รายวิชา คณุ ธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทกั ษะความสมั พนั ธ์ ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิง
Course จริยธรรม Knowledge Cognitive Skills ระหวา่ งบคุ คลและ ตวั เลข การสื่อสาร และ
Ethics and ความรบั ผิดชอบ
Morals Social Skills and การใช้เทคโนโลยี
Responsibilities สารสนเทศ
Quantitative Analysis,
Communication, and
Technological Skills
1234123451234512345123 4
DB781 สมั มนาระดบั ดุษฎบี ณั ฑติ ดา้ นธรุ กจิ
DB782 Doctoral Seminar in Business
หวั ขอ้ วจิ ยั ทางดา้ นธุรกจิ ขนั้ สงู
Advanced Research Topics in
Business
การประชมุ อภิปรายระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต (Doctoral Symposium)
DB721 การประชมุ อภปิ รายระดบั ดษุ ฎบี ณั ฑติ
Doctoral Symposium
ดษุ ฎีนิพนธ์ (Doctoral Dissertation)
DB800 ดษุ ฎนี พิ นธ์
Doctoral Dissertation
22
หมวดท่ี 5 หลกั เกณฑใ์ นการประเมินผลนักศึกษา
Part 5: Criteria for Student Evaluations
1. กฎระเบียบหรอื หลกั เกณฑใ์ นการให้ระดบั คะแนน (เกรด)
Rule, Regulations, or Criteria for Grading
การวดั ผลและการสาเรจ็ การศกึ ษาเป็นไปตามระเบยี บมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย ว่าดว้ ยการศกึ ษาในระดบั
บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2558 (ภาคผนวก ก)
Evaluation and graduation is subject to the “Academic Regulations of University of the Thai Chamber
of Commerce 2015 (Appendix A).
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิของนักศึกษา
Process of Verification of Student Achievement Standards
2.1 จดั ทาขอ้ สอบใหม้ มี าตรฐานตามวตั ถุประสงคใ์ นรายวชิ าและกาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนขอ้ สอบแต่ละขอ้
เพอ่ื ใหผ้ สู้ อนมมี าตรฐานการใหค้ ะแนน โดยเฉพาะรายวชิ าทม่ี ผี สู้ อนมากกวา่ 1 คน
Develop examination with standard according to course’s objectives and provide grading
regulations to create standard of grading for the instructors, especially course teaching more than
1 instructor.
2.2 ผลคะแนนการศกึ ษาจะตอ้ งไดร้ บั การทบทวนและอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
The final results will be reviewed and approved by an evaluation committee consisting of DBA
program committee members.
3. เกณฑก์ ารสาเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตร
Graduation Criteria
(1) ศกึ ษารายวชิ าครบถ้วนตามท่กี าหนดในหลกั สูตร โดยได้คะแนนเฉลย่ี สะสมไม่ต่ากว่า 3.00 จากระบบ
4.00 หรอื เทยี บเทา่
Complete all the required courses with a G.P.A not less than 3.00 from 4.00 grading system or
equivalent.
(2) ผ่านการสอบวดั คณุ สมบตั ิ (Qualifying Examination)
Pass a Qualifying Examination
(3) ผ่านการเสนอเคา้ โครงดษุ ฎนี พิ นธแ์ ละสอบป้องกนั ดษุ ฎนี พิ นธ์
Present and Defend a Doctoral Dissertation Proposal
23
(4) จดั ทาดุษฎีนิพนธ์เป็นภาษาองั กฤษ และต้องผ่านการสอบโดยคณะกรรมการซ่งึ จะต้องประกอบดว้ ย
ผทู้ รงคุณวฒุ จิ ากภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั ทงั้ น้ี ผลงานดษุ ฎนี ิพนธ์ จะตอ้ งไดร้ บั การตพี มิ พ์ หรอื
อย่างน้อยดาเนนิ การใหผ้ ลงานหรอื สว่ นหน่งึ ของผลงานไดร้ บั การยอมรบั ใหต้ พี มิ พใ์ นวารสารหรอื สงิ่ พมิ พ์
ทางวิชาการตามท่ี สกอ รบั รอง โดยมกี รรมการภายนอกมาร่วมกลนั่ กรอง (Peer Review) ก่อนการ
ตพี มิ พ์ และเป็นทย่ี อมรบั ในสาขาวชิ านนั้
The Doctoral Dissertation must be written only in English and approved by both internal and
external honorable committees. Moreover, the Doctoral Dissertation must be published or a part
of the dissertation must be published in any of Higher Education Commission accredited peer
reviewed journals or proceedings.
หมวดที่ 6 การพฒั นาคณาจารย์
Part 6: Lecturer Professional Development
1. การเตรยี มการสาหรบั อาจารยใ์ หม่
Preparation for the New Lecturers
1.1 การใหเ้ ขา้ รบั การอบรมตามหลกั สตู ร “การพฒั นาอาจารยใ์ หม่” ของมหาวทิ ยาลยั ซง่ึ เป็นหลกั เกณฑ์ให้
อาจารยใ์ หมท่ ุกคนตอ้ งเขา้ รบั การอบรม ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั สตู รและการบรหิ ารวชิ าการ
ของมหาวทิ ยาลยั บทบาทหน้าทข่ี องอาจารยม์ หาวทิ ยาลยั และจรรยาบรรณครู และใหม้ ที กั ษะเกย่ี วกบั
การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั การสอนสอดแทรกคุณธรรมและจรยิ ธรรม และการสอน
โดยใชส้ อ่ื และเทคโนโลยสี ารสนเทศ
To attend the training program “New lecturers development” organized by the University. From
the program, new lecturers will have the required knowledge and understanding of the academic
programs and the administration of the university; also will be briefed on their responsibilities, the
required level of moral conduct, and student-centered teaching skills, and how to include morals
and ethics into teaching and how to use multimedia and technology in teaching.
1.2 การมอบหมายใหม้ อี าจารยผ์ ูม้ ปี ระสบการณ์และคุณวุฒสิ ูงกว่าทาหน้าท่ใี ห้คาแนะนาและเป็นท่ปี รกึ ษา
แนวทางในการจดั การเรยี นการสอน และการดาเนนิ งานวจิ ยั
Assign supervising doctoral lecturers or qualified mentors (i.e. Professor, associate professor,
assistant professor) to provide advice and consultation services pertaining to teaching, research
and learning.
1.3 การชแ้ี จงและแนะนาหลกั สตู ร รายวชิ าในหลกั สตู ร
Explain and recommend the overview of curriculum and courses in the curriculum.
24
1.4 การมอบหมายใหอ้ าจารยใ์ หมศ่ กึ ษาคน้ ควา้ จดั ทาเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การสอน ในหวั ขอ้ หน่ึงหรอื หลาย
หวั ขอ้ ทอ่ี าจารย์ใหม่มคี วามรู้และถนัด เพ่อื ทดลองทาการสอนภายใต้คาแนะนาของหวั หน้าสาขาหรอื
ประธานหลกั สตู ร
Assign new lecturers to prepare teaching notes on the specific topic that lecturer has expertise in.
Try to teach under the guidance of the supervising doctoral lecturer or the director of the course
or degree level.
2. การพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะให้แก่อาจารย์
Knowledge and Skills Development
2.1 การพฒั นาทกั ษะการจดั การเรยี นการสอน การวดั และการประเมินผล
The Development of Teaching Skills, Measurement and Evaluation
(1) กาหนดใหอ้ าจารยต์ อ้ งเขา้ รบั การอบรมเพ่อื พฒั นาตนเองดา้ นการจดั การเรยี นการสอน การวดั และ
การประเมินผล ตามความต้องการของอาจารย์ และเป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลยั ซ่ึง
มหาวทิ ยาลยั มกี ารเปิดหลกั สตู รอบรมเพ่อื พฒั นาอาจารยใ์ นหวั ขอ้ ต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การ
เรยี นการสอน การวจิ ยั การผลติ ผลงานทางวชิ าการ เป็นประจาทกุ ปี
Lecturers are required to attend training programs for self-development in teaching skills,
measurement and evaluation, and research skill development. The policy of the university
requires assessment and evaluation of teaching skills in order to encourage all lecturers to
continuously improve teaching quality
(2) การจดั ใหม้ กี ารสอนแบบเป็นทมี ซง่ึ จะสง่ เสรมิ โอกาสใหอ้ าจารยไ์ ดม้ ปี ระสบการณ์การสอนร่วมกบั
คนอ่นื รวมถงึ การมโี อกาสไดเ้ ป็นผรู้ บั ผดิ ชอบรายวชิ า ผปู้ ระสานงาน และผรู้ ่วมทมี การสอน
Provide opportunity for team teaching, and allow the lecturers to have the opportunity to
experience the role of course leader, course coordinator and team member
(3) การส่งเสรมิ หรอื สรา้ งโอกาสใหม้ กี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ประสบการณ์ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน
ระหว่างอาจารย์ในหลกั สตู ร หรอื ทาวจิ ยั การเรยี นการสอนท่สี ามารถนาไปเผยแพร่ในการประชุม
วชิ าการทม่ี กี ารจดั การเรยี นการสอนในสาขาวชิ าเดยี วกนั ของหลายๆ สถาบนั
Promote the opportunity for lecturers to share their knowledge and teaching experiences, or
research or academic publication
(4) จดั ใหม้ กี ารมอบรางวลั เช่น “Best Lecturer Award” เพอ่ื กระตุน้ และสง่ เสรมิ ขวญั กาลงั ใจแก่อาจารย์
ผสู้ อนในการพฒั นาคุณภาพของการเรยี นและการสอนอย่างต่อเน่อื ง
Arrange reward and recognition programs such as “The best lecturer”, aiming to recognize
and encourage all lecturers to continuously improve the quality of their teaching skill.
