดองคค์ วามรนู้ ามสกลุ คนโคราช

-ค่าจดั กจิ กรรมเปิดตวั หนงั สอื / โครงการ ๑00,000
รวม ๑00,000

๔. การจดั หาวสั ดุและอปุ กรณ์

-คา่ จดั ซอ้ื วสั ดุและอุปกรณ์ ๓,000
รวม ๓,000

รวมเป็นเงินทงั้ สิ้น ๒๑๖,๖00



๖. ขนั้ ตอนการดาเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม

๖.๑ การประชมุ
- การจดั ประชมุ คณะกรรมการการดาเนนิ โครงการ จานวน ๒ ครงั้

๖.๒ การลงพน้ื ทค่ี น้ ควา้ สบื คน้ รวบรวมและจดั เกบ็ ขอ้ มลู
- ครงั้ ท่ี ๑ จานวน ๓๒ อาเภอ
- ครงั้ ท่ี ๒ จานวน ๖ อาเภอ

๖.๓ การประชุมเสวนาโครงการเล่าขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า ผา่ นนามสกุลคนโคราช ท่ี
สานักงานวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า ในวนั ท่ี ๒๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๗. ผลการดาเนินโครงการ / กิจกรรม

๗.๑ เชงิ ปรมิ าณ
๑. ทายาทผสู้ บื ทอดสกลุ โคราชและประชาชน จานวน ๕00 คน
๒. ขอ้ มูลองคค์ วามรู้ ( Knowledge Management : KM ) ประวตั ศิ าสตรจ์ งั หวดั

นครราชสมี า
1 เรอ่ื ง คอื นามสกลุ คนโคราช

๓. รูปเลม่ เอกสารหรอื สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกสข์ องขอ้ มลู นามสกลุ คนโคราช ๑ ชดุ
๗.๒ เชงิ คุณภาพ

๑. ไดร้ บั รแู้ ละรวบรวมองคค์ วามรู้ ( Knowledge Management : KM ) นามสกุลคนโคราช
จงั หวดั นครราชสมี า

๒. ทายาทผสู้ บื ทอดสกลุ โคราชและประชาชนไดต้ ระหนักเหน็ คุณคา่ และภาคภมู ใิ จใประวตั ิ
ศาสตรท์ อ้ งถนิ่ ของตน

๓. ทายาทผู้สบื ทอดสกุลโคราชและประชาชนไดน้ าขอ้ มูลสารสนเทศเกย่ี วกบั นามสกุลคน
โคราชจงั หวดั นครราชสมี าท่ไี ด้รบั การถ่ายทอดการศึกษา / ค้นคว้าและการเผยแพร่ไปใชใ้ ห้เกิด
ประโยชน์

๘. ปัญหาและอปุ สรรค

เน่ืองจากอยู่ในช่วงสถานการณ์การระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา (COVID-๑๙) จงึ ทาใหก้ าร
จดั การประชุมไม่สามารถจดั ไดเ้ ตม็ รปู แบบ ตอ้ งเป็นไปตามขอ้ บงั คบั ประกาศ และมาตรการการเฝ้า
ระวงั ของศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณโ์ ควดิ -๑๙ (ศบค.) จงึ ตอ้ งจดั ประชมุ ปรกึ ษาหารอื การรเิ รม่ิ โครงการ
เป็นกลมุ่ อาเภอ เพอื ใหง้ านสาเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี



๙. ขอ้ สงั เกต ขอ้ เสนอแนะ และประเดน็ ต้องติดตาม

๙.๒ ขอ้ สงั เกต
การดาเนนิ โครงการทาใหท้ ราบขอ้ มลู เชงิ ลกึ ของทม่ี าของนามสกลุ ในหลายพน้ื ท่ี

๙.๒ ขอ้ เสนอแนะ
ควรจดั ประชมุ เสวนาในระดบั พน้ื ท่ี ทงั้ ๖ กลมุ่ อาเภอ

๙.๓ ประเดน็ ตอ้ งตดิ ตาม
- ทายาทผสู้ บื ทอดสกลุ และประชาชนในทอ้ งถ่ินไดเ้ รยี นรคู้ วามสาคญั รจู้ กั วถิ ีชวี ติ รถู้ งึ คุณคา่

ของประวตั ศิ าสตรใ์ นทอ้ งถนิ่ ความเป็นมาของนามสกุลคนโคราช อนั จะสรา้ ง ความภมู ใิ จและ
จติ สานกึ ในการรกั บา้ นเกดิ มากขน้ึ

- ทายาทผู้สืบทอดสกุลและประชาชน ได้นาข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกบั นามสกุลคนโคราช
จงั หวดั นครราชสมี า ท่ไี ด้รบั จากการถ่ายทอดการศึกษา/ ค้นคว้า และการเผยแพร่ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์

- สรา้ งความเป็นน้าหนึง่ ใจเดยี วกนั ใหเ้ กดิ ตอ่ ทายาทผสู้ บื ทอดสกลุ โคราช



ภาคผนวก



โครงการ เล่าขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา: ผ่านนามสกลุ คนโคราช

๑. หน่วยงานผดู้ าเนินการหลกั
สภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า

๒. หน่วยงานผรู้ ว่ มดาเนินงาน
๑. สภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
๒. สานักงานวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
3. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
๔. มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กุล
๕. ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอจกั ราช
๖. ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอโชคชยั
๗. ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอดา่ นขุนทด
8. ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอโนนไทย
9. ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอโนนสงู
๑๐. ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอพมิ าย
๑๑. คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
๑๒. องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั นครราชสมี า

๓. หลกั การและเหตผุ ลของการจดั โครงการ
สภาวฒั นธรรมจังหวัดนครราชสีมา เป็นองค์กรภาคเอกชนท่ีได้รบั การจัดตัง้ ข้ึนตาม

พระราชบญั ญตั วิ ฒั นธรรมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓ โดยมาตรา ๑๓-๑๘ ทก่ี าหนดให้มสี ภาวฒั นธรรม
แห่งประเทศไทย สภาวฒั นธรรมจงั หวดั สภาวฒั นธรรมอาเภอและสภาวฒั นธรรมตาบล เป็นองคก์ ร
ภาคเอกชนอยู่ภายใตก้ ารกากบั ของกรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม กรรมการของสภามที ่มี าจากเครอื ขา่ ย
ภาครฐั เครอื ขา่ ยภาคเอกชน เครอื ข่ายชุมชน เครอื ขา่ ยภาคธรุ กิจ เครอื ข่ายปราชญ์ชาวบ้าน และ



เครือข่ายภาควชิ าการ โดยเป็นกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั อาเภอและตาบล มีการกาหนด
คุณสมบตั ิ การไดม้ าเป็นสมาชกิ การประชมุ การดาเนนิ การบรหิ ารจดั การ กรรมการเหล่านนั้ และมี
บทบาทตามพระราชบัญญัติท่ีเก่ียวขอ้ งกับมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมคือ พระราชบญั ญัติ
ส่งเสรมิ และรกั ษามรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม พ.ศ.๒๕๕๙ ท่กี าหนดขอบเขตเน้อื หาใหท้ กุ ภาค
ส่วนแสดงบทบาทในการอนุรกั ษ์ ส่งเสรมิ รกั ษาหรอื พฒั นาให้มนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื ครอบคลุม (๑)
วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา (๒) ศลิ ปะการแสดง (๓) แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คม พธิ กี รรม ประเพณี
และเทศกาล (๔) ความรู้และการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล (๕) งานช่างฝีมอื ดงั้ เดมิ (๖)
การเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกนั ตัว (๗) ลักษณะอ่ืนตามท่กี าหนดใน
กฎกระทรวงวฒั นธรรม

นามสกุล คอื ช่อื บอกตระกูล หรอื บอกสกุล เพ่อื แสดงทม่ี าของบุคคลนัน้ มาจากครอบครวั
ไหน ตระกูลใด โดยทวั่ ไปนามสกุลจะใช้ตามบดิ าผู้ให้กาเนิดแต่บางครงั้ อาจใชน้ ามสกุลของมารดา
แทนได้ ความเป็นมาก่อนของนามสกุลชาวสยาม คอื ก่อนรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้า
เจา้ อย่หู วั รชั กาลท่ี ๖เม่อื ครงั้ นนั้ ชาวสยามหรอื ชาวไทยยงั ไมม่ ธี รรมเนยี มการใชน้ ามสกุล คนสยาม
หรอื คนไทยโดยทวั่ ไปจะมเี พยี งช่อื ตวั ทพ่ี อ่ แมห่ รอื อาจเป็นผอู้ าวุโสหรือผใู้ หญต่ งั้ ใหเ้ พ่อื ใชเ้ รยี กขาน
ทงั้ น้กี ารไม่มนี ามสกลุ ทาใหย้ ากตอ่ การจดจาบรรพบุรุษหรอื ญาตเิ ชอ้ื สายเดยี วกนั รวมถงึ จะเกดิ การ
สบั สน เพราะประชากรจะเพมิ่ จานวนมากขน้ึ และอาจมชี อ่ื ซ้ากนั ดงั นัน้ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระ
มงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั รชั กาลท่ี ๖ ทรงเหน็ ความสาคญั ของการตงั้ นามสกลุ และทรงมพี ระราชดารกิ าร
ใชน้ ามสกลุ เพราะทรงตระหนักว่าการทบ่ี า้ นเมอื งไมไ่ ดก้ าหนดใหร้ าษฎรมนี ามสกุลแลว้ เมอ่ื ประเทศ
มปี ระชากรเพมิ่ มากขน้ึ ช่อื ทเ่ี รยี กขานกนั อาจจะมซี า้ กนั จนเกดิ ความยุ่งยากสบั สนในการปกครอง
บ้านปกครองเมืองและเร่ืองส่วนตัว ดงั นัน้ พระองค์จึงทรงโปรดให้ตราพระราชบัญญัติขนาน
นามสกุล เม่อื วนั ท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๔๕๕ และเริม่ มผี ลบงั คบั ใช้ตงั้ แต่วนั ท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๔๕๖ เป็นตน้ มาจนถงึ ปัจจุบนั โดยเรม่ิ ใหม้ กี ารกลา่ วขานนามสกุล อันเป็นประโยชน์ตอ่ การบรหิ าร
บ้านเมอื ง ด้วยทาให้เกดิ การบัญญตั ิวธิ ีการจดทะเบยี นคนเกิด คนตาย และการสมรส ซ่ึงใช้เป็น
หลกั ฐานสาคญั เกย่ี วกบั ตวั บคุ คล ในพระราชบญั ญตั ไิ ดว้ างหลกั การมชี อ่ื ตวั และชอ่ื นามสกุลไวใ้ หเ้ ป็น
เร่อื งท่เี หมาะสม โดยในมาตรา ๑๓ กาหนดให้เสนาบดมี ีหน้าท่คี ิดช่อื สกุลแล้วพมิ พ์เป็นเล่มให้
นายอาเภอทุกท้องท่ี เพ่อื ให้เป็นเค้าตัวอย่างให้ประชาชนได้เลือกใช้ช่อื และนามสกุลตามความ



