ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบความรู้ / ใบงาน
แผนการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
ภาคเรียนท่ี ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๔
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอห้วยเมก็
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
จังหวดั กาฬสินธ์ุ
สานักงานส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบความรู้ท่ี ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
“อาชีพมนั่ คง”
เรื่อง ศักยภาพธุรกจิ
การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การประกอบอาชีพท่ีมีการพฒั นาสินคา้ หรือผลิตภณั ฑใ์ ห้ตรงกบั ความตอ้ งการ
ของลูกคา้ อยตู่ ลอดเวลา โดยมีส่วนครองตลาดไดต้ ามตอ้ งการของผผู้ ลิตแสดงถึงความมน่ั คงในอาชีพ
การพฒั นาอาชีพเพื่อความเข้มแข็ง มีความจาเป็นและสาคญั คือ
1. ทาใหอ้ าชีพท่ีประกอบการเจริญกา้ วหนา้ ข้ึน เขม้ แขง็ พ่ึงตนเองได้
2. ทาผปู้ ระกอบการพฒั นาตนเองไม่ลา้ สมยั
3. ช่วยใหส้ ร้างภาพลกั ษณ์ที่ดีใหก้ บั ตนเองและกิจการหรือองคก์ ร
4. ทาใหอ้ งคก์ รดึงบุคลากรท่ีมีความสามารถสูงเขา้ มาทางานไดม้ ากข้นึ
5. เป็นการรับประกนั บคุ คลมีความสามารถทางานอยกู่ บั องคก์ รตอ่ ไป
การวเิ คราะห์ศักยภาพธุรกจิ
ศักยภาพ คือ ความสามารถภายในร่างกายท่ีซ่อนเร้น และยงั ไม่ถูกนามาใช้ในการพัฒนาธุรกิจหรือ
ดาเนินการในสิ่งต่างๆ
การพฒั นา คือ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งมีกระบวนการโดยมีจุดมุ่งหมายกาหนดไว้
การพัฒนาศักยภาพ คือ การนาเอาความสามารถที่ซ่อนเร้นภายในมาใช้ประโยชน์อย่างมีกระบวนการ
เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลงานเกิดประสิทธิภาพท่ีดีที่สุด
การวิเคราะห์ คือ การแยกแยะส่ิงที่จะพิจารณาออกเป็ นส่วนย่อย ท่ีมีความสัมพันธ์กัน รวมถึงสืบค้น
ความสมั พนั ธ์ส่วนยอ่ ยเหลา่ น้นั
การวิเคราะห์ศักยภาพธุรกิจ คือ การแยกแยะส่วนย่อยของความสามารถท่ีซ่อนเร้นใยตัวตนนามาใช้
ประโยชน์อยา่ งมีกระบวนการ เพื่อผลงานท่ีดีท่ีสุด
คณุ ค่าและความจาเป็ นของการวเิ คราะห์ศักยภาพธุรกจิ
1. ผปู้ ระกอบการรู้จกั ตวั เอง, คู่แข่งขนั
2. ผปู้ ระกอบการสามารถวางกลยทุ ธ์ทางธุรกิจไดห้ ลายระดบั และแบ่งแยกหนา้ ที่ไดช้ ดั เจน
เหมาะสมกบั ความถนดั
3. ผปู้ ระกอบการสามารถมองหาลู่ทางการลงทุนไดด้ ีข้ึน
ตัวอย่างการวเิ คราะห์ศักยภาพธุรกจิ
คณุ พงษศ์ กั ด์ิ ชยั ศิริ เจา้ ของร้านเฟอร์นิเจอร์เครื่องเรือนไม้
1. มีใจรักดา้ นการคา้ เฟอร์นิเจอร์ ชอบบริการงานดา้ นการขาย
2. มีมนุษยส์ มั พนั ธ์ที่ดี ยมิ้ แยม้ แจ่มใส เป็นกนั เอง อ่อนนอ้ มถอ่ มตน
3. มีความซ่ือสตั ยต์ ่อลกู คา้ ขายสินคา้ เหมาะสมกบั ราคา ไม่เอาเปรียบลูกคา้
4. มีความรู้ดา้ นเฟอร์นิเจอร์เคร่ืองเรือนไมเ้ ป็นอยา่ งดี
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
5. ทาเลที่ต้งั ร้านมีความเหมาะสม
6. มีเงินทุนหมุนเวยี นคล่องตวั
7. มีส่วนแบง่ ตลาดในทอ้ งถ่ินประมาณ 30%
8. ลูกคา้ ส่วนใหญ่อาชีพพนกั งานบริษทั ขา้ ราชการ ระดบั รายไดป้ านกลาง ในหมบู่ า้ นจดั สรรบริเวณ
ใกลเ้ คยี งประมาณ 7 หมู่บา้ นแถบชานเมือง
9. ในทอ้ งถ่ินมีผปู้ ระกอบกิจการคา้ เฟอร์นิเจอร์ไมเ้ ช่นเดียวกนั 3 ราย
10. ทิศทางในอาชีพน้ี ยงั มีอนาคตอีกยาวไกลจะมีจานวนหม่บู า้ นจดั สรรเพิม่ ข้นึ ในแถบน้ีอีก
ประมาณ 5 หมูบ่ า้ น
จะเห็นไดว้ า่ การวเิ คราะห์ศกั ยภาพมีความสาคญั และจาเป็นตอ่ การพฒั นาอาชีพใหเ้ ขม้ แข็งมาก หาก
ไดว้ ิเคราะห์แยกแยะศกั ยภาพของตนเองอยา่ งรอบดา้ น ปัจจยั ภายในตวั ตนผปู้ ระกอบการ ปัจจยั ภายนอกของ
ผปู้ ระกอบการ โอกาสและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจการคา้ ยง่ิ วิเคราะห์ไดม้ ากและถูกตอ้ งแม่นยามาก
จะทาใหผ้ ปู้ ระกอบการรู้จกั ตนเอง อาชีพของตนเองไดด้ ียิ่งข้ึนเหมือนคากลา่ ว รู้เขา รู้เรา รบร้อยคร้ัง ชนะท้งั
ร้อยคร้ัง
การวิเคราะห์ตาแหน่งธุรกจิ
ตาแหน่งธุรกิจ หมายถึง ระยะเวลาในช่วงการประกอบอาชีพหรือธุรกิจของผูป้ ระกอบการแต่ละระดับ
ข้นั ตอนของการดาเนินกิจการ โดยทวั่ ไปแบ่งระยะดงั น้ี
1. ระยะเร่ิมตน้
2. ระยะสร้างตวั
3. ระยะทรงตวั
4. ระยะตกต่าหรือสูงข้ึน
ซ่ึงจะอธิบายเป็นรูปแบบกราฟดงั น้ี
มูลค่าธุรกิจ 4.1 ธุรกิจกา้ วหนา้ จะมีผคู้ นเขา้ มาเรียนรู้
ทาตาม ทาให้เกิดวกิ ฤตส่วนแบ่งทาง
การตลาด
กราฟวิเคราะห์ตาแหน่งวงจรธุรกจิ
4.2 ถา้ ไมม่ ีการพฒั นาธุรกิจจะเป็นขาลง
จาเป็นตอ้ งขยายขอบข่าย จึงมคี วาม
ตอ้ งการใชน้ วตั กรรมเทคโนโลยเี ขา้ มาใช้
1. ระยะเร่ิมต้น 2. ระยะสร้างตวั 3.ระยะทรงตวั เวลา
4. ระยะสูงขนึ้ หรือตกต่า
1. เป็นระยะที่อาชีพหรือ ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
ธุรกิจอยใู่ นระยะฟักตวั ของ กศน.อาเภอห้วยเมก็
การเขา้ สู่อาชีพ
2- 3 ธุรกิจอยใู่ นช่วงพฒั นาขยายตวั หรือ
ยงั ทรงตวั จะมีคนจบั ตามองและพร้อมทา
ตาม
(เริ่มมีคู่แข่งขนั )
กราฟวิเคราะห์ตาแหน่งวงจรธุรกจิ
1 ระยะเร่ิมต้น เป็นระยะที่อาชีพหรือธุรกิจอยใู่ นระยะฟักตวั ของการเขา้ สู่อาชีพ
2 – 3 ระยะสร้างตัว และระยะทรงตัว ธุรกิจอยู่ในช่วงพฒั นาขยายตวั หรือยงั ทรงตวั อยู่จะมีคนจบั ตาและ
พร้อมทาตาม (เร่ิมมีคูแ่ ข่งขนั ทางการคา้ )
4 ระยะตกตา่ หรือสูงขึน้
4.1 เม่ือธุรกิจกา้ วหนา้ จะมีผคู้ นเขา้ มาเรียนรู้ ทาตาม ทาใหเ้ กิดวิกฤติส่วนแบ่งทางการตลาด
4.2 ถา้ ไม่มีการพฒั นาธุรกิจจะเป็ นขาลง จาเป็ นตอ้ งขยายขอบข่ายจึงมีความตอ้ งการใช้นวตั กรรม
เทคโนโลยีเขา้ ใช้งาน ผปู้ ระกอบการตอ้ งมีการวิเคราะห์ตาแหน่งธุรกิจในอาชีพหรือกิจการของตนให้ไดว้ ่า
อยู่ในช่วงระยะใด กาลงั ขยายตวั ทรงตวั หรือเป็ นขาข้ึนและหรือขาลง ซ่ึงในใบความรู้ต่อไปจะเป็ นการ
วิเคราะห์มุมมองกิจการผลประกอบการกาไร – ขาดทุนแต่ละระยะเวลาในการดาเนินธุรกิจที่ต่อเน่ืองกนั ทา
ให้เราไดท้ ราบว่า ขณะน้ีเราจดั อยใู่ นช่วงไหนในการวิเคราะห์จดั ตาแหน่งธุรกิจ ระยะทรงตวั ขาข้ึนหรือขา
ลง
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ใบงานท่ี ๒
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
“อาชีพมัน่ คง”
ชื่อ – สกลุ ......................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
คาส่ัง จงตอบคาถามต่อไปน้ี
๑. การพฒั นาอาชีพ หมายถึง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๒. ความมน่ั คง หมายถึง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๓. ความสาคญั และความจาเป็นของการพฒั นาอาชีพ มีอะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๔. ศกั ยภาพของธุรกิจหมายถึง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
๕. ความจาเป็นท่ีจะตอ้ งวิเคราะห์ศกั ยภาพของธุรกิจ อะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๖. ศกั ยภาพในอาชีพ หมายถึง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๗. ปัจจยั นาเขา้ เพือ่ การขยายอาชีพในแต่ละปัจจยั จะมีตวั แปรร่วม อะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๘. การจดั องคป์ ระกอบพฒั นาอาชีพ มีปัจจยั และตวั แปร อะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๙. การระบุปัจจยั และองคป์ ระกอบท่ีมีและไมม่ ีศกั ยภาพ มขี ้นั ตอนอะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบความรู้ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
“อาชีพมน่ั คง”
เร่ือง การจดั ทาแผนพฒั นาการตลาด
ความหมายของการตลาด
สมาคมการตลาดแห่งสหรัฐอเมริกา ไดใ้ หค้ าจากดั ของคาว่า" Marketing"ไวด้ งั น้ี
การตลาด คือ การกระทากิจกรรมต่างๆ ในทางธุรกิจท่ีมีผลให้เกิดการนาสินคา้ หรือบริการจากผผู้ ลิต
ไปสู่ผบู้ ริโภคหรือผใู้ ชบ้ ริการน้นั ๆ ใหไ้ ดร้ ับความพงึ พอใจ ขณะเดียวกนั ก็บรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องกิจการ
องคป์ ระกอบของการตลาด
1.มีส่ิงที่จะโอนเปล่ียนกรรมสิทธ์ิ คือ สินคา้ หรือบริการ
2.มีตลาด คอื ผชู้ ้ือที่ตอ้ งการซ้ือสินคา้ หรือบริการ
3.มีผขู้ ายสินคา้ หรือบริการ
4.มีการแลกเปลี่ยน
ตลาดตามความหมายของบุคคลทว่ั ไป
ตลาด หมายถึง สถานที่ ที่เป็นศูนยก์ ลางในการแลกเปลี่ยน สถานท่ีผซู้ ้ือผขู้ ายจะไปตกลงซ้ือขายสินคา้
กนั
ตลาดตามความหมายของนกั ธุรกิจหรือนกั การตลาด
ตลาด คือ บุคคล หน่วยงาน องคก์ รที่มีความคิดท่ีจะซ้ือสินคา้ มีอานาจซ้ือ และมีความเต็มใจท่ีจะซ้ือ
สินคา้ หรือบริการ
ความสาคัญของการตลาด
การตลาดมีบทบาทสาคญั ต่อการพฒั นาคุณภาพชีวิต และยกระดบั ความเป็ นอยู่ของมนุษย์ ใน
สังคม ทาใหเ้ กิดการพ่งึ พาอาศยั กนั อยา่ งเป็นระบบในสังคมมนุษยแ์ ต่ละคน สามารถประกอบ อาชีพที่ ตนเอง
ถนดั และไดใ้ ชค้ วามรู้ความสามารถของแตล่ ะบุคคลได้ อยา่ งเตม็ กาลงั ความสามารถ และการตลาดมีบทบาท
อย่างใหญ่หลวงต่อความเจริญเติบโต และพฒั นาการทางเศรษฐกิจของ ประเทศ เนื่องจากการตลาดเป็ น
ตวั กระตุน้ ให้เกิดการวิจยั และพฒั นาหาสิ่งแปลกใหม่ มาสนองความ ตอ้ งการของตลาดและสังคม ทาให้
ผูบ้ ริโภคมีโอกาส เลือกใช้ผลิตภณั ฑ์ที่ต้องการได้หลายทางและ ผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการ สร้างความพึงพอใจให้แก่ผูบ้ ริโภค จึงมีผลทาให้เกิด การจา้ งงาน เกิดรายไดก้ บั แรงงาน และธุรกิจ
ทาให้ประชาชน มีกาลงั การซ้ือ และสามารถสนอง ความตอ้ งการในการบริโภค ซ่ึงทาให้ มาตรฐาน การ
ครองชีพของบคุ คล ในสังคมมีระดบั สูงข้นึ และมีคุณภาพชีวติ ท่ีดีข้นึ ความสาคญั ของการตลาดอาจกลา่ วได้
ดงั น้ี
1. การตลาดเป็ นเคร่ืองมือที่ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยน การดาเนินการตลาดของธุรกิจจะทาให้
ผผู้ ลิตกบั ผูบ้ ริโภคเขา้ มาใกลก้ นั และสร้างความพึงพอใจ ให้กบั ผูบ้ ริโภคดว้ ยการเสนอผลิตภณั ฑ์ ท่ีตรงต่อ
ความตอ้ งการของผบู้ ริโภค จนทาใหเ้ กิดการ แลกเปล่ียนในระดบั ผซู้ ้ือและผขู้ ายเกิดความพงึ พอใจ การตลาด
ยงั ไม่ไดเ้ ป็ นเพียง เคร่ืองมือทาให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเท่าน้นั แต่ยงั เป็นเครื่องมือที่สร้างความพึงพอใจให้กบั
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ผบู้ ริโภคอยา่ งต่อเน่ือง ทาใหผ้ บู้ ริโภคเกิดความซื่อสตั ยภ์ กั ดีต่อผลิตภณั ฑ์ ทาใหผ้ บู้ ริโภคกลบั มาใช้ หรือซ่ือ
ซ้าเมื่อมี ความตอ้ งการ
2. การตลาดเป็นตวั เชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเจา้ ของผลิตภณั ฑก์ บั ผบู้ ริโภค การดาเนินการ
ทางการตลาดทาให้ผูเ้ ป็ นเจา้ ของผลิตภณั ฑ์สามารถตอบสนองและสร้างความ พึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริโภคได้
ด้วยการเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ให้สอดคลอ้ งกบั ภาวการณ์ สถานภาพ ของผูบ้ ริโภคด้วยการจดั จาหน่าย
ผลิตภณั ฑ์ในปริมาณ ในเวลา ในสถานท่ีที่ผูบ้ ริโภคตอ้ งการ ในราคา ท่ีผูบ้ ริโภคมีกาลงั การซ้ือ และโอน
ความเป็ นเจา้ ของได้ การเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ผเู้ ป็นเจา้ ของผลิตภณั ฑ์กบั ผบู้ ริโภค นอกจากจะ
ดาเนินการในหนา้ ทางการตลาด ให้เกิดการเช่ือมโยงสัมพนั ธ์กนั ในเรื่องดงั กล่าว สิ่งท่ีสาคญั จะตอ้ งกระทา
อีกประการหน่ึงก็คือ การสร้างการรับรู้ใหก้ บั ผบู้ ริโภคในกิจกรรมดงั กลา่ ว
3. การตลาดเป็นตวั ผลกั ดนั ให้มีการพฒั นาปรับปรุงผลิตภณั ฑ์ ดว้ ยแนวคดิ ของการตลาด ใน
การมงุ่ สนองความตอ้ งการและสร้างความพึงพอใจใหก้ บั ผบู้ ริโภค และรับผิดชอบต่อสังคม ผลกั ดนั ให้ผลิต
ตอ้ งพฒั นาปรับปรุงผลิตภณั ฑใ์ หต้ รงต่อความตอ้ งการ และสร้างความพึงพอใจใหก้ บั ผบู้ ริโภค ตลอดจนจูง
ใจผูบ้ ริโภคดว้ ยการเสนอผลิตภณั ฑ์ใหม่ ๆ อยู่เสมอ และการตลาดระบบการตลาดเสรี ซ่ึงมีการแข่งขนั กนั
มากในการสร้าง ความพึงพอใจ และจูงใจผบู้ ริโภค จึงย่ิงเป็นแรงผลกั ดนั ใหม้ ีการพฒั นาปรับปรุง ผลิตภณั ฑ์
เพือ่ การแขง่ ขนั ในตลาดเสรี
4. การตลาดเป็นกลไกในการเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจ ดว้ ยการก่อให้เกิดการบริโภคและการ
