The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้-ใบงาน ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirapatphonkla, 2022-05-04 05:31:58

ใบความรู้-ใบงาน ม.ปลาย

ใบความรู้-ใบงาน ม.ปลาย

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

๑.๓. ศกั ยภาพของภูมิประเทศ ถา้ ภูมิประเทศเป็นชายทะเล น้าตก ภูเขาซ่ึงเหมาะกบั อาชีพ
การทอ่ งเที่ยว อาชีพต่างๆที่เกี่ยวขอ้ งกบั การท่องเท่ียวก็ควรไดร้ ับการพจิ ารณาเป็นอนั ดบั แรก

๑.๔. ศักยภาพด้านทาเลท่ีต้ัง ท่ีต้ังของบ้านพักอาศัยหรือประกอบอาชีพเป็ นทาเลที่
เหมาะสมกบั การทาการคา้ หรืออตุ สาหกรรมในครอบครัว ตอ้ งพิจารณาใหถ้ ูกตอ้ ง

๑.๕. ศกั ยภาพดา้ นศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี ให้พิจารณาว่า ขนบธรรมเนียม ประเพณี
ศิลปวฒั นธรรม ของชุมชนจะสามารถส่งเสริมการประกอบอาชีพไดอ้ ย่างไรบา้ งศกั ยภาพหลกั ของชุมชนท้งั
๕ ดา้ นน้ี ถือเป็นตน้ ทุนที่สาคญั ซ่ึงผปู้ ระกอบอาชีพ ไม่จาเป็นตอ้ งใชเ้ งินซ้ือหามาเป็นสิ่งที่เรามีอย่แู ลว้ จึงมี
ความจาเป็นที่ผศู้ ึกษาจะตอ้ งนาตน้ ทุนดงั กลา่ วมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดในการประกอบอาชีพ อยา่ งไรก็ดี
ยงั ตอ้ งพจิ ารณาองคป์ ระกอบอ่ืนอีก

๒. การนากระบวนการ “คิดเป็ น” มาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลความพร้อม ก่อนตัดสินใจประกอบ

อาชีพ ๓ ด้านดงั นี้
๒.๑. การวเิ คราะห์ตนเอง
การวิเคราะห์ตนเองดา้ นความคิด ความชอบ ในดา้ นท่ีจะเขา้ สู่อาชีพ เพราะถา้ เราประกอบ

อาชีพที่เราชอบ มีใจรัก จะทาใหเ้ รามีความสุข อยากทาและทาไดด้ ี
๒.๒. วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของครอบครัว ชุมชน วิถีชีวิต ทรัพยากรในทอ้ งถิ่น ทาเลที่ต้งั เช่น

ถา้ เราสนใจจะเล้ียงปลาดุกเพื่อการจาหน่าย เราตอ้ งดูสมาชิกในครอบครัวของเราเห็นดว้ ยสนบั สนุนหรือไม่มี
พ้ืนท่ีพอจะทาบอ่ เล้ียงปลาดุกหรือไม่ ใกลแ้ หลง่ จดั ซ้ือ จดั หาพนั ธุ์ปลาดุกมาเล้ียง ถา้ เล้ียงปลาดุกแลว้ สามารถ
นาไปจาหน่ายในชุมชน ชุมชนใกลเ้ คียง ผคู้ นในทอ้ งถิ่นนิยมบริโภคหรือไม่ ปลาดุกสามารถนาไปประกอบ
อาหารไดห้ ลายรูปแบบเช่น นาไปย่าง นาไปทาลาบ นาไปแกง นาไปทาเป็นผลิตภณั ฑพ์ วกน้าพริกพร้อมท้งั
พจิ ารณาเงินทนุ ในการเล้ียงปลาดุกดว้ ย

๒.๓. วิเคราะห์ความรู้ทางวิชาการ
คือความรู้ดา้ นการเล้ียง การดูแลรักษา การจาหน่าย การแปรรูปเพ่ือเพิ่มมูลค่าการฝึ กอบรม

ทกั ษะที่จาเป็ นตอ้ งฝึ กเพิ่มเติม เช่น การขยายพนั ธุ์ปลาดุกเพ่ือการจาหน่าย การแปรรูปเพิ่มมูลค่าผลผลิต
ช่องทางการตลาด การส่งเสริมการขาย การจดบนั ทึก การขาย การวเิ คราะหร์ ายรับ-รายจ่าย

ข้อควรคานงึ ในการตัดสินใจประกอบอาชีพ
การตดั สินใจที่จะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม จะตอ้ งมีส่ิงท่ีจะตอ้ งคิดหลายดา้ นท้งั ตอ้ งดูขอ้ มูลมี
ความรู้ มีทุน แรงงาน สถานท่ี มีกลวิธีการขายและคุณธรรมในการประกอบอาชีพดว้ ย ขอ้ ควรคานึงในการ
ตดั สินใจประกอบอาชีพมี ดงั น้ี
๑. การตดั สินใจประกอบอาชีพโดยใช้ขอ้ มูลอย่างเหมาะสมในการประกอบอาชีพ ผูเ้ รียนตอ้ งใช้
ข้อมูลหลายๆ ด้าน มาเพ่ือการตดั สินใจ ข้อมูลท่ีสาคัญ คือ ต้องรู้จกั ตนเองว่ามีความชอบหรือไม่ รู้จกั
สภาพแวดลอ้ มว่าเหมาะสมกบั การประกอบอาชีพน้ัน ๆ หรือไม่และขอ้ มูลท่ีสาคญั คือความรู้ทางวิชาการ
๒. มีความรู้วชิ าชีพน้นั ๆ
การประกอบอาชีพอะไรก็ตอ้ งมีความรู้ในวิชาชีพน้นั ๆ เพราะมีความรู้ในวชิ าน้นั ๆ อยา่ งดีจะทา
ใหส้ ามารถปรับปรุงพฒั นาอาชีพน้นั ๆ ไดด้ ียง่ิ ข้นึ

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

๓. มีทนุ แรงงาน และสถานที่
ทุน แรงงาน สถานที่ เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ในการประกอบอาชีพทาให้เกิดความมนั่ ใจในการ
ประกอบอาชีพเป็นไปอยา่ งราบรื่น
๔. มีวิธีการปฏิบตั ิงานและจดั การอาชีพ
ข้นั ตอน กระบวนการ การจดั การท่ีเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ทาให้งานประสบความสาเร็จลด
ตน้ ทุนการผลิต มีผลผลิตไดม้ าตรฐานตามที่ต้งั เป้าหมายไว้
๕. มีกลวธิ ีการขาย การตลาด
กลวิธีการขาย การตลาดที่สามารถตอบสนองความตอ้ งการ ความพึงพอใจของลูกคา้ ยอ่ มทาให้
ยอดขายเป็ นไปตามเป้าหมาย
๖. มีการจดั การการเงินใหม้ ีเงินสดหมุนเวยี นสามารถประกอบอาชีพไปไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องไมข่ ดั ขอ้ ง
๗. การจดั ทาบญั ชีรายรับ – รายจ่ายเพอื่ ใหท้ ราบผลการประกอบการ
๘. มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์และมีจิตบริการ การมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดีกบั ลกู คา้ มีความเป็นกนั เองโดยเฉพาะ
การใชค้ าพูดท่ีเหมาะสมเพ่ือสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกคา้ ไปพร้อมกบั การมีจิตบริการใหล้ ูกคา้ ดว้ ยความ
จริงใจตอ้ งการเห็นลกู คา้ มีความสุขในการบริโภคสินคา้
๙. มีคณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ
ผผู้ ลิตและผขู้ ายมีความซ่ือสัตยต์ ่อลกู คา้ ใชว้ ตั ถุดิบที่มีคุณภาพ ไม่ใชส้ ารเคมีที่มีพิษในผลิตภณั ฑ์
ซ่ึงส่งผลต่อสุขภาพ ส่ิงแวดลอ้ ม และการดาเนินชีวติ ของลูกคา้

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ใบงานท่ี ๑๑

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒
“ชุมชนพอเพยี ง”
การประกอบตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งเพื่อการสร้างรายได้ อย่างม่ันคง มงั่ คั่ง และย่ังยืน

ช่ือ – สกุล.....................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................