25
2.2 การพฒั นาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ
Academic and Professional Development
(1) การส่งเสรมิ ใหอ้ าจารยเ์ ขา้ ร่วมการอบรม การประชุมสมั มนาในสาขาวชิ าการหรอื วชิ าชพี ท่จี ดั ทงั้
ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั อยา่ งน้อยปีละ 1ครงั้
Encourage lecturers to participate in training, seminars in academic or professional areas
organized by both inside and outside the university, at least once a year.
(2) การส่งเสรมิ ให้อาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ และการนาเสนอผลงานในการ
ประชุมวชิ าการในสาขาวชิ าการหรอื วชิ าชพี โดยใหม้ ผี ลงานการเขยี นหรอื การนาเสนอผลงานระดบั
นานาชาตอิ ยา่ งน้อยปีละ 1เรอ่ื ง
Encourage lecturers to deliver academic or research papers or in other formats
aiming for international publication; or to present papers in international
academic or professional conferences, at least 1 paper a year.
หมวดท่ี 7 การประกนั คณุ ภาพหลกั สตู ร
Part 7: Quality Assurance of the Program
1. การกากบั มาตรฐาน
Standard Monitoring
การบริหารจดั การหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรท่ีประกาศใช้และเป็นไปตามกรอบ
มาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาตหิ รอื มาตรฐานคณุ วุฒสิ าขาวชิ า โดยมกี ระบวนการดงั ต่อไปน้ี
The management of the curriculum is operated under the announced Curriculum Standard and
according to Thai Qualifications Framework for Higher Education or Qualifications Framework for Program,
as the following procedure:
1.1 การแต่งตงั้ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร โดยแต่งตงั้ จากอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร และมภี าระหน้าทใ่ี น
การบริหารและพฒั นาหลกั สูตรและการเรยี นการสอน อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบจานวน 3 คน มีคุณวุฒิ
ปรญิ ญาเอกหรอื เทยี บเท่า หรอื ขนั้ ต่าปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเท่าทม่ี ตี าแหน่งศาสตราจารย์ และมผี ลงาน
ทางวชิ าการท่ไี ม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาเพ่อื รบั ปรญิ ญา และเป็นผลงานทางวชิ าการทไ่ี ดร้ บั การ
เผยแพรต่ ามหลกั เกณฑท์ ก่ี าหนดในการพจิ ารณาแต่งตงั้ ใหบ้ คุ คลดารงตาแหน่งทางวชิ าการอย่างน้อย
3 รายการ ในรอบ 5 ปียอ้ นหลงั โดยอยา่ งน้อย 1 รายการตอ้ งเป็นผลงานวจิ ยั
Faculties responsible for the curriculum are appointed from the assigned faculties and have
responsibilities to manage and improve the curriculum, studying, and teaching. Three of the
faculties responsible for the curriculum must graduate with Doctoral Degree or equivalence, or
a professor holding at least Master Degree or equivalence, and have an academic publication
that is not part of the Doctoral Degree’s graduation requirement, and have at least 3 academic
publications published within 5 years according to the criteria of the academic position
appointment, and at least 1 publication is research publication.
26
1.2 การวางแผน การพฒั นา และการประเมนิ หลกั สตู รตามรอบระยะเวลาท่กี าหนด โดยมกี ารวางแผน มี
การประเมนิ และรายงานผลการดาเนินงานของหลกั สตู รทุกปีการศกึ ษา (มคอ.7) และนาขอ้ มูลทไ่ี ดไ้ ป
ปรบั ปรุงพฒั นาหลกั สตู รเป็นระยะๆ อย่างน้อยทุกรอบ 5 ปี โดยผ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ
พฒั นาหลกั สตู รและมาตรฐานการศกึ ษา
Planning, improving, and evaluating the curriculum on the specified timeframe. The curriculum
performance will be planned, evaluated, and reported every academic year (TQF.7). Data from
the evaluation outcomes will be used to gradually improve the curriculum at least every 5 years
by the approval of the Committees of Curriculum Improvement and Education Standard.
1.3 การดาเนินงานตามตวั บ่งชผ้ี ลการดาเนินงานเพ่อื การประกนั คุณภาพหลกั สตู รและการเรยี นการสอน
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษา ดงั น้ี
Performance based on the key performance indicators for the quality assurance of the
curriculum and teaching under Thai Qualifications Framework for Higher Education as follows:
1.3.1 กาหนดให้อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพ่อื วางแผน
ตดิ ตามและทบทวนการดาเนนิ งานหลกั สตู ร
Faculties responsible for the curriculum must participated in the meeting at least 80
percent to plan, follow, and review the curriculum performance.
1.3.2 มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ. 2 ท่ีสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดบั อุดมศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละ/หรอื มาตรฐานคุณวฒุ สิ าขาวชิ า
Curriculum has detail based on TQF. 2 template related to Thai Qualifications Framework
for Higher Education or Qualifications Framework for Program.
1.3.3 มกี ารรายงานผลการดาเนินการของรายวชิ า ตามแบบ มคอ. 5 ภายใน 30 วนั หลงั จากสน้ิ สดุ
ภาคการศกึ ษาทเ่ี ปิดสอนใหค้ รบทกุ รายวชิ า
Performance of all courses are reported based on TQF. 5 template within 30 days after
the end of semester.
1.3.4 มีการรายงานผลการดาเนินการของหลกั สูตรตามแบบมคอ.7 ภายใน 60 วนั หลงั ส้นิ สุดปี
การศกึ ษา
Performance of the curriculum is reported based on TQF. 7 template within 60 days after
the end of academic year.
27
2. บณั ฑิต
Graduates
มกี ารประเมนิ คุณภาพของบณั ฑติ ว่ามคี ณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องหลกั สตู ร โดยบณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงคต์ อ้ งมี
คณุ ลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี
Quality of the graduate is evaluated based on the desired attributes specified by the curriculum.
Graduate having the desired attributes are the following:
1.1 เป็นผทู้ ม่ี คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
Have morals and ethics
1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดา้ นการบรหิ ารธุรกจิ และการวจิ ยั เพ่อื ทาดุษฎนี พิ นธเ์ ชงิ ลกึ
Have knowledge and understanding on advanced business administration and research to
develop Doctoral dissertation.
1.3 มีทกั ษะด้านปญั ญา สามารถคดิ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ เสนอแนวความคดิ และ/หรอื ประเมนิ ค่าอย่าง
สรา้ งสรรค์ รวมทงั้ สามารถประยุกตใ์ ชท้ กั ษะและ/หรอื ความรคู้ วามเขา้ ใจทางวชิ าการในการแกป้ ญั หา
อยา่ งเป็นระบบ
Have intellectual skills in creatively analyzing, criticizing, suggesting, and/or evaluating. Able to
apply academic skill and/or understanding in systematic problem solving.
1.4 มที กั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ สามารถแสดงความคดิ เหน็ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
และปรบั ตวั ทางานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดโ้ ดยมคี วามรบั ผดิ ชอบในการทจ่ี ะพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง
Have interpersonal skills and responsibilities. Able to provide appropriate opinion. Able to adjust
to work with others and have responsibility for constant self-improvement.
1.5 มที กั ษะในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ สามารถใช้เทคนิค
พน้ื ฐานทางคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ริ ่วมกบั การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทเ่ี หมาะสมวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดย
สามารถส่อื สารอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพทงั้ การพดู และการเขยี น รู้จกั เลอื กและใช้รูปแบบการนาเสนอท่ี
เหมาะสมสาหรบั ปญั หาและกลุ่มผฟู้ งั ทต่ี ่างกนั
Have skills in quantitative analysis, communication, and usage of information technology. Able
to apply fundamental mathematical and statistical techniques with appropriate information
technology to analyze data and effectively communicate both in speaking and writing. Know
how to select and use appropriate form of presentation for different issues and groups of
audiences.
28
3. นักศึกษา
Students
มกี ระบวนการรบั นักศกึ ษา การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเขา้ ศกึ ษา การใหค้ าปรกึ ษาวชิ าการและแนะแนว การ
คงอยู่ การสาเรจ็ การศกึ ษา ความพงึ พอใจและผลการจดั การขอ้ รอ้ งเรยี นนกั ศกึ ษาดงั ต่อไปน้ี
Have admission process, prior study preparation, academic suggestions and consultants, retention,
graduation, satisfaction, and appeal management of students as follows:
3.1 กระบวนการรบั นักศกึ ษา
Admission Process
หลกั สตู รกาหนดคุณสมบตั ขิ องผทู้ จ่ี ะเขา้ ศกึ ษาในหลกั สตู รไว้ คอื
The curriculum has set the qualifications of the applicants as the following:
1) เป็นผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ เศรษฐศาสตร์ และบญั ชี หรอื สาขา
อ่นื ๆ จากมหาวทิ ยาลยั ในประเทศ หรอื ต่างประเทศทไ่ี ดร้ บั การรบั รองจาก ก.พ.
Graduated with a Master Degree in the areas of business, economics, and accountancy or in
relevant field from any domestic or international university accredited by Office of the Civil
Service Commission of Thailand
2) มผี ลการเรยี นเฉลย่ี สะสมไม่ต่ากวา่ 3.25 หรอื เทยี บเทา่
GPA must be at least 3.25 or equivalent
3) สาหรับผู้สมัครท่ีมีคะแนน IELTS (Academic Band) โดยได้คะแนนเฉล่ียตงั้ แต่ 5.5 และต้องได้
คะแนนในแต่ละ Band ไม่ต่ากว่า 5.0 หรอื คะแนน TOEFL ตงั้ แต่ 500 ขน้ึ ไป (Paper Based) หรอื
173 (Computer Based) หรอื 61 (Internet Based) จะไดร้ บั การยกเวน้ การสอบภาษาองั กฤษ
IELTS (Academic Band) must be 5.5 or above and all bands must be higher than 5; TOEFL
Paper-based score must be 500 or above / TOEFL Computer-based score must be 173 /
TOEFL Internet-based score must be 61 or above / an English language test which approved
by the program committee
4) ผู้สมคั รจะต้องส่งโครงร่างของงานวจิ ยั ท่สี นใจจะดาเนินงาน และจดหมายรบั รองจากอาจารย์ท่ี
ปรกึ ษา หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชา จานวน 3 ฉบบั เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาของคณะกรรมการ
The applicants are required to submit research proposal and 3 letters of recommendation
from academic and work.
