The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มคอ.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรสองภาษา หลักสูตรปรับปรุง 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mod_address, 2020-06-22 00:05:40

มคอ.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรสองภาษา หลักสูตรปรับปรุง 2560

มคอ.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรสองภาษา หลักสูตรปรับปรุง 2560

Keywords: Curriculum

หลกั สตู รบริหารธรุ กิจดษุ ฎีบณั ฑิต
(หลกั สตู รสองภาษา)

หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560

Doctor of Business Administration Program
(Bilingual Program)

Revised Curriculum, Year 2017

คณะบริหารธรุ กิจ
มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย

School of Business
University of the Thai Chamber of Commerce

หลกั สตู รบริหารธรุ กิจดษุ ฎีบณั ฑิต
(หลกั สตู รสองภาษา)

หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560
Doctor of Business Administration Curriculum

(Bilingual Program)
Revised Curriculum, Year 2017

ชื่อสถาบนั อดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย
University name University of the Thai Chamber of Commerce

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะบรหิ ารธุรกจิ

Campus/School School of Business

หมวดท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไป
Part 1: General Information

1. รหสั และช่ือหลกั สูตร

Program Title

ภาษาไทย หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ (หลกั สตู รสองภาษา)

Thai หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ (หลกั สตู รสองภาษา)

ภาษาองั กฤษ Doctor of Business Administration Program (Bilingual Program)

English Doctor of Business Administration Program (Bilingual Program)

2. ชื่อปริญญา บรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ
Degree Title บรหิ ารธรุ กจิ ดุษฎบี ณั ฑติ
บธ.ด.
ชอ่ื เตม็ (ไทย) บธ.ด.
Full Title (Thai)
ชอ่ื ยอ่ (ไทย)
Abbreviation (Thai)

ชอ่ื เตม็ (องั กฤษ) Doctor of Business Administration
Full Title (English) Doctor of Business Administration
ชอ่ื ยอ่ (องั กฤษ) D.B.A.
Abbreviation (English) D.B.A.

1

3. วิชาเอก / หรอื ความเช่ียวชาญเฉพาะของหลกั สูตร
Specialization
บรหิ ารธุรกจิ
Business

4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลกั สตู ร
Total Credits for the Program
54 หน่วยกติ
54 credits

5. รปู แบบของหลกั สตู ร
Program Specifications
5.1 รปู แบบ
Format
หลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาเอก หลกั สตู ร 3 ปี
3-year doctoral degree program

5.2 ภาษาที่ใช้
Medium of Instruction
ภาษาไทย
English

5.3 การรบั เข้าศกึ ษา
Admission
- รบั นักศกึ ษาไทยและนกั ศกึ ษาชาวต่างชาติทส่ี ามารถฟงั พูด อ่าน เขยี น ภาษาไทยและภาษาองั กฤษได้
เป็นอยา่ งดี
- Thai and non-Thai students who are proficient in Thai and English

5.4 ความรว่ มมือกบั สถาบนั อ่ืน
Collaboration with Other Institutions
เป็นหลกั สตู รเฉพาะของสถาบนั ทจ่ี ดั การสอนโดยตรง
Teaching and learning in the program are entirely arranged by Awarding Institution.

5.5 การให้ปริญญาแก่ผสู้ าเรจ็ การศึกษา
Type of Conferred Degree
ใหป้ รญิ ญาเพยี งสาขาวชิ าเดยี ว
A single degree award

2

6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพิจารณาอนุมตั ิ/เหน็ ชอบหลกั สูตร
Program Status and the Curriculum Approval
1) หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560
Revised curriculum year 2017

2) ได้พิจารณากลนั่ กรองการปรับปรุงหลักสูตรโดยคณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต
(หลกั สตู รสองภาษา) เมอ่ื วนั ท่ี 28 เมษายน 2560
The Curriculum Development Committee of the Doctor of Business Administration Degree (Bilingual
Program) has agreed with the revised curriculum at the meeting held on April 28th, 2017.

3) สภาวชิ าการ ไดพ้ จิ ารณากลนั่ กรองการปรบั ปรุงหลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ (หลกั สตู รสองภาษา) เม่อื
วนั ท่ี 20 มถิ ุนายน 2560
The Academic Council of the University of the Thai Chamber of Commerce has considered and
confirmed the revised curriculum of the Doctor of Business Administration Degree (Bilingual Program)
at the meeting held on June 20th, 2017.

4) สภามหาวทิ ยาลยั ไดอ้ นุมตั เิ หน็ ชอบหลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ (หลกั สตู รสองภาษา) เม่อื การประชุม
ครงั้ ท่ี 4/2560 (323) เม่อื วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2560
The Council of the University of the Thai Chamber of Commerce has approved the revised curriculum
of the Doctor of Business Administration Degree (Bilingual Program) at the 4/2017 (323) meeting held
on 3rd July, 2017

5) เปิดสอนหลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ (หลกั สตู รสองภาษา) ภาคตน้ ปีการศกึ ษา 2560
The revised curriculum of the Doctor of Business Administration Degree (Bilingual Program) will be
effective from the first semester of academic year 2017.

7. ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลกั สตู รที่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน
Readiness to Demonstrating the Program’s Quality and Standard
หลกั สตู รมคี วามพรอ้ มในการเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษา ในปีการศกึ ษา
2563
The curriculum will be ready to demonstrate its quality, and standard compliance with the Doctoral degree
qualification framework for Higher Education in year 2019.

8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดห้ ลงั สาเรจ็ การศึกษา
Prospect Careers after Graduation
ผทู้ จ่ี บการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาเอกจะเป็นผทู้ ่ีมคี วามเชย่ี วชาญในทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สาขาทเ่ี รยี น และระเบยี บ
วธิ กี ารวจิ ยั อย่างถ่องแท้ เพ่อื ทจ่ี ะสามารถประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ งานและพฒั นาองคก์ รรวมถงึ องคค์ วามรใู้ หมท่ งั้ ใน
ภาคธุรกจิ และภาคการศกึ ษาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล โดยผูท้ จ่ี บการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกจะ
สามารถประกอบอาชพี ไดด้ งั ต่อไปน้ี

3

The program emphasizes the importance of integrating theoretical, methodological and practical learning so
the DBA graduates will work effectively and efficiently in top-level research and development positions of
organizations, as well as striving to be academic professors and researchers, specializing in the areas of
Management, Marketing, and Finance, in both the academic and real world business environments. The
prospect careers include;

8.1 นกั วจิ ยั นกั วชิ าการและอาจารย์ ในสาขาวชิ าทเ่ี รยี น
Academic researcher and lecturer in specific business areas of expertise

8.2 ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ในองคก์ รทงั้ ในภาครฐั และเอกชน
Executive management level positions

8.3 ผปู้ ระกอบการ/ เจา้ ของกจิ การ
Entrepreneur/ Business owner

9. ชื่อ นามสกลุ ตาแหน่ง และคณุ วฒุ ิการศึกษาของอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร
Faculty Members Responsible for the Curriculum

ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ คณุ วฒุ ิ สาขาวิชา สถานบนั ที่สาเรจ็ ปี พ.ศ.
วิชาการ 2545
การศึกษา 2541
1 อาจารย์ ดร.พรี พงษ์ D.B.A. Management 2540
Nova Southeastern 2546
ฟูศริ ิ University, Florida, USA
Nova Southeastern
M.B.A. Management Information System University, Florida, USA
Florida Metropolitan
B.B.A. Marketing University, USA
Kasetsart University
2 อาจารย์ ดร.ธรี นิ Ph.D. Tropical Agriculture
วาณชิ เสนี M.B.A. (รางวลั ดษุ ฎนี พิ นธย์ อดเยย่ี ม)
M.Sc. Finance and Strategic
Management Sasin, Chulalongkorn 2552
Environmental Engineering University
New Jersey Institute of 2537
3 อาจารย์ ดร.ธฤตพน วศ.บ. โยธา Technology, USA
อู่สวสั ดิ์ Ph.D. Management Science (Finance) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2533
2556
M.Sc. Finance Illinois Institute of
Technology, USA. 2551
M.B.A. Finance, Marketing, and Illinois Institute of
วศ.บ. Entrepreneurship Technology, USA. 2548
อุตสาหการ University of Oregon, USA.

จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2544

4

No. Academic Name Qualifications Major Institution Year
Title (B.E.)

1 Lecturer Dr. Peerapong D.B.A. Management Nova Southeastern 2545

Fusiri University, Florida, USA

M.B.A. Management Information System Nova Southeastern 2541

University, Florida, USA

B.B.A. Marketing Florida Metropolitan 2540

University, USA

2 Lecturer Dr. Teerin Ph.D. Tropical Agriculture Kasetsart University 2546

Vanichseni (a Distinguished Dissertation

Award)

M.B.A. Finance and Strategic Sasin, Chulalongkorn 2552

Management University

M.Sc. Environmental Engineering New Jersey Institute of 2537

Technology, USA

B.Eng. Civil Engineering Kasetsart University 2533

3 Lecturer Dr.Thitapon Ph.D. Management Science (Finance) Illinois Institute of 2556

Ousawat Technology, USA.

M.Sc. Finance Illinois Institute of 2551

Technology, USA.

M.B.A. Finance, Marketing, and University of Oregon, 2548

Entrepreneurship USA.

B.Eng. Industrial Engineering Chulalongkorn University 2544

10. สถานท่ีจดั การเรยี นการสอน
Instructional Venues

มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย
University of the Thai Chamber of Commerce

11. สถานการณ์ภายนอกหรอื การพฒั นาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลกั สูตร

External Situation and Development Affecting Program Planning
11.1 สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ

Economic Situations and Developments

จากสภาวการณ์การแข่งขนั ทท่ี วคี วามรุนแรงเพม่ิ มากยง่ิ ขน้ึ ในยุคโลกาภวิ ตั น์ รวมไปถงึ ความเจรญิ กา้ วหน้า
ทางเทคโนโลยีท่ไี ด้เปล่ยี นแปลงลกั ษณะการดาเนินงานและสภาวะแวดล้อมทางธุรกจิ อย่างรวดเรว็ องค์กรธุรกจิ ใน
ปจั จุบนั จงึ มคี วามจาเป็นอย่างยง่ิ ทจ่ี ะต้องเรยี นรแู้ ละปรบั ตวั ใหท้ นั กบั สภาวการณ์ดงั กล่าว โดยการพฒั นาและศกึ ษาองค์
ความรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารจดั การ การตลาด และการเงนิ ทางธุรกจิ ซง่ึ จะเป็น 3 องคป์ ระกอบหลกั ทจ่ี ะขบั เคล่อื นให้
องคก์ รสามารถแขง่ ขนั ได้ ดงั นนั้ องคก์ รจงึ มคี วามจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งมกี ารสง่ เสรมิ ในเร่อื งของการวจิ ยั และพฒั นา รวมไปถงึ
การปรบั ปรุงการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง ดว้ ยเหตุดงั กล่าวคณะบรหิ ารธุรกจิ จงึ มุ่งเน้นทจ่ี ะผลติ ดุษฎบี ณั ฑติ ทม่ี คี วามรู้
ความสามารถ และความชานาญการเฉพาะทางทงั้ 3 สาขาหลกั ได้แก่ สาขาการจดั การ สาขาการตลาด และ สาขา
การเงนิ ดว้ ยความมุ่งหวงั ทจ่ี ะใหด้ ุษฎบี ณั ฑติ ดงั กล่าวไดเ้ ป็นบุคลากรทม่ี ีคุณภาพ และมาตรฐาน เพ่อื เป็นสว่ นสาคญั ใน
การพฒั นาระบบเศรษฐกจิ ของประเทศโดยองคร์ วม

5

Concerning the increasingly competitive environment in the 2 1st century, it is very important that
businesses nowadays learn and acquire business knowledge pertaining to management, marketing, and finance;
which are three main functions in every business organization. Additionally, globalization and technological
advancement stimulate organizations by continuously improving the way in conducting business more effectively,
efficiently, and innovatively. In order to achieve business goals, it is therefore imperative that businesses pay
more attention to research and to developing new knowledge as well as learning best practices. The School of
Business recognizes this and the need to produce graduates who are specialists and experts in areas of business
management, marketing, and finance; with the aim of producing high quality managers and researchers in order
to develop our national economy.

คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทยจงึ ไดเ้ สนอหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ ดุษฎบี ณั ฑติ เพอ่ื ผลติ บคุ ลากร
ท่มี ีความรู้ ความชานาญการและเป็นนักวจิ ยั ท่มี คี ุณภาพ ทางด้านการจดั การ การตลาด และการเงนิ ซ่งึ จะทาให้มี
บุคลากรท่ีมีคุณภาพ เพ่ือเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ ซ่ึงจะช่วยแบ่งเบาภาระของการจัดการศึกษา
ระดบั อุดมศกึ ษาของภาครฐั และเป็นการประหยดั เงนิ ตราต่างประเทศในการทจ่ี ะตอ้ งใชจ้ ่ายในการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญา
เอกในต่างประเทศ รวมทงั้ เป็นการเตรยี มพรอ้ มทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศเพ่อื แขง่ ขนั ในโลกธุรกจิ ไรพ้ รมแดน

The School of Business proposes a curriculum to produce graduates with knowledge and research
expertise in the areas of business management, marketing, and finance, along with a good command of English
and business ethics. This will enable qualified business personnel and researchers to be a major force in the
development of the national economy. This will also help alleviate the burden of higher education in public
universities, thereby saving foreign currency to pay for postgraduate studies abroad.

