The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ane Cha, 2023-01-19 03:40:26

รายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารหมายเลข 5/2564 กลุ่มนโยบายและแผน ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม รายงานผลการด าเนินงาน ตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564


ค ำน ำ รายงานผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ได้รวบรวมผลการด าเนินงานการจัดการศึกษาของหน่วยงานการศึกษาตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด นครปฐม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยแสดงให้เห็นถึงภาพความส าเร็จและความก้าวหน้าของการด าเนินงาน ในการขับเคลื่อนนโยบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในส่วนของภารกิจที่ส านักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐมรับผิดชอบ ซึ่งจะน าเสนอผลการด าเนินงานดังกล่าว จ าแนกตามประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษา จังหวัดนครปฐม 5 ประเด็น ดังนี้ 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความมั่นคง 2. พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน 3. พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ 4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ท าให้รายงานผลการด าเนินงาน ตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานผลการด าเนินงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์และแนวทางในการด าเนินงาน ด้านการพัฒนาการศึกษาต่อไป กลุ่มนโยบายและแผน ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ตุลาคม 2564


สารบัญ หน้า ค าน า สารบัญ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม 1 เป้าประสงค์รวม และประเด็นยุทธศาสตร์ 1 บทบาทและภารกิจของส านักงานศึกษาธิการจังหวัด 3 โครงสร้างการบริหารงาน 4 ผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความมั่นคง 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน 13 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ 16 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 27 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐาน 40 ของเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สรุปผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนภูมิแสดงผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม 47 ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จ าแนกตามประเด็นยุทธศาสตร์ ภาคผนวก ค าสั่งจังหวัดนครปฐม ที่ 1937/2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะท างานติดตามผลการด าเนินงาน ตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) ฉบับทบทวน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คณะผู้จัดท า


สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 งบหน้าโครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 5 2 โครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 8 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง 2 โครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 13 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน 3 โครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 16 ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ 4 โครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 27 ยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 5 โครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 40 ยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล


1 วิสัยทัศน์ นครแห่งการเรียนรู้ คู่คุณธรรม น าสู่อาชีพ ใช้วิถีชีวิตพอเพียง พันธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชากรทุกคนมีสิทธิและโอกาสเสมอกันทางการศึกษา โดยได้รับการ จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่หลากหลายอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 2. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 3. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม และด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารจัดการ โดยการมีส่วนร ่วมของทุกภาคส่วน และการพัฒนา บุคลากรให้มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์รวม 1. ประชากรทุกคน ได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษา และเรียนรู้ตลอดชีวิตที่หลากหลายอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และพัฒนาสู่อาชีพ 2. หน่วยงานทางการศึกษาจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานสอดคล้องกับการพัฒนาทักษะ ในศตวรรษที่ 21 3. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะความเป็นผู้น าทางวิชาการ และเป็นบุคคลแห่งการ เรียนรู้สอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่นและประเทศ 4. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณภาพ ชีวิต จิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความมั่นคง 2. พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน 3. พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ 4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐานของเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความมั่นคง กลยุทธ์ 1.1 พัฒนาการจัดการศึกษาในทุกระดับทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีปรองดอง ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติและความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.2 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้อง ด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง วินัยสุจริต จิตอาสา


2 1.3 เสริมสร้างกลไกการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด หรือภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน กลยุทธ์ 2.1 พัฒนาสมรรถนะและทักษะของผู้เรียนเพื่อรองรับการแข่งขัน 2.2 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศตามความถนัดและความสนใจ น าไปสู่การพัฒนาทักษะวิชาชีพ และทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ เป็นนักคิด เป็นผู้สร้างนวัตกรรม 2.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมทางการศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ กลยุทธ์ 3.1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน 3.2 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเป็นผู้น า ทางวิชาการ ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย 3.3 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เชิงบูรณาการองค์ความรู้แบบสหวิทยาการ (อาทิ สะเต็มศึกษา ทวิภาคี) 3.4 พัฒนาศักยภาพคนให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 3.5 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม 3.6 ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถเป็นอาชีพ และสร้างรายได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กลยุทธ์ 4.1 เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 4.2 พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4.3 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถ อยู่ร่วม และท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐานของเทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลยุทธ์ 5.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัดและฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบันและทันต่อการใช้งาน 5.2 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 5.3 สนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างอิสระและมีประสิทธิภาพ ภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ 5.4 ส่งเสริมโครงการโรงเรียนคุณภาพประจ าต าบล โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม งานอาชีพ และสุขภาพอนามัย


3 บทบาทและภารกิจของส านักงานศึกษาธิการจังหวัด ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม เป็นหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 161/4 ถนนเพชรเกษม ต าบลพระประโทน อ าเภอเมืองนครปฐม จังหวัด นครปฐม เพื่อปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษาตามที่กฎหมาย ก าหนด การปฏิบัติราชการตามอ านาจหน้าที่ นโยบายและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มอบหมาย และ ให้มีอ านาจหน้าที่ในเขตจังหวัด ดังต่อไปนี้ 1. รับผิดชอบงานธุรการของ กศจ. อกศจ. คณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา คณะอนุกรรมการและคณะท างาน รวมทั้งปฏิบัติงานราชการ ที่เป็นไปตามอ านาจและหน้าที่ของ กศจ. และตามหน้าที่ กศจ. มอบหมาย 2. จัดท าแผนพัฒนาการศึกษาและแผนปฏิบัติการ 3. สั่งการ ก ากับ ดูแล เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ หรือหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ 4. จัดระบบ ส่งเสริม และประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษา 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาเพื่อคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีความสามารถพิเศษ 6. ด าเนินงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 7. ส่งเสริม สนับสนุน และด าเนินการเกี่ยวกับงานด้านวิชาการ การนิเทศ และแนะแนวการศึกษา ทุกระดับและทุกประเภท รวมทั้งติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา 8. ด าเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชีของส่วนราชการ หรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 9. ส่งเสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬา เพื่อการศึกษา 10. ส่งเสริม สนับสนุน และด าเนินการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาเอกชน 11. ปฏิบัติภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการหรือตามที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งปฏิบัติ ภารกิจเกี่ยวกับราชการประจ าทั่วไปของกระทรวงศึกษาธิการ และประสานงานต่าง ๆ ในจังหวัด