เหมาะสม จงั หวดั นครราชสมี านับเป็นจงั หวดั หนึ่งทม่ี เี อกลกั ษณข์ องการเรยี กขานและการตงั้ ช่อื สกลุ
หรอื นามสกุล ซงึ่ ในระยะแรกของบุคคลประชาชนโดยทวั่ ไปท่ีบรรพบุรุษไดต้ งั้ ช่อื สกลุ หรอื นามสกลุ
นัน้ นิยมตัง้ ตามภูมิลาเนาท่ีเกิดหรือแหล่งท่ีอยู่อาศัยโดยใช้ช่ือตาบล อาเภอและหมู่บ้าน เป็น
ส่วนประกอบท้ายของนามสกุล (พรทิพย์ ครามจันทึก, ๒๕๔๘ :๘๗-๘๙ และ วิทยาลัยครู
นครราชสมี า, ๒๕๒๙ : ๓-๔) เชน่ นามสกลุ “ขอ้ งกระโทก” มาจากคาว่า กระโทก ซงึ่ เป็นชอ่ื เดมิ
ของอาเภอโชคชยั นามสกลุ “ดสี งู เนนิ ” .ซงึ่ มาจากอาเภอสงู เนนิ ทเ่ี ดมิ เรยี กว่า “เมอื งเสมา” หรอื
ทท่ี เ่ี คยอาศยั นนั้ เป็นด่านหรอื เมอื งหนา้ ด่านมากอ่ น เชน่ ดา่ นขุนทด เป็นทม่ี าของนามสกุลท่ี
ลงทา้ ย “ขุนทด” หรอื ."จนั ทกึ " ทเ่ี ดมิ เป็นเมอื งหนา้ ดา่ นในดนิ แดนแถบภาคอสี าน ชอ่ื วา่ "เมอื งนคร
จนั ทกึ " รวมถงึ "ด่านนอก" เช่น นามสกุล จนั ทร์นอก, กลนอก ทม่ี าจากอาเภอด่านนอกแต่เดมิ
ไดเ้ ปลย่ี นมาเป็นอาเภอบวั ใหญใ่ นภายหลงั นอกจากน้ใี นการตงั้ นามสกลุ ในระยะแรกของคนโคราช
ยงั ปรากฏการตงั้ ตามทอ่ี าศยั ของการประกอบอาชพี ของบรรพบุรุษด้วย อาทเิ ช่น ผู้คนทม่ี าอาศยั
บรเิ วณทต่ี ้มเกลอื สนิ เธาวเ์ พ่อื นาไปขาย ซง่ึ ในภาษาเขมรใช้คาว่า “ทนั เทยี ะ” แปลว่า ท่ตี ้มเกลอื
สนิ เธาว์ ซงึ่ มผี เู้ พม่ิ เตมิ ว่า "สนั เทยี ะ" อาจเอามาจากสภาพพน้ื ดนิ ของอาเภอเน่อื งจากโดยทวั่ ไปพน้ื
ดเี ป็นดนิ เคม็ อาชพี ตม้ เกลอื สนิ เธาวด์ ว้ ยกไ็ ด้

แต่ทงั้ น้ีการตงั้ นามสกุลของคนโคราชบางตระกูลยงั มคี วามเก่ยี วพนั กบั ประวตั ศิ าสตร์ของ
บ้านเมืองและประเทศชาติด้วยดังตัวอย่างของตระกูล “ณ ราชสีมา” สืบเน่ืองมาจากจงั หวัด
นครราชสมี าถือได้ว่าเป็นจงั หวดั ทม่ี คี วามสาคญั และเป็นส่วนหน่ึงของประวตั ศิ าสตรท์ เ่ี ก่ียวพนั กบั
ความเป็นชาติไทยมาอย่างต่อเน่อื งในทุกช่วงยุคสมยั ดังปรากฏหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ เ่ี หน็
ได้อย่างชัดเจนตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ทงั้ เอกสารทางประวตั ิศาสตร์จากส่วนกลางกล่าวถึง
ความสาคญั ของเมอื งนครราชสมี าในฐานะหวั เมอื งสาคญั หวั เมอื งหน่ึงท่มี อี านาจทางการเมอื งและ
เป็นหวั เมืองท่ีมีความสัมพนั ธ์อันดีต่อกรุงศรีอยุธยา โดยทงั้ น้ีได้พบร่องรอยท่เี ก่าแก่ท่สี ุดตาม
หลกั ฐานทป่ี รากฎเกย่ี วกบั เมอื งนครราชสมี าปรากฎอยู่ในกฎมณเฑยี รบาล ทอ่ี าจตราขน้ึ ในสมยั พระ
บรมไตรโลกนาถ ราว พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๐๓๑ (อคนิ รพพี ฒั น์, ๒๕๒๗ : ๒๘๐) ในกฎมณเฑยี รบาล
ไดร้ ะบุว่า เมอื งนครราชสมี าเป็นพระยามหานครเมอื งหนง่ึ ในจานวน ๘ เมอื ง ทต่ี อ้ งทาการถอื พธิ นี ้า
พพิ ฒั น์สตั ยาต่อพระมหากษัตรยิ ์ ครนั้ ต่อมาเม่อื เขา้ สมยั สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้มีการปฎิ
รูปการปกครองหวั เมอื ง ซงึ่ มกี ารเปล่ยี นแปลงท่สี าคญั คอื ยกเลกิ เมอื งพระยามหานครและไดม้ กี าร



จดั หวั เมอื งขน้ึ ใหม่เป็นหวั เมอื ง เอก โท ตรี และจตั วา ตามความสาคญั ของยทุ ธศาสตรแ์ ละกาลงั ของ
ไพร่พล (คลอรชิ เวลส,์ ๒๕๑๙ : ๑๗๐) เมอื งนครรราชสมี ามคี วามสาคญั ในฐานะเมอื งชนั้ โทมหี น้าท่ี
เป็นเมอื งหน้าด่านสาคญั ชายแดนตะวนั ออกใหแ้ ก่อยุธยาและไดป้ รากฎหลกั ฐานเก่ยี วกบั บทบาท
ของเจา้ เมอื งนครราชสมี าเป็นครงั้ แรกเม่อื พ.ศ. ๒๑๓๖ โดยได้นากองกาลงั ชาวเมอื งนครราชสมี า
จานวน ๑,๐๐๐ คน เขา้ ร่วมกบั กองทพั ของกรุงศรอี ยุธยาในการเขา้ โจมตเี มอื งเสยี มราฐ (ประชุม
พงศาวดาร เล่ม ๓๘ (ประชุมพงศาวดาร ภาค ๖๔). ๒๕๑๒ : ๒๗๖) ทงั้ น้ีในฐานะท่เี ป็นเมอื งชนั้ โท
และเป็นเมอื งหน้าด่านน้ี บุคคลทจ่ี ะไดร้ บั ตาแหน่งเป็นเจ้าเมอื งนครราชสมี าจะไดร้ บั การแต่งตงั้ มา
จากเมอื งหลวงโดยมยี ศประจาตาแหน่งเป็นเจ้าพระยามศี กั ดนิ า ๑๐,๐๐๐ ไร่ มรี าชทนิ นามว่า กา
แหงสงครามรามภักดีพรี ียะภาหะ สมยั พระนารายณ์มหาราชเมอื งนครราชสีมาเป็นยุทธศาสตร์
สาคญั ในการป้องกันภัยจากเมืองรายล้อมและเป็นเมอื งควบคุมกาลังคนและผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกจิ ทส่ี าคญั ของอยุธยา (นิธิ เอยี วศรวี งศ์, ๒๕๒๗ : ๑๗) สมยั กรงุ ธนบรุ สี มเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ
นับเป็นครงั้ แรกท่ขี ุนนางท้องถน่ิ ไดร้ บั การยอมรบั ให้เขา้ มาดารงตาแหน่งเจ้าเมอื งนครราชสมี า ใน
สมยั รตั นโกสนิ ทร์ ภายใตก้ ารสนับสนุนและไวว้ างใจจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๒๕ เมอื งนครราชสมี าอยู่ภายใต้อานาจการปกครองของขุนนางตระกลู ณ ราชสมี า
ซงึ่ ไดแ้ ก่ เจา้ พระยานครราชสมี า (ป่ิน ณ ราชสมี า) ทเ่ี ขา้ มาดารงตาแหน่งเจา้ เมอื งนครราชสีมาหรอื
พระยานครราชสมี า ใน พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๔๐ ดว้ ยเคยมบี ทบาทสาคญั ในช่วงปลายกรุงธนบุรที เ่ี คย
สง่ เสรมิ อานาจทางการเมอื งของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก (นธิ ิ เอยี วศรวี งศ์, ๒๕๒๙
: ๒๒๘-๒๒๙) และเมอ่ื ท่านอนิจกรรมลงทายาทของท่านไดด้ ารงตาแหน่งเป็นเจา้ เมอื งนครราชสมี า
ซง่ึ ไดแ้ ก่ พระยานครราชสมี า (เทย่ี ง ณ ราชสมี า) บุตรคนท่ี ๒

ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๔๐-๒๓๖๖ ซงึ่ นบั จากน้จี ะปรากฏว่า ตระกลู ณ ราชสมี า จะเขา้ มามบี ทบาท
ทางด้านความสมั พนั ธ์ใกล้ชดิ และบทบาททางทหารนอกเหนือจากบทบาททางการเมอื งตงั้ แต่ต้น
รชั กาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลยั โดยอาศยั การอุปถมั ถจ์ ากกรมหม่นื เจษฎาบดนิ ทร์
(พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกล้าเจา้ อยูห่ วั ) ต่อมาเม่อื สมยั เจา้ พระยานครราชสมี า (ทองอนิ ทร์ ณ ราช
สมี า) พ.ศ. ๒๓๖๖-๒๓๘๘ เขา้ มบี ทบาทสาคญั ในสถานการณก์ ารเมอื งภูมภิ าคของอสี านและลาวใน
สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อย่หู วั และตอ่ มาลูกหลานของตระกลู ณ ราชสมี า ตามเอกสาร
ในจดหมายเหตุนครราชสมี าไดร้ บั ตาแหน่งทางราชการเป็นจานวนมาก นอกจากน้ีตระกูล ณ ราช