11.2 สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรม
Social and Cultural Development
ปจั จยั ภายนอกทางสงั คมและวฒั นธรรมทส่ี าคญั ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งมาก ซง่ึ มผี ลกระทบกบั การทา

ธรุ กจิ เชน่ ปญั หาของสภาวะโลกรอ้ นทม่ี ผี ลกระทบต่อความเป็นอย่ขู องคนในสงั คมโดยตรง การมแี นวคดิ การบรหิ ารธุรกจิ
เพอ่ื สง่ิ แวดลอ้ ม และการบรหิ ารธุรกจิ เพ่อื สงั คม จงึ ถกู หยบิ ยกขน้ึ มาเพอ่ื เป็นแนวทางปรบั สภาพแวดลอ้ มและปฏสิ มั พนั ธ์
ระหว่างสงิ่ แวดลอ้ มกบั มนุษย์ นอกจากนนั้ การทจ่ี ะมสี งั คมเชน่ น้ไี ด้ คนในสงั คมจะตอ้ งมวี ฒั นธรรมทด่ี ี มคี ณุ ธรรมและ
จรยิ ธรรมในการทาธุรกจิ ซง่ึ ถา้ หากบุคลากรหรอื นกั ธุรกจิ มหี ลกั การทม่ี นั่ คงแลว้ การมจี รรยาบรรณกจ็ ะเกดิ ขน้ึ ตามมา
แนวคดิ เชน่ น้ี คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย จงึ ไดน้ ามาพจิ ารณาในการพฒั นา/ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร เพ่อื ให้
ไดบ้ คุ ลากรดา้ นการบรหิ ารธุรกจิ ทส่ี ามารถตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงของโลกได้

Social and cultural factors have changed dramatically in the modern era. This has impacted the process
of conducting business an example being the problem of global warming which affects the well-being of people
in society. The concepts of business administration for the environment and business administration for society
are reviewed so as to improve the relationship between the environment and people. In addition, people in society
should have good cultural knowledge, business morality and ethics. If businessman have an established
grounding in ethical principles then ethical behavior should be the result. The School of Business, University of
the Thai Chamber of Commerce, has taken these factors into consideration in developing / improving curricula
for preparing business administration personnel who are able to respond to the changes in the world.

6

12. ผลกระทบจาก ขอ้ 11.1 และ 11.2 ต่อการพฒั นาหลกั สตู รและความเก่ียวข้องกบั พนั ธกิจของสถาบนั
Effects from Topic 11.1 And 11.2 on Curriculum Development and the Relevance to the Mission of the
Institution
12.1 การพฒั นาหลกั สูตร
Curriculum Development
หลกั การของการพฒั นาหรอื ปรบั ปรุงหลกั สตู รน้ีมุ่งพฒั นาผู้บรหิ ารธุรกจิ ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถและความ

เชย่ี วชาญการทางดา้ นการบรหิ ารธรุ กจิ รวมไปถงึ สามารถพฒั นาและนาองคค์ วามรดู้ า้ นการบรหิ ารทไ่ี ดม้ าจากการศกึ ษา
และวจิ ยั ไปประยุกตใ์ ชก้ บั การเปลย่ี นแปลงของโลกธุรกจิ ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงโดยสง่ิ แวดล้อมต่าง ๆ
อาทิ การเปลย่ี นแปลงดา้ นเศรษฐกจิ เทคโนโลยี สงั คมและวฒั นธรรม รเู้ ท่าทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงของธุรกจิ อย่างรอบ
ดา้ น สามารถปรบั ตวั ไดใ้ นสภาพแวดลอ้ มทร่ี ุมเรา้ เขา้ มาจากหลายทศิ ทาง

The principle of curriculum development or improvement aims to develop doctoral business
administrators who will have the knowledge and expertise to prosper in business administration; who can explore
and develop new bodies of knowledge that contribute to both academic research and practice, and that integrate
changes in economy, technology, society and culture; and who can adapt to an ever more complex environment.

12.2 ความเก่ียวขอ้ งกบั พนั ธกิจของสถาบนั
Relevance to the Mission of the Institution
พันธกิจของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ได้กล่าวว่า จะมุ่งผลิตบัณฑิตทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้

ความสามารถดา้ นธุรกจิ (Business Smart) ใหอ้ ย่ใู นระดบั แนวหน้าของประเทศ การผลติ บณั ฑติ ในหลกั สตู รน้ีจงึ เป็นไป
ทศิ ทางเดยี วกนั กบั พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย ทม่ี ุ่งเน้นใหน้ ักศกึ ษาเป็นคนมคี วามรคู้ วามสามารถดา้ นการ
บริหารจดั การ การตลาด และการเงนิ เพ่อื ท่จี ะสามารถประกอบวชิ าชพี ของตนเองได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถ
ปรบั ตวั ใหท้ นั กบั การเปลย่ี นแปลงของโลกธุรกจิ มจี รรยาบรรณ มคี วามรบั ผดิ ชอบและความซ่อื สตั ยต์ ่อตนเองและสงั คม
ทางานหนกั เพอ่ื พฒั นาธรุ กจิ และเศรษฐกจิ ของประเทศไทยใหเ้ จรญิ กา้ วหน้าทดั เทยี มกบั นานาประเทศทวั่ โลก

The mission of the University of the Thai Chamber of Commerce is to produce graduates at all
educational levels, ranging from undergraduate to graduate degrees, with knowledge and skills in business
(Business Smart) and who will be at the forefront of the country. Befitting the aim of producing high quality
graduates, this curriculum is aligned with the mission of the University of the Thai Chamber of Commerce. The
central aim of the DBA program focuses on producing and developing students with the knowledge and research
expertise in three main areas of management, marketing, and finance; who can work professionally, adapt to
changes in the business world, encompass good ethics, are responsible and honest to self and society, and can
work hard to develop the business and economic prosperity of the country.

13. ความสมั พนั ธก์ บั หลกั สตู รอื่นที่เปิ ดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของมหาวิทยาลยั
Relationship with Other Programs Offered by Other Schools / Majors in the University
13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลกั สตู รท่ีเปิ ดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลกั สูตรอื่น
Courses/Groups of Courses in the Program Taught by Other Schools/Majors/Programs
ไม่มี
None

7

13.2 กลมุ่ วิชา/รายวิชาในหลกั สตู รท่ีเปิ ดสอนให้คณะ/ภาควิชา/หลกั สตู รอ่ืน
Courses/Groups of Courses in the Program Provided for Other Majors/Programs
ไมม่ ี
None

13.3 การบริหารจดั การ
Program Management
ไมม่ ี
None

หมวดท่ี 2 ข้อมลู เฉพาะของหลกั สตู ร
Part 2: Specific Information of the Program

1. ปรชั ญา ความสาคญั และวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร
Philosophy, Importance, and Objectives of the Curriculum
1.1 ปรชั ญา
Philosophy
เพ่อื ผลติ นักวจิ ยั และบุคลากรระดบั นักบรหิ ารทม่ี คี วามรอบรู้ และมคี วามสามารถในการพฒั นาองคค์ วามรู้

ใหม่ใหแ้ ก่ทงั้ ดา้ นวชิ าการและทางปฏบิ ตั ิ โดยนาองคค์ วามรใู้ หม่ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาวจิ ยั ไปประยุกตใ์ ชเ้ พ่อื พฒั นาองคก์ ร
ดว้ ยการมจี รยิ ธรรม และคณุ ธรรม รวมถงึ แสดงความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม เพ่อื นาไปสกู่ ารพฒั นาและเพม่ิ ขดี ความสามารถ
ของประเทศอย่างยงั่ ยนื

To initiate and develop new bodies of knowledge, to implement this knowledge to improve
organizational ethics and corporate responsibly and to enhance the efficiency of Thailand's overall economy.

1.2 วตั ถปุ ระสงค์
Objectives
1. ผลติ ดุษฎีบณั ฑติ ท่มี คี วามรอบรู้และเช่ียวชาญด้านการวิจยั มคี วามใฝ่รู้ มคี วามสนใจในการค้นคว้า
ศกึ ษา ตลอดจนมคี วามต่นื ตวั ในการแสวงหาความรใู้ หมท่ างดา้ นบรหิ ารธรุ กจิ
To produce Doctors of Business Administration who are competent in practice and research,
encompass a yearning for knowledge, and possess an enthusiasm for business development

2. สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ด้านบรหิ ารธุรกจิ ท่สี ามารถประยุกต์ใชใ้ นการบรหิ าร เพ่อื เป็นการส่งเสรมิ พฒั นา
เศรษฐกจิ และสงั คม
To generate a new knowledge of business administration in order to promote and enhance social
and economic development

8

2. แผนพฒั นาปรบั ปรงุ

Program Improvement/Revision Plan

แผนการพฒั นา/เปลยี่ นแปลง กลยทุ ธ์ หลกั ฐาน/ตวั บ่งชี้

Improvement/Revision Plan Strategies Evidences/KPIs

 การพฒั นาการเรยี นการสอน - ตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงดา้ นเศรษฐกจิ - รายงานการประชมุ คณะกรรมการ

สงั คม วฒั นธรรม และเทคโนโลยี อยา่ ง บรหิ ารหลกั สตู ร

สม่าเสมอ เพอ่ื นามาใชใ้ นการปรบั ปรงุ และ - จานวนผลงานวจิ ยั ทด่ี าเนินการโดย

พฒั นาการระบบการเรยี นการสอน อาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร

- กระตุน้ อาจารยผ์ สู้ อนใหด้ าเนนิ งาน

โครงการวจิ ยั เพมิ่ มากขน้ึ เพอ่ื พฒั นาและขยาย

แนวความคดิ เกย่ี วกบั การทาวจิ ยั เพอ่ื นามา

เป็นสว่ นหน่งึ ของการสอนนกั ศกึ ษาปรญิ ญา

เอก

Teaching and learning - Constantly monitoring changes in the - Minutes of the curriculum
development
economic, social, cultural and committee meetings.

technological trends in order to adjust - Number of research conducted by
and advance teaching and learning. each faculty
- Encouraging faculties in conducting -
more research with the aim of

broadening the ideas in supervising the

DBA students

 การพฒั นานกั ศกึ ษา -สรา้ งกจิ กรรมทม่ี ุ่งเน้นใหน้ กั ศกึ ษาไดม้ ี - จานวนกจิ กรรมทจ่ี ดั ขน้ึ (สมั มนา

ประสบการณ์และทกั ษะในการดาเนนิ งาน วชิ าการ, Academic Conference,

วจิ ยั เช่น การสมั มนาระหว่างนกั ศกึ ษา หลกั สตู รอบรมพเิ ศษ)

ปรญิ ญาเอก การสมั มนาวชิ าการทงั้ ในและ - จานวนนกั ศกึ ษาเขา้ ร่วมโครงการ

ต่างประเทศ เป็นตน้ - จานวนเอกสารยนื ยนั ตอบรบั เพอ่ื
-จดั ใหม้ กี ารฝึกอบรมทกั ษะในการทาวจิ ยั เขา้ เสนอผลงานวชิ าการ
(Conference proceedings)
นอกเหนอื จากในหลกั สตู รโดยเชญิ วทิ ยากร
ผมู้ คี วามชานาญเฉพาะทางมาถ่ายทอด

ความรแู้ กน่ กั ศกึ ษา

Student development - Create events (i.e. seminar, academic - Number of academic activities

conference) that focus on enhancing (i.e. special seminar, research

research experiences and skills in the talk, academic conference,

particular specialization area special courses training etc.)

- Provide special training courses specific - Number of students participating

to particular research methods and in the activities.

areas. Number of DBA student’s paper

(i.e. proceedings publications)

9

แผนการพฒั นา/เปลยี่ นแปลง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตวั บ่งชี้
Improvement/Revision Plan Evidences/KPIs
 การเปลย่ี นแปลงจุดเน้นของ Strategies
- ผใู้ ชบ้ ณั ฑติ และบณั ฑติ
หลกั สตู ร โดยการเพม่ิ -พฒั นาเน้อื หาของหลกั สตู รใหเ้ ป็นทต่ี อ้ งการ มคี วามพงึ พอใจในความรู้
เน้อื หาใหม่ๆ ทส่ี าคญั ตามแผนการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของ ความสามารถ และทกั ษะในการ
ประเทศ ทางานในระดบั ดี
Adjusting the focus of the -มกี ารนาเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั เขา้ มาใชใ้ นการ
program by adding new เรยี นการสอน มกี จิ กรรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ใน - เอกสารการปรบั ปรงุ หลกั สตู ร
content และนอกสถาบนั
- Develop the program to meet the - Satisfaction of the graduates and
employers in required knowledge
demand of the economic development. and skills.
- Bringing modern technology to use in Documents regarding curriculum
revision.
teaching and learning
Organizing practical activities both inside
and outside the university.

หมวดที่ 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนินการ และโครงสรา้ งของหลกั สตู ร
Part 3: Education Management System, Implementation and Curriculum Structure

1. ระบบการจดั การศกึ ษา
Education Management System
1.1 ระบบ
System
การจดั การศกึ ษาเป็นแบบทวภิ าค
The regular academic year is divided into two semesters.
1.2 การจดั การศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น
Management of a Summer Session
มกี ารจดั การเรยี นการสอนภาคฤดรู อ้ น ทงั้ น้ขี น้ึ อย่กู บั การพจิ ารณาของคณะกรรมการประจาหลกั สตู ร
A summer session may be offered depending on the consideration of program committees.
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
Credit Equivalence to (two semesters per year) Academic System
ไมม่ ี
None

10

2. การดาเนินการหลกั สตู ร

Program Management

2.1 วนั - เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน

Study Period

ภาคตน้ เดอื นสงิ หาคม – เดอื นธนั วาคม

First Semester August - December

ภาคปลาย เดอื นมกราคม – เดอื นพฤษภาคม

Second Semester January - May

ภาคฤดรู อ้ น เดอื นมถิ ุนายน – เดอื นกรกฎาคม

Summer Session June - July

2.2 คณุ สมบตั ิของผเู้ ขา้ ศึกษา

Qualifications and Entry Requirements
2.2.1 ผสู้ มคั รเข้าเป็นนักศึกษาจะต้องมีคณุ สมบตั ิดงั ต่อไปนี้

Applicants must possess all of the following qualifications:

1) สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ เศรษฐศาสตร์ และบญั ชี หรอื สาขาอ่นื ๆ
จากมหาวทิ ยาลยั ในประเทศ หรอื ต่างประเทศทไ่ี ดร้ บั การรบั รองจาก ก.พ.
Graduated with a Master Degree in the areas of business, economics, and accountancy or
in relevant field from any domestic or international university accredited by Office of the
Civil Service Commission of Thailand.