4 โครงสร้างการบริหารงาน ที่มา : หน้าเว็บไซต์ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม


5 ตารางที่ 1 งบหน้าโครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง 1.1 พัฒนาการจัดการศึกษาในทุกระดับทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีปรองดอง ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลัก ของชาติและความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1.1 โครงการสร้างและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาท ด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 191,100 ศธจ.นครปฐม 1.1.2 โครงการพัฒนาสภานักเรียน 20,000 สพป.นครปฐม เขต 2 1.2 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้อง ด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง วินัยสุจริต จิตอาสา - - - 1.3 เสริมสร้างกลไกการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด หรือภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ 1.3.1 โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา 133,000 สพป.นครปฐม เขต 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน 2.1 พัฒนาสมรรถนะและทักษะของผู้เรียนเพื่อรองรับการแข่งขัน 2.1.1 โครงการการด าเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าโครงการพัฒนา อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2564 90,600 สพป.นครปฐม เขต 1 2.1.2 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 36,400 สพป.นครปฐม เขต 2 2.2 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศตามความถนัดและความสนใจ น าไปสู่การพัฒนาทักษะวิชาชีพและทักษะการ สื่อสารภาษาต่างประเทศ เป็นนักคิด เป็นผู้สร้างนวัตกรรม - - - 2.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมทางการศึกษา - - - ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ 3.1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3.1.1 โครงการการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 114,065 สพป.นครปฐม เขต 1 3.1.2 โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียนจากการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน (RT) 109,100 สพป.นครปฐม เขต 2 3.1.3 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 660,326 ศธจ.นครปฐม


6 กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ 3.1.4 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 389,393 สพป.นครปฐม เขต 2 3.2 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเป็นผู้น าทางวิชาการ ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 3.2.1 โครงการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563 4,400 สพป.นครปฐม เขต 1 3.3 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เชิงบูรณาการองค์ความรู้แบบสหวิทยาการ (อาทิ สะเต็มศึกษา ทวิภาคี) - - - 3.4 พัฒนาศักยภาพคนให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล - - - 3.5 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม 3.5.1 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 239,200 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 3.6 ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้สามารถเป็นอาชีพและสร้างรายได้ - ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 4.1 เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบนอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาส ทางการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 4.1.1 โครงการรับนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา 11,000 สพป.นครปฐม เขต 1 4.1.2 โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ปีการศึกษา 2564 10,000 สพป.นครปฐม เขต 2 4.1.3 โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจน จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 705,400 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 4.2 พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต - - - 4.3 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมและท างาน ร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม 4.3.1 โครงการขับเคลื่อนการด าเนินงานของศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่ การศึกษา ปีการศึกษา 2564 49,800 สพป.นครปฐม เขต 1 4.3.2 โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและคุ้มครองนักเรียน 15,000 สพป.นครปฐม เขต 2 4.3.3 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 91,425 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม


7 กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ 4.3.4 โครงการการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 172,800 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 4.3.5 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ ฝึกอาชีพชุมชน 607,950 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัดและฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบันและทันต่อการใช้งาน 5.1.1 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 18,000 สพป.นครปฐม เขต 1 5.2 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 5.2.1 โครงการส่งเสริมเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และค่านิยมของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) 48,000 สพป.นครปฐม เขต 2 5.3 สนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างอิสระและมีประสิทธิภาพภายใต้กรอบ แนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ 5.3.1 โครงการการบริหารงานและตรวจติดตามโรงเรียนเอกชนในสังกัด 56,100 ศธจ.นครปฐม 5.4 ส่งเสริมโครงการโรงเรียนคุณภาพประจ าต าบล โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งทางวิชาการ การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม งานอาชีพ และสุขภาพอนามัย - - - รวมทั้งหมด 22 โครงการ 3,773,059


8 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความมั่นคง ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมได้ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาการจัดการศึกษา เพื่อสร้างความมั่นคง โดยเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ คือ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างความมั่นคง มีกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) พัฒนาการจัดการศึกษาในทุกระดับทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเสริมสร้างความ สามัคคีปรองดอง ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติและความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมการเมืองการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (2) ส่งเสริมผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้อง ด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา และ (3) เสริมสร้างกลไกการป้องกันแก้ไขปัญหา ยาเสพติด หรือภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ตารางที่ 2 โครงการจัดการศึกษาตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงกลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง 1.1 พัฒนาการจัดการศึกษาในทุกระดับทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีปรองดอง ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลัก ของชาติและความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1.1 โครงการสร้างและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาท ด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 191,100 ศธจ.นครปฐม 1.1.2 โครงการพัฒนาสภานักเรียน 20,000 สพป.นครปฐม เขต 2 1.2 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้อง ด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง วินัยสุจริต จิตอาสา - - - 1.3 เสริมสร้างกลไกการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด หรือภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ 1.3.1 โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา 133,000 สพป.นครปฐม เขต 1 รวมทั้งหมด 3 โครงการ 344,100 กลยุทธ์ที่ 1.1 พัฒนาการจัดการศึกษาในทุกระดับทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี ปรองดอง ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ และความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมการเมืองการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของสถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการ ศึกษาเพื่อเสริมสร้างความสามัคคีปรองดอง ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติและความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข


9 1.1.1 โครงการสร้างและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาท ด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม งบประมาณ 191,100 บาท งบประมาณจาก สป.ศธ. กิจกรรมหลัก อบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรม “ค่ายการเรียนรู้ ใต้ร่มพระบารมีจักรีวงศ์” ในวันที่ 26 มีนาคม 2564 ณ โรงเรียนภัทรญาณวิทยา อ าเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจ านวนทั้งสิ้น 215 คน ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ - นักเรียน นักศึกษา วิทยากรและครู บุคลากรทางการศึกษา จ านวน 600 คน เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ได้เรียนรู้พระราชกรณียกิจของพระราชวงค์จักรีมีเจตคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีโอกาสท าหน้าที่เป็นพลเมืองดี มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม สามารถวางแผนการประกอบอาชีพเพื่อให้มีงานท า ได้เรียนรู้ถึงนวัตวิถีของท้องถิ่นและชุมชน มีจิตส านึกรักและภูมิใจในท้องถิ่นชุมชนของตนเอง ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ นักเรียน ครู วิทยากรและบุคลากรทางการศึกษา จ านวน 600 คน เข้าร่วมกิจกรรม เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้พระราชกรณียกิจของพระราชวงค์จักรีมีเจตคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีโอกาส ท าหน้าที่เป็นพลเมืองดี มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม สามารถวางแผนการประกอบอาชีพเพื่อให้มีงานท า ได้เรียนรู้ถึง นวัตวิถีของท้องถิ่นและชุมชน มีจิตส านึกรักและภูมิใจในท้องถิ่นชุมชนของตนเอง สามารถน าความรู้ ไปประยุกต์ใช้และเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 8๐ ได้ศึกษาเรียนรู้พระราชกรณียกิจของพระราชวงศ์จักรี 2. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 8๐ มีเจตคติที่ดีต่อบ้านเมือง เป็นพลเมืองดี มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม สามารถวางแผนการประกอบอาชีพในอนาคตเพื่อให้มีงานท า 3. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ได้เรียนรู้ถึงนวัตวิถีของท้องถิ่นและชุมชน มีจิตส านึกรัก และภูมิใจในท้องถิ่นชุมชนของตนเอง


10 ปัญหา อุปสรรค - ข้อเสนอแนะ - 1.1.2 โครงการพัฒนาสภานักเรียน หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 งบประมาณ 20,000 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก 1. ประชุมวางแผนการด าเนินงานโครงการฯ 2. ประชุมคัดเลือกโรงเรียนที่มีคุณภาพการด าเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน 3. ประชุมคณะท างานจัดท าคู่มือแนวทางการด าเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน 4. ติดตามการด าเนินงานสภานักเรียนของสถานศึกษา และประชุมสรุปผลการด าเนินงาน ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของโครงการ 1. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีโรงเรียนต้นแบบการด าเนินงานกิจกรรม สภานักเรียน 2. ร้อยละ 90 ของโรงเรียนมีการด าเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนในโรงเรียน 3. ร้อยละ 90 ของนักเรียนในโรงเรียนในสังกัด มีพฤติกรรมการแสดงออกถึงพื้นฐานการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีนิสัยการเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี คิดเป็นแก้ปัญหาเป็น รู้จักใช้สิทธิ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผดุงประโยชน์ต่อส่วนร่วม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ 1) มีเครือข่ายการด าเนินงานในระดับศูนย์สภานักเรียนเขตพื้นที่การศึกษา และเครือข่ายประจ าอ าเภอ ๔ อ าเภอ 2) คัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน จ านวน 1 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านกระทุ่มล้ม 3) โรงเรียนในสังกัดทุกโรงเรียน ด าเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนในโรงเรียน เชิงคุณภาพ 1) จัดท าบทเรียนออนไลน์ “รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการกิจกรรมสภานักเรียน” เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม การพัฒนาการด าเนินงานสภานักเรียน ให้ครูผู้รับผิดชอบงานสภานักเรียนและนักเรียนของโรงเรียน ในสังกัด เข้าเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ พร้อมรับเกียรติบัตรจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต ๒ 2) จัดท าคู่มือและแนวทางการด าเนินกิจกรรมสภานักเรียน เพื่อเป็นแนวทางด าเนินงานกิจกรรม สภานักเรียนระดับสถานศึกษา ในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๒ และเป็น แนวทางพัฒนาสภานักเรียนให้เข้มแข็งต่อไป 3) มีเครือข่ายการด าเนินงานในระดับศูนย์สภานักเรียนเขตพื้นที่การศึกษา และเครือข่ายประจ าอ าเภอ ๔ อ าเภอ