5) เป็นผู้ท่ีผ่านเกณฑ์การคดั เลือกผู้สมัคร และผ่านการสอบสมั ภาษณ์โดยคณะกรรมการบริหาร
หลกั สตู ร
All applicant must be past both requirements and an interview arranged by DBA committee.
29
6) เป็นผู้ท่ีมีคุณสมบัติตรงตามระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยว่าด้วยการศึกษาในระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ.2553
Holding qualifications that meet the University of the Thai Chamber of Commerce’s
regulations regarding the graduate accreditation 2013.
7) ในกรณีท่ีคุณสมบัติของผู้สมัครไม่ตรงตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะ
กรรมการบรหิ ารหลกั สตู รพจิ ารณา โดยคานงึ ถงึ มาตรฐานการศกึ ษา
In cases applicants’ academic qualification do not meet the requirement status above, the
final decision will be reviewed and approved by the Graduate School committees. The
committee will take into consideration the university’s academic standard prior to the
acceptance of applicants.
3.2 การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเข้าศกึ ษา
Preparation before Study
หลกั สตู รมรี ะบบและกลไกเพ่อื นาไปส่กู ารปฏบิ ตั ิงานโดยอาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รในการประชุม
วางแผนในการดาเนินการเพ่อื การเตรยี มความพรอ้ มใหน้ ักศกึ ษาก่อนเขา้ ศกึ ษาและมอบหมายหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบ
ใหแ้ ก่อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา
Curriculum has system and mechanism in the operation of the faculties responsible for the
curriculum to arrange meeting for planning in the preparation of the new intakes and assigning
responsibilities to the advisor.
3.3 การให้คาปรกึ ษาวิชาการและแนะแนว การคงอยู่ การสาเรจ็ การศึกษา
Academic Advice and Guidance, Retention, and Graduation
หลักสูตรมรี ะบบและกลไกเก่ียวกับการดูแลให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศกึ ษาเพ่อื ให้มี
แนวโน้มอตั ราการคงอยู่ และอตั ราการสาเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ทส่ี งู โดยอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รมกี ารประชมุ
เพ่อื กาหนดระบบและกลไกการดูแลให้คาปรกึ ษาทางด้านวชิ าการและแนะแนวแก่นักศกึ ษา และมกี ารกาหนด
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาเพอ่ื ดแู ลนกั ศกึ ษา ดงั น้ี
Curriculum has system and mechanism in giving academic advice and guidance to students for
heighten the level of retention and graduation. Facilities responsible for the curriculum will arrange meeting
to set system and mechanism in giving academic advice and guidance to students, as well as appointing
an advisor to take care of students as follows:
3.3.1 หลกั สตู รจะแต่งตงั้ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาทม่ี คี วามรแู้ ละความชานาญตรงกบั หวั ขอ้ ดุษฎนี ิพนธ์
ของนกั ศกึ ษา พรอ้ มทงั้ ระบุความรบั ผดิ ชอบและหน้าทข่ี องทป่ี รกึ ษาอยา่ งชดั เจน
The program will assign a supervisor to each student and specify the role and
responsibility of the supervisor.
3.3.2 อาจารย์ท่ปี รึกษาทุกคนกาหนดตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบอย่างสม่าเสมอเพ่อื ให้
คาแนะนาและตรวจสอบความกา้ วหน้าของนกั ศกึ ษาในการจดั ทาดษุ ฎนี พิ นธ์ โดยจะตอ้ งมี
การบนั ทกึ การเขา้ พบเป็นเอกสารเพอ่ื จดั สง่ ใหแ้ กห่ ลกั สตู ร
30
The supervisor will arrange regular meetings with his student, aiming to provide
supervision and to monitor the progress of study. Supervision forms will be
submitted to the program every semester to ensure proper supervision is provided
by the supervisor
3.3.3 อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาทาหน้าทใ่ี หค้ าแนะนาทางวชิ าการและกจิ กรรมแกน่ กั ศกึ ษา
The advisor has the duty to advise students in academic area and activities.
3.4 ความพึงพอใจและการจดั การข้อรอ้ งเรียนของนักศึกษา
Satisfaction and Appeals of Students
มหาวทิ ยาลยั และคณะเปิดโอกาสใหน้ กั ศกึ ษาอุทธรณ์ในเร่อื งต่าง ๆ โดยกาหนดเป็นกฎระเบยี บและกระ
บวนการในการพจิ ารณาคาอุทธรณ์ พร้อมทงั้ ประชาสมั พนั ธ์ช่องทางการอุทธรณ์ให้แก่นักศกึ ษา โดยสามารถ
รอ้ งเรยี นผ่านผอู้ านวยการหลกั สตู รของแต่ละสาขาโดยตรง
University and the School offer the opportunity for the students to appeal on various issues by
defining rules and procedures for consideration of the appeal, and promoting the channels for student to
appeal.
4. อาจารย์
Faculty Members
4.1 ระบบและกลไกการรบั อาจารยใ์ หม่
New Faculty Members Recruitment
อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รมกี ารประชุมร่วมกนั เพ่อื วางแผนและตรวจสอบคุณสมบตั อิ าจารยป์ ระจา
หลกั สูตรใหเ้ ป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาเอก พ.ศ. 2558 จากนัน้ จงึ สารวจจานวนอาจารย์
ประจาหลกั สตู รทค่ี งอยู่ อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทจ่ี ะเกษยี ณหรอื ลาออก เพ่อื วางแผนอตั รากาลงั ในอนาคต หาก
อตั รากาลงั ไม่เพยี งพอ หลกั สูตรเสนอขออนุมตั ิรบั อาจารย์เพม่ิ ต่อคณะวชิ า และมหาวทิ ยาลยั ตามระเบยี บของ
มหาวทิ ยาลยั มกี ารคดั เลอื กอาจารยใ์ หม่โดยพจิ ารณาคุณสมบตั ใิ หส้ อดคลอ้ งกบั เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั
ปรญิ ญาเอก พ.ศ. 2558 และมกี ารสอบคดั เลอื ก โดยสอบขอ้ เขยี น สอบสมั ภาษณ์ และสาธติ การสอน นอกจากน้ี
หลกั สตู รยงั ไดม้ อบหมายใหอ้ าจารยป์ ระจาหลกั สตู รทม่ี ปี ระสบการณ์เป็นพเ่ี ลย้ี งใหค้ าแนะนาเกย่ี วกบั การเรยี นการ
สอน
Faculties responsible for the curriculum arrange meeting to plan and investigate the qualifications
of the curriculum faculty based on the qualification framework of Doctoral Degree year 2558. Number of
existing and retired faculties will be assessed to plan for the required manpower. If there is inadequate
number of manpower, the curriculum will submit the new faculty recruitment for approval by the Scholl of
Business and university according to the university regulations. Applicants will be screened using written
examination, interview, and teaching demonstration based on the qualification framework of Doctoral
Degree year 2558. Moreover, the curriculum will assigned the curriculum faculty having high experience
to give suggestion about teaching.
31
4.2 ระบบและกลไกการบริหารและการพฒั นาอาจารย์
System and Mechanism of Faculty Management and Improvement
อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตรมกี ารประชุมร่วมกนั เพ่อื วางแผนส่งเสรมิ และพฒั นาอาจารย์ประจา
หลกั สูตร โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ประจาหลกั สูตรเขา้ ร่วมอบรมด้านการวจิ ยั การทาผลงานทาง
วชิ าการเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพของอาจารย์ประจาให้เป็นไปตามมาตรฐานและมีศกั ยภาพทส่ี ูงขน้ึ เพ่อื ส่งผลต่อ
คุณภาพของหลกั สตู ร หากเป็นอาจารย์ใหม่จะส่งเสรมิ และสนับสนุนใหอ้ าจารยใ์ หม่เขา้ อบรมเพ่อื ใหม้ คี วามรใู้ น
ดา้ นเทคนิควธิ กี ารสอน การวดั ผลประเมนิ ผล ตลอดจนจรรยาบรรณและระเบยี บปฏบิ ตั ทิ เ่ี กย่ี วขอ้ ง
Faculties responsible for the curriculum arrange meeting to plan on enhancing and improving
potential of the faculties for higher standard by providing support and encourage them to participate in
research training, develop academic work, which will affect quality of the curriculum. If he or she is a new
faculty, the curriculum will promote and support him or her to train in order to have knowledge on teaching
technique and evaluation, as well as ethics and related rules.
5. หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผเู้ รียน
Curriculum, Teaching, and Student Evaluation
5.1 กระบวนการออกแบบหลกั สตู ร
Process of Curriculum Design
กระบวนการประกอบไปดว้ ย การสารวจสถานการณ์ปจั จุบนั ทางเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม การ
สารวจความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ และภาวะการมงี านทาของบณั ฑติ และการสารวจความพงึ พอใจของศษิ ยเ์ ก่า
และศษิ ยป์ จั จุบนั ต่อหลกั สตู ร เพ่อื นาผลมาใชใ้ นการออกแบบและปรบั ปรุงหลกั สตู รตลอดจนถงึ การจดั ทารายวชิ า
ใหท้ นั สมยั
Process of curriculum design includes assessment of current economic, social, and cultural
situation, assessment of employers’ satisfaction and graduate’s employment, and assessment of alumni’s
and current student’s satisfaction on curriculum in order to use these data to design and improve the
curriculum as well as to update courses.