2) เป็นผู้ท่ีผ่านเกณฑ์การคดั เลอื กผู้สมคั ร และผ่านการสอบสมั ภาษณ์โดยคณะกรรมการบรหิ าร
หลกั สตู ร
All applicant must be past both requirements and an interview arranged by DBA committee.

3) เป็นผทู้ ไ่ี มม่ โี รครา้ ยแรงทเ่ี ป็นอปุ สรรคต่อการเรยี น
Good health: No serious illness which may obstruct their studies.

4) เป็นผู้ท่ีมีคุณสมบัติตรงตามระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยว่าด้วยการศึกษา ในระดบั
บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2558
Holding qualifications that meet the University of the Thai Chamber of Commerce’s
regulations regarding the graduate accreditation 2015.

5) ผจู้ ะเขา้ ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกตอ้ งย่นื ผลการสอบภาษาองั กฤษตามเกณฑม์ าตรฐานอยา่ งใดอย่าง
หน่งึ ต่อไปน้ี หรอื ตามเกณฑม์ าตรฐานอ่นื ใดทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั และสามารถเทยี บเคยี งกนั ได้ ดงั น้ี

เกณฑม์ าตรฐานภาษาองั กฤษ และ ระดบั เกณฑค์ ะแนนผลการสอบ

TOEFL TOEFL TOEFL TOEIC IELTS CU TEP UTCC UTCC
(paper)
(CBT) (IBT) BEST Advanced
500
BEST

173 61 600 5.0 60 485 60

11

Applicants must submit an official result of the Test of English proficiency based on one of the
test scores listed below, or other equivalent standardized test scores.

TOEFL TOEFL Standardized Test Scores UTCC UTCC
(paper) (CBT) TOEFL TOEIC IELTS CU TEP BEST Advanced
(IBT)
500 173 BEST
61 600 5.0 60 485 60

6) ในกรณีผจู้ ะเขา้ ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกมผี ลการสอบภาษาองั กฤษไม่เป็นไปตามเกณฑท์ ก่ี าหนด
ไว้ หลกั สูตรอาจพจิ ารณารบั เขา้ ศกึ ษาโดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบณั ฑติ ศกึ ษา ภายใต้
เง่อื นไขทจ่ี ะตอ้ งมผี ลการสอบภาษาองั กฤษตามเกณฑใ์ ดเกณฑห์ น่งึ ขา้ งตน้ ยน่ื ต่อบณั ฑติ วทิ ยาลยั ภายใน
ระยะเวลาไม่เกนิ 2 ปีการศกึ ษาแรก

If an applicant’s qualifications do not meet the above requirements, the application may be
reviewed and approved by the University’s Committee of the Graduate Studies based on the
condition, which will require applicants to submit an official result of the Test of English proficiency
within the first two academic years.

2.2.2 การคดั เลอื กผเู้ ขา้ ศกึ ษา
Entry Requirements
1) มผี ลการเรยี นเฉลย่ี สะสมระดบั ปรญิ ญาโทไมต่ ่ากวา่ 3.25 หรอื เทยี บเท่า
GPA from Masters Degree must be at least 3.25 or equivalent
2) ผูส้ มคั รจะต้องส่งโครงร่างของงานวจิ ยั ท่สี นใจจะดาเนินงาน และจดหมายรบั รองจากอาจารยท์ ่ี
ปรกึ ษา หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชา จานวน 3 ฉบบั เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาของคณะกรรมการ
The applicants are required to submit a research proposal and 3 letters of recommendation
from an academic institution or work.
3) ในกรณีทผ่ี เู้ ขา้ ศกึ ษามคี ณุ สมบตั ไิ มต่ รงตามหลกั เกณฑท์ ่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด ใหอ้ ย่ใู นดุลยพนิ ิจ
ของคณะกรรมการบณั ฑติ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย
If an applicant’s qualifications do not meet the above requirements, the application may be
reviewed before being approved by the University’s Committee Graduate studies.

2.3 ปัญหาของนักศกึ ษาแรกเข้า
Problems with the New Students
นกั ศกึ ษาไมไ่ ดส้ าเรจ็ การศกึ ษาจากสาขาโดยตรงกบั หลกั สตู รและสาขาทก่ี าลงั จะศกึ ษา สง่ ผลใหม้ พี น้ื ความรทู้ ่ี

จาเป็นต่อการเรยี นในหลกั สตู รนอ้ ย
New students, which have not graduated in business related degrees, affect the fundamental

knowledge required for the course

12

2.4 กลยทุ ธใ์ นการดาเนินการเพ่อื แก้ไขปัญหา / ขอ้ จากดั ของนักศกึ ษาในขอ้ 2.3
Strategy to Solve the Problem Mentioned in 2.3

นกั ศกึ ษาจะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นวชิ าปรบั พน้ื ฐานเพ่อื ใหม้ พี น้ื ความรทู้ จ่ี าเป็นสาหรบั การเรยี นใน
หลกั สตู ร ทงั้ น้ีรายวชิ าทจ่ี ะตอ้ งลงทะเบยี นใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการหลกั สตู ร

New students must take the prerequisite courses, as per the suggestion by the DBA committee, in
order to standardize all DBA students before the first semester starts.

2.5 แผนการรบั นักศกึ ษาและผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ปี

Projected Number of Students and Graduates in 5 Years

ระดบั ชนั้ ปี /Year จานวนนักศกึ ษาแต่ละปี การศึกษา (คน) /Number of students

B.E. 2560 B.E. 2561 B.E. 2562 B.E. 2563 B.E. 2564

2016 2017 2018 2019 2020

ชนั้ ปี ท่ี 1 /First year 10 10 10 10 10

ชนั้ ปี ท่ี 2 /Second year - 10 10 10 10

ชนั้ ปี ที่ 3 /Third year - - 10 10 10

รวม /Total 10 20 30 30 30

คาดว่าจะสาเรจ็ การศึกษา 10 10 10
/Projected graduates

2.6 งบประมาณตามแผน

Projected Budget

หมวดเงิน งบประมาณที่ต้องการแต่ละปี /Annual expenses

Category B.E. 2560 B.E. 2561 B.E. 2562 B.E. 2563 B.E. 2564
2020
2016 2017 2018 2019 386,523

เงนิ เดอื น (อตั ราใหม)่ 264,000 290,400 319,440 351,384 337,500

Salary (New Rate) 8,000

ค่าตอบแทน 315,000 337,500 337,500 337,500 732,023
6,500 7,000 7,500
Compensation 634,400 663,940 696,384 -

คา่ วสั ดุ 6,000 -

Stationary 732,023

รวมงบดาเนินการ 585,000

Operating budget

คา่ ครุภณั ฑ์ 30,000 ---

Durable goods

รวมงบลงทุน 30,000 ---

Total investment

รวมทงั้ สิ้น 615,000 634,400 663,940 696,384

Total

13

2.7 ระบบการศึกษา
Academic System

ระบบการศกึ ษาเป็นแบบชนั้ เรียน ตามระเบียบมหาวิทยาลยั หอการค้าไทย ว่าด้วย การศึกษา ในระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2558 (ภาคผนวก ก)

Academic system is the classroom type as stated in the University of the Thai Chamber of Commerce
entitled of graduate studies year 2015 (Appendix A).

2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต

Credit Transfer

หลกั เกณฑก์ ารเทยี บโอนหน่วยกติ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศของทบวงมหาวทิ ยาลยั เร่อื ง หลกั เกณฑก์ ารเทยี บ
โอนผลการเรยี นระดบั ปรญิ ญาเขา้ สกู่ ารศกึ ษาในระบบ พ.ศ. 2545 และหลกั เกณฑก์ ารเทยี บวชิ าและโอนหน่วยกติ ใน
ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั วา่ ดว้ ย การศกึ ษาในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2558 (ภาคผนวก ก)

Credit transfer procedure follows the regulations of the Office of the Higher Education Commission on
Credit Transfer, year 2002, and the Academic Regulations of the University of the Thai Chamber of Commerce
on the Graduate Studies, Year 2015 (Appendix A).

3. หลกั สูตรและอาจารยผ์ สู้ อน 54 หน่วยกิต
Curriculum and Lecturers 54 credits
3.1 หลกั สตู ร
Curriculum
3.1.1 จานวนหน่วยกิต
Total Credits

3.1.2 โครงสรา้ งหลกั สตู ร

Curriculum Structure

1) กลุม่ วชิ าบงั คบั 18 หน่วยกติ

Core Courses 18 Credits

2) ดุษฎนี ิพนธ์ 36 หน่วยกติ

Doctoral Dissertation 36 Credits

14

จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร 12 หน่วยกติ 54 หน่วยกิต
Total Credits 12 Credits 54 Credits
12 หน่วยกิต
การสอนด้วยภาษาไทย 6 หน่วยกติ 12 Credits
Teaching in Thai Language 6 Credits
36 หน่วยกติ 42 หน่วยกิต
1. วชิ าบงั คบั 36 Credits 42 Credits
1. Core Courses
การสอนด้วยภาษาองั กฤษ
Teaching in English Language

1. วชิ าบงั คบั
1. Core Courses
2. ดุษฎนี ิพนธ์
2. Doctoral Dissertation

3.1.3 รายวิชาในแต่ละหมวดวิชาและจานวนหน่วยกิต

List of Courses

3.1.3.1 รหสั วิชา

Course Code

รายวชิ าต่างๆ ในหลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ จะมรี หสั นาหน้าช่อื

วชิ าโดยใชแ้ ทนดว้ ยตวั อกั ษรและตวั เลข ซง่ึ มคี วามหมายดงั ต่อไปน้ี

Each course for Doctor of Business Administration Degree of School of Business has a

code using the English alphabet and numbers as shown below:

ตวั อกั ษร 2 ตวั แรก

First 2 Letters

DB หมายถงึ ดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ

DB refers to Doctor of Business Administration Program

เลขรหสั หลกั รอ้ ย หมายถงึ รายวชิ าระดบั ปรญิ ญาเอก
Hundredth Digit refers to Courses in the Doctoral Level
หมายถงึ ดษุ ฎนี พิ นธ์
เลข 7 refers to Doctoral Dissertation
Number 7
เลข 8
Number 8

15

เลขรหสั หลกั สบิ หมายถงึ กลมุ่ วชิ าปรบั พน้ื ฐาน
Tenth Digit refers to Prerequisite Courses
หมายถงึ กล่มุ วชิ าการประชมุ อภปิ รายระดบั ดษุ ฎนี ิพนธ์
เลข 0 refers to Doctoral Symposium Course
Number 0 หมายถงึ กลมุ่ วชิ าแกนทม่ี กี ารสอนดว้ ยภาษาไทย
เลข 2 refers to Core Courses Teaching in Thai Language
Number 2 หมายถงึ กลมุ่ วชิ าแกนทม่ี กี ารสอนดว้ ยภาษาองั กฤษ
เลข 7 refers to Core Courses Teaching in English Language
Number 7
เลข 8
Number 8

เลขรหสั หลกั หน่วย หมายถงึ ลาดบั ประจาวชิ า
Unit Digit refer to Course Number

เลข 1-9
Number 1-9

3.1.3.2 รายวิชา
List of Courses

กลุม่ วิชาปรบั พนื้ ฐาน ไมน่ บั หน่วยกติ
Prerequisite Course Non Credit

จดั ใหส้ าหรบั นกั ศกึ ษาทส่ี าเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทในสาขาทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ งกบั บรหิ ารธุรกจิ และนกั ศกึ ษาท่ี
สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทในสาขาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บรหิ ารธรุ กจิ แต่ไดผ้ ลสอบต่ากว่า ระดบั B+

มกี ารวดั ผลการศกึ ษาเป็น ผ่าน หรอื ไม่ผ่าน และไม่นับหน่วยกติ รวมในหลกั สูตรบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎีบณั ฑติ มี
รายวชิ าดงั ต่อไปน้ี

For students who do not hold any degrees in business administration or related fields. Students who
obtained less than B+ in prerequisite courses shown below during their master’s degrees in business
administration or related fields.

Evaluation: satisfactory (s) or unsatisfactory (u); and do not add to the doctoral program credits.