คาชีแ้ จง จงอธิบายถึงแนวทางการประกอบอาชีพใหป้ ระสบผลสาเร็จ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้ท่ี ๑๒

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓

“ชุมชนน่าอย่”ู

เรื่อง หลกั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม

แนวคดิ การพฒั นา

การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน แนวคิดการพฒั นาท่ียง่ั ยนื (sustainable development) สืบเนื่องจากกระแสโลกา
ภิวตั น์ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และกลไกการตลาด ไดก้ ่อให้เกิดการเจริญเติบโต การผลิต การ
บริโภคและการใชป้ ระโยชน์ท่ีเป็นผลเสียต่อทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม รวมถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต
มนุษย์ สัตว์ พืชพรรณอย่างฉับพลนั และต่อเน่ือง ประกอบกับการพฒั นาแบบเดิมท่ีเน้นการบริโภคอย่าง
ฟ่ ุมเฟื อย ไม่คุม้ ค่า ไมค่ านึงถึงสภาพแวดลอ้ มโดยทาลายสภาพแวดลอ้ ม ซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ท่ีมีอยู่อย่างจากดั ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่างสูญหายไป เกิดปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม และส่งผลกบั มนุษย์
สร้างปัญหาใหก้ บั มนุษยอ์ ยา่ งมหาศาล

หากมนุษยเ์ ร่งพฒั นาและเน้นการบริโภคอย่างฟ่ ุมเฟื อยทรัพยากรทางธรรมชาติท่ีมนุษยจ์ ะนา
นามาใชแ้ ละบริโภคจะร่อยหรอ เสื่อมสภาพ และหมดลงในท่ีสุด ส่ิงมีชีวิตที่มีอยใู่ นโลกก็คงจะดารงชีวิตอยูด่ ว้ ย
ความยากลาบากหรือหมดสิ้นในท่ีสุด

เพ่ือไม่ให้ทุกสรรพสิ่งในโลกน้ีตอ้ งพบจุดจบ จึงเกิดแนวคิดการพฒั นาท่ียงั่ ยืนข้ึน นานาชาติจึง
แสวงหาแนวทางพฒั นาท่ีเป็นกลางมากท่ีสุดโดยเนน้ ใหป้ ระชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการพฒั นาในทุกข้นั ตอน
การพฒั นาที่ยง่ั ยืนตอ้ ง “ระเบิดจากขา้ งใน” จากชุมชนเองไม่ใช่จากบุคลภายนอกไปกาหนดกรอบและทิศ
ทางการพฒั นา บคุ คลภายนอกเป็นเพยี งผสู้ นบั สนุนและช่วยเหลือเทา่ น้นั

ดงั น้นั จึงเป็นรูปแบบการพฒั นาท่ีตอบสนองความตอ้ งการของคนรุ่นปัจจุบนั โดยไมส่ ่งผลลบกบั
คนรุ่นตอ่ ๆไป ตอ้ งไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ตอ้ งทาใหม้ นุษยก์ บั ธรรมชาติไดเ้ ก้ือกูลซ่ึง
กนั และกนั ทกุ สิ่งทุกอยา่ งสมดุล เป็นไปตามวถิ ีธรรมชาติ การพฒั นาท่ียงั่ ยนื ไม่ไดป้ ฏิเสธเทคโนโลยี แต่
เทคโนโลยจี ะตอ้ งไม่ทาลายธรรมชาติ จึงจะเป็นการพฒั นาท่ียง่ั ยนื

การพฒั นาท่ียงั่ ยนื ในประเทศไทยเป็นการพฒั นาที่มีลกั ษณะผสมผสาน คอื มีกิจกรรมพฒั นา
รวมท้งั มีการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มในลกั ษณะท่ีเป็นส่วนรวม เม่ือใดท่ีการพฒั นา
ทรัพยากรทางธรรมชาติหายไปตอ้ งเสริมสร้างคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มในท่ีอื่นชดเชยเพ่ือให้คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ มใน
ภาพรวมคงอยู่ อนั จะทาให้มนุษยแ์ ละสิ่งแวดลอ้ มควบคู่กนั ไปโดยสงบสุขและยง่ั ยนื จากแนวคดิ ดงั กล่าว
ประเทศไทยไดบ้ รรจุการพฒั นาที่ยงั่ ยนื ไวใ้ นแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 9 (พ.ศ. 2545-
2549) โดยเนน้ แนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง เนน้ ชุมชนเขม้ แขง็ เนน้ การพฒั นาที่ยง่ั ยนื

การพฒั นาตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) เป็ นแนวทางการพฒั นาที่พระบาทสมเด็จพระ
เจา้ อยหู่ ัว ทรงมีพระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่ชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ 28 ปี ซ่ึงมีมา
ก่อนเกิดวกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลงั ไดท้ รงเนน้ ย้าแนวทางแกไ้ ขเพื่อใหร้ อดพน้ และสามารถดารง
อยู่ไดอ้ ย่างมนั่ คงและยง่ั ยืนภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั น์และการเปล่ียนแปลงดา้ นต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงจึง

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

เป็นฐานในการประยกุ ตใ์ ชก้ บั การพฒั นาดา้ นต่างๆ รวมท้งั ใชใ้ นแง่ของการดารงชีวิตและการปฏิบตั ิงานท้งั
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมดว้ ย

ความพอเพยี งประกอบด้วย 3 ด้านด้วยกนั
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่มาก ไม่นอ้ ยจนเกินไป โดยไมเ่ บียดเบียนตนเอง

และผอู้ ื่น ไดแ้ ก่ การบริโภคท่ีอยใู่ นระดบั ท่ีพอประมาณ
2. ความมีเหตมุ ีผล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพียง จะตอ้ งเป็นไปอยา่ ง

มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดจากการกระทาน้ันๆ
อยา่ งรอบคอบ

3. การมีภูมิคมุ้ กนั ที่ดีในตวั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
ดา้ นต่างๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้นึ ในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล

ท้งั น้ี ตอ้ งมีวชิ าความรู้ ควบคกู่ บั คณุ ธรรม
ความหมายของการพฒั นาชุมชน สังคม

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ กล่าวว่า การพฒั นาชุมชน (community development) ตามปรัชญาของ
การพฒั นาชุมชนน้นั ประกอบดว้ ย

1. มุง่ พฒั นาและใหค้ วามสาคญั กบั คนมากท่ีสุด แตก่ ารพฒั นาโดยทวั่ ไปมุ่งพฒั นาทางวตั ถุ