5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจดั การเรยี นการสอน
System Layout of Lecturer and Process of Teaching Management
เพ่ือให้การดาเนินงานด้านการเรียนการสอนของหลักสูตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาจารย์
ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รจะพจิ ารณาแผนการศกึ ษาของนกั ศกึ ษาเพ่อื วางแผนกาหนดรายวชิ าทจ่ี ะเปิดสอน เวลาเรยี น-
เวลาสอบ และผู้สอน โดยการจดั ผูส้ อนในแต่ละภาคการศกึ ษานัน้ ได้พจิ ารณาทงั้ จากความรู้ ความสามารถใน
เน้ือหาวชิ าและประสบการณ์ในการสอน ซง่ึ ถอื ว่ามคี วามสาคญั เป็นอันดบั ต้น ๆ รวมถงึ พจิ ารณาเร่อื งเวลาเรยี น-
เวลาสอบทไ่ี ม่ซ้าซอ้ นกบั วชิ าในสาขาอ่นื ๆ ทน่ี ักศกึ ษาลงทะเบยี นเรยี น ตารางเวลาทเ่ี หมาะสมทงั้ กบั ผเู้ รยี นและ
ผสู้ อน
In order to effectively make the progress of teaching, faculties responsible for the curriculum will
consider the study plan of students to plan for opening courses, setting course schedule and lecturers.
The priorities of assignment of lecturers will be considered based on knowledge and capabilities in course
description, and teaching experience. Overlap and appropriateness of course schedule will also be taken
into consideration.
32
5.3 การประเมินผเู้ รยี น
Students Evaluation
มรี ะบบและกลไกในการประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาตโิ ดยมี
ระบบ/ขนั้ ตอนการประเมนิ ผเู้ รยี นซง่ึ ปรากฏอย่ใู นคมู่ อื แนวทางการประเมนิ ผเู้ รยี นตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ และ
มกี ลไก คอื คมู่ อื แนวทางการประเมนิ ผเู้ รยี นตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ และคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รมหี นา้ ท่ี
กากบั ดูแลและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนและประเมนิ หลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ สาขาวชิ ามี
การนาระบบและกลไกการประเมนิ ผู้เรียนไปสู่การปฏิบตั ิ/ดาเนินงาน โดยมีการแต่งตงั้ อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบ
หลกั สตู รเพ่อื กากบั ดูแลและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนและประเมนิ หลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
มกี ารกาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ซง่ึ ระบุไวใ้ น มคอ.3 ของรายวชิ าทเ่ี ปิดสอนอย่างชดั เจน ภายใน 30 วนั ก่อนเปิด
ภาคการศกึ ษา
Have system and mechanism to evaluate learning outcomes based on Thai Qualifications
Framework for Higher Education by having the system or process to evaluate students, which are shown
in the Evaluation of Learning Outcome Manual based on the Qualifications Framework for Program. The
curriculum management committees have duties to supervise and evaluate the management of learning
and teaching, and evaluate the curriculum under the Qualifications Framework for Program. System and
mechanism of student evaluation are brought into practice by appointing the faculties responsible for the
curriculum to supervise and evaluate the outcomes of learning and teaching as well as the curriculum
under the Qualifications Framework for Program. Evaluation criteria are clearly identified in TQF. 3 within
30 days prior to the semester begins.
ในส่วนของผูส้ อนอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบในแต่ละรายวชิ าทเ่ี ปิดสอนในปีการศกึ ษานัน้ ๆ ของหลกั สูตรจะ
ดาเนินการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิของนักศกึ ษาในแต่ละรายวิชา ตามกลยุทธ์การ
ประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ งั้ 5 ดา้ น หลงั จากเสรจ็ สน้ิ กระบวนการจดั การเรยี นการสอน และเม่อื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ของนักศกึ ษาแล้ว อาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบในแต่ละรายวชิ าจะดาเนินการจดั ทารายงานผลการจดั การเรยี นการสอน
(มคอ. 5) ของรายวชิ า ภายใน 30 วนั หลงั สน้ิ สุดภาคการศกึ ษา ภายใต้การกากบั ติดตาม และตรวจสอบของ
อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร
For the lecturers responsible for each course opening in the particular semester of the curriculum,
they will be evaluated based on learning outcomes under the Qualifications Framework for Program, and
the 5 strategies to evaluate learning outcomes. After the completion of both the learning and teaching
process, and the evaluation of learning outcome of students, faculties responsible for each course will
develop the learning and teaching report (TQF. 5) of each course within 30 days after the end of semester
under the directing, following, and investigating of the faculties responsible for the curriculum.
6. สิ่งสนับสนุนการเรยี นรู้
Learning Support
หลกั สตู รจดั ใหม้ กี ารประชุมเพ่อื ใหอ้ าจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รและอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทุกท่านกาหนด
สง่ิ สนบั สนุนการเรยี นรทู้ จ่ี าเป็นต่อการจดั การเรยี นการสอน และหลกั สตู รจะนาเสนอต่อคณะวชิ าและหน่วยงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งเพ่อื ดาเนนิ การต่อไป
Faculties responsible for the curriculum and all faculties will be arranged to meet for setting the
learning support necessary for learning and teaching. Then, these will be submitted for approval by the
Scholl of Business and related departments.
33
7. ตวั บ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators)
ปรบั ตวั บ่งชผ้ี ลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ใิ หเ้ หมาะสมโดยเป็นไปตามหนงั สอื ท่ี ศธ.0506(1) /
ว1639 ลงวนั ท่ี 24 ธนั วาคม 2558 และไดร้ บั การอนุมตั /ิ เหน็ ชอบจากสภามหาวทิ ยาลยั ในการประชุมครงั้ ท่ี 3/2559
เมอ่ื วนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2559
Key performance indicators are adjusted based on the Qualifications Framework for Program referring
to ศ ธ . 0506(1) / ว 1639 on 24 December 2015 and getting approval by the University Council on the 3th
meeting on 4 May 2016.
ดชั นีบง่ ชี้ผลการดาเนินงาน ปี ที่ 1 ปี ท่ี 2 ปี ที่ 3 ปี ท่ี 4 ปี ที่ 5
Key Performance Indications
(1) อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรอี ย่างน้อย 4 x x x x x
คน และอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาโท/เอก
อย่างน้อย 3 คน ทม่ี สี ว่ นร่วมในการประชุมแต่ละครงั้ เพ่อื
วางแผน ตดิ ตาม และทบทวนการดาเนินงานหลกั สตู ร
Faculty members responsible for the Bachelor Degree
program at least 4 persons, and faculty members
responsible for the Master/Doctoral Degree program at
least 3 persons participate in meeting for planning,
monitoring and reviewing the curriculum operation.
(2) มรี ายละเอยี ดของหลกั สตู รตามแบบ มคอ.2 ทส่ี อดคลอ้ งกบั x x x x x
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือ
มาตรฐานคุณวฒุ สิ าขา/สาขาวชิ า (ถา้ ม)ี
Having details of the curriculum in accordance with the
format of TQF.2 which is consistent with the Thailand
Qualifications Framework for Higher Education (if any).
(3) มรี ายละเอยี ดของรายวชิ าและรายละเอยี ดของประสบการณ์ x x x x x
ภาคสนาม (ถ้าม)ี ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อย
กอ่ นการเปิดสอนในแต่ละภาคการศกึ ษาใหค้ รบทุกรายวชิ า
Having details of all the course and field experience (if
any) in accordance with the format of TQF. 3 and TQF.4
before the semester begins
(4) จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ า และรายงาน x x x x x
ผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถา้ ม)ี ตาม
แบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วนั หลงั สน้ิ สดุ การสอบ
วนั สดุ ทา้ ยของภาคการศกึ ษาทเ่ี ปิดสอนใหค้ รบทุกรายวชิ า
Preparation of a report on the implementation of all
courses and field experience (if any) in accordance with
the format of TQF. 5 and TQF.6 within 30 days after the
last day of the final exam of each semester.
34
ดชั นีบง่ ชี้ผลการดาเนินงาน ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ท่ี 3 ปี ท่ี 4 ปี ที่ 5
Key Performance Indications
(5) จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรตามแบบ x x x x x
มคอ.7 ก่อนการตรวจประเมินหลกั สูตรแต่ไม่เกนิ 60 วนั
หลงั สน้ิ สดุ ปีการศกึ ษา
Preparation of a report on the implementation of the
program in accordance with the format of TQF.7 before
evaluation of the curriculum, not exceeding 6 0 days
from the end of the academic year.
(6) มกี ารทวนสอบผลการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษาตามมาตรฐานผล x x x x x
การเรียนรูท้ ่กี าหนด อย่างน้อยรอ้ ยละ 40 ของรายวชิ าใน
หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น กลุ่มวชิ าแกนและกลุ่มวชิ าเอกทเ่ี ปิด
สอนในแต่ละปีการศกึ ษาของทุกหลกั สตู ร
Verification of the achievement of student learning
outcomes in accordance with the learning outcomes
standard at least 40 percent of core and major courses
teaching in each academic year
(7) มกี ารพฒั นา/ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นการสอนกลยุทธ์การ xxxx
สอน หรอื การประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากผลการประเมนิ การ
ดาเนนิ งานทร่ี ายงานใน มคอ.7 ปีทผ่ี ่านมา
The development / improvement of teaching and
learning, teaching strategies and the evaluation of
learning based on the details reported in TQF. 7 of the
previous year.
(8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือ x x x x x
คาแนะนาดา้ นการจดั การเรยี นการสอน
All new lecturers (if any) have received orientation or
advice on teaching and learning.
(9) อาจารย์ประจาทุกคนได้รบั การพฒั นาทางวิชาการ และ/ x x x x x
หรอื วชิ าชพี อยา่ งน้อยปีละหน่งึ ครงั้
Each lecturer has the academic and / or professional
development at least once a year.