16

รหสั รายชื่อวิชา หน่วยกิต เงอ่ื นไข
(บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาด้วยตนเอง) Prerequisite
Code Course Name
Credit
(Lecture-Lab-Self-study)

DB 701 วจิ ยั ธุรกจิ --
DB 702 (Business Research)
DB 703 สถติ ิ --
DB 704 (Statistics)
DB 705 เศรษฐศาสตรม์ หภาค --
DB 706 (Macroeconomics)
DB 707 --
กลยุทธ์การจัดการธรุ กิจ --

(Strategic Business Management) --
การจดั การการเงนิ
(Financial Management) --
การจดั การการตลาด
(Marketing Management)
การจดั การการดาเนินงาน
(Operations Management)

กล่มุ วิชาบงั คบั 18 หน่วยกติ
Core Courses 18 Credits

รหัส รายช่อื วิชา หนว่ ยกติ เงอื่ นไข
Code Course Name (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง) Prerequisite

DB 771 ทฤษฎีและกลยทุ ธ์การจดั การข้นั สูง Credit -
(Lecture-Lab-Self-study) -
(Advanced Management Theory and Strategy) -
3 (3-0-6) -
DB 772 การออกแบบและระเบียบวิธีการวิจัย -
3 (3-0-6) -
(Research Design and Methodology)
3 (3-0-6)
DB 773 การวจิ ัยเชงิ ปริมาณข้ันสงู
3 (3-0-6)
(Advanced Quantitative Research)
3 (3-0-6)
DB 774 การวจิ ัยเชิงคุณภาพข้นั สูง
3 (3-0-6)
(Advanced Qualitative Research)

DB 781 สัมมนาระดับดษุ ฎบี ัณฑิตดา้ นธุรกิจ

(Doctoral Seminar in Business)

DB 782 หัวขอ้ วิจัยทางด้านธุรกิจข้นั สูง

(Advanced Research Topics in Business)

การประชมุ อภิปรายระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต ไม่นบั หน่วยกติ

Doctoral Symposium Non Credit

รหัส รายช่ือวชิ า หนว่ ยกติ เงอื่ นไข
Code Course Name Prerequisite
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)
Credit

(Lecture-Lab-Self-study)

17

DB 721 การประชุมอภิปรายระดับดุษฎบี ัณฑิต --
( Doctoral Symposium)

ดษุ ฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกติ

Doctoral Dissertation 36 Credits

รหัส รายช่ือวชิ า หนว่ ยกิต เงื่อนไข
Code Course Name (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง) Prerequisite

DB 800 ดษุ ฎนี ิพนธ์ Credit -
( Doctoral Dissertation ) (Lecture-Lab-Self-study)

36 (0-0-108)

3.1.4 แผนการศึกษา

Study Plan

ชั้นปี ภาคการศกึ ษา รายวิชา จานวนหน่วยกติ วชิ าศกึ ษาก่อน
Year Semester Course Names Number of Credits Prerequisite

1 DB 771 ทฤษฎแี ละกลยทุ ธ์การจดั การขั้นสงู (Advanced Management 3 (3-0-6) -
Theory and Strategy)
3 (3-0-6) -
DB 772 การออกแบบและระเบียบวิธีการวิจัย
1 (Research Design and Methodology) 3 (3-0-6) -

DB 773 การวิจัยเชิงปริมาณข้ันสูง - -
(Advanced Quantitative Research)

DB 721 การประชุมอภิปรายระดับดุษฎีบัณฑิต

18

( Doctoral Symposium)

2 DB 774 การวิจัยเชิงคุณภาพขนั้ สูง รวม 9 -
ฤดูร้อน DB 781 (Advanced Qualitative Research) 3 (3-0-6) -
DB 782 3 (3-0-6) -
DB 721 สัมมนาระดบั ดษุ ฎบี ัณฑติ ดา้ นธุรกิจ 3 (3-0-6) -
(Doctoral Seminar in Business) -
-
หวั ขอ้ วิจยั ทางด้านธุรกิจขนั้ สูง รวม 9 -
(Advanced Research Topics in Business) 3 (0-0-9)
-
การประชมุ อภิปรายระดับดุษฎีบัณฑิต
( Doctoral Symposium) รวม 3

DB 800 ดษุ ฎีนพิ นธ์
DB 721 (Dissertation)

การประชุมอภิปรายระดับดุษฎีบัณฑิต
( Doctoral Symposium)

สอบวดั คุณสมบตั ิ
(Qualifying Exam)

ชนั้ ปี ภาคการศกึ ษา DB 800 รายวชิ า จานวนหน่วยกติ วชิ าศกึ ษากอ่ น
Year Semester DB 721 Course Names Number of Credits Prerequisite
2
ดษุ ฎนี ิพนธ์ 9 (0-0-27) -
1 (Dissertation) -
-
2 การประชมุ อภิปรายระดับดุษฎบี ัณฑิต -
( Doctoral Symposium) รวม 9 -
ฤดรู อ้ น 9 (0-0-27)
DB 800 ดษุ ฎีนิพนธ์ -
DB 721 (Dissertation) - -

การประชุมอภิปรายระดับดุษฎีบัณฑิต รวม 9
( Doctoral Symposium) 3 (0-0-18)

DB 800 ดุษฎีนพิ นธ์ -
DB 721 (Dissertation)

การประชุมอภิปรายระดับดุษฎบี ัณฑิต
( Doctoral Symposium)

สอบเคา้ โครงดษุ ฎีนิพนธ์
(Proposal Defense)

รวม 3

19

3 DB 800 ดษุ ฎนี พิ นธ์ 9 (0-0-27) -
(Dissertation) - -

1 DB 721 การประชมุ อภิปรายระดับดษุ ฎีบัณฑิต รวม 9 -
(Doctoral Symposium) -

DB 800 ดษุ ฎีนพิ นธ์ 3 (0-0-9)
(Dissertation) -

DB 721 การประชมุ อภิปรายระดับดษุ ฎบี ัณฑิต รวม 3
2 ( Doctoral Symposium)

สอบปอ้ งกนั ดุษฎีนพิ นธ์
(Dissertation Defense)

รวมทง้ั สิ้น 54

3.1.5 คาอธิบายรายวิชา
Course Description

3.1.5.1 วิชาปรบั พืน้ ฐาน ไม่นับหน่วยกิต

Prerequisite Courses Non Credits

DB 701 วิจยั ธรุ กิจ -

(Business Research)

แนวคดิ หลกั วธิ กี าร และคุณค่าทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั ธุรกจิ จากการตงั้ คาถามการวจิ ยั การทบทวน

วรรณกรรม และการออกแบบแบบสอบถามเพ่อื นาไปส่กู ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู และการนาเสนอผลการวจิ ยั รวมถงึ

การพจิ ารณาขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของวธิ กี ารวจิ ยั แต่ละแบบ นอกจากน้ียงั รวมถงึ การอภปิ รายประเดน็ เชงิ ปรชั ญาและ

ขอ้ โตแ้ ยง้ ทางจรยิ ธรรมทม่ี ผี ลต่อการทาวจิ ยั ธรุ กจิ

Core concepts, methods, and values involved in conducting business research, from

formulating research questions, reviewing the literature, and designing a questionnaire to carrying out

data analysis and presenting research results. The examination of strengths and weaknesses of each

research method. Discussion of the wider philosophical issues and ethical controversies that affect

business research.

DB 702 สถิติ -

(Statistics)

สถิติเชงิ ทฤษฎีคณิตศาสตร์ การประมาณการ ช่วงความเช่อื มนั่ ทางสถิติ การทดสอบสมมุติฐาน

แบบจาลองของทฤษฎกี ารตดั สนิ ใจจากขอ้ มลู วยิ ุต รวมทงั้ สถติ ศิ าสตรท์ ใ่ี ชพ้ ารามเิ ตอรแ์ ละทไ่ี มใ่ ชพ้ ารามเิ ตอร์

20

The mathematical theory of statistics, estimation, confidence intervals, hypothesis testing,
decision theory models for discrete data, and parametric and nonparametric statistics.

DB 703 เศรษฐศาสตรม์ หภาค -

(Macroeconomics)

ความรเู้ ชงิ ทฤษฎขี องเศรษฐศาสตรม์ หภาค โครงสรา้ งตลาด นโยบายเกย่ี วกบั เงนิ ตรา ระบบธนาคาร

นโยบายการเงนิ วฏั จกั รธุรกจิ ขอ้ จากดั และความผนั ผวนของนโยบาย รวมทงั้ การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ในตลาด

ไรพ้ รมแดน

Theoretical knowledge of macroeconomics, market structure, monetary policy, banking

system, fiscal policy, business cycle, policy constraints and fluctuations, and economic growth in global

market.

DB 704 กลยทุ ธก์ ารจดั การธรุ กิจ -

(Strategic Business Management)

แนวคดิ และกระบวนการในการกาหนดกลยทุ ธ์ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มทางธุรกจิ กาหนดภารกจิ
นโยบาย เป้าหมายและกลยุทธข์ องธุรกจิ ในระดบั ต่างๆ การประยกุ ตแ์ นวคดิ การจดั การเชงิ กลยุทธเ์ พ่อื เพมิ่ ความ

ได้เปรยี บทางการแข่งขนั และสรา้ งความยงั่ ยนื ใหแ้ ก่ผู้มีส่วนไดเ้ สยี การบูรณาการ และการนากลยุทธไ์ ปส่กู าร
ปฏบิ ตั อิ ย่างมปี ระสทิ ธผิ ล การควบคมุ และการประเมนิ ผลกลยทุ ธใ์ นการบรรลุเป้าหมายทางธรุ กจิ

Strategic development concept and procedure, environmental analysis in business,

development of mission, vision, goal, and strategies for business in different levels, application of strategic

management concept to increase competitive advantage and sustainability to stakeholders, integration

and implementation of strategy to create effective practice, control and evaluation of strategy related to

the business achievement.

DB 705 การจดั การการเงิน -

(Financial Management)

การประเมนิ มลู ค่าของเคร่อื งมอื ทางการเงนิ การวเิ คราะหง์ บการลงทนุ การประเมนิ มลู ค่าบรษิ ทั การ
วางแผนทางการเงนิ การตดั สนิ ใจเชงิ กลยทุ ธเ์ กย่ี วกบั โครงสรา้ งการเงนิ และนโยบายการจ่ายเงนิ ปนั ผล การระดม

ทุนจากตลาดทุนและตลาดตราสารหน้ี รวมทงั้ การจดั การเงนิ ทนุ หมุนเวยี น

Valuation of financial instruments, capital budgeting analysis, corporate valuation, financial

planning, strategic decision making regarding financial structure and dividend policy, raising funds from

equity market and debt market, and working capital management.

21

DB 706 การจดั การการตลาด -

(Marketing Management)

แนวคดิ การจดั การทางการตลาดโดยเน้นแนวคดิ การวางแผนการตลาดและการนาไปใช้ รวมทงั้ การ

ประเมนิ ผลและควบคุมแผน การทาตราสนิ คา้ การสอ่ื สารทางการตลาดเชงิ บรู ณการการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ การตงั้

ราคาและการจดั การชอ่ งทางในการจดั จาหน่าย

Marketing management focusing on concept, marketing planning and implementation,

evaluation and controlling, branding, integrated marketing communication, product development, pricing

and distribution channels.

DB 707 การจดั การการดาเนินงาน -

(Operations Management)

การจดั การการดาเนินงานและการจดั การห่วงโซ่อปุ ทานในการออกแบบการผลติ และการใหบ้ รกิ ารท่ี

มีประสทิ ธิภาพ เทคนิคเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การพยากรณ์ การจัดการสินค้าคงคลงั การวางแผน

ทรพั ยากรและการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของการดาเนนิ งานในธรุ กจิ

Operations and supply chain management to design effective manufacturing and service

operations. Qualitative and quantitative techniques, forecasting, inventory management, resource

planning to improve business performance.

3.1.5.2 วิชาบงั คบั 18 หน่วยกิต
Core Courses 18 Credits

DB 771 ทฤษฎีและกลยทุ ธก์ ารจดั การขนั้ สูง 3 (3-0-6)

(Advanced Management Theory and Strategy)

ภาพรวมบทบาทของทฎษฎี การสร้างทฤษฎี และกลยุทธ์ในสาขาท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การธุรกจิ

สารวจการตคี วามของทฤษฎีในด้านการวจิ ยั และการปฏบิ ตั ิทางธุรกจิ สอบสวนขอ้ โต้แยง้ ทางทฤษฎที ่สี าคญั

สร้างความคุ้นเคยกบั วารสารบทความทางวชิ าการด้านการจดั การธุรกจิ พฒั นาความสามารถเชิงลึกในการ

วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ บทความทางวชิ าการ การประยุกตใ์ ชท้ ฤษฎแี ละแนวคดิ ทห่ี ลากหลายเพ่อื รวบรวมความคดิ

เพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจองคร์ วมในทฤษฎกี ารจดั การทางธุรกจิ ซง่ึ จะเป็นการสรา้ งความเขา้ ใจในมุมมองทางดา้ น

ทฤษฎที ใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ธุรกจิ จากวรรณกรรมดา้ นธุรกจิ ต่างๆอย่างถ่องแท้ เพ่อื เป็นพน้ื ฐานในการพฒั นางานวจิ ยั

และการปฏบิ ตั ทิ างการจดั การธุรกจิ ในอนาคต

A broad overview of the role of theory, theory building, and strategies in related business

management. Explore the implications of these theories for both business research and practice;

Investigate some of the important debates of these theories; Become familiar with academic publications

in business management; Develop an ability to critically analyze and evaluate such publications;

Application of various business management theories and concepts to integrate the diverse schools of

thought toward an inclusive theory of management in business that would give a greater understanding

with theoretical and philosophical perspectives used in business research in the current business literature

and serve as the backdrop for future business management research and practice.

22

DB 772 การออกแบบและระเบียบวิธีการวิจยั 3 (3-0-6)

(Research Design and Methodology)

แนวคิด ทฤษฎี การออกแบบวิจยั ขนั้ สูง ความหมาย ลักษณะและธรรมชาติของการวิจยั ขนั้ สูง

ประเภทของการวจิ ยั กระบวนการวจิ ยั การเขยี นโครงการวจิ ยั และหลกั การออกแบบการวจิ ยั ทางการศกึ ษาแบบ

ต่าง ๆ ทงั้ การวิจยั เชิงปรมิ าณและเชิงคุณภาพ และผสมผสานวิธีการประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจยั ขนั้ สูง การ

วเิ คราะหเ์ น้อื หา การใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าหรบั การวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใชส้ ถติ ขิ นั้ สงู การแปลผล การเขยี น

รายงานการวจิ ยั การสงั เคราะหแ์ ละการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ รวมถงึ จรรยาบรรณสาหรบั นกั วจิ ยั

Concept; theory; advanced research design; meaning, characteristics, and nature of advanced

research; research methods; research process; research project write-up; principles of research design

including both quantitative and qualitative research; mix of research application methods; content

analysis; use of computer programs for advanced statistical data analysis; data interpretation; research

report write-up; synthesis and implication of research result; ethics of researcher.