พ่ึงพากนั อย่างเป็ นระบบมีความเชื่อมโยงสัมพนั ธ์กบั ระบบเศรษฐกิจท้งั ระบบ การสร้างความตอ้ งการและ
การสนองความตอ้ งการในการบริโภค ผลิตภณั ฑ์ทาให้เกิดการไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ คือเกิดการจา้ ง
งาน เกิดรายได้ เกิดการบริโภค และเกิดการใช้แรงงาน ซ่ึ งจะมีการพ่ึงพากันและเช่ือมโยงไหลเวียน
ตามลาดบั อยา่ งเป็ นระบบ ผลจะทาให้การดารงชีวิต ของมนุษยชาติในสังคมอย่ใู นระดบั ท่ีมีการกินดีอยูด่ ี มี
ความเป็นอยู่ อยา่ งเป็นสุขโดยทวั่ กนั
ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ก า ร ต ล า ด อ า จ จ า แ น ก ใ ห้ เห็ น ชัด เจ น ยิ่ ง ข้ึ น โ ด ย พิ จ า ร ณ า จ าก ก า ร ต ล า ด มี
ความสาคญั ต่อสงั คมและบุคคลดงั น้ี
1. ยกระดบั มาตรฐานความเป็นอยขู่ องบคุ คลในสังคมใหส้ ูงข้นึ
2. ทาใหพ้ ฤติกรรม อปุ นิสยั ความเชื่อ ค่านิยมและลกั ษณะการดารงชีพของบุคคล ในสงั คมเปลี่ยนไป
3. เกิดอาชีพต่าง ๆ แก่บุคคลในสังคมเพมิ่ มากข้ึน
นอกจากความสาคญั ต่อบคุ คลและสังคมแลว้ การตลาดยงั มีความสาคญั ต่อระบบ เศรษฐกิจโดยตรงดงั น้ี
1. ช่วยใหร้ ายไดป้ ระชากรสูงข้ึน
2. ทาใหเ้ กิดการหมุนเวียนของปัจจยั การผลิต
3. ช่วยสร้างความตอ้ งการในสินคา้ และบริการ
4. ทาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงและการพฒั นาของเศรษฐกิจ
5. ใหเ้ กิดการคา้ ระหวา่ งประเทศ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ประโยชน์ของกิจกรรมทางการตลาด
(1) อรรถประโยชน์ดา้ นรูปแบบ (Form Utility) จะเกิดข้ึนจากการผลิตโดยตรง และการ เขา้ มาช่วย
เสริมโดยการคน้ หาถึงความตอ้ งการของลกู คา้ ท่ีมีตอ่ ผลิตภณั ฑโ์ ดยใหข้ อ้ มลู แก่ผลฝ่ายผลิต
(2) อรรถประโยชน์ดา้ นสถานที่ (Place Utility) การตลาดช่วยอานวย ความสะดวก ด้านสถานที่
เพราะเป็นกิจกรรมที่นาผลิตภณั ฑไ์ ปสู่สถานที่ท่ีลูกคา้ เป้าหมายอยู่
(3) อรรถประโยชน์ด้านเวลา (Time Utility) การตลาดช่วยสร้างอรรถประโยชน์ ดา้ นเวลาให้กับ
ลกู คา้ โดยมีสินคา้ พร้อมในเวลาที่ลกู คา้ ตอ้ งการ
(4) อรรถประโยชน์ดา้ นความเป็ นเจา้ ของ (Possession Utility) การตลาดช่วยสร้างความ พึงพอใจ
จากการ ไดเ้ ป็นเจา้ ของสินคา้ ตา่ ง ๆ โดยทาใหผ้ บู้ ริโภคมีโอกาส ไดซ้ ้ือสินคา้ และมี กรรมสิทธ์ในสินคา้ น้นั
(5) อรรถประโยชน์ในดา้ นภาพลกั ษณ์ (Image Utility) ตลาดช่วยสร้างคุณค่าหรือ ภาพลกั ษณ์ ของ
ผลิตภณั ฑใ์ นความรู้สึกนึกคิดของบุคคล โดยอาศยั การส่งเสริมการตลาด ไดแ้ ก่ การใชก้ ารโฆษณาและการ
ประชาสมั พนั ธ์
ส่วนประสมการตลาด
ส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix) คือ เคร่ืองมือหรือปัจจยั ทางการตลาดที่ควบคุมไดท้ ี่ธุรกิจตอ้ ง
ใชร้ ่วมกนั เพื่อตอบสนองความตอ้ งการและสร้างความพึงพอใจแก่กลุ่มลูกคา้ เป้าหมาย หรือเพ่ือกระตุน้ ให้
กลุ่มลูกค้าเป้าหมายเกิดความต้องการสินค้าและบริการของตน ประกอบด้วยส่วนประกอบ 4 ประการ
หรือ 4P’s คือ
1. ผลิตภณั ฑ(์ Product)
2. ราคา (Price)
3. สถานท่ีจาหน่าย (Place)
4. การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
กลยทุ ธส์ ่วนประกอบการตลาด ” (Marketing mix strategv)
ส่วนประสมการตลาด หมายถึง กลุ่มเครื่องมือการตลาดซ่ึงธุรกิจใชร้ ่วมกนั เพ่ือให้บรรณลุวตั ถุประสงคท์ าง
การตลาดในตลาดเป้าหมายเครื่องมือการตลาด 4 ประการ ได่แก่
1. กลยุทธ์ผลิตภัณ ฑ์ (Product) ผลิตภัณฑ์หมายถึง สิ่ งที่นาเสนอกับการตลาดเพื่อความ
สนใจ (attcntion) ความอยากได้ (Acquistion) การใช้ (Using) หรือการบริโภค (Consumtion)ท่ีสามารถ
ตอบสนองความตอ้ งการ นกั การตลาดจึงกาหนดกลยทุ ธ์ผลิตภณั ฑด์ า้ นต่างๆคือ
- ขนาดรูปร่างลกั ษณะ และคุณสมบตั ิอะไรบา้ งท่ีผลิตภณั ฑค์ วรมี
- ลกั ษณะการบริการที่สาคญั ของผบู้ ริโภคคอื อะไร
- การรับประกนั และโปรแกรมการใหบ้ ริการอะไรบา้ งท่ีควรจดั ให้
- ลกั ษณะของผลิตภณั ฑป์ ระกอบท่ีเก่ียวขอ้ งคืออะไร
2. กลยุทธ์ดา้ นราคา (Price strategy) ราคาหมายถึง สิ่งที่บุคคลจ่ายสาหลบั สิ่งที่ไดม้ า ซ่ึงแสดงถึงใน
รูปของเงิน นกั การตลาดตอ้ งตดั สินใจในราคา ลกั ษณะความแตกต่างของผลิตภณั ฑ์ การตอบสนองความพึง
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
พอใจของผู้บริโภค มูลค่าท่ีส่งมอบให้ลูกค้าต้องมากกว่าต้นทุน (Cost) หรือราคา (Price)ผู้บริโภคจะ
ตดั สินใจซ้ือก็ตอ่ เม่ือ มลู คา่ มากกวา่ ราคาสินคา้
3. กลยุทธ์การจดั จาหน่าย (Place or distribution strategy ) การจดั จาหน่าย หมายถึง การเลือกและ
การใชผ้ ูเ้ ช่ียวชาญทางการตลาด ประกอบดว้ ย คนกลาง บริษทั ขนส่ง และบริษทั เก็บรักษาสินคา้ ดงั น้ีโดย
สร้างอรรถประโยชนท์ างดา้ นเวลา สถานที่ ความเป็นเจา้ ของ ที่เพอ่ื ใหเ้ คล่ือนยา้ ยผลิตภณั ฑ์ หรือจากองคก์ ร
ไปยงั ตลาด กาจดั จาหน่ายไดร้ ับ อิทธิพลจากพฤติกรรมผบู้ ริโภคดงั น้ี
- ความจาเป็นของบริษทั ท่ีจะทาการควบคมุ กิจกรรมตา่ ง
- ลกั ษณะโครงสร้างการจดั จาหน่าย เพือ่ การคา้ ปลีก อะไรบา้ งที่ควรใชใ้ นการเสนอขาย ผลิตภณั ฑ์
4. กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด (Promotion strategy) การส่งเสริมการตลาดหมายถึง การติดต่อส่ือสาร
ระหวา่ งผขู้ ายและผซู้ ้ือ เพื่อสร้างทศั นคติ และพฤติกรรมการซ้ือ ไดแ้ ก่
- การโฆษณา
- การประชาสมั พนั ธ์
- การขายโดยพนกั งานขาย
- การส่งเสริมการขาย
- การตลาดทางตรง
การโฆษณา (Advertising)
คือ การเสนอขายสินคา้ บริการ หรือความคิดโดยการใชส้ ื่อ เพ่ือให้ เขา้ ถึงลูกคา้ จานวนมากได้ ใน
เวลาอนั รวดเร็ว สื่อโฆษณาที่สาคญั ประกอบดว้ ย โทรทศั น์ วิทยหุ นงั สือพิมพ์ นิตยสารป้ายโฆษณาประเภท
ของการโฆษณา
1. จดั ตามประเภทกลมุ่ เป้าหมาย (By Target Audience) แบ่งออกไดด้ งั น้ี
1.1 การโฆษณาที่มงุ่ สู่ผบู้ ริโภค (Consumer Advertising)
1.2 การโฆษณาที่มุ่งสู่หน่วยธุรกิจ (Business Advertising)
2. จดั ตามประเภทอาณาบริเวณทางภูมิศาสตร์ (By Geographic)
2.1 การโฆษณาที่มุ่งตา่ งประเทศ (International Advertising)
2.2 การโฆษณาระดบั ชาติ (National Advertising)
2.3 การโฆษณาในเขตใดเขตหน่ึง (Regional Advertising)
2.4 การโฆษณาระดบั ทอ้ งถ่ิน (Local Advertising)
3. จดั ตามประเภทส่ือ (By Medium)
3.1 ทางโทรทศั น์
3.2 ทางวิทยุ
3.3 ทางนิตยสาร
3.4 โดยใชจ้ ดหมายตรง
3.5 นอกสถานท่ี
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
4. จดั ตามประเภทเน้ือหา หรือ จุดมงุ่ หมาย (By Content or Purpose)
4.1 การโฆษณาผลิตภณั ฑก์ บั การโฆษณาสถาบนั
4.2 การโฆษณาเพือ่ หวงั ผลทางการคา้ กบั การโฆษณาท่ีไม่หวงั ผลทางการคา้
4.3 การโฆษณาใหเ้ กิดกระทากบั การโฆษณาใหเ้ กิดการรับรู้
การประชาสมั พนั ธ์
หมายถึง ความพยายามท่ีมีการวางแผน โดยกิจการหน่ึงเพ่ือสร้างทศั นคติท่ีดีต่อองคก์ าร ให้เกิดกบั
กลมุ่ ใดกลุ่มหน่ึง วิธีการประชาสมั พนั ธท์ ี่นิยมใชม้ ีดงั น้ี
1. การใชส้ ่ิงพมิ พ์ (Publication)
2. การใชเ้ หตุการณ์พเิ ศษ (Events)
3. การใหข้ ่าว (News)
4. การกล่าวสุนทรพจน์ (Speeches)
การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion)
หมายถึง การจูงใจโดยเสนอคุณค่าพิเศษแก่ผูบ้ ริโภค คนกลาง หรือ หน่วยการขาย เพื่อเพ่ิมยอดขาย
ผลิตภณั ฑใ์ นทนั ที นอกเหนือจากกิจกรรมที่ทาอยเู่ ป็นประจา
1. การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผบู้ ริโภค (Consumer Promotion)
1.1 การแจกคูปอง (Coupons)
1.2 การลดราคา (Price Off)
1.3 การรับประกนั ใหเ้ งินคืน (Refund)
1.4 การคนื เงิน (Rabates)
1.5 การใหข้ องแถม (Premiums)
1.6 การแจกตวั อยา่ งสินคา้ (Sampling)
1.7 การจดั แสดงสินคา้ ณ จุดซ้ือ (Point of Purchase Display)
2. การส่งเสริมการขายที่มงุ่ สู่คนกลาง (Trade or Dealer Promotion)
2.1 ขอ้ ตกลงการคา้ (Trade deals)
2.2 ส่วนลด (Discount)
2.3 ส่วนยอมให้ (Allowances)
2.4 การโฆษณาร่วมกนั (Cooperative Advertising)
2.5 การแถมตวั อยา่ งแก่คนกลาง (Dealer Free Goods)
2.6 การแข่งขนั ทางการขาย (Sales Contest
3. การส่งเสริมการขายที่มงุ่ สู่พนกั งานขาย (Sales Forces Promotion)
3.1 การแขง่ ขนั ทางการขาย (Sales Contest)
3.2 การฝึกอบรมการขาย (Sales Training)
3.3 การมอบอปุ กรณ์ช่วยขาย (Selling Aids)
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
3.4 การกาหนดโควตา้ การขาย (Sales Quota)
3.5 การใหส้ ิ่งจูงใจจากการหาลกู คา้ ใหม่ (New Customer Incentives)
การขายโดยใชพ้ นกั งานขาย (Personal Selling)
เป็นการติดต่อสื่อสารทางตรงแบบเผชิญหนา้ ระหวา่ งผขู้ ายและลูกคา้ ที่คาดหวงั " การขายโดยใชพ้ นกั งานขาย
ถือเป็ นการติดต่อส่ือสารแบบสองทาง (Two Way Communication) โดยเน้นในการใช้ความสามารถ
เฉพาะตวั ของพนกั งานขายทาใหล้ ูกคา้ ตดั สินใจซ้ือสินคา้ หรือบริการของกิจการได้
เป็นการตลาดท่ีเนน้ การส่ือสารทางตรงระหวา่ งผขู้ ายกบั ลูกคา้ เป็นการสร้างความสัมพนั ธ์อนั ดีต่อ
ลกู คา้ และกระตุน้ ให้เกิดความตอ้ งการและตดั สินใจซ้ือ โดยปัจจุบนั พนกั งานขายจะตอ้ งมีความสามารถรอบ
ดา้ น ท้งั ในการจูงใจใหล้ ูกคา้ ส่งั ซ้ือสินคา้ หรือบริการ และสามารถแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆท่ีเกิดข้ึนใหก้ บั ลกู คา้ ได้
การตลาดทางตรง (Direct Marketing)
เป็ นการติดต่อสื่อสารส่วนตวั ระหว่าง นักการตลาด และกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้การส่งจดหมาย
ตรง โทรศพั ท์ หรือวิธีการอ่ืนๆ ผ่านสื่ออย่างใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอย่างร่วมกนั โดยนกั การตลาดสามารถ
วดั ผลการตอบสนองจากผบู้ ริโภคได้
รูปแบบของส่ือที่ใชใ้ นการตลาดทางตรง แบง่ ไดเ้ ป็น 2 กลุม่ คือ
การใช้ส่ือโดยตรง เพื่อติดต่อกบั กลุ่มเป้าหมายที่คดั เลือกแลว้ และคาดว่ามีแนวโน้มที่จะตอ้ งการ
สินคา้ และบริการ โดยมากจะไดร้ ับการตอบกลบั สูงเช่น ไปรษณีย์ โทรศพั ท์ และคอมพิวเตอร์
การใชส้ ่ือมวลชน เพ่อื ส่ือสารไปยงั กลมุ่ เป้าหมายจานวนมาก สร้างฐานขอ้ มลู ลกู คา้ ให้มากข้ึน เช่น
วิทยกุ ระจายเสียง สื่อส่ิงพมิ พ์ วทิ ยโุ ทรทศั น์
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบงานที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
“อาชีพมน่ั คง”
ชื่อ – สกุล......................................................รหัสนกั ศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
คาส่ัง จงตอบคาถามต่อไปน้ี
๑. การกาหนดทิศทาง กลยทุ ธ์ การขยายอาชีพ ประกอบดว้ ย
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๒. รายละเอียดการดาเนินงาน มี 3 ข้นั ตอน คือ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๓. องคป์ ระกอบดา้ นเหตุผลสู่ความสาเร็จของการขยายอาชีพประกอบดว้ ย
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
๔. องคป์ ระกอบดา้ นการควบคุมเชิงกลยทุ ธป์ ระกอบดว้ ย
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๕. การสร้างสินคา้ หรือบริการท่ีทาใหล้ กู คา้ เกิดความพอใจสูงสุดดว้ ยการคานึงถึงในเรื่องต่อไปน้ี คือ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบความรู้ที่ ๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
“อาชีพมัน่ คง”
การจัดทาแผนพฒั นาการผลติ หรือการบริการ
ความหมายของการจัดการและการดาเนนิ งาน
การผลติ หมายถึง การสร้างสินคา้ และบริการ
การปฏิบัติการ หมายถึง กระบวนการภายในองค์การซ่ึงใชป้ ัจจยั นาเขา้ (คน เงินทุน วตั ถุดิบวสั ดุอุปกรณ์)
และแปรรูปปัจจยั นาเขา้ ใหอ้ อกมาเป็นปัจจยั นาออก (สินคา้ และบริการ)
การบริหารการผลติ หมายถึง การวางแผนและการตดั สินใจเพื่อการผลิตสินคา้
การบริหารการปฏิบัติการ หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิตสินคา้ และบริการ โดยผา่ นกระบวนการ
แปรสภาพจากปัจจยั นาเขา้ เพ่ือให้ออกมาเป็ นปัจจยั นาออก หรือเป็ นการตดั สินใจท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ปัจจยั ที่มี