เศรษฐกิจ หรือพ้ืนที่เป็นหลกั

2. การพฒั นาชุมชนเนน้ การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนอยา่ งมาก
3. การพฒั นาชุมชนมีแนวคิดที่ตอ้ งการใหป้ ระชาชนช่วยเหลือตวั เอง และปกครองตนเอง
โดยรัฐคอยช่วยเหลือดา้ นวิชาการ
4. ในทกุ ข้นั ตอนการดาเนินงานเปิ ดโอกาสใหป้ ระชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการคดิ ตดั สินใจ
วางแผน ลงมือปฏิบตั ิ และประเมินผล แตก่ ารพฒั นาโดยทวั่ ไปมงุ่ ที่ผลสาเร็จของงานเป็นหลกั
อนุรักษ์ ปัญญานุวฒั น์ กลา่ วถึงการพฒั นาชุมชนไวว้ า่ เป็นกระบวนการที่มีข้นั ตอนของการ
เปล่ียนแปลง เพื่อให้เป็นไปในทิศทางท่ีดีข้นึ และมีความสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชน ซ่ึงมี
องคป์ ระกอบอยา่ งนอ้ ย 4 ประการคอื
1. ความยงั่ ยนื ของสรรพสิ่ง
2. การมีส่วนร่วมของประชาชน
3. การปรับแนวคดิ ทางการศึกษาเรียนรู้
4. การพฒั นาชุมชนภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

หลกั การพฒั นาชุมชน สังคม

การปฏิบตั ิงานพฒั นาเพื่อสร้างความเจริญใหแ้ ก่ประชาชนในดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เพื่อ

นาไปสู่จุดหมายปลายทางของการพฒั นา คือการพฒั นาคน และการพฒั นาวตั ถุ สิ่งแวดลอ้ ม แนวทางใน

การพฒั นา มีดงั น้ี

1. ยดึ ถือผลประโยชนข์ องประชาชนและใหค้ นเป็นศูนยก์ ลางของการพฒั นา

2. ทาการพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพของชุมชน

3. ประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วม

4. การทางานตอ้ งค่อยเป็นค่อยไป

5. ใหค้ วามสาคญั กบั ความสนใจ และความตอ้ งการของประชาชน

6. ใชว้ ิธีดาเนินงานท่ีสอดคลอ้ งกบั หลกั ประชาธิปไตย

7. การดาเนินงานตอ้ งยืดหยนุ่ ได้

8. ทาการพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั วฒั นธรรม

9. ทางานพฒั นากบั ผนู้ าทอ้ งถิ่น

10. ทางานพฒั นากบั องคก์ รหรือสถาบนั ท่ีมีอยใู่ นชุมชน

11. ใชเ้ จา้ หนา้ ท่ีวชิ าการเฉพาะสาขา

12. ทางานกบั คนทกุ คนในครอบครัว

13. การดาเนินงานควรกวา้ งขวาง

14. ทางานพฒั นากบั ชนทกุ ช้นั ของสงั คม

15. การพฒั นาตอ้ งสอดคลอ้ งกบั นโยบายของชาติ

16. ทางานพฒั นาโดยเขา้ ถึงตวั ประชาชน

17. ทางานพฒั นาตามความตอ้ งการที่แทจ้ ริงของประชาชน

18. กิจกรรมพฒั นาควรเริ่มจากกิจกรรมพฒั นาท่ีง่ายไปหายาก

19. ทางานพฒั นาดว้ ยความประหยดั

20. ประสานกบั หน่วยงานหรือองคก์ รท้งั ในและนอกชุมชน

21. ทางานพฒั นาโดยผา่ นกลุ่ม

22. มีการประเมินผลตลอดเวลา

23. การพฒั นาเป็นกระบวนการต่อเน่ือง

24. ทางานพฒั นาอยา่ งเป็นระบบเครือข่าย

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบงานที่ ๑๒

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓
“ชุมชนน่าอยู่”

ชื่อ – สกลุ .....................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
เรื่อง การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม

1.การพฒั นาชุมชน (Community Development) หมายถึง อะไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

2. แนวคดิ พื้นฐานของการพัฒนาชุมชน มีอะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
3. ปรัชญาข้ันมูลฐานของงานพฒั นาชุมชน มอี ะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.
4. การบริหารงานของทุกรัฐบาล เน้นความต้องการของประชาชนอย่างไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
5. หลกั การพฒั นาชุมชน ซึ่งนักพฒั นาต้องยดึ เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ มีอะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้ท่ี ๑๓

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓

“ชุมชนน่าอย่”ู

เร่ือง หลกั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม

แนวคดิ การพฒั นา

การพฒั นาท่ียง่ั ยืน แนวคดิ การพฒั นาท่ียง่ั ยนื (sustainable development) สืบเน่ืองจากกระแสโลกา
ภิวตั น์ ความเจริญกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี และกลไกการตลาด ได้ก่อให้เกิดการเจริญเติบโต การผลิต การ
บริโภคและการใชป้ ระโยชนท์ ่ีเป็นผลเสียต่อทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม รวมถึงผลกระทบต่อชีวิต
มนุษย์ สัตว์ พืชพรรณอย่างฉับพลนั และต่อเนื่อง ประกอบกบั การพฒั นาแบบเดิมท่ีเน้นการบริโภคอย่าง
ฟ่ ุมเฟื อย ไม่คุม้ ค่า ไม่คานึงถึงสภาพแวดลอ้ มโดยทาลายสภาพแวดลอ้ ม ซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ท่ีมีอยูอ่ ย่างจากดั ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่างสูญหายไป เกิดปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม และส่งผลกบั มนุษย์
สร้างปัญหาใหก้ บั มนุษยอ์ ยา่ งมหาศาล

หากมนุษยเ์ ร่งพฒั นาและเน้นการบริโภคอย่างฟ่ ุมเฟื อยทรัพยากรทางธรรมชาติที่มนุษยจ์ ะนา
นามาใชแ้ ละบริโภคจะร่อยหรอ เส่ือมสภาพ และหมดลงในท่ีสุด ส่ิงมีชีวิตที่มีอยใู่ นโลกก็คงจะดารงชีวิตอยู่ดว้ ย
ความยากลาบากหรือหมดสิ้นในท่ีสุด

เพื่อไม่ให้ทุกสรรพส่ิงในโลกน้ีตอ้ งพบจุดจบ จึงเกิดแนวคิดการพฒั นาท่ียง่ั ยืนข้ึน นานาชาติจึง
แสวงหาแนวทางพฒั นาท่ีเป็นกลางมากท่ีสุดโดยเนน้ ใหป้ ระชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการพฒั นาในทุกข้นั ตอน
การพฒั นาท่ียง่ั ยืนต้อง “ระเบิดจากข้างใน” จากชุมชนเองไม่ใช่จากบุคลภายนอกไปกาหนดกรอบและทิศ
ทางการพฒั นา บคุ คลภายนอกเป็นเพยี งผสู้ นบั สนุนและช่วยเหลือเทา่ น้นั

ดงั น้นั จึงเป็นรูปแบบการพฒั นาที่ตอบสนองความตอ้ งการของคนรุ่นปัจจุบนั โดยไมส่ ่งผลลบกบั
คนรุ่นต่อๆไป ตอ้ งไมท่ าลายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ตอ้ งทาใหม้ นุษยก์ บั ธรรมชาติไดเ้ ก้ือกลู ซ่ึง
กนั และกนั ทกุ สิ่งทกุ อยา่ งสมดุล เป็นไปตามวิถีธรรมชาติ การพฒั นาท่ียงั่ ยนื ไม่ไดป้ ฏิเสธเทคโนโลยี แต่
เทคโนโลยจี ะตอ้ งไมท่ าลายธรรมชาติ จึงจะเป็นการพฒั นาที่ยง่ั ยนื