11 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โรงเรียนในสังกัดมีการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมสภานักเรียนในโรงเรียนและขับเคลื่อนสร้างความ เข้มแข็งให้กับสภานักเรียนในโรงเรียน เพื่อเสริมสร้างนักเรียนมีคุณธรรม มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถเข้าไป มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมและส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนของตนเองได้ และสามารถด ารงตนอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นผู้น า ร่วมพัฒนาโรงเรียนได้อย่างยั่นยืน ปัญหา อุปสรรค - ข้อเสนอแนะ - กลยุทธ์ที่ 1.3 เสริมสร้างกลไกการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด หรือภัยคุกคาม ในรูปแบบใหม่ ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของสถานศึกษาสร้างกลไกการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด หรือภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ 1.3.1 โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 งบประมาณ 133,000 บาท งบประมาณจาก สพฐ. ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ 1) โรงเรียนในสังกัดทุกแห่ง/นักเรียนทุกระดับชั้นในโรงเรียนทุกแห่งในสังกัด 2) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทุกคน เชิงคุณภาพ 1) โรงเรียนมีการด าเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ 2) นักเรียนทุกระดับชั้นมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ที่มีผลกระทบต่อความ มั่นคงของมนุษย์ 3) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องยาเสพติด มีลักษณะของผู้น าที่ดี เป็นผู้มีประชาธิปไตย มีคุณธรรม จริยธรรม มีบุคลิกภาพและลักษณะนิสัยที่เหมาะสมกับความต้องการของสังคม กิจกรรมหลัก จัดสรรเงินงบประมาณให้โรงเรียนขยายโอกาส จ านวน 19 โรง เพื่อด าเนินงานโครงการลูกเสือต้านภัย ยาเสพติด กิจกรรมค่ายทักษะชีวิต การบริหารจัดการในการขับเคลื่อนการด าเนินงานป้องกันยานเสพติด สารเสพติด และการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในไตรมาส 4 ผลการด าเนินงาน โรงเรียนขยายโอกาส จ านวน 19 โรง ด าเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนการ ด าเนินงานป้องกันยาเสพติด ดังต่อไปนี้ - ท าหนังสือเล่มเล็ก - ท าป้าย


12 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เช่น หนีเรียน เที่ยวเตร่ มั่วสุม ติดเกม ทะเลาะวิวาท และไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด 2. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องยาเสพติด มีลักษณะของผู้น าที่ดี เป็นผู้มี ประชาธิปไตย มีคุณธรรม จริยธรรม มีบุคลิกภาพและลักษณะที่เหมาะสมกับความต้องการของสังคม 3. นักเรียนมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของมนุษย์ ปัญหา อุปสรรค เนื่องจากช่วงระยะนี้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ท าให้ ไม่สามารถด าเนินการเรื่องยาเสพติดในทางปฏิบัติโดยตรงกับนักเรียนได้ ข้อเสนอแนะ ควรปรับวิธีการด าเนินงานในการขับเคลื่อนการด าเนินงานป้องกันยาเสพติดใช้การสื่อสารด้วยระบบ ออนไลน์


13 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมได้ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อรองรับการแข่งขัน โดยเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ คือ การจัดการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับ การแข่งขันเพื่อรองรับการแข่งขันมีกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) พัฒนาสมรรถนะและทักษะของผู้เรียน เพื่อรองรับการแข่งขัน (2) ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศตามความถนัดและความสนใจ น าไปสู่การพัฒนา ทักษะวิชาชีพ และทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ เป็นนักคิด เป็นผู้สร้างนวัตกรรม และ (3) ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมทางการศึกษา ตารางที่ 3 โครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน 2.1 พัฒนาสมรรถนะและทักษะของผู้เรียนเพื่อรองรับการแข่งขัน 2.1.1 โครงการการด าเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าโครงการพัฒนา อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2564 90,600 สพป.นครปฐม เขต 1 2.1.2 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 36,400 สพป.นครปฐม เขต 2 2.2 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศตามความถนัดและความสนใจ น าไปสู่การพัฒนาทักษะวิชาชีพและทักษะการสื่อสาร ภาษาต่างประเทศ เป็นนักคิด เป็นผู้สร้างนวัตกรรม - - - 2.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมทางการศึกษา - - - รวมทั้งหมด 2 โครงการ 127,000 กลยุทธ์ที่ 2.1 พัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อรองรับการแข่งขัน ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของสถานศึกษาที่พัฒนาสมรรถนะและทักษะของผู้เรียนเพื่อรองรับการแข่งขัน 2.1.1 โครงการการด าเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ประจ าปีการศึกษา 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 งบประมาณ 90,600 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก สพฐ. ร่วมกับ สสวท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการ จัดสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4–6 เข้าโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2563


14 โดยมอบหมายให้ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 เป็นผู้ด าเนินการจัดสอบ ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2564 ณ โรงเรียนอนุบาลนครปฐม เวลา 09.30 – 15.30 น. ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของโครงการ 1. เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่เข้าร่วมโครงการ 2. เชิงคุณภาพ 1) นักเรียนมีทักษะด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมและจริยธรรม 2) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศ มีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 3) นักเรียนมีทักษะการคิดระดับสูง มีทักษะในการแก้ปัญหา มีความสามารถทางวิชาการเต็มตาม ศักยภาพได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่เวทีโลกและเป็นการสร้างเจตคติที่ดีให้นักเรียนมีความสนใจในการเป็น นักคณิตศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ ผลการด าเนินงาน ผลการด าเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย นักเรียนได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และนักเรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ ตามความถนัดและตามความสามารถของตนเอง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความเป็นเลิศตามความถนัดและความสนใจน าไปสู่การพัฒนาทักษะวิชาชีพ 2. นักเรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์พร้อมกัน ได้แสดงความรู้ความสามารถได้เต็มตามศักยภาพอย่างเต็มที่ นักเรียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับที่สูง ต่อไปเป็นก าลังพัฒนาประเทศชาติในอนาคต ปัญหา อุปสรรค เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) สสวท.จึงประกาศเลื่อนการสอบ การแข่งขัน และในปีการศึกษา 2563 สสวท.ประกาศงดการจัดสอบรอบสอง ข้อเสนอแนะ เป็นโครงการที่ดีและมีคุณภาพในการเสริมสร้างพัฒนาทักษะความสามารถพิเศษทางด้านวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาวิทยาศาสตร์ให้ดีมากยิ่งขึ้น ควรมีการด าเนินโครงการทดสอบความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์และวิชา วิทยาศาสตร์ในปีต่อไป