(10) จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรยี นการสอน (ถ้ามี) ได้รบั x x x x x
การพฒั นาวชิ าการ และ/หรอื วชิ าชพี ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 50
ต่อปี
The number of personnel supporting the teaching and
learning (if any) has academic and / or profession
development for at least 50 percent per year.
35
ดชั นีบง่ ชี้ผลการดาเนินงาน ปี ที่ 1 ปี ท่ี 2 ปี ที่ 3 ปี ท่ี 4 ปี ท่ี 5
Key Performance Indications
(11) ระดบั ความพงึ พอใจของนักศกึ ษาปีสุดทา้ ย/บณั ฑติ ใหมท่ ม่ี ี xxx
ต่อคุณภาพหลกั สูตร เฉล่ยี ไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน
เตม็ 5.0
The satisfaction of final year students / new graduates
regarding the quality of the curriculum is on average at
least 3.51 points out of total 5.0.
(12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อบัณฑิตใหม่ xx
เฉลย่ี ไมน่ ้อยกวา่ 3.51 จากคะแนนเตม็ 5.0
The satisfaction of the employer to the new graduates
is on average at least 3.51 points out of total 5.0.
หมวดท่ี 8 การประเมินและปรบั ปรงุ การดาเนินการของหลกั สตู ร
Part 8: Program Evaluation and Development
1. การประเมินประสิทธิผลการสอน
Evaluation of Teaching Effectiveness
1.1 การประเมินกลยุทธก์ ารสอน
Evaluation of Teaching Strategies
1.1.1 อาจารยป์ ระจาวชิ าประชุมร่วมกนั เพ่อื แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะการใชก้ ลยทุ ธ์
การสอนในรายวชิ า
Lecturers have regular meeting together to exchange and discuss the ideas and
suggestions for teaching strategies.
1.1.2 ประเมนิ การเรยี นรู้ของนักศกึ ษาจากพฤติกรรมการแสดงออก การอภิปรายโต้ตอบ การตอบ
คาถามในชนั้ เรยี น การทากจิ กรรม และผลการสอบ
Assessment of student learning by observing students’ behavior, interaction participation,
class activities and examination.
1.2 การประเมินทกั ษะของอาจารยใ์ นการใช้แผนกลยุทธก์ ารสอน
Evaluation of Teaching Skills
1.2.1 เม่อื สน้ิ สุดการเรยี นการสอนในรายวชิ า นักศกึ ษาประเมนิ การสอนอาจารยป์ ระจาวชิ า โดยใช้
แบบประเมนิ การสอนตามทม่ี หาวทิ ยาลยั กาหนด
Students will evaluate the lecturers at the end of the semester using the University’s
evaluation system.
1.2.2 ทดสอบผลการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษาโดยเทยี บเคยี งกบั นกั ศกึ ษากลุ่มอ่นื ในวชิ าเดยี วกนั
Test the learning of students by other comparable student groups in the same subjects.
36
2. การประเมินหลกั สูตรในภาพรวม
Overall Program Evaluation
2.1 ประเมนิ จากนกั ศกึ ษาปีสดุ ทา้ ยหรอื บณั ฑติ
Evaluate the satisfaction of senior students or new graduates.
2.2 ประเมนิ จากการสารวจความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ
Evaluate the satisfaction of the employer by survey.
2.3 ประเมนิ จากรายงานสรุปผลการวพิ ากษห์ ลกั สตู รจากผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอก
Evaluation by experts outside the University.
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลกั สตู ร
Evaluation of the Program Implementation
3.1 การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาประจาปี ตามดชั นีตวั บ่งชก้ี ารประกนั คณุ ภาพภายใน ระดบั สาขาวชิ า
Annual quality assurance relating to the indicators of Self-Assessment Reports.
3.2 ผ่านการประเมนิ การประกนั คณุ ภาพภายในของสาขา
Pass quality assurance requirements relating to such indicators of Self-Assessment Reports.
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรงุ หลกั สูตร
Revision of the Results of Program Evaluation and Improvement
4.1 เม่อื สน้ิ สุดการเรียนการสอนของภาคการศกึ ษา อาจารย์ประจาวิชาทบทวนผลประเมินการสอนโดย
นกั ศกึ ษา และดาเนนิ การปรบั ปรงุ ประสทิ ธผิ ลการสอน
At the end of each semester, lecturers review the students’ teaching evaluation to improve their
teaching effectiveness.
4.2 ผู้อานวยการหลักสูตรและอาจารย์ประชุมร่วมกนั พิจารณาทบทวนผลการดาเนินงานของหลกั สูตร
ประจาปีการศกึ ษา โดยรวบรวมขอ้ มลู ผลการประเมนิ การสอนโดยนกั ศกึ ษา ผลการพจิ ารณาขอ้ สอบและ
คะแนนสอบปลายภาคของคณะกรรมการมาตรฐานการศึกษา รายงานผลการวิพากษ์หลักสูตรของ
คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตรและมาตรฐานการศกึ ษา ความคิดเหน็ ของผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอก ผู้ใช้
บัณฑิต และศิษย์เก่า ตลอดจนรายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน เพ่ือวางแผนปรับปรุงการ
ดาเนินงานหลกั สตู รในปีการศกึ ษาต่อไป
Director and lecturers conduct regular meetings and review the program implementation annually,
including teaching assessment, co-operative education assessment, external committee’s
examination and grade assessment, external experts’ evaluation and suggestions, alumni and
employers’ opinion, etc.
37
ตารางเปรยี บเทยี บหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ หลกั สตู ร พ.ศ.2555 กบั หลกั สตู รปรบั ปรงุ
พ.ศ. 2560 (หลกั สตู รสองภาษา)
Comparison table of curriculum version 2008 and version 2017
38
ตารางเปรยี บเทียบหลกั สตู รบริหารธรุ กิจดษุ ฎีบณั ฑิต (หลกั สตู รนานาชาติ) (หลกั สตู รเดิม พ.ศ.2555)
กบั หลกั สูตรบริหารธรุ กิจดษุ ฎีบณั ฑิต (หลกั สูตรสองภาษา) (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
Table of Comparison of Doctor of Business Administration Curriculum, International Program
(Curriculum Year 2012) and Doctor of Business Administration Curriculum, Bilingual Program,
(Revised Curriculum Year 2017)
1. ช่ือหลกั สตู ร
Curriculum Title
หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 เหตผุ ล
Reason
Revised Curriculum Year 2015 Revised Curriculum Year 2017 ปรบั ปรุงจาก
หลกั สตู รนานาชาติ
ภาษาไทย ภาษาไทย เป็นหลกั สตู รสองภาษา
หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ Revise from
(หลกั สตู รนานาชาต)ิ (หลกั สตู รสองภาษา) International Program
ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ To Bilingual Program
Doctor of Business Administration Program Doctor of Business Administration Program
(International Program) (Bilingual Program)
Thai Thai
หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ
(หลกั สตู รนานาชาต)ิ (หลกั สตู รสองภาษา)
English English
Doctor of Business Administration Program Doctor of Business Administration Program
(International Program) (Bilingual Program)
2. ช่ือปริญญา
Degree Title
หลกั สูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 เหตผุ ล
คงเดมิ
ช่ือเตม็ (ไทย) ชื่อเตม็ (ไทย)
บรหิ ารธรุ กจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ บรหิ ารธรุ กจิ ดุษฎบี ณั ฑติ
ช่ือยอ่ (ไทย) ช่ือยอ่ (ไทย)
บธ.ด. บธ.ด.
ช่ือเตม็ (องั กฤษ) ช่ือเตม็ (องั กฤษ)
Doctor of Business Administration Doctor of Business Administration
ช่ือยอ่ (องั กฤษ) ช่ือยอ่ (องั กฤษ)
D.B.A. D.B.A.
39
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 Reason
Same
Full Title (Thai) Full Title (Thai)
บรหิ ารธรุ กจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ บรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ
Abbreviation (Thai) Abbreviation (Thai)
บธ.ด. บธ.ด.
Full Title (English) Full Title (English)
Doctor of Business Administration Doctor of Business Administration
Abbreviation (English) Abbreviation (English)
D.B.A. D.B.A.
3. โครงสรา้ งหลกั สตู ร
Curriculum Structure
หลกั สูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 เหตผุ ล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 Reason
จานวนหน่วยกิต 60 หน่วยกิต จานวนหน่วยกิต 54 หน่วยกิต ปรบั ปรงุ
Number of Credit 60 หน่วยกิต Number of Credit 54 หน่วยกิต Revised
กลุ่มวชิ าบงั คบั 12 กลมุ่ วชิ าบงั คบั 18 เพม่ิ จานวนหน่วยกติ
Core Courses 12 Core Courses 18 Increase number of
credit
กล่มุ วชิ าเอก 9 กลมุ่ วชิ าเอก - ยกเลกิ กลุ่มวชิ าเอก
Major Courses 9 Major Courses - Cancel Major
Courses
กลุ่มวชิ าเลอื ก 3 กลุ่มวชิ าเลอื ก - ยกเลกิ กลุ่มวชิ าเลอื ก
Elective Courses 3 Elective Courses - Cancel Elective
Courses
ดุษฎนี ิพนธ์ 36 ดษุ ฎนี ิพนธ์ 36 คงเดมิ
Doctoral Dissertation 36 Doctoral Dissertation 36 Same
40
คาอธิบายรายวิชา
Course Description
1. กลุม่ วิชาบงั คบั 18 หน่วยกิต
Core Courses 18 Credits
หลักสูตรเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560 เหตุผล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 ประกอบ
Reason
DB711 ทฤษฎเี ศรษฐศาสตร์จลุ ภาค 3(3-0-6) - ยกเลิกรายวิชา
Cancel
(Microeconomic Theory) - Course
ทฤษฎีผู้บริโภค ทฤษฎีของบริษัท ดุลยภาพของตลาด ความพอใจและ ยกเลกิ รายวิชา
Cancel
อรรถประโยชน์ การแลกเปล่ียน การผลติ การตง้ั ราคา และโครงสร้างตลาด Course
Consumer theory, theory of the firms, market equilibrium, preferences เปลย่ี นรหสั
and utility, exchange, production, pricing, and market structures. วชิ าและ
ปรบั
DB712 ทฤษฎีทางสงั คมวทิ ยา 3 (3-0-6) คาอธบิ าย
รายวชิ า
(Sociological Theory)
Change
ความรู้เชิงทฤษฎีทางสังคมวิทยา กระบวนการและกิจกรรมทางสังคม ทฤษฎี Course
การแลกเปล่ียน โครงสร้างและปฏิสัมพนั ธ์ทางสังคม ปรากฏการณ์ทางสังคม ประเด็น Code and
Course
ทางสังคม และการเมืองร่วมสมยั และอนาคต Descripti
Theoretical knowledge of sociological theories, social process and on
activities, exchange theory, social structure and interaction, phenomenological
sociology, and contemporary and future social and political issues.