การพฒั นาที่ยงั่ ยนื ในประเทศไทยเป็นการพฒั นาท่ีมีลกั ษณะผสมผสาน คอื มีกิจกรรมพฒั นา
รวมท้งั มีการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในลกั ษณะที่เป็นส่วนรวม เมื่อใดท่ีการพฒั นา
ทรัพยากรทางธรรมชาติหายไปตอ้ งเสริมสร้างคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มในท่ีอื่นชดเชยเพ่ือให้คุณภาพสิ่งแวดลอ้ มใน
ภาพรวมคงอยู่ อนั จะทาใหม้ นุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ มควบคู่กนั ไปโดยสงบสุขและยง่ั ยนื จากแนวคดิ ดงั กลา่ ว
ประเทศไทยไดบ้ รรจุการพฒั นาที่ยงั่ ยนื ไวใ้ นแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 9 (พ.ศ. 2545-
2549) โดยเนน้ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เนน้ ชุมชนเขม้ แขง็ เนน้ การพฒั นาที่ยง่ั ยนื

การพฒั นาตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) เป็ นแนวทางการพฒั นาที่พระบาทสมเด็จพระ
เจา้ อยหู่ ัว ทรงมีพระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่ชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ 28 ปี ซ่ึงมีมา
ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลงั ไดท้ รงเนน้ ย้าแนวทางแกไ้ ขเพื่อใหร้ อดพน้ และสามารถดารง
อยู่ไดอ้ ย่างมน่ั คงและยงั่ ยืนภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั น์และการเปลี่ยนแปลงดา้ นต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงจึง

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

เป็นฐานในการประยุกตใ์ ชก้ บั การพฒั นาดา้ นต่างๆ รวมท้งั ใชใ้ นแงข่ องการดารงชีวิตและการปฏิบตั ิงานท้งั
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คมดว้ ย

ความพอเพยี งประกอบด้วย 3 ด้านด้วยกนั
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่มาก ไมน่ อ้ ยจนเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง

และผอู้ ่ืน ไดแ้ ก่ การบริโภคท่ีอยใู่ นระดบั ที่พอประมาณ
2. ความมีเหตุมีผล หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพียง จะตอ้ งเป็นไปอยา่ ง

มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดจากการกระทาน้ันๆ
อยา่ งรอบคอบ

3. การมีภมู ิคมุ้ กนั ที่ดีในตวั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลง
ดา้ นตา่ งๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดข้นึ ในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล

ท้งั น้ี ตอ้ งมีวิชาความรู้ ควบคกู่ บั คุณธรรม
ความหมายของการพฒั นาชุมชน สังคม

วริ ัช วิรัชนิภาวรรณ กล่าววา่ การพฒั นาชุมชน (community development) ตามปรัชญาของ
การพฒั นาชุมชนน้นั ประกอบดว้ ย
1. มุง่ พฒั นาและใหค้ วามสาคญั กบั คนมากท่ีสุด แต่การพฒั นาโดยทวั่ ไปมุง่ พฒั นาทางวตั ถุ เศรษฐกิจ

หรื อพ้ืนท่ีเป็ นหลกั

2. การพฒั นาชุมชนเนน้ การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนอยา่ งมาก
3. การพฒั นาชุมชนมีแนวคิดที่ตอ้ งการใหป้ ระชาชนช่วยเหลือตวั เอง และปกครองตนเอง
โดยรัฐคอยช่วยเหลือดา้ นวิชาการ
4. ในทกุ ข้นั ตอนการดาเนินงานเปิ ดโอกาสใหป้ ระชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการคดิ ตดั สินใจ
วางแผน ลงมือปฏิบตั ิ และประเมินผล แต่การพฒั นาโดยทว่ั ไปม่งุ ท่ีผลสาเร็จของงานเป็นหลกั
อนุรักษ์ ปัญญานุวฒั น์ กลา่ วถึงการพฒั นาชุมชนไวว้ า่ เป็นกระบวนการที่มีข้นั ตอนของการ
เปลี่ยนแปลง เพอื่ ให้เป็นไปในทิศทางท่ีดีข้นึ และมีความสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชน ซ่ึงมี
องคป์ ระกอบอยา่ งนอ้ ย 4 ประการคอื
1. ความยง่ั ยนื ของสรรพส่ิง
2. การมีส่วนร่วมของประชาชน
3. การปรับแนวคดิ ทางการศึกษาเรียนรู้
4. การพฒั นาชุมชนภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง

หลกั การพฒั นาชุมชน สังคม

การปฏิบตั ิงานพฒั นาเพอ่ื สร้างความเจริญใหแ้ ก่ประชาชนในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง เพื่อ

นาไปสู่จุดหมายปลายทางของการพฒั นา คือการพฒั นาคน และการพฒั นาวตั ถุ ส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางใน

การพฒั นา มีดงั น้ี

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

1. ยดึ ถือผลประโยชนข์ องประชาชนและใหค้ นเป็นศูนยก์ ลางของการพฒั นา
2. ทาการพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพของชุมชน
3. ประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วม
4. การทางานตอ้ งค่อยเป็นค่อยไป
5. ใหค้ วามสาคญั กบั ความสนใจ และความตอ้ งการของประชาชน
6. ใชว้ ิธีดาเนินงานท่ีสอดคลอ้ งกบั หลกั ประชาธิปไตย
7. การดาเนินงานตอ้ งยืดหยุ่นได้
8. ทาการพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั วฒั นธรรม
9. ทางานพฒั นากบั ผนู้ าทอ้ งถิ่น
10. ทางานพฒั นากบั องคก์ รหรือสถาบนั ท่ีมีอยใู่ นชุมชน
11. ใชเ้ จา้ หนา้ ที่วิชาการเฉพาะสาขา
12. ทางานกบั คนทุกคนในครอบครัว
13. การดาเนินงานควรกวา้ งขวาง
14. ทางานพฒั นากบั ชนทกุ ช้นั ของสังคม
15. การพฒั นาตอ้ งสอดคลอ้ งกบั นโยบายของชาติ
16. ทางานพฒั นาโดยเขา้ ถึงตวั ประชาชน
17. ทางานพฒั นาตามความตอ้ งการท่ีแทจ้ ริงของประชาชน
18. กิจกรรมพฒั นาควรเริ่มจากกิจกรรมพฒั นาท่ีงา่ ยไปหายาก
19. ทางานพฒั นาดว้ ยความประหยดั
20. ประสานกบั หน่วยงานหรือองคก์ รท้งั ในและนอกชุมชน
21. ทางานพฒั นาโดยผา่ นกลุ่ม
22. มีการประเมินผลตลอดเวลา
23. การพฒั นาเป็นกระบวนการต่อเน่ือง
24. ทางานพฒั นาอยา่ งเป็นระบบเครือข่าย

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบงานที่ ๑๓

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓
“ชุมชนน่าอยู่”

ชื่อ – สกลุ .....................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
เร่ือง การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม

1.การพฒั นาชุมชน (Community Development) หมายถงึ อะไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

2. แนวคดิ พื้นฐานของการพฒั นาชุมชน มีอะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
3. ปรัชญาข้ันมูลฐานของงานพฒั นาชุมชน มีอะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.
4. การบริหารงานของทุกรัฐบาล เน้นความต้องการของประชาชนอย่างไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
5. หลกั การพฒั นาชุมชน ซ่ึงนกั พฒั นาต้องยึดเป็ นแนวทางปฏบิ ัติ มีอะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้ที่ ๑๔
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓

“ชุมชนน่าอยู่”
เรื่อง วธิ กี ารจัดเกบ็ ข้อมูลในชุมชน

“ข้อคดิ และการปฏิบตั ิตนเมื่อเข้าไปสารวจข้อมูลในชุมชน”
เทคนิคการเขา้ สู่ชุมชน เป็นส่ิงท่ีนกั ศึกษาจะตอ้ งเรียนรู้ ซ่ึงจะแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ข้นั ตอนหลกั ๆ

คือ การเตรียมตวั ก่อนที่จะเขา้ ไปสู่ชุมชน การปฏิบตั ิตวั เม่ืออยใู่ นชุมชน และการออกจากชุมชน
การลงชุมชนเราจะตอ้ ง “พร้อม” เตรียมตวั เตรียมใจ เตรียมความรู้ เตรียมความสามารถ เตรียมงาน

ของตวั เองให้เรียบร้อย พร้อมที่จะลงชุมชนอยา่ งสม่าเสมอลงไปอยา่ งมน่ั ใจ ไปใชเ้ วลาของชุมชนเป็นที่ต้งั
เวลาทางาน ไปตามนดั ไม่ควรผิดสัญญากบั ชาวบา้ น

การทางานอะไร ทาท่ีไหน โดยเฉพาะทากบั ใคร เป็นสิ่งที่นกั ศึกษาจะตอ้ งเรียนรู้ และเตรียมพร้อม
อยา่ งเตม็ ท่ี

ส่ิงแรกท่ีสาคญั ที่สุดในข้นั ตอนแรกกค็ ือ การเตรียมตวั และเตรียมใจของตนเอง อนั ดบั แรกคือ
ทาความเขา้ ใจถึงเป้าหมายและวตั ถุประสงคห์ ลกั ในการทางานคร้ังน้ี
“การสารวจข้อมูลคร้ังนี้ วตั ถปุ ระสงค์คืออะไร ”
“ข้อมูลทไ่ี ด้จะใช้ประโยชน์อะไร อย่างไร”

“จดั กระบวนการเรียนรู้ใหเ้ ขาไดร้ ู้จกั ตวั ของเขาเอง ใหเ้ ขาแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง จนนาไปสู่การ
เสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชนของเขาเอง”

เป็นคาถามและคาตอบท่ีจะตอ้ งพดู ซ้าแลว้ ซ้าอีกในทกุ คร้ังที่ทางานพฒั นาชุมชน สังคม เพอ่ื ให้
นกั ศึกษาเขา้ ใจบทบาทของตวั เองวา่ “เราเข้าสู่ชุมชนคร้ังนเี้ พื่ออะไร”

………………………………
เราเขา้ ไปเพื่อทางานกบั ชุมชน ทางานร่วมกนั กบั เขา ไม่ได้เข้าไปช่วยเขา ไม่ได้เข้าไปสอนเขา เรา
เข้าไปเพื่อร่วมกันเรียนรู้ ประโยชนท์ ี่ไดเ้ กิดจากการเรียนรู้ตามกระบวนการท่ีถกู ตอ้ งและสมบูรณ์ จะตอ้ งไม่
นาสิ่งแปลกปลอมจากภายนอกเขา้ ไปสู่ชุมชน แตส่ ามารถนา “ความรู้” ของเราเขา้ ไปได้ ซ่ึงเป็นความรู้จาก
ภายนอก จากหนงั สือ ตารา แตเ่ ราเขา้ ไปเพ่ือจดั กระบวนการเรียนรู้โดยฐานความรู้และทนุ ของชุมชน ดงั น้นั
ความรู้ที่เราจะเอาเขา้ ไปคือ ความรู้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้เท่าน้ัน ไม่มีการอบรม สอน บรรยาย สง่ั การ
ช้ีแนะ และช้ีนา แต่อยา่ งใด
เทคนคิ การสนทนาในชุมชน
การพบชุมชน นกั ศึกษาจะตอ้ งเรียนรู้เรื่องมนุษยสัมพนั ธ์ โดยเฉพาะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคนกบั
คน ทกั ษะเรื่องมนุษยสมั พนั ธน์ ้นั คงจะไมส่ ามารถยดึ เอาตามทฤษฎีไดร้ ้อยท้งั ร้อย ส่ิงสาคญั ที่สุดก็คอื การ
รู้จกั ปรับตวั และความยดื หยุ่น นกั ศึกษาจะตอ้ งทาในสิ่งที่ถูกตอ้ งมากกวา่ ส่ิงที่ถูกใจ เรียนรู้จกั การแกไ้ ข

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ปัญหาเฉพาะหนา้ ประยกุ ตใ์ ชส้ ่ิงท่ีไดร้ ่าเรียนมาต้งั แต่จาความได้ บคุ ลิก ลกั ษณะนิสยั เขาทาอยา่ งไร เราทา
อยา่ งน้นั เขาไม่ชอบอะไร เราอยา่ ทาแบบน้นั

“คนในเมือง กบั คนในชุมชนชนบท ใครท่ีเม่ือมีคนมาอยใู่ กล้ ๆ แลว้ จะรู้สึกอึดอดั มากกวา่ กนั ”
นกั ศึกษาจะตอ้ งเรียนรู้เรื่องของ “ความรู้สึกเป็นเจา้ ของพ้ืนที่ (Space) วา่ คนท่ีเราจะตอ้ งเขา้ คยุ
ดว้ ยกนั เขามีความรู้สึกรักในพ้ืนท่ีหรือช่องห่างระหวา่ งคนสองคนท่ีกาลงั คยุ กนั หรือทางานดว้ ยกนั และ
โดยเฉพาะคนแปลกหนา้ เขาชอบท่ีจะใหอ้ ยใู่ กล้ ๆ หรือรู้สึกอึดอดั เมื่อมีคนมาอยใู่ กลม้ าก ๆ นกั ศึกษาจะตอ้ ง
เขา้ ใจผอู้ ่ืน
คนในชุมชนชนบทส่วนใหญ่ คุน้ ชินกบั การไดอ้ ยใู่ นที่โล่ง ในที่กวา้ ง ดงั น้นั เขาจะชินกบั การที่อยู่
แบบห่าง ๆ กบั ผคู้ นมากกวา่ คนในชุมชนเมือง เช่น การนงั่ ทานขา้ วในร้านอาหารโต๊ะเดียวกบั คนที่เราไม่รู้จกั
ในขณะท่ีโตะ๊ อาหารอื่นเตม็ หมด “เราจะนง่ั ดีไหม” คงจะเร่ืองท่ีตดั สินใจไม่ยากและเป็นภาพปกติเมื่อคนไป
นงั่ ทานขา้ วโต๊ะเดียวกนั แตไ่ มร่ ู้จกั กนั ถา้ ร้านน้นั ต้งั อยใู่ นกรุงเทพฯ แตน่ อ้ ยนกั ท่ีจะเห็นภาพแบบน้นั ใน
ร้านอาหารต่างจงั หวดั โดยเฉพาะในชุมชนชนบท
ดงั น้นั เวลาที่นกั ศึกษาเขา้ ไปสารวจขอ้ มูลหรือจดั การสนทนา จะตอ้ งรู้วา่ เราควรจะนงั่ อยหู่ ่างจาก
คนที่เราคยุ ดว้ ยมากนอ้ ยขนาดไหน นอกจากที่จะตอ้ งดูเรื่องของสภาพพ้นื ท่ีโดยรวมรอบ ๆ แลว้ นกั ศึกษา
จะตอ้ งดูเพศ ดูวยั ดูลกั ษณะนิสัยใจคอ ซ่ึงจะตอ้ งอาศยั ทกั ษะ ประสบการณ์ และการสงั เกตอยา่ งละเอียดถ่ีถว้ น
เพื่อใหก้ ารสนทนาน้นั ราบรื่น และเกิดความสบายใจท้งั ผสู้ มั ภาษณ์และผถู้ ูกสัมภาษณ์