15 2.1.2 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 งบประมาณ 36,400 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก 1. ประชาสัมพันธ์การสอบฯ 2. ประชุมคณะกรรมการจัดสอบฯ 3. จัดเตรียมสถานที่ศูนย์สอบฯ 4. ด าเนินการจัดสอบ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของโครงการ 1. ร้อยละ 98 ของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะความคิดทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2. ผู้เรียนทุกคนที่ได้รับการพัฒนาทักษะความคิดทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้มีความรู้ สามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ชีวิตประจ าวันได้เป็นอย่างดี ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ 1. นักเรียน ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จ านวน 278 คน จากทุกสังกัดในเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 เข้าร่วมสอบคัดเลือกทางวิชาการ และได้รับการพัฒนาความสามารถเต็มตาม ศักยภาพ 2. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ที่มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เข้าร่วมสอบคัดเลือกทางวิชาการ เชิงคุณภาพ ด าเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนที่ก าลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่สมัครสอบคัดเลือก โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2563 (รอบแรก) ในวันเสาร์ ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2564 ระหว่างเวลา 09.30 - 15.30 น. ณ โรงเรียนวัดไร่ขิง (สุนทรอุทิศ) อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีผู้เข้าสอบวิชาคณิตศาสตร์ จ านวน 273 คน และวิชาวิทยาศาสตร์ จ านวน 278 คน โดยยึด แนวปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) อย่างเคร่งครัด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนได้รับประสบการณ์ในเวทีการสอบคัดเลือก 2. ผู้เรียนที่ได้ผ่านการสอบคัดเลือกที่มีผลคะแนนผ่านเกณฑ์การสอบเป็นผู้เข้าร่วมโครงการอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ปัญหา อุปสรรค - ข้อเสนอแนะ -


16 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมได้ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาผู้เรียน ผู้บริหาร ครูและ บุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยมีกลยุทธ์ที่ส าคัญ ได้แก่ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของผู้เรียน 2. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเป็นผู้น า ทางวิชาการ ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย 3. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เชิงบูรณาการองค์ความรู้แบบสหวิทยาการ (อาทิ สะเต็มศึกษา ทวิภาคี) 4. พัฒนาศักยภาพคนให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 5. เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ 6. ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถ เป็นอาชีพ และสร้างรายได้ ตารางที่ 5 โครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ 3.1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3.1.1 โครงการการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 114,065 สพป.นครปฐม เขต 1 3.1.2 โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียนจากการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน (RT) 109,100 สพป.นครปฐม เขต 2 3.1.3 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 660,326 ศธจ.นครปฐม 3.1.4 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 389,393 สพป.นครปฐม เขต 2 3.2 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเป็นผู้น าทางวิชาการ ด้วย รูปแบบที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และ กลุ่มเป้าหมาย 3.2.1 โครงการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563 4,400 สพป.นครปฐม เขต 1 3.3 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เชิงบูรณาการองค์ความรู้แบบสหวิทยาการ (อาทิ สะเต็มศึกษา ทวิภาคี) - - - 3.4 พัฒนาศักยภาพคนให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล - - -


17 กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ 3.5 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม 3.5.1 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 239,200 ส านักงาน กศน.นฐ. 3.6 ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้สามารถเป็นอาชีพและสร้างรายได้ - รวมทั้งหมด 6 โครงการ 1,516,484 กลยุทธ์ที่ 3.1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป มีจ านวนเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา 3.1.1 โครงการการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 งบประมาณ 114,065 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก 1. จัดท าค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 2. ประชุมทางไกล เพื่อประชุมชี้แจงคณะกรรมการระดับสนามสอบ 3. ส่งมอบข้อสอบการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ให้สนามสอบ ณ โรงเรียนวัดพระประโทณเจดีย์ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2564 4. ด าเนินการจัดสอบการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามตาราง เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 และตรวจข้อสอบเขียนตอบ ณ สนามสอบ 5. รับกระดาษค าตอบ การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ให้สนามสอบ ณ โรงเรียนวัดพระประโทณเจดีย์ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 6. ส่งกระดาษค าตอบไปยัง สพฐ. ณ โรงเรียนวัดพระประโทณเจดีย์ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2564 7. สังเคราะห์ผลการสอบและการน าผลการประเมินไปใช้ และรายงาน ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของโครงการ 1. เชิงปริมาณ 1) ประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ทุกโรงเรียนในสังกัด 2) มีค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา 2563 เพิ่มขึ้น จากปีที่ผ่านมา 3) นักเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 50 เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3


18 2. เชิงคุณภาพ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความสามารถพื้นฐาน จ านวน 2 ด้าน คือ ความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ และความสามารถด้านภาษาไทย อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการด าเนินงาน ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ NT ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกโรงเรียนในศูนย์สอบ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ด้านคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 4.40 อยู่ใน ระดับคุณภาพ ดี ด้านภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 48.78 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี รวม 2 ด้าน คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 49.09 อยู่ในระดับคุณภาพดี ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผู้เรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานด้านผู้เรียน และมีคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ปัญหา อุปสรรค ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 เป็นศูนย์สอบให้แก่โรงเรียนต่างสังกัดจึงมี ความยุ่งยากในการบริหารจัดการข้อมูลและการประสานงาน ข้อเสนอแนะ แจ้งให้ทุกสังกัดรับทราบปฏิทินการปฏิบัติงาน และเปิดช่องทางการสื่อสารระหว่างศูนย์สอบกับ ผู้ประสานงานระดับโรงเรียน 3.1.2 โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียนจากการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 งบประมาณ 109,100 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก 1. บริหารการจัดสอบทั้งระบบ และประชุมคณะท างานฯ 2. จัดท ารายงานสารสนเทศ เพื่อวางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของโครงการ - ร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT) ผ่านเกณฑ์ที่ก าหนดตั้งแต่ด้านภาษา และด้านค านวณ ผ่านเกณฑ์ที่ก าหนดตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป มีจ านวน เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา ร้อยละ 3 ผลการด าเนินงาน 1. เชิงปริมาณ เกิดเครือข่ายความร่วมมือของครูผู้น าชุมชนวิชาชีพ โรงเรียนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จ านวน 117 โรงเรียน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงวิชาการเกี่ยวกับการทบทวน มาตรฐานการเรียนรู้ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ความสามารถด้านภาษาไทย