DB713 การวจิ ยั เชิงปริมาณขน้ั สงู 3 (3-0-6) DB773 การวิจยั เชงิ ปริมาณขั้นสูง 3 (3-0-6)
(Advanced Quantitative Research) (Advanced Quantitative Research)
แนวคิด ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้เคร่อื งมอื ในการ
วิเคราะห์เชงิ ประจกั ษ์ โดยครอบคลุมปรชั ญาพ้นื ฐานและ
เป้าหมายของการวจิ ยั การออกแบบวจิ ยั การสรา้ งมาตรวดั
การทดสอบความแม่นตรงและเช่ือถือได้ ตัวแบบไม่เป็น
เสน้ ตรง ตวั แปรเคร่อื งมอื เทคนคิ การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์
ระหว่างขอ้ มูลโดยวธิ สี ถติ แิ บบใชพ้ ารามเิ ตอร์และสถติ ทิ ไ่ี ม่
การพฒั นาพื้นฐานทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้เครอื่ งมือในการวิเคราะห์เชิง ใช้พารามเิ ตอร์ การวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนมลั ติแวรเิ อท
ประจกั ษ์ ซง่ึ ประกอบด้วย ตวั แบบไมเ่ ป็นเสน้ ตรง ตวั แปรเคร่ืองมือ และ ขอ้ มลู อนกุ รม
ภาคตัดขวาง หลักการพื้นฐานในการวิเคราะห์โดยใช้ตัวอย่างประกอบ และการ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ การวิเคราะห์เส้นทาง การ
มอบหมายงานเก่ียวกบั การวิเคราะหช์ ดุ ขอ้ มูล
วเิ คราะหจ์ าแนกแยกกลุ่ม การวเิ คราะหส์ หสมั พนั ธแ์ คนอนิ
Developing the theoretical basis and practical application of the most
common tools of empirical analysis, including non-linear models, instrumental คอล การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ
variables, and panel data. Fundamental analysis with hands-on examples and
assignments involving the analysis of data sets. Concepts, theories, and practical application of
the most common tools of empirical analysis, including
fundamental philosophy and research objective,
research design, scale construction, test of validity and
reliability, non-linear models, instrumental variables,
techniques of correlation analysis either with or without
parameters, Concept of multivariate analysis, multiple
regression analysis, path analysis, discrimination
analysis, canonical analysis, and factor analysis.
41
หลกั สตู รเดมิ พ.ศ. 2555 หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 เหตผุ ล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 ประกอบ
Reason
DB714 การวจิ ยั เชงิ คุณภาพขั้นสงู (Advanced 3 (3-0-6) DB774 การวจิ ัยเชิงคุณภาพข้นั สูง (Advanced Qualitative 3 (3-0-6) เปลีย่ นรหสั
Qualitative Research) Research) วิชา
Change
การทดสอบเชิงคุณภาพทางสังคมศาสตร์และวิธีการวิจัยธุรกิจ หลักการของ การทดสอบเชิงคุณภาพทางสังคมศาสตร์และวิธีการวิจัยธุรกิจ หลักการของ Course
Code
วิธีการวิจัยประเภทต่าง ๆ รวมท้ังกระบวนการวิเคราะห์เทคนิคต่างๆ ท่ีประกอบด้วย วิธีการวิจัยประเภทต่าง ๆ รวมทั้งกระบวนการวิเคราะห์เทคนิคต่างๆ ท่ีประกอบด้วย
รายวิชาใหม่
การสังเกตภาคสนาม เดลฟาย การวิเคราะห์อภิปราย ประวตั ิศาสตร์จากคาบอกเล่า และ การสงั เกตภาคสนาม เดลฟาย การวเิ คราะหอ์ ภิปราย ประวตั ิศาสตร์จากคาบอกเลา่ และ New Course
การสมั ภาษณ์เชงิ ลึก การสัมภาษณ์เชิงลกึ
Examination of qualitative social science and business research Examination of qualitative social science and business research
methods, particularly rationale behind these methods, how and when they are methods, particularly rationale behind these methods, how and when they are
employed, and processes of analyzing field observations, Delphi, meta- employed, and processes of analyzing field observations, Delphi, meta-
analysis, oral histories, and in-depth interviews. analysis, oral histories, and in-depth interviews.
- DB771 ทฤษฎแี ละกลยุทธ์การจัดการข้ันสงู 3 (3-0-6)
(Advanced Management Theory and Strategy)
ภาพรวมบทบาทของทฎษฎีและการสร้างทฤษฎีในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดการธุรกิจ สารวจการตีความของทฤษฎีในด้านการวิจัยและการปฏิบัติทางธุรกิจ
สอบสวนข้อโต้แย้งทางทฤษฎีที่สาคัญ สร้างความคุ้นเคยกับวารสารบทความทาง
วิชาการด้านการจัดการธุรกิจ พัฒนาความสามารถเชงิ ลึกในการวิเคราะห์และประเมนิ
บทความทางวิชาการ การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและแนวคิดที่หลากหลายเพ่ือรวบรวม
ความคิดเพอ่ื สร้างความเข้าใจองค์รวมในทฤษฎีการจดั การทางธุรกิจซ่ึงจะเป็นการสร้าง
ความเข้าใจในมุมมองทางด้านทฤษฎีท่ีใช้ในการวิจัยธุรกิจจากวรรณกรรมด้านธุรกิจ
ต่างๆอย่างถ่องแท้ เพื่อเป็นพื้นฐานในการพฒั นางานวิจัยและการปฏิบัติทางการจัดการ
ธุรกิจในอนาคต
A broad overview of the role of theory and theory building in business
management related. Explore the implications of these theories for both
business research and practice; Investigate some of the important debates of
these theories; Become familiar with academic publications in business
management; Develop an ability to critically analyze and evaluate such
publications; Application of various business management theories and
concepts to integrate the diverse schools of thought toward an inclusive theory
of management in business that would give a greater understanding with
theoretical and philosophical perspectives used in business research in the
current business literature and serve as the backdrop for future business
management research and practice.
- DB772 การออกแบบและระเบยี บวธิ กี ารวิจัย 3 (3-0-6) รายวชิ าใหม่
(Research Design and Methodology) New Course
แนวคดิ ทฤษฎี การออกแบบวิจัยข้ันสูง ความหมาย ลกั ษณะและธรรมชาติของ
การวิจัยขั้นสูง ประเภทของการวิจัย กระบวนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย และ
หลักการออกแบบการวิจัยทางการศึกษาแบบต่าง ๆ ท้ังการวิจัยเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพ และผสมผสานวิธีการประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยข้ันสูง การวิเคราะห์เน้ือหา
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าหรับการวิเคราะห์ขอ้ มลู โดยใช้สถิติข้ันสูง การแปลผล
การเขียนรายงานการวิจัย การสังเคราะห์และการนาผลการวิจัยไปใช้ รวมถึง
จรรยาบรรณสาหรบั นกั วิจยั
Concept; theory; advanced research design; meaning, characteristics,
and nature of advanced research; research methods; research process;
research project write-up; principles of research design including both
quantitative and qualitative research; mix of research application methods;
content analysis; use of computer programs for advanced statistical data
42
หลกั สตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 เหตุผล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 ประกอบ
Reason
- analysis; data interpretation; research report write-up; synthesis and รายวิชาใหม่
New Course
- implication of research result; ethics of researcher.
รายวิชาใหม่
DB781 สมั มนาระดับดษุ ฎบี ณั ฑิตดา้ นธุรกิจ 3 (3-0-6)
(Doctoral Seminar in Business)
การวิเคราะห์ อภิปราย ถึงแนวคิด ทฤษฎี ประเด็นใหม่ๆ ทางด้านการ
บริหารธุรกิจ การจัดการ การตลาด การเงินและสาขาอื่นๆท่ีเก่ียวข้องที่น่าสนใจใน
ปัจจุบัน จากบทความวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติท่ีสอดคล้องกับทฤษฎี
ทางดา้ นการบริหารจดั การธุรกิจ และศาสตรแ์ ขนงต่างๆที่เก่ียวข้อง มุ่งเน้นใหเ้ กิดความ
เข้าใจในการพัฒนากรอบแนวคิดในศาสตร์ในการดาเนินงานวิจัยประเภทต่างๆที่มี
ความสนใจ การทบทวนและการเขียนวรรณกรรม การออกแบบวิธีวิจัย การนาเสนอ
และการอภปิ รายผลวจิ ัย ซ่งึ จะช่วยในการพัฒนาเคา้ โครงและการเขียนดุษฏนี ิพนธ์
Critical analysis and discussion on concepts, theories, and current
issues in business administration, management, marketing, finance, and
related fields from international business management academic publications
and related fields to develop conceptual framework. This aims to develop
conceptual framework in interested fields, to review and write the literature, to
design the research methods, to present and discuss the research outcomes,
which are the basis for the development of research proposal and dissertation.