อิทธิพลต่อการปฏิบตั ิการรวมถึงการตดั สินใจวา่ จะผลิตอะไร ผลิตอยา่ งไร ใชบ้ คุ คลอยา่ งไร
การผลติ และการบริการ
1. คณุ สมบตั ิของการผลิตสินคา้
- จบั ตอ้ งได้
- ใชพ้ ้ืนท่ีในการจดั เก็บ
- ตอ้ งใชร้ ะยะเวลาในการตอบสนอง
- ใชพ้ ้ืนท่ีมาก
- ใชเ้ งินลงทนุ สูง
- สามารถตรวจสอบคุณภาพอยา่ งชดั เจน
2. คณุ สมบตั ิของบริการ
- จบั ตอ้ งไม่ไดแ้ ละไมค่ งทน
- ไมส่ ามารถจดั เกบ็ ได้
- ติดตอ่ กบั ลูกคา้ มาก
- ใชร้ ะยะเวลาในการตอบสนองส้ัน
- ดาเนินงานเฉพาะพ้นื ท่ี
- ใชพ้ ้ืนที่ตามความเหมาะสม
- ใชแ้ รงงานมาก
- ยากในการวดั และประเมินคุณภาพ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
การจดั การการผลติ และการดาเนินงาน
การจัดการการผลิตและการดาเนินงาน [Production and Operations Management (POM)] เป็ น
การศึกษา วิเคราะห์ กาหนดแนวทางปฏิบตั ิ และควบคุมกระบวนการแปรรูปปัจจยั นาเขา้ หรือทรัพยากรการ
ดาเนินงานใหเ้ ป็นผลลพั ธใ์ นรูปของสินคา้ และ /หรือบริการอยา่ งเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และสอดคลอ้ ง
กบั วตั ถุประสงคข์ ององคก์ าร
ผ้จู ัดการด้านการดาเนนิ งาน
ผจู้ ดั การดา้ นการดาเนินงานควรมีความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ในดา้ นตอ่ ไปน้ี
1. ความรู้ทางเทคนิค ผจู้ ดั การตอ้ งวางแผนและแกป้ ัญหาที่เกิดข้ึนในการทางาน เนื่องจากหลาย
คร้ังผจู้ ดั การจะตอ้ งแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ หรือวกิ ฤติที่เกิดข้นึ ก่อนที่จะคุกคามไปยงั ส่วนอ่ืนขององคก์ าร
ดงั น้นั ผจู้ ดั การควรมีความรู้และความเขา้ ใจพ้ืนฐานที่ตนรับผดิ ชอบ
2. วธิ ีการเชิงปริมาณ เพ่ือแกไ้ ขปัญหาหรือกาหนดแนวทางปฏิบตั ิ ซ่ึงตอ้ งอาศยั เทคนิคเชิงปริมาณมา
ประกอบ เพ่ือใหแ้ บบจาลองทีสร้างข้ึนและการเลือกทางเลือกปฏิบตั ิมีความถูกตอ้ ง ชดั เจน และเหมาะสมกบั
สถานการณ์
3. จดั การและพฤติกรรมองคก์ าร ผูจ้ ดั การดา้ นการดาเนินงานตอ้ งมีทกั ษะและความเขา้ ใจเก่ียวกบั
พฤติกรรมของบุคคล กลุม่ และองคก์ าร โดยมีความเป็นผนู้ า ความสามารถในการสื่อสาร การแกป้ ัญหาและ
มีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดี ตลอดจนมีความรู้ด้านการจัดการสมัยใหม่ เพ่ือให้สามารถนาพาหน่วยงานและ
ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาฝ่าฟันอปุ สรรคและบรรลเุ ป้าหมายไดต้ ามที่ตอ้ งการ
4. ระบบสารสนเทศ ปัจจุบนั มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาประยุกต์ในการผลิตและการ
ดาเนินงาน เป็นแรงผลกั ดนั สาคญั ท่ีทาใหผ้ จู้ ดั การดา้ นการผลิตตอ้ งมีความคุน้ เคยกบั ระบบคอมพิวเตอร์และ
สารสนเทศ
5. ระบบธุรกิจและการจดั การ ผจู้ ดั การดา้ นการดาเนินงานตอ้ งเขา้ ใจภาพรวมและความสัมพนั ธ์ของ
ระบบย่อยภายในระบบองค์การ เพื่อที่จะสามารถบริหารหน่วยงานของตนให้ดาเนินงานสอดคลอ้ งกับ
วสิ ัยทศั นแ์ ละภารกิจขององคก์ าร
6. เศรษฐศาสตร์ การตดั สินใจที่มีประสิทธิภาพตอ้ งอาศยั พ้ืนฐานทางเศรษฐศาสตร์และความเขา้ ใจ
ระบบเศรษฐกิจท้งั ภายในและตา่ งประเทศ เพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพและก่อใหเ้ กิดประโยชน์แก่
องคก์ ารอยา่ งแทจ้ ริง
7. กฎหมายและจริยธรรม ผจู้ ดั การดา้ นการดาเนินงานควรมีความเขา้ ใจในกฎหมายหรือขอ้ กาหนด
เกี่ยวขอ้ งกบั การดาเนินงาน เพื่อไม่ก่อให้เกิดขอ้ บกพร่อง ปัญหา หรือความเสียหายแก่ผูเ้ กี่ยวขอ้ งและตอ้ งมี
คุณธรรมและจริยธรรมในการบริหารงานในฐานะเป็ นสมาชิกของสังคม เพื่อให้ธุรกิจและผูเ้ ก่ียวขอ้ งอยู่
ร่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข
องค์การกบั การจดั การด้านการดาเนินงาน
บทบาทและความสมั พนั ธ์ของการจดั การดา้ นการดาเนินงานกบั หน่วยงานและองคก์ ารมีดงั น้ี
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
1. การจดั การดา้ นการดาเนินงาน เป็ นหน้าท่ีทางธุรกิจ การผลิตและการบริการเป็ นหน่วยงานหน่ึง
ภายในองค์การเช่นเดียวกับหน้าที่อ่ืน โดยการดาเนินงานด้านการปฏิบัติการจะรับผิดชอบต่อการ
เปลี่ยนแปลงปัจจยั การผลิตหรือการดาเนินงานใหเ้ ป็นสินคา้ หรือบริการสาหรับลกู คา้ หนา้ ที่น้ีเป็นหนา้ ท่ี
พ้นื ฐานท่ีทกุ คนเขา้ ใจ
2. การจดั การดา้ นการดาเนินงานเก่ียวขอ้ งกบั หนา้ ที่อ่ืน หลกั การของการจดั การดา้ นการดาเนินงาน
จะแทรกอยใู่ นทกุ หน่วยงานที่มีการปฏิบตั ิ เช่น การเลือกที่ต้งั ร้นคา้ หรือการออกแบบและการจดั ร้านคา้ เป็น
ตน้ แต่ปัญหาที่เกิดในการทางานปัจจุบนั คือ แต่ละหน่วยงานต่างถูกขีดข้นั หรือจากดั การประสานงานดว้ ย
เขตแดนสมมติท่ีทาให้การติดต่อสื่อสาร การสร้างความเขา้ ใจ และประสิทธิภาพในการดาเนินงานลดลงการ
พฒั นาความสัมพนั ธ์และการประสานงานภายในองคก์ ารช่วยใหอ้ งคก์ ารมีประสิทธิภาพในการดาเนินงาน
3. การจดั การดา้ นการดาเนินงานเป็ นอาวุธในการแข่งขนั การดาเนินงานท่ีมีระบบที่ดี ใช้ตน้ ทุนต่า
และคุณภาพสูงช่วยให้องค์การมีความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง ขณะทีการดาเนินงานที่ใช้ต้นทุนสูง มี
ขอ้ บกพร่องมาก หรือปฏิบตั ิงานไม่เป็นระบบ ย่อมส่งผลตอ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั ขององคก์ าร ดงั น้นั
ผบู้ ริหารจะตอ้ งพยายามหาแนวทางพฒั นาศกั ยภาพของธุรกิจผา่ นระบบการดาเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพ
แนวโน้มของการจัดการด้านการดาเนินงาน
ในปัจจุบนั การแข่งขนั ของธุรกิจอุตสาหกรรมและทวีเพิ่มข้ึน ขอบเขตของการแข่งขนั ขยายตวั จาก
ระดบั ทอ้ งถ่ิน ระดบั ประเทศ ไปสู่ระดบั นานาชาติ การติดต่อสื่อสารท่ีโยงใยโลกให้ใกลก้ นั ทาให้ผบู้ ริโภค
ได้รับข่าวสารขอ้ มูลเกี่ยวกับสินคา้ และบริการท่ีหลากหลาย ทาให้มีทางเลือกมากย่ิงข้ึน การผลิตจึงตอ้ ง
พยายามปรับปรุงเพ่ิมผลิตภาพและพฒั นาผลิตภณั ฑ์ใหม่ให้ดึงดูดใจลูกคา้ มากยิ่งข้ึน ทาให้กระแสโลกาภิ
วตั น์เขา้ มามีอิทธิพลต่อการหาแหล่งวตั ถุดิบ แหล่งเงินและตลาดของผลิตภณั ฑ์ การผลิตไม่จาเป็นท่ีจะตอ้ ง
ใช้วตั ถุดิบในประเทศท่ีแพงกว่าถา้ มีแหล่งอื่นท่ีถูกกว่า ธุรกิจสามารถยา้ ยฐานการผลิตไปอยู่ในประเทศท่ี
คา่ แรงคนงานต่ากวา่ เพ่อื ลดตน้ ทุนการผลิต หรือเพื่อหลีกเลี่ยงขอ้ จากดั ของการกีดกนั ทางการคา้ กลยทุ ธ์การ
รวมตวั กนั ทางธุรกิจ ในปัจจุบนั การดาเนินธุรกิจมีลกั ษณะเป็นเครือข่าย (Network) ท่ีเช่ือมโยงกนั ต้งั แต่ผขู้ าย
ผูผ้ ลิต ผูจ้ ดั จาหน่าย ผูค้ ้าส่ง ผูค้ ้าปลีก จนถึงลูกคา้ ที่เป็ นผูใ้ ช้ การรวมตวั ภายในอุตสาหกรรมเดียวกนั ใน
รูปแบบพนั ธมิตรทางกลยทุ ธ์ (Strategic Alliance) ก่อให้เกิดอานาจต่อรองกบั คู่คา้ มากยงิ่ ข้ึน ดงั น้นั การไดม้ า
ซ่ึงปัจจยั การผลิตที่มาจากแหล่งวตั ถุดิบต่างๆ มีแนวโนม้ จะตอ้ งทาเป็ นสัญญาระยะยาวหรือสัญญาที่ไม่เป็ น
ลายลกั ษณ์อกั ษร อนั เป็ นความร่วมมือระหว่างกนั และกนั ระหว่างคู่คา้ ที่แน่นแฟ้นยิ่งข้ึน ความหลากหลาย
ของผลิตภัณฑ์และการตอบสนองลูกค้าเฉพาะราย (Customization) แพร่หลายมากข้ึน ความนิยมใน
ผลิตภณั ฑม์ วลชนเร่ิมเสื่อมลง ลกู คา้ เร่ิมตอ้ งการสินคา้ และบริการที่ตอบสนองความตอ้ งการเฉพาะแบบที่ไม่
ซ้าใคร การผลิตจึงมีแนวโน้มจะมีปริมาณการผลิตต่อ Lot ท่ีต่าลง ทาให้ต้องหาวิธีจะผลิตผลิตภัณฑ์ท่ี
หลากหลายไดใ้ นตน้ ทุนที่ต่า รวมท้งั ตอ้ งพยายามคิดคน้ พฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หม่ใหด้ ึงดูดใจลูกคา้ อยเู่ สมอ ให้
ทนั กบั วงจรชีวิตผลิตภณั ฑ์ที่ส้ันลง และส่ิงที่สาคญั ท่ีสุดคือความก้าวหน้าในเทคโนโลยี ท้งั ด้านการผลิต
โดยตรง เช่น การใช้แสงเลเซอร์ และดา้ นอื่นๆ เช่นการใชข้ อ้ มูลทางอินเตอร์เน็ต (Internet) การติดต่อการ้า
ดว้ ยพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ลว้ นแต่มีผลต่อคุณภาพ ผลิตภาพ ปริมาณและตน้ ทุนของการ
ผลิตเป็นอยา่ งมาก_
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบงานที่ ๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
“อาชีพมน่ั คง”
ชื่อ – สกลุ ......................................................รหัสนกั ศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
คาส่ัง จงตอบคาถามต่อไปน้ี
๑. ความหมายของคณุ ภาพคือ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๒. ข้นั ตอนการกาหนดคุณภาพสินคา้ และบริการ มีข้นั ตอนดาเนินการ 3 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๓. การบริการ หมายถึง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๔. ปัจจยั ท่ีบง่ ช้ีคุณภาพของการบริการ ไดแ้ ก่
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
๕. ทนุ หมายถึง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๖. ตน้ ทนุ การผลิต หมายถึง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๗. ปัจจยั ที่ทา ใหป้ ระสบความสาเร็จประกอบดว้ ยปัจจยั ต่อไปน้ี
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ใบความรู้ท่ี ๕
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
“อาชีพมั่นคง”
เร่ืองการพฒั นาธุรกจิ เชิงรุก
ธุรกิจเชิงรุก น้ีเป็ นคาที่อาจทาให้บางคนประสาท มีความจาเป็ นในการที่ไม่เป็ น คุณสามารถสร้าง
ธุรกิจเชิงรุกในขณะท่ียงั มีความสนุกสนานที่ประชุมคนดีและในขณะเดียวกนั การทางานอยา่ งหนกั เพ่อื ความ
ปลอดภยั ของครอบครัวในอนาคตของคุณและในอนาคต มีกา้ วร้าวมีแง่มุมต่างๆของธุรกิจที่คณุ สามารถดูว่า
เป็ น คร้ังแรกของเหล่าน้ีเป็ นแนวทางการดาเนินธุรกิจเชิงรุก คนจานวนมากเกินไปวนั น้ีพยายามที่จะสร้าง
ธุรกิจแบบพาสซีฟ เขา้ ร่วม บริษทั ออนไลน์คิดว่าพวกเขาจะนั่งอีกต่อไปและเงินมาดูสิ่งต่อไปน้ีถา้ คุณเขา้
ร่วมระวงั ทางธุรกิจท่ีมีแนวโน้มน้ี! สร้างธุรกิจจะใช้เวลาทางาน คุณจาเป็ นตอ้ งมีกา้ วร้าววิธีการเชิงรุกเพื่อ
สร้างธุรกิจของคุณตอ่ ไปกลยุทธ์ธุรกิจเชิงรุก กลยทุ ธ์ธุรกิจเชิงรุกไม่ไดห้ มายความวา่ คนริปปิ ดการโกงลกู คา้
ของคุณหรือ บริษทั ร่วมหรือบุคคลอื่นใดที่ไม่ไดม้ ีจริยธรรม ธุรกิจกลยทุ ธ์เชิงรุกหมายถึงไม่รอให้ผูอ้ ่ืนหา
คุณ ซ่ึงหมายถึงการใชช้ ่ือของคุณออกมี ใหค้ นรู้วา่ ส่ิงท่ีเธอเป็นส่ิงท่ีคุณทาและส่ิงที่เป็นเป้าหมายของคุณ การ
วิจยั , การศึกษาดว้ ยตนเองและเรียนรู้ท่ีจะใชข้ อ้ มูลน้นั เพื่อใหแ้ น่ใจวา่ ธุรกิจของคุณพฒั นากแ็ บบท่ีคุณมกั จะมี
วิสัยทศั น์
ธุรกิจเชิงรุก
ขณะที่บางคนยงั คงออกมีการสร้างธุรกิจจากข้นั ตอนแรกมีหลายพนั ของโอกาสทางธุรกิจออนไลน์
ท่ีเป็นสาหรับส่วนมากท่ีสุดในสถานที่สาหรับคุณ นบั พนั ของธุรกิจท่ีนน่ั ดูเหมือนวา่ ทุกหน่ึงของพวกเขาอา้ ง
วา่ มีผลิตภณั ฑท์ ่ีดีที่สุด, เวบ็ ไซตท์ ่ีดีท่ีสุดใหท้ ุกอยา่ งดีท่ีสุด มีธุรกิจเป็นสิ่งสาคญั สิ่งหน่ึงที่คณุ ควรมองหาเม่ือ
อาคาร สิ่งหน่ึงท่ีสามารถสร้างความแตกต่างมาก มนั สามารถเป็นปัจจยั ในการตดั สินใจระหวา่ งความสาเร็จ
ทางธุรกิจและปัดธุรกิจ ผมพดู เร่ืองอะไร? ความเป็นผนู้ าธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ
กลยทุ ธ์ สงครามการตลาดเชิงรุก
กลยุทธ์สงครามการตลาดเชิงรุก คือ กลยุทธ์ทางการตลาดที่มีเป้าหมายเพื่อบรรลุเป้าประสงค์
บางอย่าง โดยท่ัวไปจะเป็ นการชิงส่วนแบ่งทางการตลาดจากคู่แข่งท่ีเป็ นเป้าหมาย นอกจากส่วนแบ่ง
การตลาดแลว้ กลยุทธ์การตลาดเชิงรุกยงั มีจุดมุ่งหมายที่จะใหไ้ ดม้ าซ่ึง กลุ่มลูกคา้ เป้าหมายหลกั , กลุ่มตลาด
ระดบั บนและกลุ่มลกู คา้ ท่ีมีความภกั ดีสูง
ปัจจยั สาคญั
ปัจจยั หลกั ของของกลยทุ ธ์มี ๔ ขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. ประเมินจุดแข็งของคู่แข่งท่ีเป็ นเป้าหมาย พิจารณาถึงความสนับสนุนที่จะไดจ้ ากพนั ธมิตรของ
คแู่ ข่ง อน่ึง ควรเลือกเป้าหมายเพยี งหน่ึงเดียวในการจู่โจม
๒. คน้ หาจุดอ่อนในตาแหน่งของคแู่ ขง่ โจมตีไปยงั จุดน้นั ควรพิจารณาดูวา่ การท่ีคู่แข่งเป้าหมายจะ
ไดร้ ับแรงสนบั สนุนเพอื่ กลบั มาอยใู่ นตาแหน่งท่ีไมไ่ ดเ้ สียเปรียบอีกคร้ังตอ้ งใชร้ ะยะเวลาเท่าไหร่