คาชี้แจง นกั ศึกษาอาจศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมไดจ้ ากเอกสารแบบเรียนการพฒั นาตนเอง ระดบั มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หรือขอ้ มลู จาก
หนงั สือ และสื่ออ่ืน ๆ เพิม่ เติมได้

เรื่อง ปัญหาและแนวทางแก้ไขในการเกบ็ ข้อมูลชุมชน

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ปัญหาด้านสภาพแวดล้อม
1. เสน้ ทางในการเก็บขอ้ มูลบางบา้ นเขา้ ไปลาบากระยะทางในหมบู่ า้ นค่อนขา้ งไกล
2. ระยะทางของบา้ นแตล่ ะหลงั ห่างกนั
3. ความไมร่ ู้จกั และคนุ้ เคยกบั พ้ืนที่ท่ีจะไปเก็บขอ้ มูล
4. มีการหลงทางเพราะไมศ่ ึกษาเสน้ ทางมาก่อน
5. ผไู้ ปเกบ็ ขอ้ มลู ไม่มีความชานาญในพ้นื ท่ีน้นั
6. บางบา้ นเล้ียงสตั ว์ เช่น สุนขั ดุมาก
7. บางบา้ นน้าท่วมเขา้ ไปในบา้ นไมไ่ ด้
8. สภาพอากาศที่ร้อนทาใหเ้ ป็นอปุ สรรคต์ ่อการสารวจขอ้ มูลและดาเนินงาน
9. ปริมาณนกั ศึกษาชายมีไมเ่ พียงพอ

แนวทางแก้ไข
1. ควรหาขอ้ มลู เกี่ยวกบั ชุมชนในหมูบ่ า้ น
2. เขยี นแผนที่ใหช้ ดั เจนหรือไปสารวจเสน้ ทางก่อน หรือ เดินทางกนั เป็นคาราวาน จะไดไ้ ม่หลงทางกนั
3. ศึกษาดูแผนท่ีแผนผงั ของบา้ นที่จะไปก่อนลงมือปฏิบตั ิ
4. สอบถามเส้นทางจากเพ่ือนนกั ศึกษาท่ีรู้จกั เส้นทาง
5. ควรศึกษาเสน้ ทางใหด้ ีก่อนออกเดินทาง
6. ควรศึกษาเสน้ ทางก่อนไป หรือใหผ้ ทู้ ่ีเคยไปนาเสน้ ทาง
7. ตอ้ งหาไมต้ ิดตวั ไปดว้ ยหรือใหเ้ จา้ ของบา้ นมาไลห่ รือจบั สุนขั ไวค้ วรเตรียมความพร้อมที่จะออกไปเก็บ
ขอ้ มูล
8. ตอ้ งอดทนกบั ความหิว และอากาศท่ีร้อน เพ่ือฝึกความอดทน
9. แบง่ กลุ่มคละๆ กนั ไป มีผชู้ ายอยา่ งนอ้ ยกลุม่ ละ 1-2 คน

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ใบงานที่ ๑๔

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓
“ชุมชนน่าอย่”ู

ชื่อ – สกลุ .....................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
เร่ือง การจัดเกบ็ ข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล

1. ข้อมูล (data) หมายถึง อะไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

2. การเกบ็ แบบสอบถาม การทดลองในห้องทดลอง การสังเกต การสัมภาษณ์ จดั เป็ นข้อมูลชนดิ ใด
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

3. สิ่งแวดล้อม หมายถงึ อะไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

4. จงบอกประโยชน์ของข้อมูล
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
5. ค่านยิ ม ความเชื่อ ภาษา โบราณสถาน โบราณวัตถุ เป็ นข้อมูลประเภทใด
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ใบความรู้ ๑๕

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓

“ชุมชนน่าอยู่”

เร่ือง การมีส่วนร่วมในการวางแผนพฒั นาตนเองครอบครัวชุมชนสังคม
วธิ ีการจดั ทาแผนพฒั นา

วธิ ีการจดั ทาแผนพฒั นาและปรับปรุง
1. การกาหนดเป้าหมาย
2. การวิเคราะหต์ นเอง
3. การวิเคราะห์ปัญหา
4. การจดั ทาแผนพฒั นาและกาหนดตวั วดั
5. การลงมือทา
6. การประเมินติดตามผล

1. การกาหนดเป้าหมายในการพฒั นา
1. ขอบเขตหรือประเภทของกิจกรรมที่หน่วยงานตอ้ งการพฒั นาปรับปรุง ท่ีจะก่อใหเ้ กิดการพฒั นาที่

ยงั่ ยนื และสอดคลอ้ งกบั วสิ ัยทศั น์และพนั ธกิจขององคก์ าร
2. จุดมุ่งหมายเพื่อการพฒั นาท่ียงั่ ยนื ท่ีดีมีลกั ษณะ ดงั น้ี
1) ตอ้ งระบุถึงขอบเขตหรือประเภทของกิจกรรมท่ีสนบั สนุนและนาไปสู่พนั ธกิจ และบรรลุ

วิสยั ทศั นไ์ ดอ้ ยา่ งครอบคลมุ รอบดา้ น
2) มีความเป็นไปไดใ้ นทางปฏิบตั ิ

2. การวิเคราะหต์ นเอง
เป็นการประเมินโดยวิเคราะห์ถึงโอกาส และภาวะคุกคามหรือขอ้ จากดั อนั เป็นสภาวะแวดลอ้ ม

ภายนอกท่ีมีผลตอ่ การพฒั นาดา้ นตา่ งๆ ขององคก์ าร รวมท้งั การวเิ คราะห์จุดแขง็ จุดอ่อนขององคก์ าร อนั
เป็นสภาวะแวดลอ้ มภายใน เพื่อใชใ้ นการวางแผนพฒั นาใหม้ ีประสิทธิภาพสูงสุด

การวเิ คราะห์ SWOT
1) การวเิ คราะห์จุดแขง็ (Strength = S) เป็นการพิจารณาปัจจยั ภายในหน่วยงานมีส่วนดี ความ

เขม้ แขง็ ความสามารถ ศกั ยภาพ ส่วนที่ส่งเสริมความสาเร็จ
2) การวิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness = W) เป็นการพจิ ารณาปัจจยั ภายในหน่วยงานวา่ มีส่วนเสีย

ความออ่ นแอ ขอ้ จากดั ความไมพ่ ร้อมต่างๆ
3) การวเิ คราะห์โอกาส (Opportunity = O) เป็นการศึกษาสภาพแวดลอ้ มภายนอกวา่ มีสภาพเป็น

เช่นไร เหตกุ ารณ์สถานการณ์ของโลก ของประเทศ ท่ีเกิดข้ึนจะส่งผลต่อองคก์ ารอยา่ งไร มีการเปล่ียนแปลง
ใดท่ีเป็นประโยชน์ หรือเป็นโอกาสอนั ดีต่อองคก์ าร โดยจะตอ้ งพิจารณาท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง
การปกครอง และเทคโนโลยี