๑๐

สมี า ยงั มเี ชอ้ื สายตระกูลเป็นสายตระกูลอ่นื อีกดว้ ย อาทเิ ช่น อินทรกาแหง อินทโสฬส มหาณรงค์
นิลนานนท์ เนียมสุริยะ ชูกฤสอินทนุชติ คชวงศ์ ศิริพร และเชญิ ธงไชย เป็นต้น (จดหมายเหตุ
นครราชสีมา,๒๔๙๗ : ๑๗-๑๘) เม่อื เจ้าพระยานครราชสมี า (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา) ได้ถึง
อนิจกรรม พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกล้าเจา้ อยู่หวั ไดส้ ่งพระยาไชยวชิ ติ สทิ ธสิ าตรา (ขา ณ ราชสมี า)
มาเป็นเจ้าเมืองนครราชสีมา และในสมัยรัชกาลท่ี ๙ ในวันท่ี ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๔
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ไดท้ รงพระกรุณาพระราชทานนามสกลุ แกอ่ นุชน
ผู้สบื สายสกุลมาแตท่ า่ นเจ้าพระยานครราชสมี า (ป่ิน) และท่านเจา้ พระยานครราชสมี า (ทองอนิ ทร)์
วา่ “ณ ราชสมี า”

จากนามสกุลของคนโคราชเพยี งบางสว่ นดงั ทไ่ี ดย้ กตวั อย่างทไ่ี ดก้ ลา่ วขา้ งตน้ แล้วนนั้ ล้วนมี
เอกลกั ษณ์โดดเด่นเฉพาะของทอ้ งถน่ิ จงั หวดั นครราชสมี าและรวมถงึ นามสกุลทม่ี คี วามเกยี่ วพนั และ
มบี ทบาททางการเมอื งตงั้ แต่ปลายสมยั กรุงธนบุรถี ึงสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนต้นอย่างนามสกุล “ณ
ราชสมี า” ล้วนเป็นเร่อื งราวท่สี ะท้อนความเป็นคนโคราชอันเป็นองค์ความรู้ทางประวตั ิศาสตร์
ทอ้ งถิ่นและประวตั ิศาสตร์จงั หวดั นครราชสมี าทค่ี วรค่าแก่การศกึ ษา สบื คน้ รวบรวม จดั เกบ็ ขอ้ มูล
และเผยแพร่องคค์ วามรูแ้ ก่ทายาทผู้สบื ทอดสกุลและประชาชนชาวนครราชสมี า รวมถึงประชาชน
โดยทวั่ ไปใหไ้ ดร้ บั รู้

๔. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
๔.๑. เพ่อื ศกึ ษาขอ้ มูลทอ้ งถน่ิ รวบรวมและจดั เกบ็ ขอ้ มูลนามสกุลคนโคราชจงั หวดั นครราชสมี า
๔.๒. เพ่อื ใหท้ ายาทผสู้ บื ทอดสกลุ และประชาชนคนในทอ้ งถนิ่ ไดเ้ รยี นรคู้ วามสาคญั รจู้ กั วถิ ชี วี ติ

รู้ถึงคุณค่าของประวตั ศิ าสตรใ์ นทอ้ งถ่ินความเป็นมาของนามสกลุ คนโคราช อนั จะสร้างความภูมใิ จ
และจติ สานึกในการรกั บา้ นเกดิ

๔.๓. เพ่อื ใหท้ ายาทผู้สบื ทอดสกุลและประชาชน ไดน้ าขอ้ มูลสารสนเทศ เก่ียวกบั นามสกลุ คน
โคราช จงั หวดั นครราชสมี า ทไ่ี ด้รบั จากการถ่ายทอดการศกึ ษา/ คน้ ควา้ และการเผยแพร่ไปใช้ให้
เกดิ ประโยชน์

๔.๔. เพ่อื หล่อหลอมสร้างความเป็นน้าหน่ึงใจเดยี วกนั ให้เกิดต่อทายาทผูส้ บื ทอดสกุล
โคราช

๑๑

๕. ขอบเขตการดาเนินโครงการ
๕.๑ ระยะเวลาดาเนินโครงการ
เดอื น กรกฎาคม ถงึ เดอื น ธนั วาคม ๒๕๖๔

๖. งบประมาณ

ขอรบั การสนบั สนุนงบประมาณจากกรมสง่ เสรมิ งานวฒั นธรรม จานวนทงั้ สน้ิ ๑๙๓,๐๐๐.- บาท
(หน่งึ แสนเกา้ หมน่ื สามพนั บาทถว้ น) + สภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า ๒๓,๖๐๐ บาท
(สองหมน่ื สามพนั หกรอ้ ยบาทถว้ น) รวมเป็นเงนิ ทงั้ สน้ิ ๒๑๖,๖๐๐ บาท โดยมรี ายละเอยี ดประมาณ
การค่าใชจ้ า่ ย ดงั น้ี

๖.๑ การจดั ประชมุ ฯ

- ค่าอาหาร / เคร่อื งด่มื ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งาน จานวน ๒๐ คน 2,๔00 บาท
คนละ ๑๒๐ บาท (๒๐x๑๒๐)

- ค่าอาหาร / เคร่อื งด่มื จดั เสวนาโครงการเล่าขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า
๗,๒๐๐ บาท ผา่ นนามสกุลคนโคราช จานวน ๖๐ คน คนละ ๑๒๐ บาท (๖๐x๑๒๐)

- คา่ ตอบแทนวทิ ยากร ๓,๐๐๐ บาท

รวม ๑๒,๖00 บาท

๖.๒ การศกึ ษาค้นคว้าสืบคน้ รวบรวมและจดั เกบ็ ขอ้ มูลนามสกลุ คนโคราช

- ค่าจดั เกบ็ ขอ้ มลู (๓๒ อาเภอ) ( ๓๒x๒,๐๐๐) ๖๔,000- บาท

- คา่ เรยี บเรยี งขอ้ มลู และวเิ คราะหข์ อ้ มูล ๑๒,๐๐๐.- บาท

- คา่ จา้ งพมิ พเ์ อกสาร ๕,๐๐๐.- บาท

- ค่าออกแบบ Art Work ๕,๐๐๐.- บาท

- ค่าพมิ พห์ นังสอื อบี คุ๊ ๑๕,๐๐๐.- บาท

รวม ๑๐๑,000 บาท

๑๒

๖.๓ การจดั กิจกรรม พร้อมเปิ ดเวทีถ่ายทอดองคค์ วามร้นู ามสกลุ คนโคราช

- ค่าการจดั กจิ กรรมเปิดตวั หนังสอื / โครงการฯ ๑๐๐,๐๐๐. – บาท

๖.๔ คา่ วสั ดแุ ละอปุ กรณ์สานักงาน รวม ๑๐๐,๐๐๐ บาท
- วสั ดแุ ละอปุ กรณ์สานักงาน ๓,๐๐๐ บาท

รวม ๓,000 บาท

รวมหมดทงั้ สิ้น ๒๑๖,๖00 บาท

๗. ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั

- ไดข้ อ้ มูลเกยี่ วกบั นามสกุลคนโคราชจงั หวดั นครราชสมี า

- สง่ เสรมิ สบื สาน ความรปู้ ระวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า :ผ่านนามสกุลคนโคราช ประชาชนได้
ตระหนกั เหน็ คณุ ค่าในประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ ของตน

- ส่งเสรมิ ให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้นาข้อมูล สารสนเทศ เก่ียวกับนามสกุลคน
โคราชจงั หวดั นครราชสมี า ทไ่ี ดร้ บั จากการศกึ ษา/ คน้ ควา้ และการเผยแพร่ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์

- สนบั สนุนใหท้ ายาทสกุลโคราช ไดร้ วมตวั กนั เป็นปึกแผน่ สรา้ งความรกั และความสามคั คี
สานกึ รกั บา้ นเกดิ ของตน

๑๓

หนังสือขอใช้สถานที่
และเชิญวิทยากร จดั เสวนา

๑๔

หนังสือขอใช้สถานท่ี

3

๑๕

หนังสือเชิญวิทยากร

๑๖

หนังสือเชิญวิทยากร

๑๗

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟังการเสวนาโครงการ

๑๘

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟังการเสวนาโครงการ

๑๙

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟังการเสวนาโครงการ

๒๐

หนังสือเชิญคณะกรรมการ ร่วมฟังการเสวนาโครงการ

๒๑

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟังการเสวนาโครงการ

๒๒

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟังการเสวนาโครงการ

๒๓

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟังการเสวนาโครงการ

๒๔

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟังการเสวนาโครงการ

๒๕

ภาพกิจกรรม

๒๖

ร่วมฟังการเสวนาโครงการ

เลา่ ขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผา่ นนามสกลุ คนโคราช

นายจาลอง ครุฑขนุ ทด
ท่ีปรกึ ษาสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสีมา
กลา่ วเปิดโครงการเสวนาเลา่ ขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า ผา่ นนามสกลุ คน
โคราช

๒๗

ร่วมฟังการเสวนาโครงการ
เล่าขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผา่ นนามสกลุ คนโคราช

นายไชยนนั ท์ แสงทอง วฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
ร่วมกลา่ วเปิดในการเสวนาโครงการเลา่ ขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า ผา่ นนามสกลุ คน

โคราช

รศ.ดร. จาเรญิ รตั น์ จติ ตจ์ ิรจรรย์ ผอ.หลกั สตู รศึกษาศาสตรบณั ฑิต ม.วงษ์ชวลิตกุลนครราชสมี า
รว่ มกลา่ วเปิดในการเสวนาโครงการเลา่ ขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า ผ่านนามสกุลคนโคราช

๒๘

รว่ มฟังการเสวนาโครงการ
เลา่ ขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผ่านนามสกลุ คนโคราช

นางเอมอร ศรกี งพาน ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
ร่วมกลา่ วเปิดในการเสวนาโครงการเล่าขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า ผ่านนามสกลุ คน

โคราช

๒๙

รว่ มฟังการเสวนาโครงการ
เล่าขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผ่านนามสกลุ คนโคราช

ผอ.นคิ ม คมพิทยากุล
คือ ผใู้ หข้ อ้ มลู นามสกลุ ลงทา้ ยดว้ ยขนุ ทดและพนั ชนะ

ภาพสมดุ ขอ่ ยท่อี า้ งถงึ การตงั้ อาเภอด่านขนุ ทด

๓๐

ร่วมฟังการเสวนาโครงการ
เลา่ ขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผ่านนามสกลุ คนโคราช

๓๑

ภารพ่วบรมรยฟาังกกาสาใรนเกสารวเสนวานโาคโครรงงกกาารร
เล่าขานปเรละ่าขวาตันิปศราะสวตั ตศิ ราสน์ ตครนโ์รคครรราารชชาชสสีมมี าาผผ่านา่ นนานมสากมลุ สคนกลุ คน

โคราช

ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า มอบของทร่ี ะลกึ ใหก้ บั
ท่านจาลอง ครฑุ ขนุ ทด ทป่ี รกึ ษาสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า



๓๒

ข้อมูลนามสกลุ คนโคราช ท่ีสืบค้น ๑๒อาเภอ

ทมี่ า : วิกพิ เี ดยี สารานุกรมเสร,ี https://th.wikipedia.org/wiki/อำเภอเมอื งนคราชสีมา.