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
๓. เปิ ดฉากโจมตีให้ลงไปในตาแหน่งท่ีจาเพาะเจาะจงที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ เนื่องจากธรรมชาติ
ของผูต้ ้งั รับจะตอ้ งต้งั รับในทุกทิศทุกทางที่อาจจะถูกโจมตี จึงเป็ นขอ้ ไดเ้ ปรียบทางกลยุทธ์ของผูโ้ จมตีให้
สามารถทมุ่ เทกาลงั ไป ณ จุดๆเดียว
๔. เปิ ดฉากการจู่โจมให้เร็ว พลงั ของการโจมตีแบบไม่คาดฝันใหผ้ ลท่ีมากกวา่ การโจมตีดว้ ยกาลงั
มหาศาลแต่เอิกเริก
รูปแบบของกลยทุ ธเ์ ชิงรุก
รูปแบบหลกั ๆของกลยทุ ธ์สงครามการตลาดเชิงรุก มี ๔ แบบ ดงั ต่อไปน้ี
การจู่โจมซ่ึงหน้า - เป็ นการโจมตีแบบตรงๆ ท่ีตอ้ งมีการรวบรวมเอาสรรพกาลงั และทรัพยากรใน
องค์กรท้งั หมดท่ีมีอยู่ โดยเฉพาะเม็ดเงินท่ีถือเป็ นทรัพยากรหลกั ทุกๆหน่วยงานในองคก์ รของคุณจะตอ้ ง
ทางานอย่างหนกั เพ่ือเตรียมตวั จู่โจม ต้งั แต่ฝ่ ายการตลาดไปจนถึงฝ่ ายผลิต และยงั เกี่ยวขอ้ งกบั การโฆษณาที่
เขม้ ขน้ เพื่อประกอบกบั การออกผลิตภณั ฑ์ใหม่ๆ ที่ไดม้ ีการทุ่มเทพฒั นาข้ึนมาเพื่อเป็ นอาวุธในการโจมตี
คู่แข่งในส่วนท่ีเป็ นจุดอ่อนโดยเฉพาะ บ่อยคร้ัง ท่ีเป็ นความพยายามท่ีจะ "ปลดปล่อย" กลุ่มลูกคา้ เป้าหมาย
(ออกจากการครอบงาของสินคา้ คู่แข่ง) แต่ในความเป็ นจริงแลว้ กลยุทธ์แบบจู่โจมซ่ึงหน้ามกั จะพบเห็นได้
ไม่บ่อยนกั เนื่องจากเหตุผลสองประการ หน่ึงก็คอื ตอ้ งใชค้ ่าใชจ้ ่ายสูง ทรัพยากรที่มีคุณคา่ หลายอยา่ งตอ้ งถูก
ระดมมาใช้และสูญเสียไปในการทาสงคราม ขอ้ ท่ีสอง กลยุทธ์แบบน้ีมกั จะไม่ประสบผลสาเร็จ ในกรณีท่ี
ฝ่ ายต้งั รับสามารถที่จะจดั หาทรัพยากรเพื่อมาสนบั สนุนการฟ้ื นตวั ไดท้ นั เวลา ขอ้ ไดเ้ ปรียบทางกลยทุ ธ์ของ
ฝ่ ายบุกจะหมดไปในทนั ที ทาให้คุณจาเป็ นจะตอ้ งแข็งแกร่งกว่าคู่ต่อสู้ จริงๆแลว้ ก็มีตวั อย่างอยู่มากมาย
เช่นกนั (ท้งั การแข่งขนั ในเชิงธุรกิจและสงคราม) ที่ฝ่ ายต้งั รับสามารถตา้ นทานผูบ้ ุกรุกท่ีกลา้ แข็งกว่าได้
ดงั น้นั กลยทุ ธ์จะเหมาะสมกบั การใชก้ ต็ ่อเม่ือ
- สินคา้ ในตลาดค่อนขา้ งเหมือนกนั
- มลู ค่าของแบรนด์ต่า
- ความภกั ดีของลูกคา่ ต่า
- ความตา่ งของสินคา้ ไม่มาก
- คแู่ ข่งมีทรัพยากรจากดั
- ผโู้ จมตีมีทรัพยากรมาก
กลยทุ ธ์โอบลอ้ ม (กลยุทธต์ ีโอบ) กลยทุ ธ์น้ีคอ่ นรู้จกั กนั ดี แต่ไมช่ ดั เจนนกั ในแงข่ องการเป็นกลยุทธ์
เชิงรุก การโอบลอ้ มคู่แข่งทาไดส้ องทางดว้ ยกนั หน่ึง คุณตอ้ งพฒั นากลุ่มผลิตภณั ฑ์ท่ีเหมือนกบั ของคู่แข่ง
และให้ผลิตภณั ฑ์แต่ละตวั ดึงเอาส่วนแบ่งการตลาดมาจากผลิตภณั ฑข์ องคู่แข่ง, ปล่อยให้มนั อ่อนแอ, ทาให้
เส่ือมความนิยม และก็ถึงเวลาของการโอบลอ้ ม ถา้ กระทาไดส้ าเร็จอยา่ งลบั ๆ จะช่วยหลีกเล่ียงปัญหาความ
ยงุ่ ยากไดม้ าก อีกดา้ นหน่ึงการโอบลอ้ มจะกระทาที่ตลาดเฉพาะกลุ่มแทนท่ีจะเป็นผลิตภณั ฑ์ ผจู้ ู่โจมจะขยาย
กลุ่มตลาดที่จะค่อยๆโอบลอ้ มและครอบคลุมตลาดของคู่แข่ง การเขา้ ยึดพ้ืนท่ีทีละเล็กละนอ้ ยจะช่วยให้ได้
ส่วนแบง่ การตลาดจากเป้าหมาย และกลยทุ ธโ์ อบลอ้ มจะใชไ้ ดใ้ นเง่ือนไขตอ่ ไปน้ี
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
- กลุม่ ตลาดไม่ไดถ้ ูกแบ่งอยา่ งชดั เจน
- ตลาดบางกลมุ่ ไม่ค่อยจะมีการแขง่ ขนั มากนกั
- ผโู้ จมตีมีทรัพยากรเพือ่ การพฒั นาผลิตภณั ฑค์ ่อนขา้ งมาก
กลยุทธ์ก้าวกระโดด - กลยุทธ์น้ีจะเป็ นการสลายกาลงั คู่ต่อสู้ไปพร้อมๆกับความสามารถในการ
แข่งขนั ในสมรภูมิธุรกิจจะหมายถึงการพฒั นาเทคโนโลยีใหม่ๆ หรือสร้างแบบจาลองธุรกิจใหม่ๆ เป็นกล
ยทุ ธ์แห่งการปฏิวตั ิท่ีฝ่ายรุกจะเป็นผูเ้ ขยี นกฏในการแข่งขนั ข้ึนใหม่ ยกตวั อยา่ งเช่น การมาถึงของเทคโนโลยี
ซีดีรอมที่ถือเป็ นชัยชนะ (อย่างไม่เด็ดขาด ณ เวลาน้ี) ท่ีมีต่อคาสเซ็ตเทปผูซ้ ่ึงเป็ นคู่แข่ง แบบท่ีผูช้ นะไม่
จาเป็นตอ้ งทาสงคราม กลยุทธ์น้ีจะมีประสิทธิภาพมากหากมีการดาเนินการอยา่ งเป็ นรูปธรรมกลยทุ ธ์โจมตี
ดา้ นขา้ ง - เป็นกลยทุ ธ์แบบโจมตีทางดา้ นขา้ งเพื่อทาใหค้ ู่แขง่ เกิดความระส่าระสายและเกิดแรงกดดนั ภายใน
ในขณะที่คุณทากาไรคู่แข่งก็ตกอยใู่ นสภาวะวุ่นวายเป็นการหลีกเล่ียงการปะทะโดยตรงกบั กาลงั หลกั ของคู่
ตอ่ สู้ (ดูรายละเอียดในกลยทุ ธส์ งครามการตลาดแบบโจมตีดา้ นขา้ ง)
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ใบงานที่ ๕
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
“อาชีพมน่ั คง”
ช่ือ – สกุล.....................................................รหสั นักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
คาสง่ั : ใหน้ กั ศึกษาตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
๑. อธิบายความจาเป็นและคุณค่าของธุรกิจเชิงรุกมาพอสังเขป
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
๒. อธิบายแนวทางการแทรกความนิยมลงในสินคา้ /บริการของตนเองหรืออาชีพท่ีสนใจมาพอสังเขป
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
๓. อธิบายคาวา่ อยพู่ อดีกินพอดี
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
๔. การพ่ึงตนเอง หมายถึง
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
๕. ความยง่ั ยนื หมายถึง
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
๖. ความคุม้ คา่ หมายถึง
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบความรู้ท่ี ๖
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
“อาชีพม่นั คง”
เรื่อง การวเิ คราะห์แผนและโครงการอาชีพ
ทานองเดียวกนั กบั งานดา้ นการบริหารงานบุคคลอื่น ๆ การพฒั นาความกา้ วหนา้ ในสายงานอาชีพก็
เป็ นสิ่งที่เป็ นประโยชน์ต่อบุคคลและองค์การ ถา้ หากไดม้ ีการจดั ทาส่ิงเหล่าน้ีไดถ้ ูกตอ้ ง เหตุผลท่ีไดม้ ีการ
จดั การพฒั นาความกา้ วหนา้ ในสายงานอาชีพกเ็ พราะเหตุผลตอ่ ไปน้ี คือ
๑. เพื่อช่วยใหพ้ นกั งานและองคก์ ารบรรลุถึงวตั ถปุ ระสงคไ์ ดร้ ่วมกนั วตั ถุประสงคข์ องการมีการจดั
พฒั นาความกา้ วหนา้ ในสายงานอาชีพก็คือ เพ่อื ที่จะใหม้ ีการจดั และกาหนดแผนการเติบโตของพนกั งานแต่
ละคน ท่ีจะมีโอกาสสาเร็จผลในการทางานตามเป้าหมายต่าง ๆ ขององคก์ ารไดส้ าเร็จ วิธีหน่ึงที่องคก์ ารจะ
ช่วยให้มีความมน่ั ใจในเป้าหมายของความกา้ วหนา้ แต่ละคนน้ีก็คือ การใหข้ อ้ สัญญาว่า ถา้ หากพนกั งานผู้
น้นั สามารถทางานไดส้ าเร็จผลตามที่องค์การกาหนดไวแ้ ลว้ บุคคลผูน้ ้นั ก็จะมีโอกาสสาเร็จผลในอนั ที่จะ
กา้ วหนา้ ในส่วนตวั ของตวั เขาเองดว้ ย โดยปกติทว่ั ไปแลว้ พนกั งานที่มีความรู้ความสามารถ มกั จะตอ้ งการ
ที่จะควบคุมความกา้ วหนา้ ของอาชีพของตวั เองตลอดเวลา ดงั น้นั ถา้ หากเป้าหมายน้ีไดบ้ รรลุถึงวตั ถุประสงค์
และมีโอกาสที่จะให้เขาเขา้ ใจถึงระดบั ข้นั ตอนของการเติบโตแลว้ พนกั งานก็ยอ่ มจะมีความพึงพอใจ และ
ผลผลิต ตลอดจนความสาเร็จในงานก็จะปรากฏ นอกจากน้ียงั ช่วยใหผ้ ูน้ ้นั มีความภาคภมู ิใจในความสามารถ
ของตวั เองดว้ ย
๒. เพ่ือที่จะเป็ นเคร่ืองมือป้องกนั มิให้มีการหวงคนเอาไว้ จากที่ได้พบโดยทวั่ ไปจะเป็ นว่า เม่ือ
หัวหน้างานไดส้ ร้างทีมงานของตวั เองข้ึนมาแลว้ เม่ือสร้างสาเร็จเม่ือใดก็มกั จะไม่ยอมที่จะให้คนของตวั
ออกไปอยูก่ บั จุดอื่น ท้งั น้ีก็เพราะวา่ การมีคนเก่าที่เป็นงานอยกู่ บั ตนน้นั ย่อมเป็ นการสะดวกกว่า แต่กลบั
เป็ นปัญหาท่ีเป็ นอุปสรรค ทาให้คนท่ีถูกดึงเอาไวน้ ้ัน พลาดโอกาสที่จะได้รับการเลื่อนช้ันหรือพฒั นา
ประสบการณ์ใหม่ ๆ ในจุดอ่ืนต่อไป และในท่ีสุดพนกั งานบางคนก็กลบั กลายเป็นคนที่มีความชานาญหรือ
มีความสามารถมากเกินไป แต่ยงั คงตอ้ งทางานในที่เก่า ที่ถูกแลว้ เขาควรจะไดร้ ับการเล่ือนช้นั ไปในจุดอื่น
ซ่ึงจะให้ผลต่อองค์การในส่วนรวมคุ้มค่ากว่า ในกรณีท่ีหัวหน้างานดึงเอาคนของตนไวเ้ ช่นน้ี ย่อมจะ
ก่อให้เกิดผลเสียที่พนักงานน้ันจะเกิดความกระอกั กระอ่วน ท้งั กบั ตวั เองและเป็ นปัญหาติดขดั กบั องคก์ าร
ดว้ ยเช่นกนั ดงั น้นั การจดั แผนการพฒั นาความกา้ วหนา้ ในสายงานอาชีพ จึงเท่ากบั เป็นเคร่ืองป้องกนั มิให้มี
การกระทาดังกล่าวอย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัญหาต้นทุนได้บีบค้ันเป็ นอันมาก ในระยะปัจจุบันซ่ึง
ประสิทธิภาพในการตอ้ งใชค้ นจะตอ้ งมีผลดีย่ิงข้ึน และคุม้ ค่ายิ่งข้ึน ไดม้ ีส่วนทาให้ปัญหาน้ีลดน้อยลงไป
บา้ งในหลาย ๆแห่ง
๓. ช่วยลดความลา้ สมยั ของพนกั งานแต่ละคน เมื่อพนกั งานทางานไปนาน ๆ ในจุดใดจุดหน่ึง โดย
ไม่มีการโยกยา้ ยน้นั มกั จะทาใหค้ นน้นั ลา้ สมยั กลายเป็นคนแคบ ขาดทศั นคติที่กวา้ งหรือขาดประสบการณ์
ในหนา้ ท่ีงานอ่ืน ๆ หลาย ๆ ดา้ น สาเหตุส่วนใหญ่อาจจะเกิดข้ึนจากการขาดการฝึ กอบรมก็ได้ แต่ส่วนใหญ่
แลว้ ปัญหาท่ีได้พบมกั จะกลายเป็ นว่าพนักงานผูน้ ้ันขาดโอกาสท่ีจะไดร้ ับการพฒั นาให้เติบโตไปในจุด
อ่ืน จึงมักจะทาให้แรงจูงใจของเขามีน้อยลงไป ความกระตือรือร้นที่จะสนใจติดตามเรื่องใหม่ ๆ มักมี
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
นอ้ ยลง ซ่ึงทาใหค้ นดงั กล่าวยิง่ มีปัญหาซ้าเติมท่ีไมอ่ าจจะมีความรู้ในเรื่องใหม่ ๆ พอเพยี งสาหรับการเติบโต
ไปในสายงานในจุดอ่ืน ความลา้ สมยั ในหนา้ ท่ีงานน้ีมกั จะปรากฎในช่วงของการทางานในระยะอายุงานที่
อยู่ในช่วงกลาง ๆ ของอาชีพ ซ่ึงหมายถึงว่าไดท้ างานในหนา้ ท่ีน้ันนานตามสมควรและมิไดม้ ีการฝึ กอบรม
และเตรียมการท่ีจะไปสู่งานใหม่
๔. ช่วยลดอัตราการลาออกและต้นทุนด้านบุคคล จากการศึกษาของผูช้ านาญการด้านการ
บริหารงานบุคคล ไดพ้ บวา่ ถา้ หากองคก์ ารไดต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ในเรื่องน้ีและไดช้ ่วยพนกั งานของตวั
ในการวางแผน่ เก่ียวกบั อาชีพแลว้ ผลประโยชน์ท่ีพลอยไดท้ ี่สาคญั กค็ ือ ไดม้ ีส่วนในการช่วยลดการลาออก
ของพนกั งาน และลดตน้ ทุนท่ีเกี่ยวกบั การที่พนักงานลาหยุดด้วย อันน้ีนับว่าเป็ นเหตุสาคัญท่ีเป็ น
เครื่องช้ีชดั ว่า ฝ่ ายจดั การจะตอ้ งเห็นถึงความจาเป็ นในการดาเนินการจดั แผนการพฒั นาความกา้ วหนา้ ทาง
อาชีพใหใ้ นเรื่องของการจดั ความกา้ วหนา้ ทางสายงานอาชีพน้ี ในทศั นะของผบู้ ริหารโดยทว่ั ไปแลว้ มิใช่ทุก
คนจะเห็นประโยชน์ดงั กล่าวไดท้ วั่ กนั หมด หวั หนา้ งานหลายคนมกั จะไม่ค่อยเห็นดว้ ยกบั เร่ืองน้ี หรือแมแ้ ต่
พนกั งานบางคนก็เป็นปัญหาที่ไมเ่ ขา้ ใจถึงปัญหาในเรื่องน้ี อยา่ งไรกต็ ามการจดั พฒั นาความกา้ วหนา้ ในสาย
งานอาชีพมิใช่เป็ นเรื่องที่จะทาไดง้ ่าย ๆ ท้งั น้ีก็เพราะว่าแต่ละคนมกั จะมีความตอ้ งการที่แตกต่างกนั มากใน
เร่ืองความกา้ วหนา้ ของอาชีพ และในเวลาเดียวกนั ในองคก์ ารกม็ ีสายงานในอาชีพท่ีแตกต่างกนั อยา่ งมากดว้ ย
เช่นกนั ดงั น้นั จึงเป็นการยากที่จะกาหนดเป็นมาตรฐานของช่องทางและหนทางความกา้ วหนา้ ของสายงาน
อาชีพให้แน่นอนท่ีแต่ละคนจะดาเนินไปตามแผนได้ วิธีที่จดั ทาส่วนใหญ่จึงมกั จะมีการจดั ทาในลกั ษณะ
เป็นกลุ่มมากกว่าที่จะจดั ทาแผนการพฒั นาความกา้ วหนา้ ให้เป็นรายบุคคลข้ึนเป็นคน ๆ ไป ในเร่ืองของการ
พฒั นาความกา้ วหนา้ ในอาชีพงานน้ี นบั ว่าเป็นเร่ืองใหม่ซ่ึงผชู้ านาญการหลายคนไดต้ ้งั คาถามไวเ้ ช่นเดียวกนั
วา่ องคก์ ารจะสามารถพฒั นาและจดั ความกา้ วหนา้ ในสายงานอาชีพให้กบั พนกั งานไดจ้ ริงหรือ? ในเร่ืองน้ี
หากไดม้ ีการพจิ ารณาถึงผลประโยชนแ์ ลว้ สิ่งเหลา่ น้ีแมจ้ ะยากก็ยงั คงเป็นสิ่งท่ีควรจะไดท้ ดลองทา
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบงานที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
“อาชีพมัน่ คง”
ช่ือ – สกลุ .....................................................รหัสนกั ศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
คาส่ัง : ใหน้ กั ศึกษาเขยี นโครงการอาชีพท่ีนกั ศึกษาสนใจตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี
ชื่อโครงการ
..........................................................................................................................................................................