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔

กศน.อาเภอห้วยเมก็

4) การวเิ คราะห์ปัญหาอปุ สรรคหรือขอ้ จากดั (Threat = T) เป็นการศึกษาสภาพแวดลอ้ ม

ภายนอกท่ีเป็นอุปสรรคหรือภาวะคกุ คาม ก่อใหเ้ กิดผลเสียหรือเป็นขอ้ จากดั ต่อองคก์ าร โดยจะตอ้ งพิจารณา

ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมืองการปกครอง และเทคโนโลยี เช่นเดียวกบั การวเิ คราะหโ์ อกาส

3. การวเิ คราะห์ปัญหา

สภาพปัญหาตา่ งๆ ที่เกิดข้นึ ในองคก์ รมีมากมาย แต่คงเป็นการยากที่จะ ดาเนินการแกไ้ ขไดท้ กุ ดา้ น

เนื่องจากขอ้ จากดั ในปัจจยั ทางการบริหาร เช่น งบประมาณไม่เพียงพอ บคุ ลากร มีจากดั เป็นตน้ ดงั น้นั การ

วางแผนพฒั นาจึงจาเป็นจะตอ้ งมีการคดั เลือกและ จดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา เพ่ือจะทราบวา่ จะ

ดาเนินการแกไ้ ขปัญหาไหนก่อนหลงั ในการวางแผนพฒั นาองคก์ ารต่อไป

3.1 ความสาคญั ของการคดั เลือกและจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา

1) สิ่งที่กาหนดวา่ เป็นปัญหาในข้นั แรกแลว้ อาจไม่ใช่ปัญหาที่แทจ้ ริง หรืออาจรวมกนั เป็น

ปัญหาใหม่ท่ีใหค้ วามหมายไดด้ ีกวา่ ปัญหาเดิม

ปัญหาแตล่ ะปัญหาที่ไดม้ ามีความสาคญั ไมเ่ ทา่ กนั

2) ทรัพยากรในดา้ นต่างๆมีจากดั การแกไ้ ขปัญหาทกุ ปัญหาในคราวเดียวกนั เป็นไปไดย้ าก จึง

ตอ้ งมีการเลือกแกป้ ัญหาตามลาดบั ความสาคญั ของปัญหา

3.2 คดั เลือกปัญหา

1) ระดมความเห็นจากขอ้ มลู จริงต่างๆ เพ่ือพิจารณาทบทวนปัญหาวา่ ตามสภาพขอ้ เทจ็ จริงแลว้

เป็นปัญหาจริงหรือไม่ โดยวเิ คราะหจ์ ากปัจจยั ต่างๆ จากมุมมองของผมู้ ีส่วนไดส้ ่วน บุคลากรภายใน

องคก์ าร

2) กาหนดประเด็นปัญหาใหม้ ีความชดั เจน โดยระบถุ ึงลกั ษณะหรือสภาพขอบเขต และสาเหตุ

ของปัญหา โดยอาจรวมหลายปัญหาเดิมเขา้ ดว้ ยกนั เป็นปัญหาใหม่ การคดั เลือกปัญหาจะช่วยใหไ้ ดป้ ัญหามี

ลกั ษณะเป็นปัญหาที่แทจ้ ริง ก่อนที่จะพิจารณา จดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาต่อไป

3.3 จดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา

1) ในการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา ตอ้ งมีการกาหนดตวั เกณฑเ์ บ้ืองตน้ เป็นพ้ืนฐาน แลว้

นาตวั เกณฑน์ ้นั ๆ มาพิจารณาจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาต่อไป

2) การกาหนดตวั เกณฑ์ หมายถึง การกาหนดหลกั เกณฑส์ าคญั ที่จะนามาใชว้ ดั ตรวจสอบหรือ

พิจารณาในเร่ืองน้นั ๆ เช่น การจะซ้ือรถยนตม์ าใชส้ ่วนตวั ประเด็นท่ีจะนามาพจิ ารณาอาจเป็นความปลอดภยั

ความแขง็ แรง ราคาถูก รูปลกั ษณะสวยงาม เป็นตน้

ตวั อยา่ งของ ตวั เกณฑใ์ นการพจิ ารณาปัญหา

1. ความร้ายแรงและความเร่งด่วนของปัญหา 5. การยอมรับปัญหาร่วมกนั ของ

2. ขนาดของบุคลากรหรือพ้นื ท่ีที่ถกู กระทบจากปัญหา 6. ความง่ายในการแกป้ ัญหา

3. ขนาดของปัญหา 7. งบประมาณท่ีใช้

4. ความเสียหายท่ีเกิดข้ึน 8. ผลประโยชนท์ ่ีจะไดร้ ับ

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ใบงานที่ ๑๕

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓
“ชุมชนน่าอยู่”

ช่ือ – สกุล.....................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
เรื่อง การมสี ่วนร่วมในการวางแผนพฒั นาตนเองครอบครัวชุมชนสังคม

1. การวางแผน (Planning) หมายถงึ อะไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

2. วตั ถุประสงค์ในการวางแผน มีอะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

3. กระบวนการในการวางแผน มีอะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

4. จงบอกข้ันตอนการเขียนโครงการ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

5.จงบอกข้นั ตอนการเขียนรายงานโครงงาน
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ใบความรู้ที่ ๑๖

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓

“ชุมชนน่าอย่”ู

เรื่อง บทบาทหนาท่ีของผู้นาสมาชิกท่ดี ขี องชุมชนสังคม

รายวิชา พฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม สค ๓๑๐๐๓
บทบาทของผู้นาที่ได้ชื่อว่าเป็ นผ้นู าที่ดี สรุปพอสังเขปไดด้ งั น้ีครับ

1) บทบาทการสร้างเครือข่าย (Networking) คือการพยายามเขา้ สังคม เพื่อจะไดพ้ บปะกบั บุคคลที่
เป็ นแหล่งขอ้ มูล และพยายามรักษามิตรภาพน้นั ไวอ้ ย่างต่อเนื่อง โดยการไปเย่ยี มเยียน พูดคุยทางโทรศพั ท์
ใหค้ วามร่วมมือในสิ่งท่ีเขาร้องขอ ใหค้ วามสนใจ เขา้ ร่วมการประชุมตา่ ง ๆ และกิจกรรมทางสังคมท่ีสาคญั

2) บทบาทการให้การสนับสนุน (Supporting) คือการท่ีผูน้ าให้ความสนใจและความเป็ นเพ่ือนแก่
ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา หรือเพ่ือนร่วมงาน แสดงใหเ้ ห็นถึงความเขา้ ใจ เห็นใจ และให้การสนบั สนุนให้ผทู้ ี่มีความ
วิตกกังวลในการปฏิบัติงาน ยินดีรับฟังการปรับทุกข์และปัญหาต่าง ๆ รู้ความสนใจของคนอ่ืน พยายาม
ส่งเสริมและสนบั สนุนใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาประสบความสาเร็จและกา้ วหนา้ ในอาชีพ

3) บทบาทการขจัดความขัดแย้งและการสร้างทีมงาน (Managing conflict and team building) คือ
การกระตนุ้ และอานวยความสะดวกในการหาหนทางในการแกไ้ ขความขดั แยง้ ผลกั ดนั ใหม้ ีการสร้างทีมงาน
และความร่วมมือ และสร้างความรู้สึกเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ขององคก์ ารและทีมงาน