๑ . ประวตั ิอาเภอเมืองนคราชสีมา
อาเภอเมอื งนครราชสมี ามชี ่อื เรยี กตามความถนัดของชาวพ้นื เมอื งว่า "โคราช" เรยี กตาม

ภาษาราชการว่า "เมอื งนครราชสมี า" เหตุท่เี รยี ก 2 ช่อื ด้วยปรากฏวา่ ตามหลกั ฐานโบราณคดเี ร่อื ง
งานขา้ งตน้ วนิ ิจฉัยช่อื เมอื งนครราชสมี าว่า ก่อนทจ่ี ะสร้างขน้ึ ในสถานทป่ี ัจจุบนั เดมิ มเี มอื งโบราณ
อยู่ 2 เมอื ง ซงึ่ อยู่ทางขวาของลาตะคอง ปัจจุบนั อยู่ในเขตอาเภอสงู เนิน เมอื งทห่ี นง่ึ อยทู่ างฝัง่ ซา้ ย
ของลาตะคองมชี ่อื เรยี กว่า เมอื งโคราช จากหลกั ฐานทไ่ี ดส้ ารวจพบว่าในบรเิ วณเมอื งทงั้ สอง เมอื ง
เสมาสรา้ งเมอื งขน้ึ มาใหม่ ตอ่ มาไดข้ า้ มมาสรา้ งเมอื งโคราชขน้ึ อกี เป็นเมอื งใหม่ ทง้ิ เมอื งเสมาใหเ้ ป็น
เมอื งรา้ งในทส่ี ุด

ช่อื เมอื งโคราช น่าจะเพย้ี นมาจากช่อื เมอื ง "นครราช" ในภาษาเขมร และไม่น่านามาจากช่อื
เมอื ง "โคราฆะปรุ ะ" ในมชั ฌมิ ประเทศ เน่อื งจากเมอื งโคราฆะปุระเป็นเมอื งทส่ี รา้ งขน้ึ ในอินเดยี
ราวครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 13 ซง่ึ มอี ายนุ ้อยกว่าอารยธรรมขอม-ทวาราวดขี องเมอื งเสมามาก

ต่อมาสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชได้ทรงยา้ ยเมอื งโคราชและเมอื งเสมามาสร้างในท่ตี งั้
ปัจจุบนั และตงั้ ช่อื ใหม่ว่า เมอื งนครราชสมี า เมอื งท่สี ร้างขน้ึ ใหม่น้เี ป็นเมอื งหน้าด่าน มคี ูลอ้ มรอบ
และมปี ระตูเมอื ง 4 ประตู คอื ทศิ เหนือ เรยี กว่า ประตูพลแสน หรอื ประตูน้า

ทศิ ใต้ เรยี กว่า ประตไู ชยณรงค์ หรอื ประตูผี
ทศิ ตะวนั ออก เรยี กว่า ประตพู ลลา้ น
ทศิ ตะวนั ตก เรยี กว่า ประตูชมุ พล
_________________________________________________________________________

๓๓

ทม่ี า : สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอปักธงชยั จงั หวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/pakthongchai/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๒. ประวตั ิอาเภอปักธงชยั
สมยั โบราณ เดมิ ปักธงชยั เป็นเมอื งโบราณตงั้ แต่ขอมเรอื งอานาจ ทงั้ น้สี นั นษิ ฐานไดจ้ ากเขต

อาเภอปักธงชัยมีซากปรักหักพังของปรางค์ หรือ เทวาลัยหลายแห่งท่ีเป็นศิลปกรรม และ
สถาปัตยกรรมทข่ี อมนิยมสร้างตามเมอื งต่างๆ ท่ตี นปกครองอยใู่ หญ่บ้าง เล็กบา้ งตามความสาคญั
ของแต่ละเมอื ง เช่น ปรางคน์ าแค ปราสาทสระหนิ ปรางคบ์ า้ นปรางค์ ปรางคก์ ูเ่ กษม

ในสมยั กรุงศรอี ยุธยา จากหลกั ฐานท่ปี รากฏตามแผนท่ยี ุทธศาสตร์สมยั กรุงศรอี ยุธยาได้
ปรากฏช่อื เมอื งปักว่าตงั้ อยู่ใกล้เมอื งนครราชสมี า ความสาคญั ก็คอื เป็นเมอื งหน้าด่านทางทศิ ใต้
ของเมอื งนครราชสีมา เพ่อื เป็นกองระวงั หน้าคอยสอดแนมข้าศึกและคอยปะทะขดั ขวางหน่วง
เหนยี่ วไม่ใหข้ า้ ศกึ ยกทพั ประชดิ เมอื งนครราชสมี าเรว็ เกนิ ไป เมอื งปักในสมยั น้จี งึ ถกู ตงั้ และเรยี กว่า
“ดา่ นจะโปะ” เชน่ เดยี วกบั ด่านเกวยี น ดา่ นจอหอ ด่านขุนทด เป็นตน้

ในสมยั กรุงธนบรุ ี พ.ศ. ๒๓๒๑ ในรชั สมยั พระเจา้ กรุงธนบรุ โี ปรดฯให้สมเดจ็ เจา้ พระยามหา
กษัตรยิ ศ์ กึ (รชั กาลท่ี 1) ยกกองทพั ไปปราบเมอื งเวยี งจนั ทน์และไดร้ บั ชยั ชนะขากลบั จงึ ได้กวาด
ต้อนเชลยชายหญิงพร้อมกับเพ้ียอุปราช และ ให้ไปพักอาศัยอยู่ท่ีด่านจะโปะครัน้ ชาวเมือง
เวยี งจนั ทน์ตงั้ บ้านเรือนเป็นหลักฐานมนั่ คงแล้ว เจ้าพระยานครราชสมี า (ป่ิน) จงึ กราบบงั คมทูล
สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบรุ ี ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตตงั้ ดา่ นจะโปะเป็นเมอื ง เรยี กว่า “เมอื ง
ปัก” (ยังไม่มีคาว่าธงชัย) และได้กราบบังคมทูลขอให้เพ้ียอุปราชเป็นเจ้าเมืองปักคนแรก
พระราชทานนามว่า “พระยาวงศาอรรคราช” (ซ่งึ กล่าวกนั ว่าเป็นตน้ ตระกูลวรธงไชย ขณะน้ี) เมอื ง
ปักในสมยั น้เี ป็นเมอื งชนั้ ตรขี น้ึ ตรงตอ่ เมอื งนครราชสมี า เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๒๓

ในสมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ พ.ศ. ๒๓๖๙ เจ้าอนุวงศ์แห่งเมืองเวยี งจนั ทน์ยกทพั มายดึ เมอื ง
นครราชสมี าและไดก้ วาดตอ้ นชาวเมอื งไป แต่ถูกคณุ หญงิ โมและชาวเมอื งนครราชสมี าตอ่ สกู้ บั ทหาร
เวยี งจนั ทน์จนไดร้ บั ชยั ชนะและไดพ้ ระราชทานนามว่า “ ทา้ วสุรนารี ” การกวาดตอ้ นเชลยคราวนัน้
ทหารเจ้าอนุวงศ์แห่งเมอื งเวยี งจนั ทน์ ได้มากวาดต้อนชาวเมอื งปักทงั้ ชาวไทยโคราช และ ชาว
เวยี งจนั ทน์ ซ่ึงชาวเวยี งจนั ทรไ์ ดอ้ พยพมาพง่ึ พระบรมโพธสิ มภารตงั้ แต่สมยั กรุงธนบุรี ต่างกม็ ที ท่ี า
มาหากนิ สุขสบายมาเป็นเวลา 47 ปี จงึ พรอ้ มใจกนั จบั อาวุธต่อสขู้ บั ไล่ทหารของเจ้าอนุวงศพ์ ่ายแพ้
กลบั ไป (ปัจจุบนั ชาวเวยี งจนั ทน์เป็นบรรพบุรุษ ของชาวตาบลตะคุทงั้ ตาบล ตาบลเมืองปักบาง
หมูบ่ า้ น ตาบลธงชยั เหนือบางหมู่บา้ น ตาบลบลสะแกราชบางหมบู่ า้ น ตาบลตะขบบางหม่บู า้ น)

๓๔

ท่ีมา : สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/nonthai/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๓. ประวตั ิอาเภอโนนไทย

พ.ศ. ๒๓๗๕ อาเภอโนนไทย เดมิ เรยี กว่า “แขวงสนั เทยี ะ” ทางราชการไดม้ กี ารปรบั ปรุง
การปกครองโดยตงั้ เป็นด่านและแขวงข้นึ บา้ นสนั เทยี ะได้ยกเป็นแขวงและตงั้ ด่านทบ่ี ้านด่านจาก
บ้านต่านกรงกราง มีผู้ปกครองเรียกว่า “ขุนด่าน” (เทยี บกานัน) และ “หม่นื ด้าน” (เทียบ
สารวตั รกานัน) แขวงสนั เทยี ะน้ีกนิ ตลอดไปถึงตาบลสงู เนินทงั้ หมด(ปัจจุบนั คอื อาเภอสูงเนิน) และ
ดา้ นทศิ ตะวนั ตกตดิ ต่อกบั แขงพนั ชนะ (ตาบลพนั ชนะ อาเภอด่านขนุ ทดในปัจจบุ นั ) คาว่า “สนั เทยี ะ”
มกี ารสนั นิษฐานว่ามาจาก ๓ ประเดน็ คอื