หลกั การและเหตผุ ล
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
เป้าหมาย
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
วตั ถุประสงค์
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
วธิ ีการดาเนินงาน
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
งบประมาณดาเนินการ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ผลดาเนินโครงการ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ใบความรู้ท่ี 7
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
“อาชีพมนั่ คง”
เร่ือง โครงการเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้
โครงการเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของสาระการเรียนรู้ ที่มีกระบวนการทางานอยา่ งมี
ระบบ แบบแผนท่ีชดั เจน ผลงานตอ้ งสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรและวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนดไวใ้ นรายละเอียด
โครงการ รวมท้งั นาไปใชไ้ ดจ้ ริง
- โครงการ(Project Approach) เป็นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้ ผเู้ รียนไดท้ าการศึกษาคน้ ควา้ และ
ฝึกฝนปฏิบตั ิดว้ ยตนเองตามความสามารถ ความถนดั และความสนใจ โดยอาศยั กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์หรือกระบวนการอื่นๆ ไปใชศ้ ึกษาหาคาตอบ
โครงการ หมายถึง การศึกษาคน้ ควา้ เกี่ยวกบั สิ่งใดส่ิงหน่ึงหรือหลายส่ิง ที่อยากรู้คาตอบใหล้ ึกซ้ึงหรือเรียนรู้
ในเรียนน้นั ๆใหม้ ากอยา่ งข้นึ โดยใชก้ ระบวนการ วธิ ีการศึกษาที่เป็นระบบ เป็นข้นั ตอนมีการวางแผน
การศึกษาอยา่ งละเอียด ปฏิบตั ิตามแผนที่วางไว้ จนไดข้ อ้ สรุปที่เป็นคาตอบในเร่ืองน้นั ๆ
โครงงานจะแบ่งออกเป็นประเภท 4 ประเภท คือ
1. โครงงานสารวจ เช่น
- การสารวจความคิดเห็นของงวยั รุ่นต่อผสู้ มคั รในการเลือกต้งั
- สารวจแหลง่ ท่องเท่ียวทางธรรมชาติและวฒั นธรรม
- สารวจความคิดเห็นของนกั เรียนในเร่ืองสภาพแวดลอ้ มของโรงเรียน
2. โครงงานศึกษา คน้ ควา้ ทดลอง
โครงงานประเภททดลอง ส่วนใหญ่มกั เป็นโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ส่วนโครงงานสงั คมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม ส่วนใหญ่เป็นโครงงานศึกษาคน้ ควา้ เทา่ น้นั
- พระสุพรรณกลั ยามีจริงหรือไม่
- โครงการรวบรวมวรรณกรรมพ้ืนฐานของภาคอีสาน
- โครงการรวบรวมสถานท่ีทอ่ งเที่ยวในภาคเหนือ
- โครงขดุ หาวตั ถุโบราณ
3. โครงงานส่ิงประดิษฐ์
ในการทาโครงงานสิ่งประดิษฐน์ ้ีจาเป็นตอ้ งอาศยั องคค์ วามรู้ท่ีมีพ้ืนฐานในการทางาน โดยอาจมาจากการ
สารวจ ศึกษาคน้ ควา้ หรือไดท้ ฤษฎีมาก่อน ซ่ึงสิ่งต่าง ๆ ที่กล่าวมาน้ียอ่ มเป็นรากฐานที่ดีต่อการสร้างสรรค์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
- การวจิ ยั คิดคน้ ยาใหมๆ่ ในรักษาโรคตา่ งๆ
- การประดิษฐเ์ คร่ืองมือทางการแพทยใ์ หมๆ่
- ขนมไทยตารับสมยั พระนารายณ์
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
- เคร่ืองแยกขยะในชุมชน
- เคร่ืองมือเคร่ืองใชใ้ นการจบั สัตวน์ ้าท่ีทามาจากวสั ดุและภูมิปัญญาพ้ืนบา้ น
4. โครงงานประเภทพฒั นาผลงาน เป็นการศึกษาเรียนรู้เพื่อพฒั นาผลงานเดิมที่มีอยแู้ ลว้ ใหม้ ีประโยชนม์ ี
คุณคา่ หรือมีประสิทธิภาพมากข้นึ มี 2 ลกั ษณะ
4.1 การพฒั นาโครงงานเดิมท่ีมีผศู้ ึกษาไวแ้ ลว้
4.2 การพฒั นาชิ้นงานเดิมท่ีอยแู่ ลว้ ในทอ้ งถ่ินหรือชุมชน
การวิเคราะหห์ ลกั สูตรเพื่อกาหนดหวั ขอ้ โครงงาน
การวิเคราะหห์ ลกั สูตรเพอ่ื กาหนดหวั ขอ้ โครงงาน เป็นการกระบวนที่สามารถส่งเสริมทกั ษะการคดิ และ
วเิ คราะห์แก่ผเู้ รียนเป็นอยา่ งดี มีจุดมุง่ หมายสาคญั 2 ประการ
1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถทาโครงงานไดสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตร
2. เพือ่ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึ กทกั ษะการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น
ลกั ษณะของโครงการท่ีดี
1. เลือกทาตราความสนใจ
2. เป็นการศึกษาเชิงลึก
3. สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตร
4. เป็นเรื่องที่สาคญั และน่าสนใจ
5. ความคิดสร้างสรรค์
6. สามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริง
ลกั ษณะของโครงการท่ีดี ตอ้ งสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึง
1. ความสัมพนั ธข์ องทุกส่วนประกอบ
2. ความสมเหตุสมผล
3. ความชดั เจน
4. สามารถตอบคาถามเหลา่ น้ีได้ คือ จะทาอะไร ทาเพ่ืออะไร ทาใหใ้ คร จะเร่ิมทาและเสร็จเม่ือใด มี
ประโยชน์อะไร กบั ใครบา้ ง ใครเป็นผทู้ า ที่ไหน ใชง้ บประมาณเท่าไหร่
5. สามารถตรวจสอบความสาเร็จได้
ส่วนประกอบของโครงงาน
3.1 ชื่อโครงงาน
3.2 หลกั การและเหตุผล
หลกั การ หมายถึง ขอ้ มลู ท่ีเป็นขอ้ เทจ็ จริงที่ไม่มีผใู้ ดปฏิเสธได้
เหตุ หมายถึง สภาพบางอยา่ งที่ควรไดร้ ับการแกไ้ ขหรือพฒั นา ท่ีจะเป็นแรงบนั ดาลใจให้
เทคนิค วิธีการหรือกระบวนการแกป้ ัญหาหรือพฒั นา
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ผล หมายถึงขอ้ มูลท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงสิ่งดีๆ ท่ีคาดหวงั วา่ จะเกิดข้นึ ภายหลงั ที่ไดน้ าวธิ ึการเทคนิดหรือ
กระบวนการมาใช้
3.3 วตั ถปุ ระสงค์
วตั ถุประสงค์ ตน้ ทาง แสดงใหเ้ ห็นวา่ คอื อะไรหรือจะทาอะไร มีลกั ษณะของขอ้ ความคือ เพื่อจะทา....
วตั ถปุ ระสงค์ ปลายทาง แสดงใหเ้ ห็นผลลพั ธท์ ี่จะเกิดจากโครงงาน มีลกั ษณะของขอ้ ความคือ เพ่ือให.้ ......
3.4 เป้าหมาย เป็นการแสดงใหเ้ ห็นถึงผลผลิตท่ีจะเกิดข้นึ เมื่อสิ้นสุดกระบวนการทางาน มี 2 ลกั ษณะ
เชิงปริมาณ หมายถึง ผลผลิตหรือผลงานท่ีสามารถนบั ได้
เชิงคุณภาพ หมายถึง การแสดงใหเ้ ห็นคุณค่าหรือประโยชน์ที่จะเกิดข้นึ กบั ผลผลิต
3.5 ระยะเวลาในการดาเนินงาน
3.6 สถานท่ีดาเนินงาน
3.7 งบประมาณ
3.8 วิธีดาเนินงาน
3.9 การประเมินผล
3.10 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ เป็นประโยชน์ที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการนาชิ้นงานไปใช้
3.11 ผรู้ ับผดิ ชอบโครงงาน
3.12 ที่ปรึกษาโครงงาน
การเขียนรายงานผลการดาเนินโครงงาน มีส่วนประกอบคือ
1. บทคดั ยอ่ เป็นการสรุปภาพรวมของการทาโครงการ ประกอบดว้ ยส่วน วตั ถุประสงค์ ความสาคญั
วธิ ีการ และผลท่ีไดร้ ับการทาโครงงาน
2. กิตติกรรมประกาศ เป็นการแสดงความใหเ้ กียรติและยกยอ่ งบคุ คลที่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งในการใหน้ า
แนะนา
3. คานา แสดงใหเ้ ห็นถึงจุดมุ่งหมายการทาโครงงาน ใหผ้ อู้ า่ นทราบภาพรวม
4. สารบญั
5. สารบญั ตาราง
6. สารบญั ภาพ
7. บทนา ประกอบดว้ ย
7.1 หลกั การและเหตุผล
7.2 ความสาคญั
7.3 วตั ถปุ ระสงค์
7.4 ขอบข่ายของการทาโครงงาน
7.5 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
7.6 ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
8. เอกสาร/ขอ้ มลู ที่เก่ียวขอ้ ง
9. วธิ ีการดาเนินงาน
10. ผลการดาเนินงาน
11. สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
11.1 สรุป เป็นการแสดงขอ้ มูลในส่วนที่เป็นวตั ถุประสงค์ วธิ ีการดาเนินงานโดยยอ่
11.2 อภิปรายผล เป็นกาเขยี นอภิปรายเหตผุ ลหรือสาเหตุท่ีทาใหผ้ ลงานออกมาในทานอง
น่าพอใจ/ไม่สนพอใจ สอดคลอ้ ง/ไม่สอดคลอ้ งกบั ผลงานที่คนอ่ืนทาไว้ และอ่ืนๆ
11.3 ขอ้ เสนอแนะ เป็นการเขียนเพื่อเสนอแนะแก่ผูอ้ ่ืนท่ีจะทาโครงงานในเรื่องเดียวกนั
หรือคลา้ ยกนั ใหส้ มบรู ณ์มากข้ึน
12. บรรณนุกรม
13. ภาคผนวก เป็นขอ้ มลู อื่นๆที่ไมส่ ามารถหือไม่เหมาะสมจะนาไม่ใชใ้ นตวั เน้ือหาหลกั ที่กาหนด
ไวต้ ามสารบญั
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบงานที่ 7
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
“อาชีพมัน่ คง”
เรื่อง โครงการเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้
ช่ือ – สกุล......................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
คาช้ีแจง : ใหผ้ เู้ รียนตอบคาถามใหส้ มบรูณ์
1. การพจิ ารณาเลือกโครงงาน มีวธิ ีการคดิ อยา่ งไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
2. ใหย้ กตวั อยา่ งแผนการปฏิบตั ิงานในการทาโครงงานมาพอสังเขป
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.3. ใหผ้ เู้ รียนบอกความหมายของแหล่งขอ้ มลู และลกั ษณะของแหลง่ ขอ้ มูลมีอะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
4. ใหผ้ เู้ รียนบอกลกั ษณะของทกั ษะการคิดแบง่ เป็นกี่ลกั ษณะอะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
5. ใหผ้ เู้ รียนบอกลกั ษณะของทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ข้นั พ้ืนฐานมีก่ีทกั ษะอะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบความรู้ที่ ๘
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
“ชุมชนพอเพยี ง”
ความหมาย ความสาคัญการบริหารจัดการชุมชน
ความหมายของชุมชน หมายถึงถ่ินฐานที่อยูข่ องกล่มุ คน ถิ่นฐานน้ีมีพ้ืนที่อา้ งอิงได้ และกลมุ่ คนน้ีมี
การอย่อู าศยั ร่วมกนั มีการทากิจกรรม เรียนรู้ ติดต่อ สื่อสาร ร่วมมือและพ่ึงพาอาศยั กนั มีวฒั นธรรมและภูมิ
ปัญญาประจาถิ่น มีจิตวญิ ญาณ และความผกู พนั อยกู่ บั พ้ืนท่ีแห่งน้นั อยภู่ ายใตก้ ารปกครองเดียวกนั
โครงสร้างของชุมชน ประกอบด้วย ๓ ส่วนคือ
๑. กลุ่มคน หมายถึง การที่คน ๒ คนหรือมากกวา่ น้นั เขา้ มาติดต่อเก่ียวขอ้ งกนั และมีปฏิสัมพนั ธ์ต่อ
กนั ทางสงั คมในชวั่ เวลาหน่ึงดว้ ย ความมงุ่ หมายอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงร่วมกนั
๒. สถาบันทางสังคม หมายถึงคนมาอยู่รวมกนั เป็นกลุ่มแลว้ และมีวิวฒั นาการไปถึงข้นั ต้งั องคก์ ร
ทางสังคมแลว้ ก็จะมีการกาหนดแบบแผนของการปฏิบตั ิต่อกนั ของสมาชิกในกลุ่มเพ่ือสามารถดาเนินการ
ตามภารกิจ
๓. สถานภาพและบทบาทสถานภาพ หมายถึง ตาแหน่งทางสังคมของคนในกลุ่ม หรือสังคม
บทบาทหมายถึงพฤติกรรมที่คนในสงั คมตอ้ งทาตามสถานภาพในกลมุ่ หรือสงั คมปรัชญาศาสนา
องค์ประกอบของชุมชนที่มีการบริหารจดั การทดี่ ี
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบงานที่ ๘
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
“ชุมชนพอเพยี ง”
เร่ือง ชุมชนพอเพยี ง
ชื่อ – สกุล.....................................................รหสั นกั ศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
๑. จงอธิบายความหมายคาว่า “ ชุมชน ”
……………………………………………………………………………………………………............…
…..………………………………………………………………………………………………………........
....……..………………………………………………………………………………………………………
............……..…………………………………………………………………………………………………
……............……..……………………………………………………………………………………………
…………............……..………………………………………………………………………………………
………………............……..…………………………………………………………………………………
๒. จงอธบิ ายส่วนประกอบของ โครงสร้างของชุมชน มีก่สี ่วน ประกอบด้วยอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………............
……..………………………………………………………………………………………………………....
........……..……………………………………………………………………………………………………
............……..…………………………………………………………………………………………………
…............……..………………………………………………………………………………………………
๓. จงอธิบายองค์ประกอบของ ชุมชนทม่ี กี ารบริหารจดั การที่ดี ประกอบด้วยอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………............
……..………………………………………………………………………………………………………....
........……..……………………………………………………………………………………………………
…............……..………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………............
……..…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………..………………………
…………………………………………………………………………………............……..………………
………………………………………………………………………………………............……..…………
……………………………………………………………………………………………............……..……
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบความรู้ท่ี ๙
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒
“ชุมชนพอเพยี ง”
เรื่อง การแก้ปัญหาชุมชน
การประยกุ ต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพยี งเพื่อแก้ปัญหาชุมชน
๑.ด้านจิตใจ มีจิตใจเขม้ แขง็ พ่ึงตนเองได้ / มีจิตสานึกท่ีดี / เอ้ืออาทร / ประนีประนอม นึกถึงผล
ประโยชนส์ ่วนรวมเป็นหลกั
๒.ด้านสังคม ช่วยเหลือเก้ือกูลกนั / รู้รักสามคั คี / สร้างความเขม้ แขง็ ใหค้ รอบครัวและชุมชน
๓.ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จกั ใช้และจดั การอย่างฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช้
ทรัพยากรท่ีมีอยอู่ ยา่ งคมุ้ คา่ และเกิดประโยชน์สูงสุด / ฟ้ื นฟูทรัพยากรเพื่อใหเ้ กิดความยงั่ ยนื สูงสุด
๔.ด้านเทคโนโลยี รู้จกั ใชเ้ ทคโนโลยที ี่เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและสภาพแวดลอ้ ม(ภูมิ
สังคม) / พฒั นาเทคโนโลยจี ากภมู ิปัญญาชาวบา้ นเองก่อน / ก่อใหเ้ กิดประโยชนก์ บั คนหมู่มาก
แนวทางการแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาชุมชน
๑. ด้านปัญหาคือการเปล่ียนแปลงที่เอาปัญหามาเป็ นตวั ต้งั แลว้ หาแนวทางจดั การหรือแก้ปัญหา
น้นั ๆ ชุมชนเปล่ียนแปลงไปหรือไมอ่ ยา่ งไร ดูที่ปัญหาวา่ มีอยแู่ ละแกไ้ ขไปอยา่ งไร
๒.ด้านอานาจ คือการเปลี่ยนแปลงท่ีมองตวั อานาจเป็นสาคญั ชุมชนเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่อย่างไร
ดูที่ใครเป็นคนจดั การ อานาจในการเปลี่ยนแปลงอยู่ที่ไหน ศกั ยภาพในการเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึนหรือไม่และ
สุดทา้ ยมีการเปลี่ยนโครงสร้างอานาจหรือไม่
๓.ด้านการพฒั นา คอื การเปล่ียนแปลงที่เนน้ ที่พลงั จากภายในชุมชน ดาเนินการเปลี่ยนแปลงชุมชน
โดยการตดั สินใจ การกระทาของคนในชุมชนเอง ไม่ไดไ้ ปเปล่ียนที่คนอื่น หากเป็นการเปลี่ยนที่ชุมชน และ
ไมไ่ ดเ้ อาตวั ปัญหาเป็นตวั ต้งั แต่เป็นความพยายามท่ีจดั สร้างชุมชนท่ีพ่ึงตนเอง และสามารถยนื อยไู่ ดด้ ว้ ย
ตนเอง
แนวทางในการประยุกต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการพฒั นาชุมชน
๑. พจิ ารณาถึงพ้นื ฐานคือ การพ่ึงพาตนเองเป็นหลกั การทาอะไรเป็นข้นั ตอน รอบคอบ ระมดั ระวงั
๒. พจิ ารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตสุ มผลและการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง
๓. สร้างสามคั คใี นเกิดข้นึ บนพ้ืนฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่วนแตล่ ะระดบั
๔. ใหค้ รอบคลุมท้งั ดา้ นจิตใจ สังคม เทคโนโลยที รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มรวมถึง
เศรษฐกิจ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ใบงานท่ี ๙
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
“ชุมชนพอเพยี ง”
เรื่อง การแก้ปัญหาชุมชน
ชื่อ – สกุล.....................................................รหัสนกั ศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
๑. จงอธบิ ายแนวทางการแก้ปัญหาเพ่ือพฒั นาชุมชนมาพอเข้าใจ
๑.๑. ด้าน
ปัญหา…………………………………………………………………………………………….…...............
....................…………………………………………………………………………………………………
………............……..…………………………………………………………………………………………
๑.๒. ด้านอานาจ
…………………………………………………………………………………………............……..………
………………………………………………………………………………………………..................……
..………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………............……..………………
๑.๓. ด้านการพฒั นา
…………………………………………………………………………………….................………………
…………………………………………………………………………………………...............……..……
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………............……..……………
๒. จงอธิบายแนวทางในการประยุกต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพยี งเพื่อแก้ปัญหาชุมชนด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม
……………………………………………………………………………………………………….............
…….……………………………………………………………………………………………………….....
.........……..…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………............……..……………
………………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
๓. จงอธบิ ายแนวทางในการประยุกต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่ือแก้ปัญหาชุมชนด้านเทคโนโลยี
………………………………………………………………………………………………………............
……..………………………………………………………………………………………………………....
........……..……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………............……..……………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………............……..……………
………………………………………………………………………………………………………………
๔. ให้อธิบายแนวทางในการประยุกต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการพฒั นาชุมชนของตน
………………………………………………………………………………………………………............
……..………………………………………………………………………………………………………....