DB 773 การวิจยั เชิงปริมาณขนั้ สงู 3 (3-0-6)

(Advanced Quantitative Research)

แนวคดิ ทฤษฎีและการประยุกต์ใชเ้ คร่อื งมอื ในการวเิ คราะห์เชงิ ประจกั ษ์ โดยครอบคลุมปรชั ญา
พน้ื ฐานและเป้าหมายของการวจิ ยั การออกแบบวจิ ยั การสรา้ งมาตรวดั การทดสอบความแม่นตรงและเชอ่ื ถอื ได้

ตวั แบบไม่เป็นเสน้ ตรง ตวั แปรเคร่อื งมอื เทคนิคการวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างขอ้ มูลโดยวธิ สี ถิติแบบใช้

พารามเิ ตอรแ์ ละสถติ ทิ ไ่ี มใ่ ชพ้ ารามเิ ตอร์ การวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนมลั ตแิ วรเิ อท การวเิ คราะหถ์ ดถอยเชงิ พหุ

การวิเคราะห์เส้นทาง การวิเคราะห์จาแนกแยกกลุ่ม การวิเคราะห์สหสมั พันธ์แคนอนิคอล การวิเคราะห์

องคป์ ระกอบ

Concepts, theories, and practical application of the most common tools of empirical analysis,

including fundamental philosophy and research objective, research design, scale construction, test of

validity and reliability, non-linear models, instrumental variables, techniques of correlation analysis either

with or without parameters, Concept of multivariate analysis, multiple regression analysis, path analysis,

discrimination analysis, canonical analysis, and factor analysis.

DB 774 การวิจยั เชิงคณุ ภาพขนั้ สงู 3 (3-0-6)

(Advanced Qualitative Research)

การทดสอบเชงิ คุณภาพทางสงั คมศาสตรแ์ ละวธิ กี ารวจิ ยั ธุรกจิ หลกั การของวธิ กี ารวจิ ยั ประเภทต่าง

ๆ รวมทงั้ กระบวนการวเิ คราะห์เทคนิคต่างๆ ท่ปี ระกอบด้วย การสงั เกตภาคสนาม เดลฟาย การวเิ คราะห์

อภปิ ราย ประวตั ศิ าสตรจ์ ากคาบอกเลา่ และการสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ

23

Examination of qualitative social science and business research methods, particularly rationale
behind these methods, how and when they are employed, and processes of analyzing field observations,
Delphi, meta-analysis, oral histories, and in-depth interviews.

DB 781 สมั มนาระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิตดา้ นธรุ กิจ 3 (3-0-6)

(Doctoral Seminar in Business)

การวิเคราะห์ อภิปราย ถึงแนวคิด ทฤษฎี ประเด็นใหม่ๆ ทางด้านการบริหารธุรกิจ การจดั การ
การตลาด การเงินและสาขาอ่ืนๆท่ีเก่ียวขอ้ งท่ีน่าสนใจในปจั จุบัน จากบทความวารสารทางวิชาการระดบั

นานาชาตทิ ส่ี อดคล้องกบั ทฤษฎีทางดา้ นการบรหิ ารจดั การธุรกจิ และศาสตรแ์ ขนงต่างๆทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มุ่งเน้นให้

เกดิ ความเขา้ ใจในการพฒั นากรอบแนวคดิ ในศาสตรใ์ นการดาเนินงานวจิ ยั ประเภทต่างๆท่มี คี วามสนใจ การ

ทบทวนและการเขยี นวรรณกรรม การออกแบบวธิ ีวจิ ยั การนาเสนอ และการอภปิ รายผลวจิ ยั ซง่ึ จะช่วยในการ

พฒั นาเคา้ โครงและการเขยี นดษุ ฏนี พิ นธ์

Critical analysis and discussion on concepts, theories, and current issues in business

administration, management, marketing, finance, and related fields from international business

management academic publications and related fields to develop conceptual framework. This aims to

develop conceptual framework in interested fields, to review and write the literature, to design the

research methods, to present and discuss the research outcomes, which are the basis for the

development of research proposal and dissertation.

DB 782 หวั ข้อวิจยั ทางด้านธรุ กิจขนั้ สงู 3 (3-0-6)

(Advanced Research Topics in Business)

ระบุหวั ขอ้ ต่างๆของการวจิ ยั ด้านจดั การธุรกจิ เพ่อื เป็นการสรา้ งโอกาสในการพฒั นาหวั ขอ้ ทส่ี นใจท่ี
เกย่ี งขอ้ งกบั การวจิ ยั ทางธุรกจิ ในปจั จุบนั และยงั เป็นการกระตุ้นใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตรรกะ การ

สรา้ งความเขา้ ใจในเร่อื งขอ้ โตแ้ ยง้ ทางการวจิ ยั และการประเมนิ หลกั ฐานท่ีสาคญั นกั ศกึ ษาจะเป็นผเู้ ลอื กหวั ขอ้ ท่ี

เหมาะสมกบั พน้ื ฐานความรแู้ ละแรงบนั ดาลใจในการทาวจิ ยั เพ่อื พฒั นาความเป็นผเู้ ชย่ี วชาญในหวั ขอ้ การวจิ ยั ท่ี

สนใจ

Address various topics in business management research which will provides the opportunity

to pursue a topic of interest related to an area of current research in business, and will be used to

encourage creative and logical thinking, structuring of clear arguments and critical assessment of

evidence. The topic is individually chosen to suit the student's background and aspirations to pursue the

development of specialization in the chosen research topics of interest.

3.1.5.3 การประชมุ อภิปรายระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต ไม่นับหน่วยกิต

Doctoral Symposium Non Credit

DB 721 การประชมุ อภิปรายระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต -
(Doctoral Symposium)

24

การประชุมอภปิ รายสาหรบั นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก เพ่อื นาเสนอเคา้ โครงและความกา้ วหน้าของ
งานวจิ ยั แกน่ กั ศกึ ษาและคณาจารยใ์ นหลกั สตู รอย่างเขม้ ขน้ ภายใตบ้ รรยากาศทส่ี ง่ เสรมิ ต่อการทาวจิ ยั โดยเน้นให้
นกั ศกึ ษาตอ้ งเขา้ รว่ มประชุมอภปิ รายทกุ ภาคการศกึ ษา

Symposium for doctoral students to present their research concepts and work-in-progress to
their colleagues and faculty members in a rigorous but supportive environment. Suggestions and
Feedback are provided by the committee in order to maintain and enhance the quality standard of
dissertations. Required active participation in every semester.

3.1.5.4 ดษุ ฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต

Doctoral Dissertation 36 Credits

DB 800 ดษุ ฎีนิพนธ์ 36 (0-0-108)

(Doctoral Dissertation)

กาหนดให้นักศกึ ษาเขยี นดุษฎีนิพนธ์ซ่ึงแสดงผลของการค้นพบสงิ่ สาคญั ใหม่ ซ่ึงต้องสนับสนุน

รากฐานความรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งอย่างแทจ้ รงิ

A candidate is required to write a dissertation embodying the results of a significant and

original investigation. It must make a real contribution to the related discipline of concentration.

3.2 ชื่อ นามสกลุ ตาแหน่งและคณุ วฒุ ิของอาจารย์
Name and Qualification of Faculty Responsible for the Program

3.2.1. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร
Faculty Member Responsible for the Curriculum

ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ คณุ วฒุ ิ สาขาวิชา สถานบนั ท่ีสาเรจ็ ปี พ.ศ.
วิชาการ การศกึ ษา 2545
2541
1 อาจารย์ ดร.พรี พงษ์ D.B.A. Management Nova Southeastern 2540
University, Florida, USA 2546
ฟูศริ ิ Nova Southeastern 2552
University, Florida, USA 2537
M.B.A. Management Information System Florida Metropolitan 2533
University, USA
B.B.A. Marketing Kasetsart University

2 อาจารย์ ดร.ธรี นิ Ph.D. Tropical Agriculture Sasin, Chulalongkorn
วาณชิ เสนี M.B.A. (รางวลั ดษุ ฎนี พิ นธย์ อดเยย่ี ม) University
M.Sc. Finance and Strategic New Jersey Institute of
Management Technology, USA
Environmental Engineering มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

วศ.บ. โยธา

25

ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ คณุ วฒุ ิ สาขาวิชา สถานบนั ที่สาเรจ็ ปี พ.ศ.
วิชาการ 2556
การศึกษา 2551
3 อาจารย์ ดร.ธฤตพน Ph.D. Management Science (Finance) 2548
Illinois Institute of
อู่สวสั ดิ์ Technology, USA.
Illinois Institute of
M.Sc. Finance Technology, USA.
University of Oregon, USA.
M.B.A. Finance, Marketing, and
วศ.บ. Entrepreneurship จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2544
อุตสาหการ

No. Academic Name Qualifications Major Institution Year
Title (B.E.)

1 Lecturer Dr. Peerapong D.B.A. Management Nova Southeastern 2545

Fusiri University, Florida, USA

M.B.A. Management Information System Nova Southeastern 2541

University, Florida, USA

B.B.A. Marketing Florida Metropolitan 2540

University, USA

2 Lecturer Dr. Teerin Ph.D. Tropical Agriculture Kasetsart University 2546

Vanichseni (a Distinguished Dissertation

Award)

M.B.A. Finance and Strategic Sasin, Chulalongkorn 2552

Management University

M.Sc. Environmental Engineering New Jersey Institute of 2537

Technology, USA

B.Eng. Civil Engineering Kasetsart University 2533

3 Lecturer Dr.Thitapon Ph.D. Management Science (Finance) Illinois Institute of 2556

Ousawat Technology, USA.

M.Sc. Finance Illinois Institute of 2551

Technology, USA.

M.B.A. Finance, Marketing, and University of Oregon, 2548

Entrepreneurship USA.

B.Eng. Industrial Engineering Chulalongkorn University 2544

26

27

3.2.2 ผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร
Publications of the Faculty Members Responsible for the Program

ลาดับ ตาแหนง่ ทาง ชอ่ื -สกุล ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณแ์ ละการฝึกอบรม ภาระการสอน
Academic Publications Experience and Training
วชิ าการ Name (คาบ/สัปดาห)์
No. Academic Surname
Responsible Teaching
Position
(Period/Week)

ทม่ี ีอยแู่ ล้ว ทีม่ ีในหลกั สตู รน้ี

Existing This

Curriculum

1 อาจารย์ ดร.พรี พงษ์ - อุไรวัตน์ พรสกลุ ไพศาล และพรี พงษ์ ฟศู ิริ. ความสมั พันธร์ ะหวา่ งความพึงพอใจต่อ -3

Lecturer ฟูศริ ิ ผนู้ ากบั ทศั นคตขิ องพนักงาน SRC SOCKS. วารสารสบื เนื่องจากการประชมุ
Dr. Peerapong วชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธรุ กจิ และการบญั ชีครัง้ ท่ี 2 (25-26 เมษายน 2557)
หนา้ 87
Fusiri

- อรนลนิ พานิชย์ และพรี พงษ์ ฟศู ิริ. การศึกษาความสมั พันธ์ระหว่างปัจจัยดา้ น

ประชากรศาสตร์กับความพงึ พอใจในการทางานของพนักงานกรณศี กึ ษา บรษิ ัท กิฟ

ฟารนี สกายไลน์ ยนู ติ ้ี จากดั (สานักงานใหญ)่ . วารสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ

วิชาการระดบั ชาติ สาขาบริหารธรุ กิจและการบญั ชคี รง้ั ท่ี 2 (25-26 เมษายน 2557)

หน้า 96

- คมสัน จันทรแ์ ป้น และพรี พงษ์ ฟูศิริ. ปัจจยั ความพึงพอใจในการทางานท่มี ีอิทธพิ ล

ต่อความผูกผันต่อองคก์ รของพนกั งานบริษัท ออิ อน ธนสสินทรพั ย์ (ไทยแลนด)์

จากัด (มหาชน) พื้นท่ีกรงุ เทพมหานคร. วารสารสบื เน่ืองจากการประชมุ วชิ าการ

ระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชคี รัง้ ท่ี 2 (25-26 เมษายน 2557) หนา้

116

- ประภสั รา ลิม้ ธัญลักษณ์ และพีรพงษ์ ฟศู ริ ิ. การศึกษาความแตกตา่ งด้านความพึง

พอใจในการทางานของพนกั งาน BA ใน MT และ GT ท่วั ประเทศบรษิ ัท ลอรีอัล

0

ลาดบั ตาแหนง่ ทาง ชอ่ื -สกุล ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณแ์ ละการฝึกอบรม ภาระการสอน
Academic Publications Experience and Training
วิชาการ Name (คาบ/สัปดาห์)
No. Academic Surname
Responsible Teaching
Position
(Period/Week)

ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว ทม่ี ใี นหลักสตู รนี้

Existing This

Curriculum

(ประเทศไทย) จากดั . วารสารสืบเน่อื งจากการประชุมวชิ าการระดับชาติ สาขา
บรหิ ารธุรกจิ และการบัญชีครงั้ ที่ 2 (25-26 เมษายน 2557) หน้า 186
- อญั ชลี ธูปเกิด และพรี พงษ์ ฟศู ริ ิ. การประเมินศักยภาพของ Authorized Distributor
ในดา้ นความพร้อมสกู่ ารเป็น Visco Value Added Distributor. วารสารสืบ
เน่ืองจากการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ สาขาบรหิ ารธรุ กจิ และการบัญชคี รัง้ ที่ 2
(25-26 เมษายน 2557) หน้า 197

2 อาจารย์ ดร.ธรี นิ - Vanichseni, T. 2012. Corporate Risk Management Implementation and -3

วาณชิ เสนี Development from Asian (1997) to U.S. (2007) Economic Crises: A Case

Lecturer Dr. Teerin Study in Srithai Superware Public Company Limited, A Research Report to

Vanichseni University of the Thai Chamber of Commerce, 156 p.