ประเดน็ ท่ี ๑ เล่ากนั ว่าเดมิ เป็นทอ่ี ยู่ของชาวกมั พูชาท่ีมาอาศยั ต้มเกลอื สนิ เธาว์เพ่อื นาไป
ขายและอาศยั น้าจากลาหว้ ยทางเหนอื ของหมบู่ า้ นในการหุงตม้ เกลอื และอุปโภคบรโิ ภค ภาษาเขมร
คาว่า “สนั เทยี ะ” แปลว่า ทต่ี ม้ เกลอื สนิ เธาวแ์ ละยงั มผี เู้ พม่ิ เตมิ วา่ “สนั เทยี ะ”อาจมาจากสภาพพน้ื ดนิ
ของอาเภอเน่อื งจากโดยทวั่ ไปพน้ื ดนิ เป็นดนิ เคม็

ประเด็นท่ี ๒ มาจากสภาพภมู ศิ าสตรใ์ นภาษาลาว คาว่า “สนั เทยี ” แปลว่า บา้ นทต่ี งั้ อย่บู น
สนั โนนทด่ี นิ และเน่ืองจากพน้ื ดนิ เป็นดนิ ทรายเม่อื ถงึ ฤดฝู นจะชน้ื แฉะไปทวั่ ทงั้ หมู่บา้ น

ประเดน็ ท่ี ๓ สนั นิษฐานว่ามาจากคาวา่ “ศาลเต้ยี ” เพราะแขวงสนั เทยี ะเดมิ มเี รอื นจาสาหรบั
นกั โทษและมกี ารชาระคดที แ่ี ขวงน้ี ดงั นนั้ คาว่า “ศาลเต้ยี ” จงึ น่าจะเพย้ี นมาเป็น สนั เทยี ะ

ทม่ี า : สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอสงู เนนิ จงั หวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/sungnoen/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๔. ประวตั ิอาเภอสงู เนิน

ท่มี าของคาว่า "สงู เนิน" เป็นคาเรยี กตามลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ซึง่ เป็นทร่ี าบสงู และเป็นเนนิ
เดมิ เรยี กว่า "บ้านสองเนิน" เพราะมีเนินดนิ อยู่สองฟากบงึ แห้ว (บึงใหญ่ซึ่งมีน้าตลอดปี) ต่อมา
ภายหลงั จงึ เพย้ี นมาเป็น "สงู เนิน" เดมิ ข้นึ อยู่กบั อาเภอสนั เทยี ะ (อาเภอโนนไทยในปัจจุบัน) ต่อมา
สมยั รชั กาลท่ี ๕ มกี ารสรา้ งทางรถไฟสายกรงุ เทพ - นครราชสมี า และ ทางรถไฟตดั ผา่ นเขา้ สงู เนิน

๓๕

อนั เป็นชุมชนใหญ่ ทาใหก้ ารคมนาคมระหว่างบา้ นสงู เนินกบั ตวั จงั หวดั นครราชสมี า สะดวกสบาย
กว่าการตดิ ต่อกบั อาเภอสนั เท่ยี ะ(โนนไทย) อีกทงั้ ประชาชนมาอยู่อาศยั ในหมู่บา้ นสูงเนินมากขน้
เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ทางราชการจงึ ยกฐานะเป็นอาเภอสงู เนนิ โดยแยกตา่ งหากจากอาเภอสนั เทยี ะ
(โนนไทย) และใชช้ ่อื หมูบ่ า้ นเป็นช่อื “อาเภอสงู เนิน”

อาเภอสูงเนิน มเี มอื งสาคญั อยู่ ๒ เมอื ง คอื เมอื งเสมา และเมอื งโคราฆะปุระหรอื เมอื งโคราช ซง่ึ
เมอื งทงั้ สองเป็นเมอื งประวตั ศิ าสตรข์ องชาตไิ ทยมาชา้ นานตงั้ แต่สมยั สวุ รรณภมู ิ ต่อมาจงึ ไดย้ บุ เมอื ง
ทงั้ สอง ไปเป็นเมอื งนครราชสมี า อาเภอสงู เนนิ ไดจ้ ดั ตงั้ ขน้ึ เม่อื วนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๒
(ร.ศ.๑๑๘)
__________________________________________________________________________
ทม่ี า : สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอสคี ว้ิ จงั หวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/sikhio/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๕. ประวตั ิอาเภอสีคิ้ว

อ.สคี ว้ิ เป็นเมอื งหนา้ ด่าน ในดนิ แดนแถบภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เป็นถิ่นทอ่ี ยู่ของไทยท่ี

อพยพมาจากภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือของประเทศไทย เดมิ อ.สคี ้วิ ช่อื ว่า "เมอื ง

นครจนั ทึก" เป็นเมืองอิสระเมอื งหน่ึง ข้นึ ตรงต่อเมืองหลวง มเี จ้าเมืองปกครอง จะตงั้ ช่อื เม่อื วัน

เดอื นปีใด ไม่ปรากฏหลกั ฐานท่แี น่นอน สอบถามจากคนเก่า ๆ ไดค้ วามว่า ตงั้ เมอื งอยู่ ณ บ้านจนั

ทกึ ม.3 ต.นครจนั ทกึ คอื เจา้ เมอื งคนแรก ช่อื พระนคร (แกว้ ) เจา้ เมอื งคนท่ี ๒ ช่อื พระนคร

(ตนุ่ ) เจา้ เมอื งคนท่ี ๓ ช่อื พระนคร (โต) เจา้ เมอื งคนท่ี ๔ ชอ่ื พระนคร (ตา)

เจ้าเมอื งคนท่ี ๔ ภูมลิ าเนาอยู่บ้านมะเกลอื เก่า ท้องท่ี อ.สูงเนิน จ.นครราชสมี า ทุกวนั น้ี

ต่อมาเมอื งนครราชสมี าตงั้ ข้นึ แลว้ เหน็ ว่าเมอื งน้ีอยู่ในป่าดงทบึ ไขป้ ่าชุกชุม และไม่สะดวกแก่การ

ติดต่อเมอื งหลวง จงึ เปลย่ี นเป็นเมอื งหนา้ ด่านเรยี กว่า "ด่านจนั ทกึ " ทต่ี งั้ ด่านอยู่ ณ บา้ นจนั

ทกึ ม.๓ ต.จนั ทกึ

ปัจจุบนั เป็นทต่ี งั้ ของสถานรี ถไฟจนั ทกึ นายด่านคนแรกชอ่ื หลวงพล หนายด่านคนท่ี ๒ ชอ่ื

หม่นื ดา่ น (จนั ) เม่อื เลกิ ด่านแลว้ จงึ เปลย่ี นเป็นอาเภอเรยี กว่า "อาเภอสคี ว้ิ " เม่อื วนั ท่ี ๑ เมษายน ร.

ศ.๑๑๗ (พ.ศ.๒๔๔๑) ต่อมา เม่อื ร.ศ.๑๒๐ (พ.ศ.๒๔๔๔) ในสมยั ทห่ี ลวงเทพโอสถ ดารงตาแหน่ง

นายอาเภอ ได้ย้ายทว่ี ่าการ อ.สคี ้วิ จากบา้ นจนั ทกึ มาตงั้ ณ บ้านหนองบวั ม.๑ ต.ลาดบวั ขาว ใน

พ.ศ.๒๔๔๙ ขณะท่หี ลวงแผลงฤทธา ดารงตาแหน่งนายอาเภอ ไดย้ ้ายทว่ี ่การอาเภอจากา

๓๖

บ้านหนองบัว มาตงั้ ณ บ้านสคี ้วิ ม.๒ อ.สคี ้วิ สาเหตุท่ตี ้องย้ายท่วี ่าการอาเภอสคี ้วิ บ่อย ๆ นัน้
เน่อื งจากบา้ นจนั ทกึ และบา้ นหนองบวั ตงั้ อยใู่ นเขตดงพญาเยน็ (พญาไฟ) มไี ขป้ ่า (มาลาเรยี ) ชกุ
ชุมเป็นท่เี กรงกลวั ของขา้ ราชการยงิ่ นัก จงึ ไดย้ ้ายมาอยู่ทบ่ี ้านสคี ้วิ ซึ่งอยู่นอกเขต ดงพญา
เย็นดงั กล่าวแลว้ เม่อื อ.จนั ทึก ย้ายมาอยู่ท่บี ้านสคี ้วิ ปรากฏว่าประชาชนท่มี าติดต่อราชการมกั
เขา้ ใจขน้ึ รถไฟไปลงทส่ี ถานจี นั ทกึ บ่อย ๆ ทางราชการจงึ ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงช่อื อ.จนั ทกึ เป็น อ.สี
คว้ิ เม่อื วนั ท่ี ๑ เม.ย. พ.ศ.๒๔๘๒ ในสมยั ทน่ี ายชานาญ กระบวน ดารงตาแหน่งนายอาเภอเพ่ือให้
ตรงกบั ช่อื สถานรี ถไฟและช่อื หมูบ่ า้ น ซงึ่ เป็นทต่ี งั้ ของทว่ี า่ การอาเภอ
__________________________________________________________________________

ท่ีมา : สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/chokchai/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา

๖. ประวตั ิอาเภอโชคชยั

ตามหลกั ฐานศลิ ปากรปีท่ี ๑ เลม่ ๒๔๘๘ อกั ขรนุกรมภมู ศิ าสตร์ จ.นครราชสมี า "อาเภอโชค
ชยั " น้เี ดมิ เป็นดา่ นเรยี กวา่ "ดา่ นกระโทก" เมอ่ื ครงั้ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบุรยี กทพั มาต่อสกู้ บั กองทพั
ของหม่นื เทพพพิ ธิ และได้รบั ชยั ชนะ ณ ทแ่ี ห่งน้ี ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั
รชั กาลท่ี ๕ พระองคท์ รงจดั ระเบยี บการปกครองออกเป็นมณฑล ภาคจงั หวดั และไดย้ กฐานะด่าน
กระโทก ขน้ึ เป็นอาเภอกระโทก เมอ่ื พ.ศ.๒๔๔๙ จวบจนถงึ ปี พ.ศ.๒๔๘๘ ทางราชการพจิ ารณา
เหน็ ว่า คาว่า "กระโทก" มสี าเนียงและความหมายไมเ่ หมาะสม และเพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามความหมาย
เชงิ ประวตั ศิ าสตรใ์ นอนั ทจ่ี ะใหอ้ นุชนรุ่นหลงั ไดร้ าลกึ ถงึ ความเป็นมาของสมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบุรี ผู้
ประกอบคุณงามความดใี ห้กบั ประเทศชาติ และทาการรบไดช้ ยั ชนะ ณ ทแ่ี ห่งน้ี จงึ ได้เปล่ยี นนาม
อาเภอใหมว่ ่า "อาเภอโชคชยั "