4) บทบาทการติดตาม (Monitoring) คือ บทบาทในการติดตามดูแลการดาเนินการและการ
เปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อม ทาได้โดยการติดตามดูความก้าวหน้า และคุณภาพของการปฏิบัติงาน ดู
ความสาเร็จหรือลม้ เหลวในแต่ละโครงการ ผลการปฏิบตั ิงานของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาสารวจความตอ้ งการและ
ค่านิยมของลูกคา้ ติดตามและวิเคราะห์ปัจจยั ของส่ิงแวดลอ้ มองค์การท่ีจะเป็ นอุปสรรคต่อการดาเนินการ
และโอกาสต่าง ๆ

5) บทบาทการให้ข้อมูล (Informing) โดยการบอกให้ทราบถึงขอ้ มูลและผลการตดั สินใจท่ีจาเป็ น
แก่การปฏิบตั ิงานของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา จดั หาเอกสารทางวิชาการท่ีจาเป็น ใหค้ าปรึกษาเกี่ยวกบั เทคนิควิธีใน
การปฏิบตั ิการ และวิธีการท่ีจะเพิ่มพูนภาพพจน์ หรือช่ือเสียงท่ีดีขององคก์ าร

6) บทบาทในการสร้างความชัดเจน (Clarifying) คือการที่ผนู้ าตอ้ งสร้างความชดั เจนในภาระหนา้ ท่ี
และวตั ถุประสงค์ของงานต่อผูป้ ฏิบัติงาน โดยการมอบหมายงาน ให้คาช้ีแนะวิธีการทางานและความ
รับผิดชอบต่องานน้นั เนน้ วตั ถุประสงคข์ องงาน กาหนดเวลาในการทางานและความคาดหวงั ต่อผลงานให้
ผปู้ ฏิบตั ิงานไดท้ ราบอยา่ งชดั เจน

7) บทบาทในการวางแผนและจดั องค์การ (Planning and organizating) คือบทบาทหนา้ ท่ีของผนู้ า
ในการเป็ นผูก้ าหนดวตั ถุประสงค์ของแผนระยะยาว และกลยุทธ์ในการปรับตัวขององค์การต่อการ
เปล่ียนแปลงของสิ่งแวดลอ้ มท้ังภายในและภายนอก เสนอกิจกรรมทุกข้นั ตอนของการดาเนินการของ
โครงการต่าง ๆ จดั แบ่งทรัพยากรตามลาดบั ความสาคญั ของกิจกรรม หรือโครงการ ตดั สินวิธีการปรับปรุง
ประสิทธิภาพผลผลิตและความร่วมมือระหวา่ งหน่วยงานในองคก์ าร

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

8) บทบาทในการแก้ปัญหา (Problem solving) โดยช้ีให้เห็นถึงความสัมพนั ธ์หรือผลของปัญหาต่อ
งาน วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ เพื่อหาสาเหตุและทางเลือกในการแกป้ ัญหา จดั การแกป้ ัญหาและวิกฤตการณ์ที่
เกิดข้ึน

9) บทบาทในการปรึกษาและมอบหมายงาน (Consulting and delegating) คือบทบาทในการที่
จะตอ้ งไตร่ถามความรู้สึกของผูป้ ฏิบตั ิงาน ก่อนจะมีการเปล่ียนแปลงท่ีส่งผลกระทบต่อพวกเขา กระตุน้ ให้
เสนอแนะวิธีการปรับปรุง เปิ ดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการตดั สินใจ และมอบหมายอานาจหน้าท่ีในการ
ดาเนินงานท่ีสาคญั และแกป้ ัญหาที่เกิดข้ึนดว้ ยตนเอง

10) บทบาทในการสร้างแรงจูงใจ (Motivating) โดยการใช้เทคนิคในการมีอิทธิพลต่อความรู้สึก
ค่านิยม อนั ทาให้คนปฏิบตั ิงานต้งั ใจและทุ่มเทความสามารถในการทางานและยอมรับในวตั ถุประสงคข์ อง
งาน ชกั จูงให้บุคคลต่าง ๆ ให้การสนบั สนุน ร่วมมือ ช่วยเหลือและทรัพยากรท่ีจาเป็ น รวมท้งั การกาหนด
พฤติกรรมที่เหมาะสมในการปฏิบตั ิงาน

11) บทบาทในการประกาศเกียรติคุณและให้รางวัล (Recognizing and rewarding)คือการยกย่อง
ประกาศเกียรติคุณให้ทราบกันท่ัว และมอบรางวลั สาหรับผลการปฏิบัติงานท่ีดีเย่ียมความสาเร็จตาม
เป้าหมาย การทาผลประโยชน์พิเศษแก่องค์การ แสดงการยอมรับและซาบซ้ึงในความสาเร็จของการ
ปฏิบตั ิงาน

คุณลักษณะเหล่าน้ี ไม่ได้ติดตัวมาแต่เกิดนะครับ มันจึงสามารถสร้างได้ด้วยการฝึ กฝน และ
ประสบการณ์ของผนู้ าหรือผบู้ ริหารครับ

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบงานที่ ๑๖

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓
“ชุมชนน่าอย่”ู

ชื่อ – สกลุ .....................................................รหสั นกั ศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
เร่ือง บทบาทหนาที่ของผู้นาสมาชิกท่ดี ีของชุมชนสังคม

1. ผู้นาตามลกั ษณะของการใช้อานาจหน้าท่ี แบ่งได้กป่ี ระเภท คืออะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

2. จงบอกคณุ ลกั ษณะของผู้นา
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

3.ผู้นาท่ีดี ควรมคี ุณสมบัตอิ ย่างไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

4. หน้าที่ของผู้นาชุมชน มีอะไรบ้าง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
5.แผนชุมชน หมายถึง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ใบความรู้ท่ี 17
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔
“ภาษาทางคณติ ”

เรื่องที่ ๔ Short Stories and Some Articles (เรื่องส้นั และบทความ)

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ใบงานท่ี 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔
“ภาษาทางคณิต”
ช่ือ – สกุล.....................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................

เร่ือง เร่ืองที่ ๔ Short Stories and Some Articles (เรื่องส้ันและบทความ)

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้ที่ 18
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔
“ภาษาทางคณติ ”

เรื่อง ความสัมพนั ธ์เชิงฟังชันระหว่างข้อมูล

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

ใบงานท่ี 18
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔
“ภาษาทางคณติ ”

ชื่อ – สกลุ .....................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอหว้ ยเมก็

เฉลยใบงาน คณิตวเิ คราะห์
คร้ังท่ี หน่วยท่ี

เรื่องความสัมพนั ธ์เชิงฟังชันระหว่างข้อมูล

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบความรู้/ใบงาน ระดบั ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
กศน.อาเภอห้วยเมก็

ใบงานที่ 19

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔
“ภาษาทางคณิต”
ช่ือ – สกลุ .....................................................รหสั นักศึกษา...............................กศน.ตาบล........................
เรื่อง การวเิ คราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การวัดการกระจายของข้อมูล
คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปน้ี

๑. จากขอ้ มูลตวั อยา่ ง ๘,๑๐,๕,๑๖,๒,๘,๗ จงหาคา่ เฉลี่ยเลขคณิต มธั ยฐาน และฐานนิยม
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๒. จากขอ้ มลู ตวั อยา่ ง ๑๖,๑,๓,๒๐,๓๘,๔๐,๑๒ จงหาส่วนเบ่ียงเบนควอร์ไทล์ (Q.D.)
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version