........……..……………………………………………………………………………………………………
…............……..………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………............……..……………
………………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ใบความรู้ท่ี ๑๐
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒
“ชุมชนพอเพยี ง”
เรื่อง สถานการณ์ของประเทศไทยและสถานการณ์โลกกบั ความพอเพยี ง
เรื่องที่ ๑ สถานการณ์โลกปัจจุบัน ( ช่วงปี ๒๕๕๑-๒๕๕๒ )
เม่ือสหรัฐอเมริกาได้พฒั นาเศรษฐกิจของตน สู่สูงสุดของทุนนิยมโลก เน่ืองจากตลาดทุนจาก
ทวั่ โลกหลง่ั ไหลสู่ตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา หลงั จากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจเอเชียและขยายตวั ออกไปทว่ั โลก
สต๊อกทุนจานวนมหาศาลในแต่ละประเทศ ไม่สามารถนาไปลงทุนได้ เน่ืองจากเศรษฐกิจชะลอตวั ถึงข้นั
วิกฤต เม็ดเงินจากสต๊อกทุน ทวั่ ทุกมุมโลกไดไ้ หลบ่าทะลกั สู่ตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา ปัญหาจากการเติบ
ใหญ่ของทุนในสหรัฐอเมริกาก็คือการขยายพ้ืนท่ีการลงทุน เพ่ือกระจายทุนออกไป ในขอบเขตปริมณฑลให้
กวา้ งที่สุด เพื่อรองรับการขยายตวั ของทุน ท่ีนับวนั จะเติบใหญ่ปี พ.ศ.๒๕๔๑ ขณะที่วิกฤตเศรษฐกิจกาลงั
เป็ นภยั คุกคามประเทศต่างๆ จากทว่ั โลก ตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา กลบั พุ่งทะยานอย่างรวดเร็ว ดชั นีหุ้น
Dow Jones พุ่งทะยานทะลุ ๑๐,๐๐๐ จุดเป็ นคร้ังแรกและสูงสุดกว่า ๑๑,๐๐๐ จุด Nasdaq สูงกว่า ๓,๘๐๐
จุดสร้างความเล่ือมใสศรัทธา งุนงง และไม่เขา้ ใจต่อเศรษฐกิจอเมริกา ท่ีสวนทางกบั วิกฤตเศรษฐกิจโลก ซ่ึง
จริงๆ แลว้ เป็ นเร่ืองท่ีสามารถทาความเขา้ ใจได้ไม่ยาก เมื่อสต๊อกทุนในแต่ละประเทศ ไม่สามารถนาไป
ลงทุนภายในประเทศได้ และความเช่ือมน่ั ในตลาดทุนอเมริกา ยงั คงอยู่ในความรู้สึกท่ีดีของนกั ลงุ ทนุ ดงั น้นั
ทุนจากทว่ั ทุกมุมโลกจึงหลง่ั ไหลเขา้ สู่ตลาดทุนในอเมริกา เมื่อตลาดทุนในอเมริกาไม่ไดเ้ ติบโตบนพ้ืนฐาน
ของความเป็ นจริง การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบฟองสบู่ของสหรัฐอเมริกา จึงน่าจะยืนอยู่ได้ไม่นาน ปี
๒๐๐๑ ปฐมวยั ย่างก้าวแรก ของรอบพนั ปี ที่ ๓ บริษัทยกั ษ์ใหญ่ในสหรัฐอเมริกาเริ่มทยอยประกาศผล
ประกอบการกาไรที่ลดลง และการประกาศปลดพนักงาน เช่นเม่ือเดือนธันวาคม ๒๕๔๓ เจเนอรัล
มอเตอร์ส(จีเอ็ม) ปลดพนักงาน ๑๕,๐๐๐ คน วนั พุธที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๔๔ ลูเซนต์เทคโนโลยี ผูผ้ ลิต
อุปกรณ์โทรศพั ท์ยกั ษ์ใหญ่ประกาศปลดพนักงาน ๑๖,๐๐๐ ตาแหน่ง เวิร์ลพูลผูผ้ ลิตเคร่ืองใช้ไฟฟ้าปลด
พนกั งาน ๖,๐๐๐ คน เอโอแอลไทม์ วอร์เนอร์ กิจการสื่อยคุ ใหม่จากการผนวกระหวา่ งอเมริกาออนไลน์ กบั
ไทม์ วอร์เนอร์ปลดพนักงาน ๒,๐๐๐ คนการแกว่งตัวอย่างไร้ทิศทางและไม่ชัดเจนของตลาดทุนใน
สหรัฐอเมริกา เริ่มท่ีจะผนั ผวนและไม่แน่นอน นกั ลงทุนเริ่มไม่แน่ใจต่อความเช่ือมนั่ ตลาดทุนอเมริกา และ
เม่ือนายคิอิชิ มิยาซาวา รัฐมนตรีคลังญ่ีป่ ุน กล่าวเม่ือวนั ท่ี ๘ มีนาคม ๒๕๔๔ ในการช้ีแจงต่อคณะ
กรรมาธิการงบประมาณของวุฒิสภา ยอมรับความปราชยั ทางเศรษฐกิจอย่างเป็นทางการคร้ังแรก หลงั จากท่ี
เศรษฐกิจญ่ีป่ ุนผกุ ร่อนเป็ นปัญหายืดย้ือยาวนานมาร่วม ๑๐ ปี ว่าฐานะการเงินของประเทศกาลงั ย่าแย่เต็มที
หรืออาจกล่าวได้ว่าใกล้จะล้มละลายแล้ว สัปดาห์รุ่งข้ึนหลังการแถลงของมิยาซาวา ตลาดทุนใน
สหรัฐอเมริกา นาโดย NASDAQ ร่วงลงกว่า ๓๐% ตามด้วย Dow Jones, S&P และตลาดทุนท่ัวโลก
พงั ทะลายลงทนั ที จอร์จ บุช เรียกสถานการณ์น้ี ว่าเป็ น World Stock Crisis ขณะที่นักลงทุนจากทว่ั โลก
เกิดความไม่เช่ือมน่ั ตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา เหตุการณ์ความตึงเครียดในภูมิภาคต่างๆ ทวั่ โลก ในช่วงของ
เดือนมีนาคม ๒๕๔๔ ไล่ต้งั แต่การประกาศจะพฒั นาขีปนาวุธป้องกนั ตนเองของสหรัฐอเมริกา การจบั ตวั
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
มิโลเซวิช อดีตผนู้ า ยโู กสลาเวีย การต่อสู้ของชาวปาเลสไตน์ที่พฒั นาจากการขวา้ งกอ้ นอิฐกอ้ นดิน มาเป็ น
การวางระเบิดและมีการใชป้ ื น ความตึงเครียดในเชสเนียการทาลายพระพุทธรูปที่ใหญ่ที่สุดในโลกของกลุ่ม
ตาลีบนั ในอฟั กานิสถาน ไดส้ ร้างแผลลึกในจิตใจของชาวพุทธ ต่อชาวมุสลิม องคท์ ะไลลามะธิเบต เยอื นใต้
หวนั เรือดาน้าอเมริกาโผล่ที่เกาะแห่งหน่ึงในญี่ป่ ุนโดยไม่มีการแจ้งล่วงหน้า สหรัฐอเมริกาประกาศขาย
อาวุธแก่ใตห้ วนั ปิ ดทา้ ยดว้ ยการยว่ั ยุจีน ดว้ ยการใช้เคร่ืองสอดแนมบินรุกล้าเขา้ ไปในน่านฟ้าจีน กระทง่ั ทา
ให้จีนตอ้ งใช้เคร่ืองบินขบั ไล่สองลา ข้ึนบงั คับให้เครื่องบินสอดแนมของสหรัฐลงจอดบนเกาะไหหลา
เหตกุ ารณ์ที่เกิดความตึงเครียดดงั กล่าว ลว้ นเกิดข้ึนในเดือนมีนาคม ขณะท่ีวิกฤตตลาดทุนของสหรัฐอเมริกา
กาลังเกิดข้ึนพอดี โดยเบ้ืองลึกจะเกิดจากการสร้างสถานการณ์โดยสหรัฐอเมริกาหรือไม่ก็ตามภายใน
ระยะเวลาเพียงหน่ึงเดือน ดชั นีตลาดหุ้น Dow Jones ก็ดีดกลบั ข้ึนมายนื อยู่ในระดบั ท่ีสูงกว่าเดือนมกราคม
เสียอีก ท้งั ท่ีเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ยงั ตกอยู่ในภาวะท่ีเลวร้ายสถานการณ์เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา –
ญี่ป่ ุน กาลงั จะนาไปสู่วิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยม การเตรียมพร้อมของสหรัฐอเมริกาในการต้งั รับ และเปิ ดแนว
รุกต่อสถานการณ์ดงั กล่าวมานานกว่า ๒๐ ปี นน่ั ก็คือการเตรียมพร้อมดา้ นยทุ ธศาสตร์ “การทาสงครามเล้ียง
เศรษฐกิจ” เนื่องจากสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาปัจจัยการผลิตสู่ยุค IT (Information Technology) ดังน้ัน
ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี ทางสงคราม ไดถ้ ูกพฒั นารูปแบบสงครามสู่ยุค IT ขณะที่รูปแบบยุทธศาสตร์ - ยุทธ
ปัจจยั ของประเทศต่างๆ ทว่ั โลก ยงั คงใช้รูปแบบของสงครามในยุคอุตสาหกรรม (บางประเทศมหาอานาจ
อย่าง จีน –รัฐเซีย รูปแบบสงครามอาจพฒั นาสู่ยุค IT แลว้ แต่ยงั ไม่มีการสาธิต เช่นสหรัฐอเมริกาท่ีไดผ้ า่ น
การสาธิตแลว้ ในสงครามอ่าว) ประเทศจีนหลงั จากที่ เติ้งเซ่ียวผิง ไดป้ ระกาศนโยบายส่ีทนั สมยั นาประเทศ
จีนสู่การพฒั นาดา้ นพลงั การผลิต ดว้ ยนโยบาย หน่ึงประเทศสองระบบ ทาให้ GDP จีน เติบโตระหวา่ ง ๘–
๑๒% มาโดยตลอด แมป้ ัจจุบนั ที่วิกฤตเศรษฐกิจโลกส่งผลกระทบกบั ทุกประเทศ การเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของจีน กย็ งั ยนื อยใู่ นระดบั ๗-๘% จากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนดงั กลา่ ว ยอ่ มท่ีจะไปกระทบและ
ขดั ขวางต่อผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกา ในการที่จะแผ่อิทธิพลสู่การเป็ นจกั รวรรดินิยมเจา้ โลก ดงั น้ัน
ความพยายามในการที่จะทาลายจีนให้อ่อนกาลงั ลง ดว้ ยการแยกสลายจีนจาก ๘ เขตปกครองตนให้เป็ น
ประเทศเช่นเดียวกับรัสเซียจึงนับเป็ นสุดยอดของยุทธศาสตร์ อันจะนาไปสู่ความสาเร็จของการเป็ น
จกั รวรรดินิยมจา้ วโลก
เรื่องท่ี ๒ สถานการณ์พลงั งานโลกกบั ผลกระทบเศรษฐกจิ ไทย
ปัญหาเร่งด่วนในปัจจุบนั ที่ส่งผลกระทบต่อเกือบทุกประเทศในโลก คือ การท่ีราคาน้ามนั ไดส้ ูงข้นึ
อยา่ งรวดเร็วและต่อเน่ืองในช่วงเวลา ๔-๕ ปี ที่ผา่ นมา และ ดูเหมือนน้ามนั ในปี น้ี (พ.ศ.๒๕๕๑) จะแพง
สูงสุดเป็นประวตั ิการณ์แลว้ ภาวะน้ามนั แพงทาใหต้ น้ ทนุ ดา้ นพลงั งาน (โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในการขนส่ง)
สูงข้ึนอยา่ งรวดเร็ว มีผลลกู โซ่ต่อไปยงั ราคาสินคา้ และบริการตา่ งๆ นอกจากจะทาให้ ค่าครองชีพสูงข้นึ มาก
แลว้ ยงั เป็นอุปสรรคต่อการขยายตวั ทางเศรษฐกิจอีกดว้ ยผลกระทบเหลา่ น้ีไดก้ ่อใหเ้ กิดการประทว้ งของกล่มุ
ผทู้ ่ีตอ้ งแบกรับภาระ เช่น คนขบั รถบรรทุกและชาวประมงในหลายประเทศ รวมท้งั การเรียกร้องใหร้ ัฐบาล
ยน่ื มือเขา้ มาแทรกแซงและใหค้ วามช่วยเหลือ ปัญหาราคาน้ามนั แพงมากในช่วงน้ีถือไดว้ า่ เป็นวิกฤตการณ์
น้ามนั คร้ังที่ ๓ ของโลกก็วา่ ได้
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
๗ ปัจจัย ต้นเหตุน้ามนั แพง
ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเร่ิมขยบั ตวั ข้ึนสูงอย่างเห็นได้ชัดในปี ๒๕๔๗ โดยราคาน้ามันดิบ
สูงข้ึนบาร์เรลละประมาณ $๑๐ เป็นกวา่ $๓๘ ต่อบาร์เรล และหลงั จากน้นั เป็นตน้ มา ราคาก็มีแนวโนม้ สูงข้ึน
โดยตลอด จะมีลดลงบ้างในบางคร้ังเป็ นช่วงส้ันๆ เท่าน้ัน โดยความผนั ผวนของราคามีมากข้ึน แต่การ
เปลี่ยนแปลงเป็ นไปในทางเพ่ิมมากกว่าทางลดในช่วงปลายปี ๒๕๕๐ ราคาน้ามนั ดิบพุ่งสูงเกิน $๑๐๐ ต่อ
บาร์เรล ซ่ึงนอกจากจะเป็นระดบั ที่สูงท่ีสุดเป็นประวตั ิการณ์ในรูปของราคาปี ปัจจุบนั ในช่วงคร่ึงปี แรกของ
ปี ๒๕๕๑ ราคาน้ามนั ก็ยงั คง ขยบั สูงข้ึนอย่างต่อเน่ืองและอยู่ในระดบั กวา่ $๑๓๐ ตอ่ บาร์เรลในสัปดาหท์ ี่ ๒
ของเดือนมิถุนายน ๒๕๕๑ มีบทความขอ้ เขียนจานวนมากท่ีไดว้ ิเคราะห์และอธิบายสาเหตุของภาวะน้ามนั
แพงดงั กล่าว ส่วนใหญ่มีประเด็นท่ีเหมือนกนั และสอดคลอ้ งกนั ดงั น้ี
๑. กาลงั การผลิตส่วนเกิน (excessproduction capacity) ในตลาดน้ามนั ดิบอยู่ในระดบั ท่ีค่อนขา้ งต่า
มาตลอด ๕ ปี ท่ีผา่ นมา ท้งั น้ี เป็นผลจากการท่ีประเทศ ผูผ้ ลิตน้ามนั หลายแห่งขาดแรงจูงใจในการขยายกาลงั
การผลิตในช่วงท่ีราคาน้ามนั อยู่ในระดบั ค่อนขา้ งต่าในช่วงทศวรรษ ๑๙๙๐ หน่วยงานพลงั งานของสหรัฐ
(EIA) รายงานว่า ในเดือนกันยายน ๒๕๕๐ OPEC มีกาลังการผลิตส่วนเกินเพียง ๒ ลา้ นบาร์เรลต่อวนั
(ประมาณ ๒% ของปริมาณการใชน้ ้ามนั ของโลก) โดยประมาณ ๘๐% ของส่วนเกินน้ีอยู่ในซาอุดีอาระเบีย
เพยี งประเทศเดียว
๒. การผลิตน้ามนั จากแหล่งใหม่ๆ ในโลก เร่ิมมีตน้ ทนุ ท่ีสูงมากข้ึน ท้งั น้ีอาจเป็นเพราะแหลง่ น้ามนั
ขนาดใหญ่ๆ ถูกคน้ พบและใช้งานเป็ นส่วนใหญ่แลว้ ยงั เหลืออยู่ก็จะเป็ นแหล่งน้ามันขนาดเล็ก หรือที่มี
คุณภาพต่า หรือท่ีอยู่ในถิ่นทุรกันดาร/น้าทะเลลึกๆ ซ่ึงมีตน้ ทุนการสารวจและการผลิตท่ีสูงมาก มีการ
วิเคราะห์พบว่าในปัจจุบนั ตน้ ทุนการผลิตน้ามนั ในปริมาณ ๔ ลา้ นบาร์เรลต่อวนั (คิดเป็น ๕% ของปริมาณ
การผลิตของโลกในปัจจุบนั ) มีตน้ ทุนการผลิตสูงถึง $๗๐ ต่อบาร์เรล ตวั อย่างท่ีเห็นไดช้ ดั คือ ทรายน้ามนั
(tars sands) ในแคนาดา ซ่ึงเริ่มผลิตออกมาแลว้ และมีตน้ ทนุ การผลิตไมต่ ่ากวา่ $๖๐ ตอ่ บาร์เรล
๓. ในประเทศผูผ้ ลิตและส่งออกน้ามันรายใหญ่หลายราย การผลิตน้ามันมีโอกาสหยุดชะงัก
ได(้ supply disruption) เพราะเหตุจากความไม่สงบทางการเมือง สงคราม และภยั ธรรมชาติ เหตุการณ์สาคญั
ท่ีบ่งช้ีถึงปัญหาน้ี ไดแ้ ก่ การบุกอิรักของกองทพั สหรัฐในปี ๒๕๔๖ ทาใหก้ าลงั การผลิตน้ามนั ของอิรักลดลง
ระดบั หน่ึง และความไม่สงบซ่ึงยงั คงเกิดข้ึนในประเทศหลงั จากน้นั ยงั เป็ นอุปสรรคสาคญั ต่อการผลิตและ
การส่งออกน้ามนั ของอิรักให้กลบั ไปสู่ระดบั ปกติความขดั แยง้ ระหวา่ งอิหร่านกบั ประเทศตะวนั ตกเก่ียวกบั
โครงการพฒั นานิวเคลียร์ของอิหร่าน (ซ่ึงเป็นผผู้ ลิตน้ามนั มากเป็นอนั ดบั ที่ ๔ ของโลก) ก่อให้เกิดความตึง
เครียดในภูมิภาคตะวนั ออกกลางระหวา่ งอิหร่านและสหรัฐ โดยอิหร่านประกาศว่าจะใชน้ ้ามนั เป็นอาวุธเพ่ือ
ตอบโตม้ าตรการคว่าบาตรของสหรัฐ และในปี ๒๕๕๑ ไดม้ ีการเผชิญหน้ากนั ระหว่างทหารอิหร่านและ
ทหารสหรัฐในบริเวณช่องแคบฮอร์มุซ ซ่ึงเป็ นทางผ่านสาคญั สาหรับการขนส่งน้ามนั จากตะวนั ออกกลาง
พายเุ ฮอร์ริเคนในแถบอ่าวเม็กซิโกในเดือนกันยายน ๒๕๔๘ มีผลกระทบต่อแท่นผลิตน้ามนั ของเม็กซิโก
และโรงกลน่ั ที่ต้งั อยู่ตอนใตข้ องสหรัฐ มีผลใหร้ าคาน้ามนั เบนซินในสหรัฐเพ่ิมสูงข้ึนเป็ น $๓ ต่อแกลลอน
ซ่ึงเป็นระดบั ที่สูงสุดในรอบ ๒๕ ปี ผกู้ ่อการร้ายในไนจีเรียคกุ คามแหล่งผลิตน้ามนั หลายคร้ัง ทาใหป้ ระมาณ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
การผลิตและส่งออกน้ามนั จากไนจีเรียลดลงประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ บาร์เรลต่อวนั ความขดั แยง้ ทางการเมือง
ระหวา่ งรัฐบาลเวเนซุเอลาและรัฐบาลสหรัฐ ทาใหก้ ารนาเขา้ น้ามนั จากเวเนซุเอลาของสหรัฐมีความเส่ียงมาก
ข้ึน
๔. ในหลายประเทศท่ีส่งออกน้ามนั ได้ มีการผลิตน้ามนั ในปริมาณท่ีลดลงไป เพราะปริมาณสารอง
เร่ิมมีขอ้ จากดั มากข้นึ ในขณะเดียวกนั ความตอ้ งการใชน้ ้ามนั ในประเทศเหลา่ น้ีก็เพม่ิ ข้ึนตามการขยายตวั ของ
ประชากรและเศรษฐกิจดว้ ย ทาใหห้ ลายประเทศตอ้ งลดการส่งออกลง เช่น อินโดนีเซีย เมก็ ซิโก นอร์เวย์
และองั กฤษ ในระหวา่ งปี ๒๐๐๕ ถึง ๒๐๐๖ การบริโภคน้ามนั ภายในประเทศผสู้ ่งออก ๕ อนั ดบั แรกคือ
ซาอดุ ิอาระเบีย รัสเซีย นอร์เวย์ อิหร่าน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ไดเ้ พิ่มสูงข้ึนถึงร้อยละ ๕.๙ และมี