๓๗

ทม่ี า : สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอจกั ราช จงั หวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/chakkarat/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๗. ประวตั ิอาเภอจกั ราช

อ.จกั ราช ได้รบั การยกฐานะเป็นก่งิ อาเภอเม่อื ปี ๒๔๗๒ เดมิ เรยี กว่า "กิ่งอาเภอท่าชา้ ง"
ขน้ึ อยู่กบั อาเภอเมอื งนครราชสมี า ทว่ี ่าการกิ่งตงั้ อยู่ ณ บ้านท่าช้าง อ.เฉลมิ พระเกยี รตใิ นปัจจุบนั
ต่อมาในปี ๒๔๙๖ จงึ ไดร้ บั การยกฐานะข้นึ เป็นอาเภอ เรยี กว่า "อาเภอจกั ราช" และเป็นหน่ึงใน
หลายอาเภอของจงั หวดั ทม่ี ที างรถไฟสายตะวนั ออกเฉียงเหนอื พาดผ่าน อาเภอน้มี แี หลง่ น้าทส่ี าคญั
คอื ลาน้าจกั ราช ซงึ่ ลอดใตส้ ะพานรถไฟบรเิ วณทศิ ตะวนั ตกของสถานรี ถไฟจกั ราช

ทม่ี า : สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอพมิ าย จงั หวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/phimai/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๘. ประวตั ิอาเภอพิมาย

อ.พมิ าย เป็นอาเภอทม่ี ขี นาดใหญ่อาเภอหน่ึง เดมิ มชี ่อื เรยี กว่า "อาเภอเมอื งพมิ าย" ซง่ึ มี
ฐานะเป็นอาเภอ เม่อื พ.ศ.๒๔๔๓ โดยมีขุนขจติ สารกรรม ตาแหน่งนายอาเภอคนแรก และนาย
วจิ ติ ร สายเช้อื ดารงตาแหน่งนายอาเภอคนปัจจุบนั เม่อื ปี พ.ศ.๒๔๕๔ สมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราฯ
พระบรมราชนิ นี าถ ในรชั กาลท่ี ๕ หรอื สมเดจ็ พนั ปีหลวง ไดเ้ สดจ็ ประพาสเมอื งพมิ าย และไดเ้ สดจ็
พกั ผอ่ นทไ่ี ทรงาม คณะกรมการเมอื งพมิ ายไดพ้ รอ้ มกนั รบั เสดจ็ โดยจดั สถานทป่ี ระทบั ทล่ี าน้าตลาด
ซง่ึ เรยี กวา่ "วงั เก่า" และไดป้ รบั ปรุงถนนสายตา่ ง ๆ ในบรเิ วณทต่ี งั้ อาเภอ ใหส้ ะอาดสวยงามเป็น
จานวนทงั้ สน้ิ ๖ สาย และไดต้ งั้ ชอ่ื ถนนเพอ่ื เป็นการเฉลมิ พระเกยี รติ คอื ถนนจอมสุดาเสดจ็ ถนนวน
ปรางค์ ถนนอนันทจนิ ดา ถนนบูชายนั ต์ ถนนราชชนนี และถนนจวนเก่า ปี พ.ศ.๒๔๕๗ ได้
สร้างท่วี ่าการอาเภอพมิ าย บรเิ วณดา้ นตะวนั ออกเฉียงเหนือด้านใตข้ องปราสาทหนิ พมิ าย และ
ทางราชการไดต้ ดิ คาวา่ "เมอื ง" ออกเมอ่ื ปี พ.ศ.2483 และใหเ้ รยี กว่า "อาเภอพมิ าย" จนถงึ ปัจจบุ นั
_________________________________________________________________________

๓๘

ทม่ี า : สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอดา่ นขนุ ทด จงั หวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/dankhunthot/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๙. ประวตั ิอาเภอด่านขนุ ทด

เร่อื งราวทเ่ี ป็นตานานชาวด่านขุนทด ท่ปี รากฏหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ เป็นลายลกั ษณ์
อกั ษรในพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขาซ่งึ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุ
ภาพทรงนิพนธ์ไว้ไดก้ ล่าวถึงสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชตอนปราบชุมชนต่างๆและปรากฏ
ในการปราบชุมนุมพระเจ้าพมิ ายโดยกล่าวไวว้ ่า "ฝ่ายพระเจา้ พมิ ายได้ทราบขา่ วศกึ จงึ แต่งตงั้ ให้
พระยาวรวงศาธิราช(พระยาน้อย) ยกกองทพั ลงมาตงั้ ค่ายรบั อยู่ ณ ด่านขุนทด ทางหน่ึง และให้
เจ้าพระยาศรสี ุรยิ วงศ์ พระยามนตรี กบั ทงั้ มองญา ยกกองทพั มาตงั้ ค่ายรบั อยู่บ้านจอหอทางหน่งึ "
และ "สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั (พระเจา้ ตากสนิ ) จงึ ดารสั ให้ พระมหามนตรี และพระราชวรนิ ทร์ ยก
กองทพั ไปตที พั พระยาวรวงศาธริ าชซงึ่ ตงั้ ณ ด่านขุนทด นัน้ " จงึ กล่าวไดว้ ่าด่านขนุ ทดมกี าเนดิ มา
ก่อนรชั สมยั ของพระเจา้ ตากสนิ คอ่ นขา้ งแน่ชดั
__________________________________________________________________________

ทม่ี า : สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอโนนสงู จงั หวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย,
https://district.cdd.go.th/nonsung/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๑๐.ประวตั ิอาเภอโนนสงู

อาเภอโนนสูง ซ่ึงเป็นชุมชนท่อี ยู่ทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของตวั เมอื ง จาก
หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ส่ี ามารถสบื ไดน้ ่าเชอ่ื วา่ ชาวอาเภอโนนสงู เป็นชาวทอ้ งถนิ่ ดงั้ เดมิ ทส่ี บื
เน่ืองมาจากยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ เป็นชนชาติท่สี ืบเช้อื สายมาจาก ละว้า และ ขอม เม่อื ได้
สถาปนาเมอื งนครราชสมี าขน้ึ มาแลว้ ประมาณ ๔๔๒ ปี ทางราชการจงึ ไดร้ วบรวมตาบลตา่ ง ๆ
อนั ประกอบดว้ ย ตาบลจนั อดั ตาบลดา่ นคลา้ ตาบลโนนสงู ตาบลขามเฒ่า ตาบลขามสะแกแสง
(ปัจจุบนั เป็นอาเภอขามสะแกแสง) ตาบลโนนวดั ตาบลเสลา (ปัจจุบนั สองตาบลเป็นหมบู่ า้ น
ขน้ึ กบั ตาบลพลสงคราม) ตาบลโตนด ตาบลทองหลาง ตาบลบงิ และตาบลใหม่ยกฐานะเป็นอาเภอ
เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ใช้ช่อื ว่า “อาเภอกลาง” โดยมพี ระยากาธรพายพั ทิศ (ดิษฐ์ โสฬส) เป็น

๓๙

นายอาเภอคนแรก เม่อื ก่อนตาบลต่าง ๆ เหล่าน้ี ขน้ึ กบั ท้องถิน่ อ่นื ๆ เช่น แขวงพมิ าย แขวงบวั
ใหญ่ แขวงจอหอ (ปัจจุบนั เป็นตาบลขน้ึ กบั อาเภอเมอื ง) และแขวงท่าชา้ ง (ปัจจุบนั คอื อาเภอเฉลมิ
พระเกียรต)ิ ทต่ี งั้ ท่วี ่าการอาเภอกลาง อยู่ในเขต ตาบลโนนสงู อยู่บรเิ วณวดั รา้ ง ซ่งึ ปัจจุบนั เป็น
ชุมชนบ้านเพ่ิม สาเหตุทางราชการ ตงั้ ช่อื อาเภอว่าอาเภอกลางนัน้ ก็เพราะว่าเป็นชุมชนท่อี ยู่
กงึ่ กลางระหว่างอาเภอเมอื ง ซง่ึ เป็นเขตชนั้ ในกบั แขวงบวั ใหญ่ (กอ่ ตงั้ อาเภอเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๔๒)

ใน พ.ศ. ๒๔๕๙ พระยากาธรพายพั ทศิ นายอาเภอกลางไดพ้ จิ ารณาเหน็ สถานทต่ี งั้ ท่วี ่า
การอาเภอ ทบั ทว่ี ดั รา้ งอยู่เพ่อื ให้สอดคล้องกบั ช่อื สถานทจ่ี งึ ไดเ้ สนอขอเปลย่ี นช่อื “อาเภอกลาง”
เป็น“อาเภอโนนวดั ” รวมเวลาทใ่ี ชช้ ่อื อาเภอกลาง ๑๙ ปี

ระหว่าง พ.ศ.๒๔๖๐-๒๔๖๑ พระยาบริรกั ษ์นครเขต เป็นนายอาเภอ พิจารณาเห็นว่า
สถานทต่ี งั้ ท่วี ่าการอาเภอไม่เหมาะสม จงึ ไดย้ า้ ยมาจดั ตัง้ ขน้ึ ใหม่ในบรเิ วณท่ตี งั้ ปัจจุบนั (อาคาร
ทว่ี ่าการอาเภออยูต่ รงบรเิ วณสวนป่าหน้าอาคารแผนกทะเบยี นราษฎร)์ โดยก่อสรา้ งเป็นอาคารไม้
๒ ชนั้ หนั มมุ ไปทางทศิ เหนอื และยงั คงใชช้ อ่ื ว่าอาเภอโนนวดั อยตู่ ามเดมิ

เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ทางราชการยกฐานะตาบลโนนสูงขน้ึ เป็นเทศบาลตาบล (ระยะก่อตงั้
เพราะพระราชบัญญัติเทศบาลประกาศใช้ใน พ.ศ. ๒๔๘๗) มี “ขุนเกษมศิมารักษ์” เป็น
นายกเทศมนตรคี นแรก ซง่ึ ในขณะนัน้ เทศบาลมพี น้ื ทบ่ี รกิ ารประมาณ ๕.๐๒๘ ตารางกโิ ลเมตร
ไดข้ ยายเป็น ๑๒.๙๕ ตารางกโิ ลเมตร เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ นายชม วลั
ลภิ ากร เป็นนายอาเภอโนนวดั กระทรวงมหาดไทยไดต้ ราพระราชกฤษฎีกา ปรบั ปรุงเขตการ
ปกครองอาเภอ ตาบล หมู่บา้ นเสยี ใหม่ นายอาเภอ จงึ ไดโ้ อนบางหมู่บา้ นของตาบลทองหลาง ไป
ขน้ึ กบั อาเภอท่าชา้ ง และโอนบางหมู่บ้านไปขน้ึ กบั ตาบลบา้ นโพธิ์ อาเภอจอหอ พรอ้ มกนั นนั้ ให้
ยุบตาบลเสลา และตาบลโนนวดั รวมกนั แล้วตงั้ ข้นึ เป็นตาบลพลสงคราม และไดเ้ ปล่ยี นช่อื “
อาเภอโนนวดั ” เป็นอาเภอ “ โนนสูง ” มาจนถงึ ปัจจุบนั รวมเวลาท่ใี ชช้ ่อื อาเภอโนนวดั ๒๘ ปี
ในขณะทเ่ี ปลย่ี นชอ่ื เป็นอาเภอโนนสงู มเี ขตการปกครอง ๑๑ ตาบล ปัจจบุ นั มตี าบลทต่ี งั้ ขน้ึ ใหม่
ได้แก่ ตาบลดอนชมพู มะค่า ธารปราสาท หลุมขา้ ว ลาคอหงษ์ ลามูล และ ดอนหวาย ส่วน
ตาบลทถ่ี ูกยุบและโอนไป ไดแ้ ก่ เสลา ทองหลาง ขามสะแกแสง

ในอดตี อาเภอโนนสงู เป็นอาเภอทม่ี คี วามเจรญิ สงู สดุ อาเภอหนึ่ง ของจงั หวดั นครราชสมี า
เพราะมที างรถไฟผ่าน ทาให้การคมนาคมขนส่งสนิ ค้าเกษตรกรรม และหตั ถกรรมเป็นไปด้วย
ความสะดวก คนจนี เขา้ มาตงั้ รา้ น (โรงเจก๊ ) คา้ ขายสนิ คา้ มกี ารก่อสรา้ งโรงสไี ฟ (โรงสขี า้ ว) ขน้ึ
ในเทศบาล ๒ โรง ราษฎรนาขา้ วเปลอื ก สนิ คา้ หตั ถกรรม และ ของป่ามาขาย แล้วซ้อื สงิ่ ของท่ี
จาเป็นในการครองชีพจากตลาดออกไป นอกจากนัน้ ราษฎรท่มี ฐี านะดแี ละ เห็นความสาคญั ของ

๔๐

การศกึ ษา ไดส้ ่งบตุ รหลาน เขา้ มาศกึ ษาตอ่ ในระดบั มธั ยมศกึ ษาทโ่ี รงเรยี น “ศรธี านี” อาเภอโนนสงู
จงึ มคี วามเจรญิ ดงั กลา่ ว
__________________________________________________________________________

ท่ีมา : สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย,
https://district.cdd.go.th/buayai/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๑๑.ประวตั ิอาเภอบวั ใหญ่

พ้ืนท่ีอาเภอบัวใหญ่เดิม มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน จากหลักฐานทาง

โบราณสถาน และโบราณวตั ถทุ พ่ี บกระจดั กระจายอยูใ่ นเขตพน้ื ทเ่ี ป็นจานวนมาก อาทิ บอ่ ไก่แกว้

ปรางค์ บา้ นสดี า ทอ่ี าเภอสดี า ปราสาทนางรา ทอ่ี าเภอประทาย ปรางคก์ ู่ทบ่ี า้ นกู่ ต.ดอน

ตะหนิน เคร่อื งภาชนะดนิ เผาพบท่ี บรเิ วณ บ้านบวั ใหญ่ กาไรสาลดิ และไหหนิ พบท่บี รเิ วณบ้าน

จาน เสมาหนิ ทรายทบ่ี า้ นเสมาใหญ่ เทวรูปสารดิ ทข่ี ุดพบจากพ้นื ทห่ี ลายแห่ง ภาชนะดนิ เผาบรรจุ

กระดูก ฝังเรยี งรายทบั ซอ้ นลงไปเป็นชนั้ ๆ เป็นจานวนมาก ซ่ึงเคยขดุ พบทบ่ี า้ นหนองไอแ้ หนบ

บ้านหญ้าคา และหลงั สุดขุดพบไหหรือหม้อดนิ เผาท่บี รรจุกระดูกเป็นจานวนมากท่เี นินดินท้าย

หมู่บา้ นกระเบอ้ื ง เม่อื พ.ศ.๒๔๕๔ ซง่ึ มภี าชนะบรรจกุ ระดกู นับพนั ไห เจา้ หนา้ ทท่ี ด่ี าเนิน การขาด

ของทางราชการ ให้ขอ้ มูลเบ้อื งตน้ ว่าน่าจะมอี ายรุ าว ๑,๕๐๐ ปี เป็นประเพณีฝังศพครงั้ ท่สี อง โดย

ครงั้ แรกจะนาศพไปฝังก่อน ภายหลังจะทาการขุดศพมาทาพิธกี รรมอีกครงั้ หนึ่ง แล้วจงึ นาโครง

กระดูกบรรจลุ ง หม้อดนิ เผาฝังบรรจุในสสุ าน หลกั ฐานทงั้ หลายเหล่าน้ที าใหน้ ่าเชอ่ื ว่าพน้ื ทอ่ี าเภอ

บวั ใหญ่เป็นท่ตี งั้ ถ่นิ ฐาน อยู่อาศยั ของมนุษยม์ าตงั้ แต่ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ มอี ายุไม่น้อยกวา่

๔,๐๐๐ ปีมาแลว้ ร่องรอยทางประวตั ศิ าสตรเ์ หลา่ น้คี อื แหล่งความรูท้ ท่ี าให้ประชาชนอาเภอบวั ใหญ่

ในปัจจุบนั สืบสานรบั วฒั นธรรมเหล่านัน้ มาเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีถ่ายทอดมาจนถึงยุค

ปัจจบุ นั

ในยุครตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๓ ราว พ.ศ. ๒๓๙๐ ในสมยั พระกาแหงสงคราม(แกว้ ) เป็นเจา้

เมอื งนครราชสมี า ได้ตงั้ ด่านเพ่อื ระวงั ศตั รูตรวจตรารกั ษาความสงบ และทาหนา้ ทเ่ี กบ็ สว่ ยสาอากร

(ภาษ)ี มดี ่านทองหลาง ด่านชวน ด่านจาก ด่านกระโทก ด่านขุนทด โดยเฉพาะ “ด่านนอก” เป็น

ดา่ นนอกสุดของเมอื งนครราชสมี า เพ่อื ดูแลเขตชายเมอื ง “ด่านนอก” ซง่ึ เป็นด่านสดุ ทา้ ยทอ่ี ยใู่ นเขต

พระราชอาณาจกั ร ส่วนหวั เมอื งอ่นื ๆ ถดั ขน้ึ ไปทางเหนือนัน้ ถือเป็นเมอื งประเทศราชข้นึ ต่อแขวง

นครเวยี งจนั ทร์

๔๑

ท่ที าการของ “ด่านนอก” ตงั้ อยู่ทบ่ี า้ นทองหลางใหญ่ บนเนินดนิ รมิ หว้ ยกระเบ้อื ง หลกั ดา่ น
ดา้ นเหนอื สดุ ของดา่ นนอก อยูท่ ร่ี มิ หว้ ยเอก ทห่ี มู่บา้ นหลกั ด่าน

พ.ศ. ๒๔๑๗ เกิดศึกฮ่อเขา้ มารุกรานเมอื งหนองคาย ทุกหวั เมอื งระดมกาลังป้องกนั เขต
เมอื งของตน เมอื งนครราชสมี าไดส้ ง่ “ขนุ ณรงค”์ คุมกาลงั พลจาก “ดา่ นชวน” มารกั ษาการณ์ท่ี “ดา่ น
นอก” นับเป็นนายด่านคนสุดทา้ ย
__________________________________________________________________________
ท่ีมา : สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย, https://district.cdd.go.th/khonburi/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๑๒. ประวตั ิอาเภอครบรุ ี

ครบุรี เป็นอาเภอหน่ึงทางตอนใต้ของจงั หวดั นครราชสมี า อยู่ห่างจากตวั จงั หวดั
นครราชสมี าประมาณ ๕๘ กโิ ลเมตร พน้ื ทท่ี างตอนใตข้ องครบุรอี ย่ใู นเขตอทุ ยานแหง่ ชาตทิ บั ลาน ท่ี
ไดร้ บั การประกาศให้เป็น "มรดกโลกทางธรรมชาติ" จากองคก์ ารยูเนสโก ภายใต้ช่อื กลุ่ม ดงพญา
เย็น-เขาใหญ่ และยงั เป็นพ้นื ท่ตี ้นน้า สายสาคญั ของ แม่น้ามูล ซ่ึงเป็นแม่น้าสายหลกั ของภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื

ประวตั ิศาสตร์
อาเภอครบุรี เดมิ มฐี านะเป็นกงิ่ อาเภอ อยู่ในเขตการปกครองของอาเภอกระโทก หรอื

อาเภอ โชคชยั ในปัจจบุ นั โดยไดร้ บั การยกฐานะเป็นกงิ่ อาเภอ ในปีพุทธศกั ราช 2450 ซง่ึ ขณะนนั้
มเี ขตการปกครอง รวม ๓ ตาบล ได้แก่ ตาบลแซะ ตาบลจระเขห้ นิ และตาบลสระตะเคยี น เรยี กว่า
"กง่ิ อาเภอแชะ" เน่อื งจาก ทต่ี งั้ ของทว่ี ่าการอาเภอ อย่ใู นเขตหมบู่ า้ นแชะ ตาบลแชะ