DB782 หัวข้อวจิ ยั ทางด้านธุรกจิ ข้นั สูง (Advanced 3 (3-0-6)
Research Topics in Business)
ระบุหัวข้อต่างๆของการวิจัยด้านจัดการธุรกิจเพ่ือเป็นการสร้างโอกาสในการ
พฒั นาหวั ขอ้ ท่สี นใจทีเ่ กี่ยงขอ้ งกับการวิจัยทางธุรกิจในปัจจุบัน และยังเป็นการกระตุ้น
ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และเป็นตรรกะ การสร้างความเข้าใจในเรื่องข้อโต้แย้ง
ทางการวจิ ยั และการประเมินหลกั ฐานที่สาคัญ นักศึกษาจะเปน็ ผู้เลือกหัวขอ้ ทีเ่ หมาะสม
กับพ้ืนฐานความรู้และแรงบันดาลใจในการทาวิจัยเพ่ือพัฒนาความเป็นผู้เช่ียวชาญใน
หัวขอ้ การวจิ ัยท่สี นใจ
Address various topics in business management research which will
provides the opportunity to pursue a topic of interest related to an area of
current research in business, and will be used to encourage creative and
logical thinking, structuring of clear arguments and critical assessment of
evidence. The topic is individually chosen to suit the student's background and
aspirations to pursue the development of specialization in the chosen research
topics of interest.
43
2. การประชุมอภิปรายระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต ไม่นับหน่วยกิต
Doctoral Symposium Non Credit
หลกั สูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560 เหตผุ ล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017
ประกอบ
DB721 การประชมุ อภิปรายระดบั ดษุ ฎบี ณั ฑติ 3 (3-0-6) DB721 การประชมุ อภิปรายระดับดุษฎีบณั ฑติ 3 (3-0-6) Reason
คงเดมิ
(Doctoral Symposium) (Doctoral Symposium) Same
การประชุมอภิปรายสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก เพ่ือนาเสนอเค้าโครง การประชุมอภิปรายสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก เพื่อนาเสนอเค้าโครง
และความก้าวหน้าของงานวิจัยแก่นักศึกษาและคณาจารย์ในหลักสูตรอย่างเข้มข้น และความก้าวหน้าของงานวิจัยแก่นักศึกษาและคณาจารย์ในหลักสูตรอย่างเข้มข้น
ภายใต้บรรยากาศที่ส่งเสริมต่อการทาวิจัย โดยเน้นให้นักศึกษาต้องเข้าร่วมประชุม ภายใต้บรรยากาศท่ีส่งเสริมต่อการทาวิจัย โดยเน้นให้นักศึกษาต้องเข้าร่วมประชุม
อภิปรายทกุ ภาคการศกึ ษา อภิปรายทุกภาคการศกึ ษา
Symposium for doctoral students to present their research concepts Symposium for doctoral students to present their research concepts
and work-in-progress to their colleagues and faculty members in a rigorous but and work-in-progress to their colleagues and faculty members in a rigorous but
supportive environment. Suggestions and Feedback are provided by the supportive environment. Suggestions and Feedback are provided by the
committee in order to maintain and enhance the quality standard of committee in order to maintain and enhance the quality standard of
dissertations. Required active participation in every semester. dissertations. Required active participation in every semester.
3. วิชาเอก 9 หน่วยกิต
Major Courses 9 Credits
3.1 กลมุ่ การจดั การ
Management Major
หลกั สูตรเดมิ พ.ศ. 2555 หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 เหตุผล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 ประกอบ
Reason
DB731 สมั มนาระดับดุษฎีบัณฑิตดา้ นการจดั การ I 3 (3-0-6) - ยกเลกิ รายวิชา
Cancel
(Doctoral Seminar in Management I) - Course
การวิเคราะห์ อภิปราย ถึงประเดน็ ใหม่ๆ ทางด้านการการจัดการท่ีน่าสนใจใน ยกเลิกรายวิชา
Cancel
ปัจจุบันรวมไปถึงบทความวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่สอดคล้องกับทฤษฎี Course
ทางด้านการจัดการ และศาสตร์แขนงต่างๆท่ีเกีย่ วข้องเพ่ือประยุกต์ใช้กับเค้าโครงดุษฎี
นิพนธ์ มุ่งเน้นให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาแนวความคิดในการดาเนินงานวิจัย
ประเภทต่างๆ
Critical analysis and discussion on the current issues and international
academic publications in management and related fields aiming to the
application of dissertation writing, and to develop an interesting idea when
proposing the research project.
DB732 สมั มนาระดบั ดษุ ฎบี ัณฑติ ดา้ นการจดั การ II 3 (3-0-6)
(Doctoral Seminar in Management II)
อภิปรายแนวคิด ทฤษฎีการจัดการ และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการ ที่
ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการจัดการที่มีช่ือเสียง มุ่งเน้นการพัฒนากรอบครอบ
ความคิดในศาสตร์ที่มีความสนใจ การทบทวนและการเขียนวรรณกรรม การออกแบบ
วิธีวจิ ัย การนาเสนอ และการอภิปรายผลวิจยั
Discussion on management theories and related researches on
management from top-tier journal publications. This aims to develop
44
หลกั สูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 เหตุผล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 ประกอบ
Reason
conceptual framework in interested fields, to review and write the literature, to - ยกเลิกรายวิชา
Cancel
design the research methods, to present and discuss the research outcomes. หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 Course
Revised Curriculum Year 2017
DB733 สัมมนาระดบั ดษุ ฎบี ัณฑติ ดา้ นการจัดการ III 3 (3-0-6) เหตผุ ล
- ประกอบ
(Doctoral Seminar in Management III) Reason
- ยกเลิกรายวิชา
การอภิปรายงานวิจัยที่เป็นแนวโน้มของงานวิจัยในอนาคตที่ได้รับการตีพิมพ์ Cancel
- Course
ในวารสารการจัดการท่ีมีช่ือเสียง ในหัวข้อต่างๆ เช่น การจัดการทรัพยากรมนุษย์ กล
ยกเลิกรายวิชา
ยุทธบ์ รษิ ัท พฤตกิ รรมองคก์ ร และการจดั การระหวา่ งประเทศ เป็นตน้ ซ่งึ จะช่วยในการ Cancel
Course
พัฒนาโครงรา่ งวิทยานิพนธเ์ พือ่ นาเสนอ
ยกเลิกรายวิชา
Critical examination and discussion regarding trend in future Cancel
Course
publications in top-tier management journals in the areas of human resource
management, corporate strategy, organizational behavior and international
management. The basis for students to develop and present their research
proposals for their own topics of interest.
3.2 กลมุ่ การตลาด
Marketing Major
หลักสตู รเดิม พ.ศ. 2555
Curriculum Year 2012
DB741 สมั มนาระดบั ดุษฎีบัณฑิตดา้ นการตลาด I 3 (3-0-6)
(Doctoral Seminar in Marketing I)
การวิเคราะห์ อภิปราย ถึงประเด็นทางการตลาดใหม่ๆ ที่น่าสนใจ ในหัวข้อ
ต่างๆ เช่น แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค การจัดการการตลาด กลยุทธ์การตลาด การ
สื่อสารการตลาดสมัยใหม่ และการตลาดระหว่างประเทศ เป็นต้น ตลอดจนการนา
แนวคดิ ดงั กลา่ วมาประยกุ ต์ใชก้ ับเค้าโครงดุษฏนี พิ นธ์
Critical examination and discussion regarding the current issues in
top-tier marketing journals in the areas of marketing management, marketing
models, marketing strategies and consumer behavior. The review of statistics,
theory, peer-reviewed literature, and research methodology is emphasized
with the aim of developing an interesting idea when proposing the research
project.
DB742 สมั มนาระดับดษุ ฎีบัณฑิตด้านการตลาด II 3 (3-0-6)
(Doctoral Seminar in Marketing II)
อภิปรายแนวคิด ทฤษฎีทางการตลาด และงานวจิ ัยที่เก่ียวข้องกบั การตลาด ท่ี
ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการตลาดที่มีชอ่ื เสียง เน้นการกาหนดกรอบครอบความคดิ
การทบทวนและการเขียนวรรณกรรม การออกแบบวิธีวิจัย การนาเสนอ และการ
อภปิ รายผลวจิ ยั
Critical examination and discussion regarding contemporary
publications in top-tier marketing journals in the areas of marketing
management, marketing models, marketing strategies and consumer
behavior. The basis for students to develop the research conceptual
framework, review the literature, design the research methodology for
developing the research proposal.
DB743 สัมมนาระดบั ดษุ ฎบี ัณฑิตด้านการตลาด III 3 (3-0-6)
(Doctoral Seminar in Marketing III)
การอภิปรายงานวิจัยท่ีเป็นแนวโน้มของงานวิจัยในอนาคตที่ได้รับการตีพิมพ์
ในวารสารการตลาดที่มีช่ือเสียง ในหัวข้อต่างๆ เช่น พฤติกรรมผู้บริโภค การจัดการ
45
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560 เหตุผล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 ประกอบ
Reason
การตลาด กลยุทธ์การตลาด การตลาดระหว่างประเทศ และแบบจาลองทางการตลาด หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560
เปน็ ต้น ซึง่ จะช่วยในการพัฒนาเค้าโครงและการเขียนดุษฏนี ิพนธ์ Revised Curriculum Year 2017 เหตุผล
ประกอบ
Critical examination and discussion regarding trend in future - Reason
publications in top-tier marketing journals in the areas of marketing ยกเลิกรายวิชา
management, marketing models, marketing strategies and consumer - Cancel
behavior. The basis for student to develop and present their research Course
proposals for their own topics of interest. -
ยกเลิกรายวิชา
3.3 กลุ่มการเงิน Cancel
Finance Major Course
หลักสูตรเดมิ พ.ศ. 2555 ยกเลกิ รายวชิ า
Curriculum Year 2012 Cancel
Course
DB751 สมั มนาระดับดษุ ฎีบณั ฑิตดา้ นการเงนิ I 3 (3-0-6)
(Doctoral Seminar in Finance I)
การวเิ คราะห์ อภปิ ราย ถึงประเดน็ ทางการเงนิ ใหมๆ่ ที่นา่ สนใจ ในหัวขอ้ ต่างๆ
เช่น การเงินบริษัท สถาบันการเงิน การลงทุน และการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น
ตลอดจนการนาแนวคิดการนาแนวคิดดงั กล่าวมาประยกุ ตใ์ ช้กับเคา้ โครงดษุ ฏีนพิ นธ์
Critical examination and discussion regarding the current issues in
top-tier finance journals in the areas of corporate finance, financial institutions,
investment and international finance. The review of statistics, theory, peer-
reviewed literature, and research methodology is emphasized with the aim of
developing an interesting idea when proposing the research project.