ปริมาณการส่งออกลดลงกวา่ ร้อยละ ๓ เมื่อเทียบกบั ปี ก่อนหนา้ น้ี หรือในกรณีของอินโดนีเซียที่รัฐบาลมีการ
อดุ หนุนผบู้ ริโภคภายในประเทศ และกรณีของซาอดุ ิอาระเบียที่ราคาน้ามนั เบนซินในประเทศอยทู่ ี่ ๕ บาท
ตอ่ ลิตร ขณะที่มาเลเซียอยใู่ นระดบั ๒๐ บาทต่อลิตร จึงทาใหเ้ กิดการคาดการณ์วา่ ปริมาณการส่งออก
น้ามนั ดิบของประเทศผสู้ ่งออกน้ามนั จะลดลงถึง ๒.๕ ลา้ นบาร์เรลต่อวนั ภายในช่วง ๑๐ ปี น้ี เม่ือไมก่ ่ีเดือน
มาน้ีขา่ ววา่ รัฐบาลอินโดนีเซียกาลงั พจิ ารณาจะถอนตวั จากการเป็นสมาชิก OPEC เพราะอินโดนีเซียจะไม่
สามารถส่งออกน้ามนั ไดอ้ ีกต่อไปในอนาคตอนั ใกลน้ ้ี
๕. นอกจากกาลงั การผลิตส่วนเกินของน้ามนั ดิบจะมีนอ้ ย กาลงั การกลน่ั น้ามนั ของโลกก็มีปัญหา
คอขวด โดยมีส่วนเกินน้อยกว่า ๑ ลา้ นบาร์เรลต่อวนั ในขณะเดียวกนั ตลาดน้ามันมีแนวโน้มตอ้ งการใช้
น้ามนั ชนิดเบาและสะอาดมากข้ึน จึงสร้างแรงกดดนั ให้โรงกลน่ั น้ามนั ตอ้ งลงทุนปรับปรุงคุณภาพอีกดว้ ย
ขอ้ จากดั น้ีจึงทาให้ราคาผลิตภณั ฑน์ ้ามนั มีราคาสูงข้ึนเพิ่มไปจากการเพิ่มของราคาน้ามนั ดิบ และกาไรของ
โรงกลนั่ น้ามนั อยใู่ นระดบั ท่ีคอ่ นขา้ งสูงมาโดยตลอด เป็นท่ีน่าสงั เกตดว้ ยวา่ สหรัฐซ่ึงเป็นผใู้ ชน้ ้ามนั รายใหญ่
ที่สุดของโลกไม่ไดก้ ่อสร้างโรงกลน่ั น้ามนั แห่งใหม่มาเลยต้งั แตท่ ศวรรษ ๑๙๗๐
๖. ถึงแมว้ า่ ราคาน้ามนั ระหวา่ งปี ๒๕๔๖ ถึงปี ๒๕๕๐ จะสูงข้ึนกวา่ ๓ เท่าตวั แลว้ แตค่ วามตอ้ งการ
ใชน้ ้ามนั ของโลกก็ไม่ไดล้ ดลงเลย กลบั ยงั คงเพิ่มข้ึนในอตั รา ๓.๕๕% ในปี ๒๕๔๘ และในอตั ราที่ยงั สูง
กวา่ ๑% ใน ปี ต่อๆ มา ปรากฏการณ์เช่นน้ีแตกต่างจากที่เกิดข้ึนในช่วงวิกฤตน้ามนั สองคร้ังแรก (ปี ๒๕๑๖/
๑๗ และปี ๒๕๒๒/๒๓) ซ่ึงเราพบว่าราคาน้ามนั ท่ีสูงข้ึนมากทาให้ความตอ้ งการน้ามนั ลดลงในปี ต่อมา
ในช่วง ๔-๕ ปี ท่ีผ่านมา เศรษฐกิจโลกยงั ขยายตวั ได้ ค่อนขา้ งดี และดูเหมือนจะยงั ไม่ไดร้ ับผลกระทบจาก
ภาวะราคาน้ามนั แพงมากนกั จีนและอินเดียเป็นผใู้ ชพ้ ลงั งานท่ีมีอิทธิพลตอ่ ตลาดน้ามนั โลก
๗. กองทนุ ประเภท hedge funds หนั ไปลงทุนซ้ือขายเกง็ กาไรในตลาดน้ามนั ลว่ งหนา้ มากข้นึ ท้งั น้ี
เพ่ือหลีกเลี่ยงการลงทุนในรูปของเงินดอลลาร์สหรัฐ ซ่ึงในระยะหลังมีแนวโน้มอ่อนค่าลงมากเม่ือ
เปรียบเทียบกบั เงินสกุลอ่ืนๆ เน่ืองจากภาวะตลาดน้ามนั ตามที่กลา่ วมาแลว้ ช้ีให้เห็นวา่ ราคาน้ามนั มีแนวโนม้
ที่จะสูงข้ึน ผจู้ ดั การกองทุนเหล่าน้ีจึงเกง็ กาไรโดยการซ้ือน้ามนั ไวล้ ่วงหนา้ เพื่อขายเอากาไรในอนาคต ส่งผล
ใหร้ าคาน้ามนั ท้งั ในตลาด spot และตลาดลว่ งหนา้ สูงข้นึ อีกระดบั หน่ึง
ปรากฏการณ์โลกร้อนและปรากฏการณ์เรือนกระจก
ค่าผิดปกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มข้ึนในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๓–๒๕๔๙ เทียบกบั อุณหภูมิ
ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๔–๒๕๓๓ ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวพ้ืนที่ผิดปกติท่ีเทียบกบั อุณหภูมิเฉล่ียระหว่างปี พ.ศ.
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
๒๕๓๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๗ ในช่วง ๑๐๐ ปี ที่ผา่ นมา นบั ถึง พ.ศ. ๒๕๔๘ อากาศใกลผ้ ิวดินทวั่ โลกโดยเฉลี่ยมี
ค่าสูงข้ึน ๐.๗๔ ± ๐.๑๘ องศาเซลเซียส ซ่ึงคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติไดส้ รุปไวว้ ่า “จากการ
สังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉล่ียของโลกท่ีเกิดข้ึนต้งั แต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ (ประมาณต้งั แต่
พ.ศ. ๒๔๙๐) ค่อนขา้ งแน่ชัดว่าเกิดจากการเพ่ิมความเขม้ ของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดข้ึนโดยกิจกรรมของ
มนุษยท์ ่ีเป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอยา่ ง เช่น ความผนั แปรของ
การแผ่รังสีจากดวงอาทิตยแ์ ละการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพ่ิมอุณหภูมิในช่วง
ก่อนยคุ อตุ สาหกรรมจนถึง พ.ศ. ๒๔๙๐ และมีผลเพียงเลก็ นอ้ ยต่อการลดอุณหภูมิหลงั จากปี ๒๔๙๐เป็นตน้
มา ขอ้ สรุปพ้ืนฐานดงั กล่าวน้ีไดร้ ับการรับรองโดยสมาคมและสถาบนั การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่นอ้ ยกวา่
๓๐ แห่ง รวมท้ังราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติท่ีสาคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่างๆแม้
นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แยง้ กับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง [๔] แต่เสียงส่วนใหญ่ของ
นักวิทยาศาสตร์ท่ีทางานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุป น้ี
แบบจาลองการคาดคะเนภูมิอากาศ บ่งช้ีว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยท่ีผิวโลกจะเพ่ิมข้ึน ๑.๑ ถึง ๖.๔ องศา
เซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๔๔–๒๖๔๓) ค่าตวั เลขดังกล่าวได้มาจากการจาลอง
สถานการณ์แบบต่างๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจาลองค่าความไวภูมิอากาศ
อีกหลากหลายรูปแบบ แต่ความร้อนจะยงั คงเพิ่มข้ึนและระดับน้าทะเลก็จะสูงข้ึนต่อเน่ืองไปอีกหลาย
สหสั วรรษ แมว้ า่ ระดบั ของแกส๊ เรือนกระจกจะเขา้ ส่ภู าวะเสถียรแลว้ ก็ตาม การท่ีอุณหภูมิและระดบั น้าทะเล
เข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็ นเหตุมาจากความจุความร้อนของน้าในมหาสมุทรซ่ึงมีค่าสูงมาก การท่ี
อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงข้ึนทาใหร้ ะดบั น้าทะเลสูงข้ึน และคาดวา่ ทาใหเ้ กิดภาวะลมฟ้าอากาศ ท่ีรุนแรงมาก
ข้ึน ปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้าฟ้าจะเปล่ียนแปลงไป ผลกระทบอ่ืนๆ ของปรากฏการณ์โลกร้อน
ไดแ้ ก่ การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตรการเคลื่อนถอยของธารน้าแข็ง การสูญพนั ธุ์พืช-สัตวต์ ่างๆ
รวมท้งั การกลายพนั ธุ์และแพร่ขยายโรคต่างๆ เพ่ิมมากข้ึนรัฐบาลของประเทศต่างๆ แทบทุกประเทศไดล้ ง
นามและใหส้ ัตยาบนั ในพิธีสารเกียวโต ซ่ึงมุ่งประเด็นไปที่การลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก แต่ยงั คงมีการ
โตเ้ ถียงกนั ทางการเมืองและการโตว้ าทีสาธารณะไปทว่ั ท้งั โลกเก่ียวกบั มาตรการว่าควรเป็นอยา่ งไรจึงจะลด
หรือยอ้ นกลับความร้อนที่เพิ่มข้ึนของโลกในอนาคต หรือจะปรับตัวกันอย่างไรต่อผลกระทบของ
ปรากฏการณ์โลกร้อนที่คาดวา่ จะตอ้ งเกิดข้ึน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดารัสเก่ียวกบั ปรากฏการณ์เรือนกระจก ท่ีศาลาดุสิดาลยั
อย่างลึกซ้ึง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้รับสนองกระแสพระราชดารัส นาเขา้ ประชุม
คณะรัฐมนตรี จนกระทง่ั ทาใหว้ นั ท่ี ๔ ธ.ค. ของทกุ ปี เป็ นวันสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ต้งั แต่ปี ๒๕๓๔เป็นตน้ มา
จากผลงานพระราชดาริและการทรงลงมือปฏิบตั ิพฒั นาดว้ ยพระองค์เอง เกี่ยวกบั สภาพแวดลอ้ ม
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีคุณประโยชน์ต่อคนชนชาติตา่ งๆ ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม
ความม่ันคงของมนุษย์และการเมือง ซ่ึงเป็ นท่ีประจักษ์ไปทั่วโลก องค์การสหประชาชาติ โดย
นายโคฟี อนั นัน อดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ จึงไดเ้ ดินทางมาประเทศไทย ในวาระมหามงคล
ฉลองสิริราชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี เขา้ เฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว วนั ที่ ๒๖ พ.ค. ๒๕๔๙ เพ่ือถวายรางวลั
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
“UNDP Human Development Lifetime Achievement Award” (รางวลั ความสาเร็จสูงสุดด้านการพัฒนา
มนุษย์) ซ่ึงเป็ นรางวัลประเภท Life - Long Achievement และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็ น
พระมหากษตั ริยพ์ ระองคแ์ รกในโลกท่ีไดร้ ับรางวลั น้ี องคก์ ารสหประชาชาติ ไดย้ กย่องพระบาทสมเด็จพระ
เจา้ อยู่หัว เป็ น “พระมหากษตั ริยน์ ักพฒั นา”และกล่าวถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
ของพระองคว์ า่ เป็นปรัชญาหรือทฤษฎีใหม่ที่นานาประเทศรู้จกั และยกยอ่ ง โดยที่องคก์ ารสหประชาชาติได้
สนับสนุนให้ประเทศต่างๆ ท่ีเป็ นสมาชิกยึดเป็ นแนวทางสู่การพฒั นาประเทศท่ียงั่ ยืน ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง มิใช่เป็ นเพียงปรัชญานามธรรม หากเป็ นแนวทางปฏิบตั ิซ่ึงสามารถจะช่วยท้งั แก้ไขและป้องกนั
ปัญหาท่ีเกิดจากกิเลสมนุษย์ และความเปล่ียนแปลงที่ซับซอ้ นรุนแรงข้ึน ที่กาลงั เกิดข้ึนกบั มนุษยท์ ้งั โลก และ
ปัญหาท่ีลุกลามต่อถึงธรรมชาติก่อใหเ้ กิดความเปล่ียนแปลงใหญ่ในเชิงรุนแรง และสร้างปัญหายอ้ นกลบั มา
ท่ีมนุษย์
โดยทว่ั ไป มกั เขา้ ใจกนั ว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เหมาะที่จะใชเ้ ฉพาะกบั คนยากจน คนระดบั
รากหญา้ และประเทศยากจน อีกท้งั เครื่องมือ เทคโนโลยี ก็จะตอ้ งใชเ้ ฉพาะเคร่ืองมือราคาถูกเทคโนโลยีต่า
การลงทุนไม่ควรจะมีการลงทุนระดบั ใหญ่ แต่ในความเป็นจริง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็ตอ้ งการคนและ
ความคิดที่กา้ วหนา้ คนที่กลา้ คิดกลา้ ทาในส่ิงใหมๆ่ เนื่ องจากการนาปรัชญ าเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ประโยชน์ในด้านต่างๆ ไม่มีสูตรสาเร็จหรือคู่มือการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสาหรับภารกิจ ดงั เช่น
วิกฤตโลกร้อนผูเ้ ก่ียวขอ้ งจึงตอ้ งศึกษาทาความเขา้ ใจแลว้ ก็พฒั นาแนวทางหรือแนวปฏิบตั ิสาหรับแต่ละ
ปัญหาข้ึนมา โดยยดึ หลกั ท่ีสาคญั ดงั เช่น
- การคดิ อยา่ งเป็นระบบ อย่างเป็นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
- หลกั คิดท่ีใช้ ตอ้ งเป็ นหลกั การปฏิบัติท่ีเป็ นสายกลาง ท่ีให้ความสาคญั ของความสมดุลพอดี
ระหวา่ งทกุ ส่ิงท่ีเกี่ยวขอ้ ง ดงั เช่น ระหวา่ งธรรมชาติกบั มนุษย์
- ขอ้ มูลท่ีใช้ จะตอ้ งเป็ นขอ้ มูลจริง ท่ีเกิดจากการศึกษา การวิจยั หรือการลงสนามให้ไดข้ อ้ มูลท่ี
เป็ นจริ ง
- การสร้างภูมิตา้ นทานต่อความเปล่ียนแปลงที่จะเกิดข้ึน
- การยึดหลักของความถูกต้อง คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ในทุกข้ันตอนของการ
ดาเนินงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นกระบวนการสาคญั ของการสร้างภูมิตา้ นทานต่อผลกระทบ
และความเปลี่ยนแปลงที่กาลังเกิดข้ึน หรือท่ีจะเกิดข้ึนเหล่าน้ีเป็ นหลักการใหญ่ๆ ซ่ึงผูท้ ี่รับผิดชอบหรือ
เกี่ยวขอ้ งหรือคิดจะทา โครงการหรือกิจกรรมในระดับค่อนขา้ งใหญ่ จะตอ้ งคานึงถึง และสามารถจะนา
ปรัชญาน้ีไปใชไ้ ดท้ นั ที และมีผทู้ ี่ไดใ้ ชล้ ว้ นประสบความสาเร็จสูงสุดท่ีมนุษยพ์ งึ จะมี คือ ความสุขท่ียง่ั ยนื
แลว้ เร่ืองของการแข่งขนั ชิงไหวชิงพริบ การวางแผนยุทธศาสตร์และโลจิสติกส์(การจดั ซ้ือจดั หา
การจัดส่ง การบารุงรักษาอุปกรณ์ และการรักษาพยาบาลบุคลากร ) ในการบริหารจดั การระบบ หรือ
โครงการใหญ่ๆ การใชจ้ ิตวิทยามวลชน การใชเ้ ทคโนโลยีกา้ วหนา้ การกาหนดแผนหรือตนเองใหเ้ ป็น “ฝ่าย
รุก” มิใช่ “ฝ่ ายต้งั รับ” ล่ะ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปฏิเสธหรือไม่? คาตอบคือ ปฏิเสธ ถา้ ใชอ้ ยา่ งไม่ถกู ตอ้ ง
อยา่ งหลีกเล่ียงกฎหมาย อย่างผิดคุณธรรม-จริยธรรม-และจรรยาบรรณ อย่างไม่ซ่ือตรงต่อหนา้ ที่และความ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
รับผิดชอบ อย่างมีเจตนาเพ่ือผลประโยชน์ที่ไม่สุจริตของตนเอง และพวกพอ้ ง แต่จะตอ้ งรู้จกั และใชอ้ ย่าง
รู้เทา่ ทนั ปกป้อง และรักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม อยา่ งมีความคดิ กา้ วหนา้ ในเชิงสร้างสรรค์
สาหรับการแกป้ ัญหา หรือการเตรียมเผชิญกบั ปัญหาจากวิกฤตโลกร้อน มีประเด็นและเร่ืองราวท้งั
เก่าและใหม่ ดงั เช่น เร่ืองของมาตรการที่ถูกกาหนดข้ึนมา เพ่ือเผชิญกับภาวะโลกร้อน เพ่ือให้ประเทศท่ี
พฒั นาแลว้ และท่ีกาลงั พฒั นา (ดงั เช่นประเทศไทย) ไดด้ ารงอยู่ร่วมกนั พ่ึงพิง และเอ้ืออาทรต่อกนั อย่าง
เหมาะสม ดงั เช่น เร่ือง คาร์บอนเครดิต ที่เป็นเร่ืองค่อนขา้ งใหม่ของประเทศไทย แต่ก็เป็นท้งั “โอกาส”และ
“ปัญหา” ที่ประเทศไทยตอ้ งเผชิญ ซ่ึงก็ข้ึนอยู่กับคนไทยเราเองว่า จะต้องเตรียมตัวกันอย่างไร เพื่อให้
สามารถเป็น “ท่ีพ่ึง” ของโลกหรือประเทศอ่ืน แทนที่จะเป็น “ปัญหา” ที่เกิดจากความไม่ใส่ใจ หรือความใส่
ใจ แต่เพอื่ จะกอบโกยผลประโยชน์เท่าน้นั เร่ืองของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกบั วิกฤตโลกร้อน จึงมีโจทย์
มีเป้าหมายมากมาย ที่ทา้ ทายเชิญชวนให้ผคู้ นและประเทศ ท่ีตอ้ งการมีชีวิตสร้างสรรคแ์ ละมีความสุขอยา่ ง