- ธรี ิน วาณิชเสนี และ ศิรริ ัตน์ รัตนพทิ ักษ์ 2558 การศกึ ษาปัจจัยที่มผี ลต่อการรบั รู้

และความคาดหวงั ต่อคุณภาพการให้บริการ ของสมาคมไทย

ธุรกจิ การท่องเที่ยว สมาคมไทยธรุ กจิ การท่องเทีย่ ว รายงานการวิจยั .62 หนา้

- ปวณี า บุนนาค และ ธรี นิ วาณชิ เสนี 2558 ปัจจัยทมี่ ีอิทธิพลตอ่ ความสาเร็จของธรุ กิจ

บริการการศกึ ษา :กรณีศึกษาโครงเรียนกวดวิชาในอาคารวรรณสรณ์ วารสารศิลปกร
ศกึ ษาสาสตร์วจิ ัย (Silapakorn Educational Research Journal) ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 2

กรกฎาคม-ธันวาคม 2558

- Vanichseni, T. 2016. Corporate Risk Management Implementation and

Development from Asian (1997) to U.S (2007) Economic Crises, University

1

ลาดับ ตาแหน่งทาง ชือ่ -สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณแ์ ละการฝึกอบรม ภาระการสอน
Academic Publications Experience and Training
วชิ าการ Name (คาบ/สัปดาห์)
No. Academic Surname
Responsible Teaching
Position
(Period/Week)

ทีม่ อี ย่แู ล้ว ที่มีในหลักสตู รน้ี

Existing This

Curriculum

of the Thai Chamber of Commerce Journal, Vol.36 No. 3 July- September

2016

- ฉัตรชนก โตวฒั นกูร และ ธีรนิ วาณชิ เสนี 2559 ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง

วัฒนธรรมองคก์ รและแรงจงู ใจในการบรกิ ารสาธารณะเพื่อการพัฒนาการมีส่วนร่วม

ของสมาชิกในองคก์ รไมแ่ สวงหากาไร กรณีศกึ ษา :สโมสรโรตารี )ประเทศไทย (

วารสารศิลปกรศึกษาสาสตร์วจิ ัย )Silapakorn Educational Research Journal) ปี

ท่ี 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-มถิ ุนายน 2559

- Samphansri, N and T. Vanichseni. 2016. A Study on the Organizational

Engagement of Direct Salespeople: A Case Study on Thai Direct Sales

Industry, UTCC International Journal of Business and Economics, Vol. 8

Number 2, December 2016.

3 อาจารย์ ดร.ธฤตพน - การศึกษาความสมั พันธแ์ ละการวัดประสิทธิภาพกองทนุ ทถ่ี ูกจดั อนั ดบั โดย -3

Lecturer อสู่ วัสดิ์ Morningstar Thailand, รายงานสืบเน่ืองจากการประชมุ ทางวิชาการระดับชาติ
Dr.Thitapon สาขาบรหิ ารธุรกิจและการบญั ชี ครง้ั ท่ี 3 (23-24 พฤษภาคม 2558) หนา้ 196-206

Ousawat (ร่วมกบั พรพิมล สนิ ธีรภาพ)

- ประเมินนา้ หนกั ความสมั พนั ธ์ของปจั จยั ด้านเศรษฐกจิ และราคาสนิ คา้ โภคภัณฑ์ที่มี

ผลต่ออตั ราผลตอบแทนของหุ้นในกลมุ่ ธุรกิจอาหารและเครอื่ งดืม่ , รายงานสืบ

เนอื่ งจากการประชุมทางวชิ าการระดับชาติ สาขาบริหารธุรกจิ และการบญั ชี ครงั้ ที่ 3

(23-24 พฤษภาคม 2558) หน้า 207-216 (ร่วมกบั มนต์สนิ ี เวทย์สุภาสขุ )

2

ลาดับ ตาแหน่งทาง ชอ่ื -สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการฝึกอบรม ภาระการสอน
Academic Publications Experience and Training
วิชาการ Name (คาบ/สัปดาห)์
No. Academic Surname
Responsible Teaching
Position
(Period/Week)

ทมี่ ีอย่แู ล้ว ทีม่ ีในหลกั สตู รนี้

Existing This

Curriculum

- ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ มหภาคท่มี ผี ลต่ออตั ราผลตอบแทนของกองทนุ รวม
อสงั หาริมทรัพย์ในประเทศไทย (กอง1), รายงานสืบเนอื่ งจากการประชุมทาง
วิชาการระดบั ชาติ สาขาบรหิ ารธุรกิจและการบัญชี ครง้ั ที่ 3 (23-24 พฤษภาคม
2558) หนา้ 2403-2402 (รว่ มกับ ปุญยนชุ ศิรโิ ชคธนทรัพย์)

- การวเิ คราะหผ์ ลตอบแทนและความเส่ยี งของกลุ่มหลกั ทรัพย์ทใ่ี ชก้ ลยุทธ์ความ
แปรปรวนต่าทสี่ ุด และเทคนิค Value-at-Risk สาหรบั การลงทุน, รายงานสบื
เนือ่ งจากการประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขาบรหิ ารธุรกจิ และการบัญชี ครง้ั ที่ 3
(23-24 พฤษภาคม 2558) หนา้ 2497-2507 (รว่ มกับ ฉตั รวิชช์ ภทั รศิลสุนทร)

- การศึกษาเปรียบเทยี บผลการดาเนนิ งานของกองทนุ รวมหนุ้ ระยะยาวท่บี รหิ ารงาน
โดยธนาคารพาณชิ ยแ์ ละที่ บริหารงานโดยบรษิ ทั หลกั ทรพั ย์, รายงานสืบเนื่องจาก
การประชมุ ทางวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธรุ กจิ และการบญั ชี ครงั้ ที่ 3 (23-24
พฤษภาคม 2558) หน้า 2630-2641 (ร่วมกับ สุนทร วิไลรตั นสวุ รรณ)

- การประเมินน้าหนกั ความสมั พนั ธ์ของปจั จัยด้านอตั ราส่วนทางการเงินและดชั นี
หลักทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทยที่มผี ลตอ่ อัตราผลตอบแทนของหนุ้ สามัญกลุ่มอาหาร
และเครื่องด่มื , รายงานสืบเนือ่ งจากการประชุมทางวชิ าการระดับชาติ สาขา
บรหิ ารธุรกิจและการบัญชี ครัง้ ที่ 3 (23-24 พฤษภาคม 2558) หนา้ 2653-2663
(รว่ มกับ สชุ าดา อรุ าสาย)

- ปจั จัยทางเศรษฐกจิ มหภาคท่สี ่งผลกระทบตอ่ อัตราผลตอบแทนของกองทนุ ETF
ที่อา้ งอิงดัชนีราคาห้นุ ใน ประเทศ )Equity ETF), รายงานสืบเน่ืองจากการ
ประชุมทางวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชี ครง้ั ท่ี 3 (23-24
พฤษภาคม 2558) หนา้ 2693-2703 (รว่ มกบั เมลดา ไพรพภิ ชั (

3

4

4. องคป์ ระกอบเกี่ยวกบั ประสบการณ์ภาคสนาม
Components of Co-operative Education (if any)

ไม่มี
None

5. ขอ้ กาหนดเก่ียวกบั การทาโครงงาน หรอื งานวิจยั
Dissertation Regulations

5.1 คาอธิบายโดยย่อ
Brief Description

การจดั ทาดุษฎนี ิพนธจ์ ะต้องทาการศกึ ษาและคน้ ควา้ เชงิ ลกึ เกย่ี วกบั ประเดน็ ปญั หาทไ่ี ม่เคยมกี ารศกึ ษา
มาก่อน โดยมกี ารกาหนดระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทส่ี อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา เพ่อื นาไปสกู่ ารแสดงผลของ
การคน้ พบสง่ิ สาคญั ใหม่ ซง่ึ ตอ้ งสนบั สนุนรากฐานความรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งอย่างแทจ้ รงิ

Development of a Doctoral Dissertation must study and conduct in-depth research on issue never
been studied with the use of research methodology relevant to the research objectives leading to the real
contribution of new knowledge that support the fundamental of real knowledge.

5.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้
Learning Outcomes

นักศกึ ษาจะต้องมคี วามเขา้ ใจในการศกึ ษาและทบทวนวรรณกรรมเพ่อื ระบุความสาคญั ของประเดน็ ทจ่ี ะ
ทาการศกึ ษารวมไปถงึ พฒั นากรอบแนวคดิ ของการจดั ทาดุษฎนี ิพนธ์ และมคี วามเขา้ ใจถึงกระบวนการดาเนิน
งานวจิ ยั เพอ่ื นาเสนอผลการศกึ ษาไดต้ ามวตั ถุประสงคท์ กี าหนดไวอ้ าจารยท์ ป่ี รกึ ษาใหค้ าแนะนา

A candidate is required to pursue an understanding in conducting an academic research pertaining
to; the review of literature for identifying research gaps and proposing the research conceptual framework;
clearly designing of research methodology concerning the research objectives. This aims primarily in
achieving the outcomes that contribute to both academic and practice.

5.3 ช่วงเวลา
Timeframe

นกั ศกึ ษาจะเรมิ่ ดษุ ฎนี พิ นธต์ งั้ แต่ภาคฤดรู อ้ น ของปีการศกึ ษาท่ี 1
A candidate is expected to start writing the Doctoral Dissertation in the Summer semester of the
first academic year.

5

5.4 จานวนหน่วยกิต
Number of Credits

ดุษฎนี ิพนธ์ จานวน 36 หน่วยกติ
Doctoral Dissertation have 36 credits

5.5 การเตรียมการ
Preparation

นักศกึ ษาลงทะเบยี นตามรายวชิ าตามเวลาท่ีกาหนดไว้ในแผนการศกึ ษา โดยจะต้องนาเสนอโครงร่าง
ดุษฎนี ิพนธ์ภาคใต้การดูแลของอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาเพ่อื ให้คณะกรรมการประจาหลกั สูตรพจิ ารณากลนั่ กรองหวั ขอ้
งานวจิ ยั และเสนอแนะแนวทางการดาเนินงานวจิ ยั ทเ่ี หมาะสม

A candidate register the courses according to the stated study plan. Dissertation proposal must
be presented under the supervision of the advisor to the DBA curriculum committee to consider the
research topic and give proper suggestions for conducting dissertation in further stage.

5.6 กระบวนการประเมินผล
Evaluation Procedure
นักศกึ ษาจะตอ้ งสอบป้องกนั ดุษฎนี ิพนธต์ ่อคณะกรรมทม่ี คี วามเชย่ี วชาญในหวั ขอ้ วจิ ยั นนั้ ซง่ึ จะไดร้ บั การ

แต่งตงั้ จะคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร โดยสอบผ่านจะไดร้ บั สญั ลกั ษณ์ S และสอบไมผ่ ่านจะไดร้ บั สญั ลกั ษณ์ U
โดยทงั้ น้คี ณะกรรมการสามารถพจิ ารณาใหน้ กั ศกึ ษามกี ารปรบั แกไ้ ขในกรณที ด่ี ษุ ฎนี พิ นธม์ ขี อ้ บกพร่อง หรอื ยงั ไม่
สมบูรณ์ โดยคณะกรรมการสามารถสามารถกาหนดเง่อื นไขใหม้ กี ารสอบป้องกนั ดุษฎนี ิพนธใ์ หม่หรอื ไม่ขน้ึ อย่กู บั
ดุลยพนิ จิ และมตขิ องคณะกรรมการสอบ

A candidate is required to presentation to the dissertation committee arranged by DBA program.
The dissertation will be evaluated as “S” in case of the majority of committee approve and satisfy with the
dissertation. The “U” will be given in case that major correction or unsatisfactory results from the majority
of committee. The dissertation defense may be required considering the evaluation results of committee.

6

หมวดที่ 4 ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอนและการประเมินผล
Part 4: Learning Outcomes, Teaching Strategies, and Assessment

1. การพฒั นาคณุ ลกั ษณะพิเศษของนักศกึ ษา
Development of Students’ Features

คณุ ลกั ษณะพิเศษ กลยทุ ธห์ รอื กิจกรรมของนักศกึ ษา
Desired Features/Characteristics Strategies or Activities

เครอื ขา่ ย กระตุน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ ฟงั สมั มนาทจ่ี ดั โดยองคก์ ร
สามารถสรา้ งเครอื ขา่ ยทางธรุ กจิ และทางการวจิ ยั ได้ ธรุ กจิ และสนบั สนุนใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ รว่ มประชมุ และ
ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ และทางวชิ าการทม่ี ี สมั มนาทางวชิ าการ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถสรา้ ง
การเปลย่ี นแปลงทร่ี วดเรว็ เครอื ขา่ ยระหวา่ งกนั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

Networking Encouraging the research students in attending
both the special seminar arranged by business
Able to construct business and research organization; as well as supporting the
networking systems, considering the rapidly attendance of the academic conference. This
changing business and academic environment. aims primarily at stimulating students to construct
networks.

ความรแู้ ละประสบการณ์ จดั ระบบการเรยี นการสอนโดยเน้นทงั้ การพฒั นาองค์
ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั จากการทาวทิ ยานพิ นธแ์ ละจาก
มคี วามรคู้ วามสามารถและนาประสบการณ์มา ประสบการณ์ในการทาวจิ ยั เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาประสบ
ประยุกตใ์ ชใ้ นการทางานจรงิ ไดห้ ลงั จากจบการศกึ ษา ความสาเรจ็ และสามารถบรู ณาการทงั้ ทางดา้ น
วชิ าการและทางปฏบิ ตั ิ ซง่ึ เป็นสง่ิ สาคญั ต่อการ
ประกอบอาชพี ใหก้ า้ วหน้าต่อไป

Knowledge and Experience The learning system emphasizes both developing
the knowledge resulting from the dissertation;
Have an adequate knowledge and experience of and gaining real world experience in conducting
future work after graduation. research using various research methodologies.
This therefore allows the research student to
achieve and integrate both dimensions regarding
academia and practice which are important to
career advancement.