19 ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และความสามารถด้านการอ่านในระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั้งนี้ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีพัฒนาการลดลงร้อยละ 0.08 ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย และผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 มีพัฒนาการสูงขึ้นร้อยละ 1.14 ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 2. เชิงคุณภาพ จัดท าข้อมูลสารสนเทศการจัดการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวมของเขตพื้นที่การศึกษาและระดับกลุ่มโรงเรียนจ านวน 13 กลุ่มโรงเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลและ สารสนเทศของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และเพื่อให้โรงเรียนในสังกัดใช้เป็น แนวทางการจัดท าแผนเพื่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนในปีการศึกษา 2564 รวมถึงการส่งเสริมกิจกรรม ของโรงเรียนในด้านภาษาไทย การอ่านออก-เขียนได้ อ่านคล่อง-เขียนคล่อง และกิจกรรมเสริมด้านคณิตศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียน ในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีสารสนเทศเพื่อใช้วางแผนในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา 3. โรงเรียนในสังกัดมีข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปัญหา อุปสรรค - ข้อเสนอแนะ - 3.1.3 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม งบประมาณ 660,326 บาท งบประมาณจาก สช. กิจกรรมหลัก 1. ประชุมปฏิบัติการจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2563 2. ประชุมปฏิบัติการจัดระบบและจ่ายแบบทดสอบ - กระดาษค าตอบ เอกสารและอุปกรณ์การสอบ O-NET ให้สนามสอบ 3. สนามสอบด าเนินการจัดสอบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. ประชุมปฏิบัติการรับและตรวจสอบความถูกต้องของกระดาษค าตอบ เอกสารการจัดสอบ และเอกสารการเงิน 5. ประชุมปฏิบัติการจัดท าสารสนเทศผลการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2563 6. ประชุมปฏิบัติการน าผลการประเมินไปใช้พัฒนาคุณภาพศึกษา


20 ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 สังกัด สช. และ อปท. ในจังหวัดนครปฐมได้รับการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. เอกสารสารสนเทศผลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ านวน 1 ฉบับ 3. ครูโรงเรียนเอกชน จ านวน 90 คน เข้ารับการประชุมปฏิบัติการ ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด สช. และ อปท. ในจังหวัดนครปฐม ปีการศึกษา 2563 2) เอกสารสารสนเทศผลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 3) ครูโรงเรียนเอกชน จ านวน 90 คน เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ เชิงคุณภาพ 1) การจัดสอบเป็นไปตามแนวปฏิบัติของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) 2) เอกสารสารสนเทศผลการทดสอบ O-NET มีความถูกต้องครบถ้วน 3) ครูโรงเรียนเอกชนน าผลการทดสอบ O-NET ไปใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีข้อมูลผลการประเมินนักเรียนรายคน เพื่อใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน 2. โรงเรียนมีข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3. หน่วยงานต้นสังกัดมีสารสนเทศเพื่อใช้วางแผน จัดท าโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา


21 ปัญหา อุปสรรค 1. นโยบายกระทรวงศึกษาธิการที่ก าหนดให้การสอบ O-NET เป็นไปตามความสมัครใจของผู้เรียน ส่งผลให้ต้องจัดระบบการจัดสอบใหม่ เพราะนักเรียนยกเลิกการสอบในบางสนามสอบเป็นจ านวนมาก 2. ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 จ าเป็นต้องวางมาตรการป้องกันเพิ่มเติมในการจัดสอบ รวมถึงปัญหาผู้เรียนบางจังหวัดไม่สามารถเข้าสอบได้ 3. ไม่สามารถจัดประชุมปฏิบัติการครูในการน าผลการประเมินไปใช้ได้ ต้องจัดแบบออนไลน์ ข้อเสนอแนะ - 3.1.4 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 งบประมาณ 387,393 บาท กิจกรรมหลัก 1. ประชุมคณะกรรมการศูนย์สอบ 2. ประชุม อบรม สัมมนา เชิงปฏิบัติการหัวหน้าสนามสอบ ตัวแทนศูนย์สอบ และกรรมการกลาง 3. ด าเนินการจัดสอบ 4. ตรวจเยี่ยมสนามสอบ 5. ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดท าเอกสารสารสนเทศ รายงานผลการจัดการศึกษารายปี 6. ถอดบทเรียนและการน าผลการประเมินไปใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษา ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่า ร้อยละ 50 ในแต่ละวิชาเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา ร้อยละ 3 2. สถานศึกษาในสังกัดที่เข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มีข้อมูล ผลการประเมินนักเรียนเพื่อพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร 3. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีข้อมูลสารสนเทศเพื่อวางแผนการพัฒนา การศึกษาใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่เข้าสอบตามความ สมัครใจ ได้รับการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5. เอกสารสารสนเทศคุณภาพการจัดการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 เพื่อใช้เป็นฐานการพัฒนาปีการศึกษา 2564 6. บทเรียนการพัฒนาศูนย์สอบ จ านวน 1 บทเรียน ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ นักเรียนผู้เข้าสอบตามความสมัครใจ ได้รับการประกาศผลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว


22 เชิงคุณภาพ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O - NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ปีการศึกษา 2563 มีผลดังนี้ 1. การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับ สพฐ.กับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 ปีการศึกษา 2563 พบว่าวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าระดับ สพฐ. ส่วนวิชาภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยต่ ากว่าระดับ สพฐ. ในภาพรวมมีพัฒนาการ เพิ่มขึ้นจาก ปีการศึกษา 2562 โดยมีผลต่าง 1.42 2. การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 ระหว่างปีการศึกษา 2562 และ 2563 พบว่า วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น ส่วนวิชาคณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยลดลง 2.63 ผลเฉลี่ยในภาพรวม มีพัฒนาการสูงขึ้นร้อยละ 4.79 3. การเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปจากผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 มีจ านวนนักเรียนได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยคิดเป็น ร้อยละของจ านวนผู้สอบได้ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป จากแต่ละกลุ่มวิชา พบว่ามีจ านวนเพิ่มมากขึ้น ใน 3 กลุ่มวิชา ได้แก่วิชา ภาษาไทย เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.56 วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.22 ซึ่งเพิ่มขึ้นสูงกว่า ทุกวิชา และวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.99 ส่วนวิชาคณิตศาสตร์ จ านวนนักเรียนได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 ลดลงร้อยละ 1.01 4. ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายกลุ่มโรงเรียนปีการศึกษา 2563 พบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่วิชา ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยรอยละ 57.96 รองลงมาคือวิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 39.89 ล าดับต่อมาคือวิชา ภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 38.14 ส่วนวิชาที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด ได้แก่ วิชาคณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 29.76 ระดับชั้นมัธยมศึษาปีที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O - NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ปีการศึกษา 2563 มีผลดังนี้ 4.1 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับ สพฐ. กับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 ปีการศึกษา 2563 พบว่าวิชาภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าทุกรายวิชาที่ 56.16 และมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับ สพฐ. คิดเป็นร้อยละ 0.98 ส่วนอีก 3 วิชามีค่าเฉลี่ยต่ ากว่าค่าเฉลี่ยของ สพฐ. โดยวิชาภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 31.33 ต่ ากว่าระดับ สพฐ. ร้อยละ 2.81 วิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 29.63 ต่ ากว่าระดับ สพฐ. ร้อยละ 0.54 ส่วนวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งมีคะแนนค่าเฉลี่ยร้อยละต่ าสุดในระดับเขตพื้นที่ มีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 18.21 ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยระดับ สพฐ. ร้อยละ 7.61 4.2 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 ระหว่างปีการศึกษา 2562 และ 2563 พบว่ามีเพียงวิชาเดียว ที่มีคะแนนค่าเฉลี่ยร้อยละสูงขึ้น ได้แก่ วิชาภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 31.99 สูงขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ร้อยละ 1.84 ในภาพรวม ทั้ง 4 วิชา มีพัฒนาการลดลง ในระดับร้อยละ 0.24


23 4.3 การเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปจากผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2562 – 2563 มีจ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปในภาพรวมทั้ง 4 วิชา ลดลง โดยวิชาภาษาไทย มีจ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 61.42 ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.98 ส่วนวิชาภาษาอังกฤษมีจ านวนลดลงร้อยละ 3.83 วิชาคณิตศาสตร์ลดลงร้อยละ 6.76 และวิชาวิทยาศาสตร์ ลดลงร้อยละ 6.76 4.4 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทั้ง 8 โรงเรียน (ตามจ านวนที่สมัครใจเข้าสอบ) พบว่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ ร้อยละ 30.18 และคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ร้อยละ 36.95 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีข้อมูลผลการประเมินนักเรียนรายคน ที่เข้าสอบตามความสมัครใจ เพื่อใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน 2. โรงเรียนมีข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ท าแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีสารสนเทศเพื่อใช้วางแผนจัดท า โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปัญหา อุปสรรค 1. เป็นการสอบในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท าให้มีการปรับการเรียน เปลี่ยนการสอน ผู้เรียนต้องเรียนรู้ที่บ้าน ทั้งแบบ on hand on demand และ on line ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ ลดน้อยลง เนื่องจากสภาพ ความพร้อมของแต่ละครอบครัวมีความแตกต่างกัน 2. เป็นการสมัครสอบตามความสมัครใจของผู้เรียน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการตัดสินใจ ท าให้ เกิดความ คลาดเคลื่อนในการเตรียมตัว 3. มีการปรับเปลี่ยนนโยบายด้านการจัดสอบกะทันหัน ท าให้เกิดความสับสนในการบริหารจัดการ ข้อเสนอแนะ - กลยุทธ์ที่ 3.2 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของสถานศึกษาที่ส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร ครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย 3.2.1 โครงการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 งบประมาณ 4,400 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงการด าเนินงานประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563


24 ขั้นตอนด าเนินการ ประชุมชี้แจงการด าเนินงานการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563 กิจกรรมที่ 2 ด าเนินงานประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563 ขั้นตอนด าเนินการ 1. จัดท าค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการ 2. โรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 11 โรงเรียน ด าเนินการประเมินพัฒนาการนักเรียนปฐมวัยตามคู่มือ การประเมินพัฒนาการจาก สพฐ. 3. คณะกรรมการบันทึกผลการประเมินพัฒนาการระดับโรงเรียน ส่งผลการประเมินให้กับ ส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 1 4. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 1 ส่งผลการประเมินแก่ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ 1. โรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทุกโรงเรียนด าเนินการประเมินพัฒนาการนักเรียนปฐมวัย ร้อยละ 100 2. นักเรียนปฐมวัยที่ได้รับการประเมินพัฒนาการผ่านเกณฑ์การประเมินโดยอยู่ในระดับ 3 ร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีการประเมินที่เป็นระบบและเป็นรูปธรรม ผลการด าเนินงาน นักเรียนปฐมวัยพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ตามมาตรฐานคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์