ต่อมาในปี พุทธศักราช ๒๔๘๒ ได้รับการยกฐานะข้ึนเป็นอาเภอ และได้ช่ือว่า
"อาเภอครบุร"ี โดยรวมพ้นื ท่กี ่ิงอาเภอแชะเดมิ กบั ตาบลครบุรที ่แี ยกมาจากก่ิงอาเภอสะแกราช
เน่ืองจากกิ่งอาเภอสะแกราช ถูกยุบให้ไปรวมกบั อาเภอปักธงชยั สาหรบั คาว่า"แชะ"เป็นภาษา
พ้นื เมอื ง ส่วนภาษาไทยคอื คาว่า "แฉะ" ซึง่ แปลว่า เปียก หรอื ชุ่มน้าอยู่เสมอ จากการบอกเล่าของ
ผู้สูงอายุในหมู่บ้านต่างๆ ได้รบั การบอกเล่าว่า การท่ไี ด้ช่อื ว่า "บ้านแชะ" นัน้ มาจากสภาพของ
หมู่บ้านซง่ึ เป็นทต่ี ่าและมโี คลนตมอยู่ทวั่ ไป ชาวบา้ นจงึ เรยี กว่า "บ้านแชะ" คาว่า "ครบุร"ี กร่อน
มาจากคาว่า สาครบุรี ซง่ึ แปลว่า เมอื งต้นน้า หรอื เมอื งสายน้า เพราะมแี ควน้าน้อยใหญ่หลายสาย
จงึ เรยี กว่า "เมอื งสาครบุร"ี ต่อมาคาว่า "สา" กล่อนหายไปเหลอื เพยี งคาว่า "ครบุร"ี มาตราบจนทกุ
วนั น้ี

๔๒

เลา่ ขานประวตั ิศาสตร์
นครราชสีมาผ่านนามสกลุ คนโคราช

“ประวตั ิอาเภอเมอื ง”

๔๓

นามสกลุ ชาวโคราช

คนไทยมนี ามสกลุ ครงั้ แรกในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 6 ทรง

พระกรุณาโปรดเกลา้ ให้ตราพระราชบญั ญตั ิ ขนานนามสกุลขน้ึ เม่อื วนั ท่ี 22 มนี าคม พุทธศกั ราช

2445 ชาวโคราช ส่วนใหญ่นิยมตงั้ นามสกุลตามภูมลิ าเนา ทเ่ี กิดหรอื ท่อี ยู่อาศยั หรอื ใช้ช่ือตาบล

อาเภอ หรอื หม่บู า้ น มาเป็นสว่ นทา้ ยของนามสกลุ เชน่ งามกระโทก ซงึ่ คาวา่ กระโทก ทอ่ี ยู่

ทา้ ยนนั้ บอกใหร้ วู้ ่าผมู้ นี ามสกลุ เชน่ น้ี คอื คนทภ่ี มู ลิ าเนาอยอู่ าเภอโชคชยั ทเ่ี ดมิ เรยี กวา่ กระโทก

ซง่ึ ลกั ษณะการตงั้ นามสกุลแบบน้ี ได้เผยแพร่ไปยงั เมอื งชยั ภูมแิ ละบุรรี มั ยด์ ว้ ย เน่ืองจากเคยเป็น

สว่ นหน่ึงในมณฑลนครราชสมี า พุทธศกั ราช 2436-2476

๒๐ นามสกลุ ยอดนิยมของคนไทย

1. ปลงั่ กลาง 5,976 คน
2. กลา้ หาญ 4,543 คน
3. ทศิ กระโทก 3,685 คน
4. ภูมโิ คกรกั ษ์ 3,271 คน
5. นาดี 2,648 คน
6. การบรรจง 2,553 คน
7. ด่านกระโทก 2,505 คน
8. เจรญิ สขุ 2,442 คน
9. ปราณีตพลกรงั 2,329 คน
10. บุญมา 2,236 คน
11. ศรจี นั ทร์ 2,167 คน
12. จอดนอก 2,155 คน
13. เจมิ ขนุ ทด 2,112 คน
14. เพยี ซา้ ย 2,056 คน
15. ประจติ ร 2,041 คน
16. สนี อก 2,028 คน
17. โพธนิ์ อก 2,012 คน
18. ทองดนี อก 2,005 คน

๔๔

19. พลจนั ทกึ 1,980 คน
20. พริ กั ษา 1,929 คน

คาลงท้ายของนามสกลุ ของคนโคราชในอาเภอต่างๆ

อาเภอเมือง คาลงทา้ ย ในเมอื ง โพธกิ์ ลาง ทะเล (ตาบลหวั ทะเล) มะเรงิ พุดซา พลกรงั ปรุ
(ตะบลปรุใหญ่) ใหม่ โคกสงู จอหอ โพธิ์ (ตาบลโพธกิ์ ลาง) โคกกรวด เกาะ (ตาบลบ้านเกาะ) หมน่ื
ไวย พะเนาว์ จะบก (ตาบลหนองจะบก)

อาเภอปักธงชยั คาลงทา้ ย เมอื งปัก ตะคุ ตะขบ ฉิมพลี (ตาบลง้วิ ) พรหมราช (ตาบลตูม)
กงิ่ (ตาบลสะแกราช) ดอน สาโรง จะโป๊ ะ ผกั แว่น (บา้ นหนองผกั แวน่ ) จงั หรดี

อาเภอโนนไทย คาลงทา้ ย สนั เทยี ะ คา้ งพลู พงั เทยี ม ด่านจาก สายยอ ลาพงั พนั ดุง

อาเภอสูงเนิน ลงทา้ ยดว้ ยคาวา่ สงู เนนิ ทงั้ หมด

อาเภอสีคิ้ว เดมิ เป็นตาบลหนงึ่ ของอาเภอจนั ทกึ หรอื เมอื งจนั ทกึ นามสกลุ จงึ ลงทา้ ยดว้ ยวา่
"จนั ทกึ " นามสกุลน้แี พร่ไปถงึ อาเภอปากช่อง ซง่ึ เป็นหมบู่ า้ นหน่ึงของอาเภอจนั ทกึ และมใี นบางส่วน
ของอาเภอสงู เนนิ เพราะมพี น้ื ทต่ี ดิ ตอ่ กนั

อาเภอโชคชยั เดมิ ช่อื อาเภอกระโทก ส่วนทา้ ยของนามสกุลจงึ ลงทา้ ยวา่ "กระโทก"

อาเภอจกั ราช - เฉลิมพระเกียรติ คาลงทา้ ย ทองหลาง หนองงเู หลอื ม สสี กุ

อาเภอพิมาย – ชุมพวง - โนนแดง คาลงทา้ ย พมิ าย และ คา้

อาเภอดา่ นขนุ ทด คาลงทา้ ย ขุนทด ชนะ โคกรกั ษ์ กุดพมิ าน พนั ชนะ

๔๕

อาเภอสูงเนิน - ขามสะแกแสง - คง เดมิ เรยี กวา่ "อาเภอกลาง ดงั น้จี งึ มคี าลงทา้ ยนามสกลุ
วา่ " กลาง" และตาบลจดั อดั ใช"้ จนั อดั " อกี ดว้ ย

อาเภอบวั ใหญ่ – สีดา – บวั ลาย - บา้ นเหลือ่ ม เดมิ เรยี กอาเภอน้วี า่ "นอก" คาลงทา้ ยจงึ ใช้
คาว่า "นอก"

อาเภอครบุรี คาลงทา้ ย ครบรุ ี

ส่วนนามสกลุ ท่ีอย่ตู อนต้น อาจไดม้ าโดยวิธีต่างๆดงั นี้

๑. นาช่อื ป่ยู ่าตายาย หรอื พ่อแม่มาตงั้ เป็นสว่ นตน้ แลว้ ต่อดว้ ยช่อื หม่บู า้ นตาบลหรอื อาเภอ
เช่น ป่ชู ่อื พรมบา้ นอย่พู ะเนาว์ จะไดน้ ามสกลุ วา่ พรมพะเนาว์

๒. ตงั้ จากกริ ยิ าอาการของบุคคลทจ่ี ะขอนามสกลุ เชน่ เดนิ กางรม่ เขา้ ไปหาเจา้ นาย ผอู้ อก
ใบสาคญั ใหต้ งั้ นามสกลุ ภูมลิ าเนาอยู่บา้ นสงู เนิน เจา้ หน้าทก่ี จ็ ะตงั้ นามสกุลใหว้ ่า ร่มสงู เนนิ

๓. ตงั้ ตามลกั ษณะเฉพาะ หรอื เอกลกั ษณ์ประจาตวั ของผทู้ ่จี ะขอนามสกุล เช่น นายจนั ทร์
ไปไหนชอบถือจอบ จนชาวบ้านเรียกทงั้ ช่อื ตัวและลักษณะประจาตัวว่า จนั ทร์จอบ เม่ือไปขอ
นามสกุล เจา้ หนา้ ทท่ี ราบว่าอยูโ่ พธกิ์ ลาง กจ็ ะไดน้ ามสกลุ ว่า จอบโพธกิ์ ลาง

๔. ตงั้ ตามใจเจ้าหนา้ ท่ี เช่น เจ้าหน้าทค่ี ดิ ถึงตน้ ไม้ กจ็ ะนาส่วนต่างๆของต้นไมม้ าตงั้ เช่น
กิ่ง ใบ ดอก ผล ราก มาตงั้ เป็นส่วนตน้ ของนามสกลุ ต่อทา้ ยดว้ ยถ่ินท่อี ยลู่ งไป เช่น กง่ิ กระโทก ใบ
กลาง ดอกจนั ทกึ ผลสนั เทยี ะ รากพุดซา เป็นตน้

๔๖

เล่าขานประวตั ิศาสตร์
นครราชสีมาผา่ นนามสกลุ คนโคราช

“ประวตั ิอาเภอโนนไทย”

๔๗

นามสกลุ พรมสนั เทียะ
ตา....................... อายุ 81 ปี พ่อช่อื เพกิ แม่ช่อื เอ้ยี ง ตา มพี น่ี ้อง 3 คน ตายแลว้ 1 คน

เหลอื อยู่ 2 คน ใชน้ ามสกลุ พอ่ เพกิ นามสกลุ มาจากไหนไมท่ ราบ ตาเพกิ อาศยั อยูบ่ า้ นตะครอ้
มอี าชพี ทานา ทาไร่ นามสกุลทใ่ี ชม้ าแต่ดงั่ เดมิ มคี วามชอบและภาคภูมใิ จในนามสกลุ ในหมูบ่ า้ นน้ี
มคี นใชน้ ามสกุล

นามสกลุ ย้ีสนั เทียะ
เป็นนามสกุลของพ่อ มพี น่ี ้องทงั้ หมด 9 คน ตาย 7 คน เหลอื 2 คน พ่อจนั ทร์ แม่อ่มื พ่อ

จนั ทร์ มพี น่ี ้อง 4 คน เป็นผชู้ าย 2 หญงิ 2 คน ผชู้ ายมพี อ่ กลา้ หา กบั พอ่ จนั ทร์


Click to View FlipBook Version