7

คณุ ลกั ษณะพิเศษ กลยุทธห์ รอื กิจกรรมของนักศกึ ษา
Desired Features/Characteristics Strategies or Activities

ทางานอย่างฉลาด นอกเหนอื จากการเรยี นในชนั้ เรยี นแลว้ นกั ศกึ ษา
มคี วามมนั่ ใจในตวั เอง พรอ้ มทางานหนกั อดทน จะตอ้ งเขา้ สมั มนาและนาเสนอผลงานทางวชิ าการทงั้
มุง่ มนั่ เพยี รพยายาม มคี วามรบั ผดิ ชอบใน ในระดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาติ เพอ่ื ทจ่ี ะใหน้ กั ศกึ ษา
ภาระหน้าทท่ี ไ่ี ดร้ บั มอบหมายและเขา้ กบั สงั คมได้ ปรบั ปรงุ และพฒั นางานวจิ ยั ของตนเอง รวมทงั้ ใหย้ ดึ
รวมทงั้ มบี ุคลกิ ภาพและภาพลกั ษณ์ทางสงั คมทด่ี ี หลกั จรยิ ธรรม คณุ ธรรม ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมและ
สงิ่ แวดลอ้ ม ตลอดแผนการศกึ ษา

Work Smart In addition to classroom studies, students will be
encouraged to attend and present their academic
Confident, ready, patient, committed and work in both domestic and international activities.
responsible, commitment to duty and industry, This helps improve and develop the confidence
and to society. Personal integrity and social of research students in working after graduation.
orientation. The issues pertaining to ethics, social
responsibility and the environment are also taken
into consideration and integrated throughout the
program.

2. การพฒั นาผลการเรยี นรใู้ นแต่ละด้าน
Development of Learning Outcomes in each Area

2.1 คณุ ธรรม จริยธรรม
Ethics and Morals

2.1.1 ผลการเรียนรดู้ า้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
Learning Outcomes of Ethics and Morals

(1) มีความซ่อื สตั ยส์ ุจริต ซ่อื ตรงต่อหน้าท่ี ต่อตนเองและต่อผู้อ่นื ไม่เอารดั เอาเปรยี บผู้อ่นื มี
ความอดทน เสยี สละและเพยี รพยายาม
Honesty and duty, self and others; not taking advantage of others; characteristics of
patience, sacrifice, commitment and endurance

(2) มคี วามพอเพยี งเป็นหลกั ในการดาเนินชวี ติ โดยยดึ แนวคดิ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล
และการสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั
Have integrity and ethics in both professional and daily life; know how to be just and
compassionate.

8

(3) มคี วามเคารพต่อกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ ขององคก์ รและและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
โดยรวม และมจี รยิ ธรรมในการทาวจิ ยั เพ่อื ทจ่ี ะพฒั นาองคค์ วามรไู้ ดอ้ ย่างเหมาะสม
Respect the rules and policies of the organization; be responsible to society and be
ethical when conducting research studies in order to develop appropriate knowledge.

(4) มจี ติ สานึกและมมี โนธรรมทจ่ี ะแยกแยะความถูกตอ้ ง ความดี และความชวั่
Know how to differentiate the good from the bad, right from wrong.

2.1.2 กลยทุ ธก์ ารสอนที่ใช้พฒั นาการเรียนรดู้ า้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
Teaching Strategies for Developing Learning Outcomes of Ethics

(1) มกี ารสอนคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในรายวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
Ethical issues and concerns are integrated in relevant courses.

(2) มกี ารสอดแทรกคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในเน้อื หาวชิ าเรยี น พรอ้ มทงั้ ยกตวั อย่างประกอบ
Insert ethics in specific topics of the course, using case study example or approaches.

(3) การเรยี นรจู้ ากสถานการณ์จรงิ การจดั กจิ กรรมในชนั้ เรยี นหรอื การศกึ ษาจากกรณีศกึ ษา
Learn from real world situations, activities, and cases organized by the course or
program.

2.1.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ า้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
Evaluation of Learning Outcomes of Ethics

(1) ประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากการเรยี นรายวชิ าของสาขาวชิ า
Evaluate the learning of the relevant courses.

(2) ประเมินพฤติกรรมโดยเพ่อื นนักศกึ ษา อาจารย์ท่ปี รึกษา อาจารย์ผู้สอน ตามเกณฑ์ของ
สถาบนั
Evaluate behavior by fellow students, advisor and lecturers.

2.2 ความรู้
Knowledge

2.2.1 ผลการเรียนรดู้ า้ นความรู้
Learning Outcomes of Knowledge

9

(1) มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจในการดาเนินงานวจิ ยั ทางธรุ กจิ และสาขาวชิ าเอกเป็นอย่างดี (การ
จดั การ การตลาดและการเงนิ )
Have knowledge of research, business, and specific areas of management, marketing,
or finance.

(2) มคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจในบรบิ ทและเน้ือหาทเ่ี ป็นวชิ าพน้ื ฐานสาหรบั ธุรกจิ อย่างลกึ ซง้ึ และ
กวา้ งขวาง เช่นวชิ าบญั ชี เศรษฐศาสตร์ การจดั การ การตลาด การเงนิ และสงั คมศาสตร์
Have broad and deep knowledge and understanding of important contexts and
contents which are the basis for business studies such as accounting, economics,
management, marketing, finance and social science.

(3) มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจในระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทห่ี ลากหลายวธิ ี และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้
ในการเรยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
Have knowledge and understanding of the various research methodologies and
approaches in conducting research in specific fields of study.

(4) สามารถพฒั นาความรใู้ หม่ๆ ทงั้ ทางดา้ นวชิ าการและความชานาญการเกย่ี วกบั การวจิ ยั และ
ธรุ กจิ รวมถงึ มคี วามเขา้ ใจทางดา้ นธุรกจิ ทงั้ ทางทฤษฎแี ละทางปฏบิ ตั ิ
Have knowledge of new developments in academic and professional areas related to
research and business; have understanding of theory and practical areas of business.

(5) สามารถพฒั นาองคค์ วามรใู้ นการทาดษุ ฎนี ิพนธ์ และเขา้ ใจวธิ กี ารเขยี นดษุ ฎนี ิพนธ์
Have knowledge of dissertations; understand how to write dissertations.

2.2.2 กลยุทธก์ ารสอนท่ีใช้พฒั นาการเรยี นรดู้ ้านความรู้
Teaching Strategy for Developing Learning Outcomes of Knowledge

(1) การสอนหลายรูปแบบในรายวชิ าตามหลกั สตู ร ได้แก่ การใหค้ าปรกึ ษา การบรรยาย การ
อภปิ ราย การวจิ ยั การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง กรณีศกึ ษา การเขยี นรายงาน และการสรา้ ง
แบบจาลอง
Using various teaching techniques and approaches such as supervision, lectures,
discussions, research, independent study, case study, report writing, simulations.

(2) การฝึกปฏิบัติ การอบรม ทักษะการทาวิจัย และการให้คาปรึกษากับคณาจารย์ท่ีได้รบั
มอบหมาย
Practicing and training in research development skills in various research courses as
well as supervision by assigned faculties.

(3) การจดั สมั มนาระดบั ดษุ ฎบี ณั ฑติ การจดั สมั มนาและการประชุมทางวชิ าการ
Symposium, Seminar and academic conference.

10

2.2.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรดู้ า้ นความรู้
Evaluation of Learning Outcomes of Knowledge

(1) ประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากการเรยี นรายวชิ า โดยการสอบขอ้ เขยี น
Assess the students’ learning by written assignments.

(2) ความกา้ วหน้าในการทาวจิ ยั โดยมกี ารควบคุมและประเมนิ เป็นระยะ
Research development progress is monitored and assessed periodically.

(3) การนาเสนอรายงาน การอภปิ ราย โดยประเมนิ จาก คณะกรรมการ
Presentation, discussions are evaluated by the research committee.

2.3 ทกั ษะทางปัญญา
Cognitive Skills

2.3.1 ผลการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะทางปัญญา
Learning Outcomes of Cognitive Skills

(1) สามารถนาความรแู้ ละทฤษฏมี าประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานวจิ ยั และธุรกจิ ได้
Able to apply knowledge and theory to research and business.

(2) สามารถนางานวจิ ยั ไปกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ทงั้ ทางวชิ าการและทางปฏบิ ตั ิ
Able to conduct academic research with the aim of contributing to both academia and
practice.

(3) สามารถสบื ค้น จาแนก และวิเคราะห์ขอ้ มูล อย่างเป็นระบบและมเี หตุผลท่จี ะนาไปพฒั นา
งานวจิ ยั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
Able to search, classify and analyze information systematically and logically to identify
possible areas for development in high impact research studies.

(4) สามารถสรา้ งกรอบแนวคดิ สงั เคราะห์ และขยายองคค์ วามรู้ รวมถงึ สามารถบรู ณาการความรู้
และประสบการณ์ เพ่อื นาสงิ่ ทท่ี าการศกึ ษาไปก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ทงั้ ทางด้านวชิ าการและ
ทางดา้ นปฏบิ ตั ใิ หก้ บั ธรุ กจิ
Able to conceptualize, synthesize and expand specific knowledge areas and disciplines,
and be able to integrate knowledge and experience to suggest academic and practical
contributions towards specific business study fields.

11

(5) มีความคิดริเร่ิม สามารถแสวงหาทางเลือก และผลวิจยั ใหม่ๆ รวมถึงสามารถวิเคราะห์
ทางเลอื ก เสนอแนวทางทเ่ี หมาะสม และนาผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ จากการวจิ ยั มาเขยี นวทิ ยานิพนธไ์ ด้
อยา่ งมคี ณุ ภาพ
Able to initiate and search for new alternatives and research findings; and analyzing
alternatives and respective effects towards the research study and propose an
appropriate ways to conduct high quality dissertations.

2.3.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้พฒั นาการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะทางปัญญา
Teaching Strategy for Developing Learning Outcomes of Cognitive Skills

(1) การสอนโดยกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นมคี วามคดิ รเิ รม่ิ ในหวั ขอ้ วจิ ยั ซง่ึ ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ทงั้ ในดา้ น
ของวชิ าการและการปฏบิ ตั ิ
Encourage students to initiate research topics that contribute to both academia and
practice.

(2) เพิ่มแนวทางให้แก่นักศึกษาในการพฒั นาและสร้างกรอบความคิด เพ่ือนาไปสู่การสร้าง
กระบวนการวจิ ยั ไดเ้ ป็นอย่างดี
Enhance the way in which students develop and conceptualize their ideas toward well-
structured research development processes.

(3) ใหก้ ารแนะนาปรกึ ษาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพโดยคณาจารยท์ ช่ี านาญการในหวั ขอ้ วจิ ยั นนั้ ๆ
Provide effective supervision by an appropriate faculty in the area related to the specific
research topic.

(4) ควบคุมกระบวนการวจิ ยั อย่างต่อเน่อื งโดยคณะกรรมการวจิ ยั
Continuously monitoring of research progress by the research committee.

2.3.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะทางปัญญา
Evaluation of Learning Outcomes of Cognitive Skills

(1) ประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากการเรยี นรายวชิ าและสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานจรงิ ในชนั้ เรยี น
Assess outcomes and learning progress of each students by supervisor.

(2) ประเมนิ ผลงานจากการทาการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง การทาโครงงาน การทาวจิ ยั การ
อภปิ รายกรณีศกึ ษา
Regular Assessment of outcomes from overall learning and dissertation progress by
the research committee throughout the doctoral symposium course, proposal defense,
and dissertation defense.

12

2.4 ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ
Social Skills and Responsibilities

2.4.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ
Learning Outcomes of Social Skill and Responsibilities

(1) สามารถประสานงาน มมี นุษยสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั สงั คมทงั้ ดา้ นวชิ าการและชานาญการ
Have ability to coordinate and build good relationships within both academic and
professional society.

(2) สามารถคดิ รเิ รมิ่ และนาเสนอความคดิ ทแ่ี ตกต่างจากคนอน่ื และเป็นผฟู้ งั ทด่ี ี
Able to think creatively and present ideas that are different from others; Being a good
listener.

(3) สามารถทางานเป็นกลุ่ม และแสดงภาวะผนู้ าผตู้ ามไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และมคี วามรบั ผดิ ชอบ
Able to work in a team and play the leading or subordinate role appropriately. Being
responsible for work and society.

(4) สามารถแสดงความคิดรเิ ริ่มและความคิดเหน็ ท่มี คี วามแตกต่างอย่างสร้างสรรค์และรบั ฟงั
ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
Able to creatively express different initiation and opinion, and listen to others’ opinions.

(5) มบี คุ ลกิ ภาพทด่ี ที งั้ ภายในและภายนอก รวมทงั้ มคี วามสามารถในการเขา้ สงั คม
Have a good personality both inside and outside, and be able to be involved in society.

2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พฒั นาการเรียนรู้ด้านทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลและความ
รบั ผิดชอบ
Teaching Strategy for Developing Learning Outcomes of Social Skill and
Responsibilities

(1) ทกั ษะทางสงั คมและความรบั ผดิ ชอบถูกสอนและสอดแทรกในรายวชิ า
Social skills and responsibilities are taught and integrated in relevant courses.

(2) การชแ้ี นะประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สงั คมทม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบซง่ึ ไดร้ บั การแนะนาจากอาจารยท์ ่ี
ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ์
Issues regarding social responsibly are integrated into courses by assigned supervisors
throughout the dissertation process.