ยง่ั ยืนได้นาไปใช้ โดยใช้ปัญญาเป็ นตวั นา กากบั ดว้ ยสติ และควบคุมด้วยคุณธรรมกับจริยธรรม ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงน้ี ถูกใชเ้ ป็นกรอบแนวคิดและทิศทางการพฒั นาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซ่ึงบรรจุ
อยู่ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ) เพื่อมุ่งสู่การพฒั นาที่
สมดุลย่ิงข้ึน และมีภูมิคุม้ กนั เพ่ือความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยง่ั ยืน ดว้ ยหลกั การดงั กล่าว
แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๐ น้ีจะเน้นเรื่องตวั เลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยงั ให้ความสาคญั ต่อระบบ
เศรษฐกิจแบบทวิลกั ษณ์หรือระบบเศรษฐกิจ ท่ีมีความแตกต่างกนั ระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยงั ถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทย เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ในส่วนที่ ๓ แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา ๗๘(๑) บริหาร
ราชการแผ่นดินให้เป็ นไปเพื่อการพฒั นาสังคม เศรษฐกิจ และความมนั่ คงของประเทศอย่างยง่ั ยนื โดยตอ้ ง
ส่งเสริมการดาเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวม
เป็ นสาคญั
นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศได้กล่าวเม่ือวนั ที่ ๒๔
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ในการประชุมสุดยอด The Francophonic Ouagadougou คร้ังท่ี ๑๐ท่ี Burkina
Faso ว่าประเทศไทยได้ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับ “การพฒั นาแบบยงั่ ยืน”ในการพิจารณา
ประเทศท้ังทางด้านการเกษตรกรรม เศรษฐกิจและการแข่งขันซ่ึงเป็ นการสอดคล้องกับแนวทางของ
นานาชาติในประชาคมโลก
การประยุกต์นาหลักปรัชญาเพื่อนามาพัฒนาประเทศในต่างประเทศน้ัน ประเทศไทยได้เป็ น
ศูนยก์ ลางการแลกเปล่ียนผา่ นทางสานกั งานความร่วมมือเพ่ือการพฒั นาระหวา่ งประเทศ (สพร.) โดย สพร.มี
หน้าท่ีคอยประสานงานรับความช่วยเหลือทางวิชาการดา้ นต่างๆ จากต่างประเทศมาสู่ภาครัฐ แลว้ ถ่ายทอด
ต่อไปยงั ภาคประชาชน และยงั ส่งผ่านความรู้ท่ีมีไปยงั ประเทศกาลังพฒั นาอ่ืนๆ เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงน้ัน สพร. ถ่ายทอดมาไม่ต่ากว่า ๕ ปี ประสานกบั สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน
โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ (กปร.) และคณะอนุกรรมการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงต่างชาติก็
สนใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เพราะพิสูจน์แลว้ ว่าเป็ นส่ิงท่ีดีและมีประโยชน์ ซ่ึงแต่ละประเทศมีความ
ตอ้ งการประยุกตใ์ ชป้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไม่เหมือนกนั ข้ึนอยกู่ บั วถิ ีชีวิต สภาพภูมิศาสตร์ ฯลฯ เช่น พม่า
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ศรีลงั กา เลโซโท ซูดาน อฟั กานิสถาน บงั กลาเทศ ภูฎาน จีน จิบูดี โคลมั เบีย อียปิ ต์ เอธิโอเปี ย แกมเบีย อิน
โดนิเซีย เคนยา เกาหลีใต้ มาดากสั การ์มลั ดีฟส์ ปาปัวนิวกินี แทนซาเนียเวียดนาม ฯลฯ โดยไดใ้ ห้ประเทศ
เหล่าน้ีไดม้ าดูงาน ในหลายระดบั ท้งั เจา้ หนา้ ท่ีปฏิบตั ิงานเจา้ หน้าที่ฝ่ ายนโยบาย จนถึงระดบั ปลดั กระทรวง
รัฐมนตรีกระทรวงต่างๆ นอกจากน้ันอดิศกั ด์ิ ภาณุพงศ์ เอกอคั รราชทูตไทยประจากรุงเวียนนา ประเทศ
ออสเตรีย ไดก้ ล่าวว่าต่างชาติสนใจเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงเน่ืองจากมาจากพระราชดาริในพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ ัวที่ทรงห่วงใยราษฎรของพระองค์ และอยากรู้วา่ ทาไมรัฐบาลไทยถึงไดน้ ามาเป็นนโยบาย ส่วน
ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ ก็ตอ้ งการศึกษาพิจารณาเพื่อนาไปช่วยเหลือประเทศอื่น นกั คิดระดบั โลกเห็นดว้ ยกบั
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนาเสนอบทความบทสัมภาษณ์ เป็ นการย่นื ขอ้ เสนอแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพยี งใหแ้ ก่โลก เช่น ศ.ดร.วูล์ฟกงั ซัคส์ นกั วชิ าการดา้ นส่ิงแวดลอ้ มคนสาคญั ของประเทศเยอรมนี สนใจ
การประยุกตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างมาก และมองว่าน่าจะเป็ นอีกทางเลือกหน่ึงสาหรับทุก
ชาติในเวลาน้ี ท้ังมีแนวคิดผลักดันเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็ นท่ีรู้จักในเยอรมนี, ศ. ดร.อมาตยา เซน
ศาสตราจารยช์ าวอินเดีย เจา้ ของรางวลั โนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ปี ๑๙๙๘ มองว่า ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เป็นการใชส้ ิ่งต่างๆ ท่ีจาเป็ นต่อการดารงชีพและใชโ้ อกาสใหพ้ อเพียงกบั ชีวิตที่ดี ซ่ึงไม่ไดห้ มายถึงความไม่
ตอ้ งการ แต่ตอ้ งรู้จกั ใช้ชีวิตให้ดีพอ อย่าให้ความสาคญั กับเร่ืองของรายไดแ้ ละความร่ารวย แต่ให้มองที่
คุณค่าของชีวิตมนุษย,์ นายจิกมี ทินเลย์์ นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศภูฎาน ให้ทรรศนะว่า หากประเทศ
ไทยกาหนดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็ นวาระระดับชาติ และดาเนินตามแนวทางน้ีอย่างจริงจงั “ผมว่า
ประเทศไทยสามารถสร้างโลกใบใหม่จากหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างชีวิตท่ียงั่ ยนื และสุดทา้ ยจะ
ไม่หยุดเพียงแค่ในประเทศแต่จะเป็ นหลกั การและแนวปฏิบตั ิของโลก ซ่ึงหากทาไดส้ าเร็จ ไทยก็คือผูน้ า”
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ไดร้ ับการเชิดชูสูงสุดจากองคก์ ารสหประชาชาติ(UN) โดยนายโคฟี อนั นัน ใน
ฐาน ะ เล ข าธิ ก ารอ งค์ก ารส ห ป ระ ช าช าติ ได้ทู ล เก ล้าฯ ถ วายรางวัล The Human Development
lifetimeAchievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เมื่อวนั ที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ และได้มี
ปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ว่าเป็ นปรัชญาท่ีมีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และ
สามารถเร่ิมไดจ้ ากการสร้างภูมิคุม้ กนั ในตนเอง สู่หมู่บา้ น และสู่เศรษฐกจิ ในวงกวา้ งข้ึนในที่สุดนาย Hakan
Bjorkman รักษาการผอู้ านวยการ UNDP ในประเทศไทยกล่าวเชิดชูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ UNDP
น้ันตระหนักถึงวิสัยทัศน์และแนวคิดในการพฒั นาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โดยที่องค์การ
สหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่างๆ ท่ีเป็ นสมาชิก ๑๖๖ ประเทศยึดเป็ นแนวทางสู่การพฒั นา
ประเทศแบบยง่ั ยืนอย่างไรก็ตาม ศ. ดร.เควิน ฮิววิสัน อาจารยป์ ระจามหาวิทยาลยั นอร์ธแคโรไลนา ที่แซพ
เพลฮิลล์ ไดว้ ิจารณ์รายงานขององค์การสหประชาชาติโดยสานักงานโครงการพฒั นาแห่งสหประชาชาติ
(UNDP) ท่ียกย่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่า รายงานฉบบั ดงั กล่าว ไม่ไดม้ ีเน้ือหาสนบั สนุนวา่ เศรษฐกิจ
พอเพียง “ทางเลือกท่ีจาเป็นมากสาหรับโลกท่ีกาลงั ดาเนินไปในเส้นทางที่ไม่ยง่ั ยนื อย่ใู นขณะน้ี” (น. V . ใน
รายงาน UNDP) โดยเน้ือหาแทบท้งั หมดเป็ นการเทิดพระเกียรติ และเป็นเพียงเคร่ืองมือในการโฆษณาชวน
เชื่อภายในประเทศเท่าน้ัน ส่วนHakan Bjorkman รักษาการผูอ้ านวยการ “ UNDP” ตอ้ งการท่ีจะทาให้เกิด
การอภิปรายพิจารณาเรื่องน้ี แต่การอภิปรายดงั กล่าวน้ันเป็ นไปไม่ได้ เพราะอาจสุ่มเสี่ยงต่อการหม่ินพระ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
บรมเดชานุภาพ ซ่ึงมีโทษถึงจาคุก เม่ือปลายเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ นายโคฟ่ี อันนัน เลขาธิการ
สหประชาชาติได้เข้าเฝ้าทูลเกล้า ฯ ถวายรางวัล Human Development Lifetime Achievement Award
หมายความวา่ พระเจา้ อยู่หัวสละความสุขส่วนพระองค์ และทุ่มเทพระวรกาย ในการพฒั นาคนไทยในช่วง
๖๐ ปี จนเป็นท่ีประจกั ษใ์ นความสาเร็จ ของพระราชกรณียกิจ พระบรมราโชวาท และเป็นแบบอยา่ งทวั่ โลก
ได้ คากราบบงั คมทูลของนายโคฟ่ี บ่งบอกให้เห็นเขาศึกษาเร่ืองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างละเอียด
และรับปากวา่ จะนาไปเผยแพร่ทวั่ โลก รวมท้งั ประมุขหรือผูแ้ ทนของประเทศต่างๆ ที่ไดม้ าเขา้ เฝ้า และขอ
อัญเชิญไปใช้ในประเทศของเขาเพราะเห็นว่าเป็ นแนวทางท่ีดีนอกจาก United Nation Development
Program ( UNDP ) เป็ นองคก์ รหน่ึงภายใตส้ หประชาชาติท่ีดูแลเกี่ยวกบั การพฒั นา ดา้ นหน่ึงที่เขาตอ้ งดูแล
คือการพฒั นาคน มีหน้าที่จดั ทารายงานประจา ปี โดยในปี หนา้ จะเตรียมจดั ทา เร่ืองการพฒั นาคนของโลก
และคนในแต่ละประเทศ ( Country report และ Global report ) โดยในส่วนของประเทศไทยจะนาเรื่อง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลกั ในการรายงานและเผยแพร่ ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษเพ่ือที่ประเทศ
อ่ืนจะไดร้ ับประโยชน์จากของพระราชทานท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวพระราชทานให้คนไทยมากกวา่
๓๐ ปี แลว้ จะเห็นไดว้ า่ ขณะน้ีปรัชญาฯ น้ี ไดเ้ ผยแพร่โดยองคก์ รระดบั โลกแลว้ เราในฐานะพสกนิกรของ
พระองคท์ ่านน่าจะภมู ิใจหนั มาศึกษาและนาไปปฏิบตั ิอยา่ งจริงจงั ก็จะบงั เกิดผลดียง่ิ
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็
ใบงานท่ี ๑๐
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
“ชุมชนพอเพยี ง”
สถานการณ์ของประเทศไทยและสถานการณ์โลกกบั ความพอเพยี ง
ช่ือ – สกุล.....................................................รหสั นักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
๑. ใหผ้ เู้ รียนเขยี นคาขวญั เก่ียวกบั เศรษฐกิจพอเพียง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
๒. ใหผ้ เู้ รียนวิเคราะห์ สถานการณ์ของประเทศไทย วา่ เกิดเศรษฐกิจตกต่าเพราะเหตุใด
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็
ใบความรู้ท่ี ๑๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
“ชุมชนพอเพยี ง”
การประกอบตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งเพื่อการสร้างรายได้ อย่างมั่นคง มัง่ คง่ั และยั่งยืน
เรื่องท่ี ๑ แนวทางการประกอบอาชีพ
อาชีพ หมายถึงชนิดของงานหรื อกิจกรรมของบุคคลประกอบอยู่ เป็ นงานท่ีทาแล้วได้รับ
ผลตอบแทนเป็ นเงินหรื อผลผลิต
อาชีพตามหลกั ของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คืองานที่บคุ คลทาแลว้ ไดร้ ับผลตอบแทนเป็นเงิน
ผลผลิต โดยหยดึ หลกั ๕ ประการท่ีสาคญั ในการดาเนินการ ไดแ้ ก่ ทางสายกลางในการดาเนินชีวติ
๑. ทางสายกลางในการดารงชีวิต
๒. มีความสมดุลระหวา่ งคน ชุมชนและสิ่งแวดลอ้ ม
๓. มีความพอประมาณ พอเพยี งในการผลิต การบริโภคและการบริการ
๔. มีภมู ิคุม้ กนั ในการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ
๕. มีความเทา่ ทนั สถานการณ์ชุมชน สังคม
แนวทาง กระบวนการประกอบอาชีพของผเู้ รียนที่ไม่มีอาชีพตอ้ งเขา้ สู่อาชีพใหม่ และผทู้ ่ีมีอาชีพอยู่
แลว้ ตอ้ งการพฒั นาอาชีพเดิม ผูเ้ รียนจะตอ้ งเป็นนักริเร่ิม รอบรู้ คิดคน้ พฒั นา ชอบความอิสระมีความมุ่งมน่ั
มนั่ ใจ พร้อมที่จะเสี่ยง ทางานหนกั ขยนั อดทน คิดกวา้ ง มองลึก มีความรู้เขา้ ใจในอาชีพที่ตนเองทาอยา่ งดี
ยอมรับการเปล่ียนแปลงอยูเ่ สมอ มีมนุษยสัมพนั ธ์ที่ดี ยมิ้ แยม้ แจ่มใส มีจิตบริการ ใชข้ อ้ มูลหลายดา้ น ศึกษา
สภาพแวดลอ้ ม ปัจจยั ท่ีจะทาใหก้ ารประกอบอาชีพประสบผลสาเร็จ
แนวทางการประกอบอาชีพ แบง่ ออกได้ ๒ แนวทางคือ
๑. การเขา้ สู่อาชีพใหม่
๒. การพฒั นาอาชีพเดิม
ท้งั ๒ แนวทางน้ี การท่ีจะประกอบอาชีพไดผ้ ลดีมีความตอ่ เนื่อง มีโอกาสประสบความสาเร็จตาม
วตั ถปุ ระสงคต์ อ้ งพิจารณาสิ่งต่อไปน้ี
๑. พจิ ารณาศักยภาพหลกั ชุมชน ๕ ด้าน ประกอบการตดั สินใจ ไดแ้ ก่
๑.๑. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน เช่น ชุมชนที่อย่อู าศยั และประกอบอาชีพ
ดา้ นเกษตรกรรม มีวตั ถุดิบ หรือผลผลิตทางการเกษตรต่างๆที่มีราคาถูกเหมาะสมท่ีจะแปรรูปเป็ นสินคา้ ได้
ผูเ้ รียนย่อมสามารถลดปัญหาการขนส่ง ลดปัญหาการขาดแคลนวตั ถุดิบดา้ นการแปรรูปก็ควรได้รับการ
พจิ ารณาเลือกเป็นอาชีพหลงั จากผเู้ รียนสาเร็จการศึกษา
๑.๒. ศกั ยภาพของภูมิอากาศ สภาพของภูมิอากาศเป็ นสาคญั อย่างหน่ึงท่ีตอ้ งพิจารณาให้
เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั การประกอบอาชีพ เช่นสภาพในชุมชนของเรามีอากาศหนาวเยน็ เราตอ้ งพิจารณา
การประกอบอาชีพท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การทอ่ งเท่ียว การทาของท่ีระลึก การปลูกพืชผกั ผลไม้ ไมด้ อก ไมป้ ระดบั
เมืองหนาว เป็นตน้