DB752 สัมมนาระดบั ดุษฎีบณั ฑิตด้านการเงิน II 3 (3-0-6)
(Doctoral Seminar in Finance II)
อภิปรายแนวคิด ทฤษฎีทางการเงิน และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการเงิน ที่
ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการเงินที่มีช่ือเสียง เน้นการกาหนดกรอบครอบความคิด
การทบทวนและการเขียนวรรณกรรม การออกแบบวิธีวิจัย การนาเสนอ และการ
อภปิ รายผลวิจยั
Critical examination and discussion regarding contemporary
publications in top-tier finance journals in the areas of corporate finance,
financial institutions, investment and international finance. The basis for
students to select their dissertation topics and advisors who are specialists in
the area in which students are interested.
DB753 สมั มนาระดับดุษฎบี ัณฑิตดา้ นการเงนิ III 3 (3-0-6)
(Doctoral Seminar in Finance III)
การอภิปรายงานวิจัยที่เป็นแนวโน้มของงานวิจัยในอนาคตท่ีได้รับการตพี ิมพ์
ในวารสารการเงินที่มีช่ือเสียง ในหัวข้อต่างๆ เช่นการเงินบริษัท สถาบันการเงิน การ
ลงทุน และการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งจะช่วยในการพัฒนาเค้าโครงและการ
เขยี นดุษฏนี ิพนธ์
Critical examination and discussion regarding trend in future
publications in top-tier finance journals in the areas of corporate finance,
financial institutions, investment and international finance. The basis for student
to develop and present their research proposals for their own topics of interest.
46
4. วิชาเลอื ก
Elective Courses
หลักสตู รเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560 เหตุผล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 ประกอบ
Reason
DB761 ภาวะผูน้ าและระบบการจัดการ(Leadership and 3 (3-0-6) - ยกเลิกรายวชิ า
Governance) Cancel
- Course
การประเมนิ คณุ ภาพของภาวะผ้นู าขององค์กร โดยการเนน้ ท่ีภาวะ
ผู้นาระดับสูงทั้งในองค์กรภาครัฐและเอกชน พ้ืนฐานความสาเร็จของภาวะผู้นาในการ - ยกเลกิ รายวชิ า
จัดการองค์กรที่มีวัฒนธรรมต่างสังคมและส่ิงแวดล้อมที่มีความหลากหลาย บทบาท Cancel
ของจริยธรรม และการตัดสินใจเชิงจริยธรรมซึ่งผู้นาพึงมีในสภาพแวดล้อมธุรกิจร่วม - Course
สมยั
ยกเลกิ รายวชิ า
Evaluation of the quality of organizational leadership by focusing on top- Cancel
level leadership in a variety of organizational settings across the private and Course
public sectors. The elements of successful leadership and governance in
cross-cultural and diverse environments. The role of ethics and the systems of ยกเลกิ รายวชิ า
ethical decision making leaders experience in contemporary business Cancel
environments. Course
DB762 การตัดสนิ ใจเชงิ พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง 3 (3-0-6)
(Behavioral Decision-Making and Negotiation)
มุมมองเชิงวิจัยของวิธีการตัดสินใจเชิงพฤติกรรมและเชิงวิเคราะห์เพ่ือการ
เจรจาต่อรอง การประยุกต์ใชข้ องพฤตกิ รรมทไ่ี ม่สมบูรณ์ ของการพฒั นาเชงิ ทฤษฎีและ
การฝึกอบรมของแต่ละบุคคลเพื่อให้สามารถตัดสินใจได้ดีขึ้น การศึกษาเชิงลึกของจุด
ร่วมระหว่างมุมมองการวิเคราะห์กับมุมมองพฤติกรรมในการตัดสินใจและการเจรจา
ต่อรอง
A research overview of the field of behavioral decision making and
analytical perspectives of negotiation. Examination of the implications of
imperfect behavior for theoretical development and the implications for training
individuals to make shrewder decisions. An intensive survey of the intersection
of analytic and behavioral perspectives on decision making and negotiation.
DB763 การจัดการความเสี่ยงทางการเงินข้นั สงู 3 (3-0-6)
(Advanced Financial Risk Management)
ทฤษฎขี ้ันสูงของการจัดการความเสี่ยงดา้ นการเงนิ เทคนิคการวดั สาหรบั ความ
เส่ียงประเภทต่าง ๆ (ตราสารทุน ตราสารหนี้ เงนิ ตราต่างประเทศ สนิ ค้าเกษตร) รวมท้ัง
เคร่ืองมือจัดการความเสี่ยง ดูเรชั่น เบต้าของกลุ่มหลักทรัพย์ ความไหวเอนของปัจจัย
การวิเคราะห์การกระจายกลุ่มหลักทรัพย์ และมูลค่าของกิจการเมื่อคานึงถึงความเส่ียง
เป็นต้น การอภิปรายเคร่ืองมือการวัดความเส่ียงซ่ึงสามารถนาไปใช้สาหรับการจัดการ
ความเสีย่ งและผลตอบแทนทางการเงนิ ของสถาบนั
An advanced theory of financial risk management. The measurement
techniques for different types of financial risks (equity, fixed income, currency,
commodity) and instruments. Risk management tools: duration, portfolio beta,
factor sensitivities, portfolio distribution analysis, and value at risk (VAR). The
discussion of how risk measurement tools can be used for active management
of the risk/return profile of financial institutions.
DB764 การจดั การนวัตกรรม 3 (3-0-6)
(Innovation Management)
พ้ืนฐานโครงสร้างสาหรับกระบวนการนวัตกรรม การศึกษาประเภทของ
นวัตกรรมในอุตสาหกรรมต่างๆ แบบจาลองสาหรับกระบวนการนวัตกรรม เช่น การ
ดงึ อุปสงค์ การผลกั อุปทาน และการเช่ือมห่วงโซ่ กลยุทธ์สาหรบั นวัตกรรมกับการเน้น
47
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 เหตผุ ล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017 ประกอบ
Reason
สาหรับการป้องกัน การเลยี นแบบ การรุกราน การมองโลกในดา้ นดี กลยทุ ธ์นวตั กรรม
แบบด้ังเดิมและแบบพ่ึงพา แหล่งของนวัตกรรมท้ังภายในและภายนอก การเช่ือม
ระหว่างคู่แข่งขัน ขนาดบริษัท และนวัตกรรม การจัดการนวัตกรรมภายในบริษัท การ
จดั การโครงการวิจัยและพฒั นาและนวัตกรรมเชงิ พาณิชย์
A basic framework for understanding innovation processes. The study
of types of innovation in different industries; models of innovation processes
such as demand-pull, supply-push, and the chain-linked model; strategies for
innovation with the focus on defensive, imitative, offensive, opportunistic,
traditional and dependent innovation strategies; internal and external sources
of innovation; link between competition, firm size and innovation; organizing
innovation inside the firm, managing research and development projects; and
commercializing innovation.
5. ดษุ ฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต
Doctoral Dissertation 36 Credits
หลกั สูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560 เหตผุ ล
Curriculum Year 2012 Revised Curriculum Year 2017
ประกอบ
DB800 ดุษฎีนิพนธ์ 36 (0-0-108) DB800 ดุษฎีนพิ นธ์ 36 (0-0-108) Reason
คงเดมิ
(Doctoral Dissertation) (Doctoral Dissertation) Same
กาหนดให้นักศึกษาเขยี นดษุ ฎีนิพนธ์ซึ่งแสดงผลของการคน้ พบสง่ิ สาคัญ กาหนดให้นักศกึ ษาเขียนดุษฎีนพิ นธ์ซ่ึงแสดงผลของการค้นพบสิ่งสาคัญใหม่
ใหม่ ซ่ึงตอ้ งสนบั สนุนรากฐานความรูท้ ่ีเกยี่ วขอ้ งอยา่ งแท้จริง ซ่ึงต้องสนบั สนุนรากฐานความรทู้ เ่ี กี่ยวข้องอยา่ งแท้จรงิ
A candidate is required to write a dissertation embodying the results A candidate is required to write a dissertation embodying the results
of a significant and original investigation. It must make a real contribution to of a significant and original investigation. It must make a real contribution to
the related discipline of concentration. the related discipline of concentration.
48
เอกสารแนบ
Appendix
ภาคผนวก ก ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย วา่ ดว้ ย การศกึ ษาในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ.2558
Appendix A The Regulation of University of the Thai Chamber of Commerce, on the Graduate Studies,
year 2015.
ภาคผนวก ข คาสงั่ สภามหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทยท่ี 21/2560 เร่อื ง แต่งตงั้ คณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู ร
Appendix B หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ ดุษฎบี ณั ฑติ (D.B.A.) (หลกั สตู รสองภาษา)
The order of the Council of the University of the Thai Chamber of Commerce no. 21/2017
The appointment of the Curriculum Development and Standard Committee of the Doctor
of Business Administration Program (Bilingual Program)
49