13

(3) จดั โอกาสทจ่ี ะพฒั นาทกั ษะทางสงั คมในช่วงทห่ี ลกั สตู รไดม้ กี ารจดั การอภปิ รายงานวจิ ยั และ
การสมั มนา
Provision of opportunities to develop social skills through the research discussion
session and conference arranged by the program.

2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความ
รบั ผิดชอบ
Evaluation of Learning Outcomes of Social Skills and Responsibilities

(1) ประเมนิ การเรยี นรทู้ กั ษะทางสงั คมและความรบั ผดิ ชอบในรายวชิ า
Evaluate the learning of social skills and responsibility in relevant courses.

(2) ประเมนิ การเรยี นรู้และการพฒั นาทกั ษะทางสงั คมและความรบั ผดิ ชอบจากกระบวนการใน
การใหค้ าปรกึ ษา
Evaluate the learning and development of social skill and responsibility through the
supervision process.

(3) ประเมนิ ทกั ษะทางสงั คมและความรบั ผดิ ชอบจากการมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
Evaluation of the social skill development through participation in arranged activities.

2.5 ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Quantitative Analysis, Communication, and Technological Skills

2.5.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Learning Outcomes of Quantitative Analysis, Communication, and Technological Skills

(1) สามารถออกแบบและสรา้ งกรอบแนวคดิ เพ่อื นาไปสกู่ ารวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณได้
Able to design and conceptualize ideas for conducting quantitative research.

(2) สามารถประยุกต์ใชร้ ปู แบบทางคณิตศาสตร์ สถติ ิ และวธิ เี ชงิ ปรมิ าณในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ท่ี
รวบรวมมาได้
Able to use mathematical models, and statistical and quantitative tools to analyze
collected data.

(3) มคี วามเขา้ ใจ สามารถวเิ คราะหแ์ ละรายงานผลทไ่ี ดร้ บั จากการวจิ ยั เชิงปรมิ าณ โดยสามารถ
เขยี นและนาเสนอผลไดถ้ กู ตอ้ ง
Able to interpret and understand quantitative results; thereby indicating quantitative
findings in both writing and presentation.

14

(4) สามารถใชข้ อ้ มลู การสอ่ื สาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณได้
Able to use information, communication and technology as a tool supporting the
quantitative analysis.

2.5.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใช้พฒั นาการเรียนรดู้ ้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Teaching Strategy for Developing Learning Outcomes of Quantitative Analysis,
Communication, and Technological Skills

(1) มกี ารสอนในรายวชิ าปรบั พน้ื ฐาน เช่น วจิ ยั ธุรกจิ สถติ ิ การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณขนั้ สงู และวชิ า
อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
Prerequisite courses such as business research, statistics, advance quantitative
research, and other related subjects.

(2) มกี ารอบรมวธิ กี ารวจิ ยั รปู แบบเฉพาะ เช่น การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพของหน่วยงาน (Data
Envelope Analysis: DEA) รปู แบบสมการโครงสรา้ ง (Structure Equation Modeling: SEM)
และอน่ื ๆ
Special research methodology and program training courses provided by the DBA
program such as data envelope analysis (DEA), structure equation modeling (SEM)
etc.

(3) มกี ารเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองจากฐานขอ้ มลู ออนไลน์ (เชน่ วารสาร สง่ิ พมิ พ)์
Self-study through access of academic online-database (i.e. journal, publications).

2.5.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนร้ดู ้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสื่อสาร และการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Evaluation of Learning Outcomes of Quantitative Analysis, Communication, and
Technological Skills

(1) ประเมนิ การเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษาจากงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย การเขยี นและการนาเสนอเอกสาร
ทางวชิ าการ
Assess students’ learning by individual assignments, writing academic papers and
presentations.

(2) ประเมนิ ผลการเรยี นรหู้ ลงั จากการอบรม โดยการเขยี นรายงานและการนาเสนอรายงาน
Evaluate the learning of specific training though the assignments, writing reports and
presentations.

15

3. แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู้ ากหลกั สูตรสู่รายวิชา
Curriculum Mapping

แสดงใหเ้ หน็ วา่ แต่ละรายวชิ าในหลกั สตู รรบั ผดิ ชอบต่อมาตรฐานผลการเรยี นรใู้ ดบา้ ง ตามทร่ี ะบใุ นหมวดท่ี 4 ขอ้
2 โดยระบวุ ่าเป็นความรบั ผดิ ชอบหลกั หรอื รบั ผดิ ชอบรอง

The curriculum mapping displays how the teaching of each course meets the standard of learning
outcomes by indicating the main focus and secondary focus according to the above section 2 of Part 4.

ผลการเรยี นรใู้ นตาราง
Learning Outcomes in Table

คณุ ธรรม จริยธรรม
Ethics and Morals

(1) มคี วามซ่อื สตั ยส์ จุ รติ ซ่อื ตรงต่อหน้าท่ี ต่อตนเองและต่อผอู้ ่นื ไม่เอารดั เอาเปรยี บผอู้ ่นื มคี วาม
อดทน เสยี สละและเพยี รพยายาม
Honesty and duty, self and others; not taking advantage of others; characteristics of
patience, sacrifice, commitment and endurance.

(2) มคี วามพอเพยี งเป็นหลกั ในการดาเนินชวี ติ โดยยดึ แนวคดิ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล
และการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั
Have integrity and ethics in both professional and daily life; know how to be just and
compassionate.

(3) มคี วามเคารพต่อกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ ขององคก์ รและและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
โดยรวม และมจี รรยาบรรณทางธุรกจิ
Respect the rules and policies of the organization; be responsible to society and be
ethical when conducting research studies in order to develop appropriate knowledge.

(4) มจี ติ สานึกและมมี โนธรรมทจ่ี ะแยกแยะความถกู ตอ้ ง ความดี และความชวั่
Know how to differentiate the good from the bad, right from wrong.

ความรู้
Knowledge

(1) มคี วามรู้และความเขา้ ใจในการดาเนินงานวจิ ยั ทางธุรกจิ และสาขาวชิ าเอกเป็นอย่างดี (การ
จดั การ การตลาดและการเงนิ )
Have knowledge of research, and business, in the area of management, marketing, or
finance.

16

(2) มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจในบรบิ ทและเน้อื หาทเ่ี ป็นวชิ าพน้ื ฐานสาหรบั ธรุ กจิ อย่างลกึ ซง้ึ และกวา้ ง
ขวาง เช่นวชิ าบญั ชี เศรษฐศาสตร์ การจดั การ การตลาด การเงนิ และสงั คมศาสตร์
Have broad and deep knowledge and understanding of important contexts and contents
which are the basis of business studies such as accounting, economics, management,
marketing, finance and social science.

(3) มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจในระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทห่ี ลากหลายวธิ ี และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น
การเรยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
Have knowledge and understanding of the various research methodologies and
approaches in conducting research in specific fields of study.

(4) สามารถพฒั นาความรใู้ หมๆ่ ทงั้ ทางดา้ นวชิ าการและความชานาญการเกย่ี วกบั การวจิ ยั และธรุ กจิ
รวมถงึ มคี วามเขา้ ใจทางดา้ นธรุ กจิ ทงั้ ทางทฤษฎแี ละทางปฏบิ ตั ิ
Have knowledge of new developments in academia and professional areas related to
research and business; have an understanding of theory and practical areas of business.

(5) สามารถพฒั นาองคค์ วามรใู้ นการทาดษุ ฎนี ิพนธ์ และเขา้ ใจวธิ กี ารเขยี นดษุ ฎนี พิ นธ์
Have knowledge of dissertations; understand how to write dissertations.

ทกั ษะทางปัญญา
Cognitive Skills

(1) สามารถนาความรแู้ ละทฤษฏมี าประยุกตใ์ ชก้ บั งานวจิ ยั และธุรกจิ ได้
Able to apply knowledge and theory to research and business.

(2) สามารถนางานวจิ ยั ไปกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ทงั้ ทางวชิ าการและทางปฏบิ ตั ิ
Able to conduct academic research with the aim of contributing to both academia and
practice

(3) สามารถสืบค้น จาแนก และวิเคราะห์ขอ้ มูล อย่างเป็นระบบและมีเหตุผลท่จี ะนาไปพฒั นา
งานวจิ ยั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
Able to search, classify and analyze information systematically and logically to identify
possible areas for development in high impact research studies.

(4) สามารถสรา้ งกรอบแนวคดิ สงั เคราะห์ และขยายองคค์ วามรู้ รวมถงึ สามารถบูรณาการความรู้
และประสบการณ์ เพ่อื นาสง่ิ ท่ที าการศึกษาไปก่อให้เกิดประโยชน์ทงั้ ทางด้านวิชาการและ
ทางดา้ นปฏบิ ตั ใิ หก้ บั ธรุ กจิ
Able to conceptualize, synthesize and expand specific knowledge areas and disciplines,
and be able to integrate knowledge and experience to suggest academic and practical
contributions towards specific business study fields.

17

(5) มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สามารถแสวงหาทางเลอื ก และผลวจิ ยั ใหม่ๆ รวมถงึ สามารถวเิ คราะหท์ างเลอื ก
เสนอแนวทางท่เี หมาะสม และนาผลลพั ธ์ท่ไี ด้ จากการวิจยั มาเขยี นวิทยานิพนธ์ได้อย่างมี
คุณภาพ
Able to initiate and search for new alternatives and research findings; and analyzing
alternatives and respective effects towards the research study and propose an
appropriate ways to conduct high quality dissertations.

ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ
Social Skills and Responsibilities

(1) สามารถประสานงาน มมี นุษยสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั สงั คมทงั้ ดา้ นวชิ าการและชานาญการ
Have ability to coordinate and build good relationships within both academia and
professional society.

(2) สามารถคดิ รเิ รมิ่ และนาเสนอความคดิ ทแ่ี ตกต่างจากคนอน่ื และเป็นผฟู้ งั ทด่ี ี
Able to think creatively and present ideas that are different from others; Being a good
listener.

(3) สามารถทางานเป็นกลุม่ และแสดงภาวะผนู้ าผตู้ ามไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และมคี วามรบั ผดิ ชอบ
Able to work in a team and play the leading or subordinate role appropriately. Being
responsible for work and society.

(4) สามารถแสดงความคดิ รเิ รม่ิ และความคดิ เหน็ ทม่ี คี วามแตกต่างอย่างสร้างสรรค์และรบั ฟงั
ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื
Able to adjust himself/herself according to different situations and cultures.

(5) มบี ุคลกิ ภาพทด่ี ที งั้ ภายในและภายนอก รวมทงั้ มคี วามสามารถในการเขา้ สงั คม
Have a good personality both inside and outside, able to be involved in society.

ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Quantitative Analysis, Communication, and Technological Skills

(1) สามารถออกแบบและสรา้ งกรอบแนวคดิ เพอ่ื นาไปสกู่ ารวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณได้
Able to design and conceptualize ideas for conducting quantitative research.

(2) สามารถประยกุ ตใ์ ชร้ ปู แบบทางคณิตศาสตร์ สถติ ิ และวธิ เี ชงิ ปรมิ าณในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ทร่ี วบรวมมาได้
Able to use mathematical models, and statistical and quantitative tools to analyze
collected data.

18

(3) มีความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์และรายงานผลท่ีได้รับจากการวิจยั เชิงปริมาณ โดย
สามารถเขยี นและนาเสนอผลไดถ้ ูกตอ้ ง
Able to interpret and understand quantitative results; thereby indicating the
quantitative findings in both writing and presentation.

(4) สามารถใชข้ อ้ มลู การสอ่ื สาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณได้
Able to use information, communication and technology as a tool supporting
quantitative analysis.

19

แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู้ ากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 ความรบั ผิดชอบหลกั (Primary Responsibility)  ความรบั ผิดชอบรอง (Secondary Responsibility)

รายวิชา คณุ ธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทกั ษะความสมั พนั ธ์ ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิง
Course จริยธรรม Knowledge Cognitive Skills ระหวา่ งบุคคลและ ตวั เลข การส่ือสาร และ
Ethics and ความรบั ผิดชอบ
Morals Social Skills and การใช้เทคโนโลยี
Responsibilities สารสนเทศ

Quantitative Analysis,
Communication, and

Technological Skills

1234123451234512345123 4

กลุ่มวิชาปรบั พืน้ ฐาน (Prerequisite courses)

DB701 การวจิ ยั ธุรกจิ            
DB702 Business Research
DB703 สถติ ิ       
DB704 Statistics
DB705 เศรษฐศาสตรม์ หภาค          
Macroeconomics
กลยทุ ธก์ ารจดั การธรุ กจิ           
Strategic Business Management
การจดั การการเงนิ          
Financial Management

20

รายวิชา คณุ ธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทกั ษะความสมั พนั ธ์ ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิง
Course จริยธรรม Knowledge Cognitive Skills ระหวา่ งบคุ คลและ ตวั เลข การสื่อสาร และ
Ethics and ความรบั ผิดชอบ
Morals Social Skills and การใช้เทคโนโลยี
Responsibilities สารสนเทศ

Quantitative Analysis,
Communication, and

Technological Skills

1234123451234512345123 4

DB706 การจดั การการตลาด          
DB707 Marketing Management
       
การจดั การการดาเนนิ งาน
Operations Management

กลุ่มวิชาบงั คบั (Core Courses)

DB771 ทฤษฎแี ละกลยุทธก์ ารจดั การขนั้ สงู              
Advanced Management Theory and
DB772 Strategy              
DB773          
DB774 การออกแบบและระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั        
Research Design and Methodology  

การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณขนั้ สงู
Advanced Quantitative Research
การวจิ ยั เชงิ คณู ภาพขนั้ สงู
Advanced Qualitative Research

21


Click to View FlipBook Version