25 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนปฐมวัยมีมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปัญหา อุปสรรค ครูผู้ประเมินพัฒนาการนักเรียนปฐมวัยไม่สอดคล้องกับการประเมินตามสภาพจริง ข้อเสนอแนะ ประชุมชี้แจงการด าเนินงานก่อนการประเมินพัฒนาการนักเรียนปฐมวัย และนิเทศ ติดตามการประเมิน กลยุทธ์ที่ 3.5 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดที่ 1 ทุกหน่วยงานทางการศึกษาส่งเสริม สนับสนุน และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อสร้าง จิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อมและน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 3.5.1 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม งบประมาณ 239,200 บาท งบประมาณจาก กศน. กิจกรรมหลัก ฝึกอบรมประชาชน ด้วยกระบวนการให้ประชาชนรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน โดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวปฏิบัติ ตลอดจนการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถ อยู่ร่วมและท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลการด าเนินงาน 1. เชิงปริมาณ อบรมประชาชนในพื้นที่นครปฐม จ านวน 598 คน 2. เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหาด้านต่าง ๆ ได้แก่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การสร้างจิตส านึก ความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา และการบ าเพ็ญประโยชน์ ในชุมชน การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชนด้านอื่น ๆ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ เพื่อน าไปสู่การแก้ปัญหา พัฒนาการด ารงชีวิต พัฒนาการประกอบอาชีพ และการพัฒนาชุมชน และสังคม


26 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาด้านต่าง ๆ ได้แก่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การสร้างจิตส านึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา และการบ าเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การอนุรักษ์ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนด้านอื่น ๆ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ เพื่อน าไปสู่การแก้ปัญหา พัฒนาการด ารงชีวิต พัฒนาการประกอบอาชีพ และการพัฒนาชุมชน และสังคม ปัญหา อุปสรรค - ก่อนการด าเนินการจัดกิจกรรมมีล าดับขั้นตอนที่เพิ่มขึ้นจากเดิมในการขออนุญาตจัดกิจกรรมในระดับ พื้นที่ - ประชาชนในระดับพื้นที่มีความกังวลใจในการเข้าร่วมกิจกรรมถึงความปลอดภัยของตนเอง ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) - รูปแบบกิจกรรมที่จัดอบรมให้ความรู้ต้องใช้เวลามากพอสมควรในการอบรมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชน ข้อเสนอแนะ การจัดกระบวนการเรียนรู้ของโครงการเน้นการให้ความรู้ ความเข้าใจ การปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เข้าร่วม โครงการมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถน าไปใช้ในการด ารงชีวิตประจ า


27 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมได้ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์สร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา โดยเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ คือ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา มีกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษา ในระบบนอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย (2) พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และการ เรียนรู้ตลอดชีวิต และ (3) ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมและท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม ตารางที่ 7 โครงการตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษากลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 4.1 เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบนอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึง โอกาสทางการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 4.1.1 โครงการรับนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา 11,000 สพป.นครปฐม เขต 1 4.1.2 โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ปีการศึกษา 2564 10,000 สพป.นครปฐม เขต 2 4.1.3 โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 705,400 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 4.2 พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต - - - 4.3 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมและ ท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม 4.3.1 โครงการขับเคลื่อนการด าเนินงานของศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่ การศึกษา ปีการศึกษา 2564 49,800 สพป.นครปฐม เขต 1 4.3.2 โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและคุ้มครองนักเรียน 15,000 สพป.นครปฐม เขต 2 4.3.3 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 91,425 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 4.3.4 โครงการการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 172,800 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 4.3.5 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริม ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 607,950 ส านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม รวมทั้งหมด 8 โครงการ 1,663,375


28 กลยุทธ์ที่ 4.1 เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบนอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 1 ทุกสถานศึกษาพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมและท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม 4.1.1 โครงการรับนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 งบประมาณ 11,000 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก 1. ประชาสัมพันธ์การรับนักเรียนสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 2. ประกาศแนวปฏิบัติการรับนักเรียนสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 ของ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 3. ด าเนินการรับนักเรียนของ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ให้เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย ตามกฎหมายและระเบียบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ - ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มที่มีอายุเข้าสู่เกณฑ์การศึกษาภาคบังคับเข้ารับการศึกษา - ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนที่เข้าเรียนในระดับการศึกษาภาคบังคับเข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ - ผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา ได้ศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ผลการด าเนินงาน 1. การรับนักเรียน ปีการศึกษา 2564 - ศึกษาการประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการรับนักเรียนของ สพฐ. - ประชาสัมพันธ์ นโยบายการรับนักเรียนให้สถานศึกษาทราบและถือเป็นแนวทางในการด าเนินงาน - ตรวจสอบพื้นที่เขตบริการของโรงเรียน ตรวจสอบผู้รับผิดชอบการรับนักเรียน 2. การจัดประชุมคณะกรรมการรับนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา - การประชุมพิจารณาแนวปฏิบัติการรับนักเรียน ปีการศึกษา 2564 - การประชุมพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการรับนักเรียน ระดับโรงเรียน - การประชุมพิจารณาแผนการรับนักเรียน ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียน 3. ส่งเสริมเด็กปฐมวัยเข้าศึกษาและการเกณฑ์เด็กเข้าเรียน - จัดท าป้ายไว้นิลประชาสัมพันธ์การรับนักเรียน - ส ารวจข้อมูล ทร.14


29 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถขับเคลื่อนงานแนะแนวให้สอดคล้องกับนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และทิศทางการพัฒนา โดยใช้ศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่การศึกษาเป็นกลไกในการขับเคลื่อน 2. สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีการขับเคลื่อน การท างานแนะแนวตามแนวทางของศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่การศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เข้มแข็ง และยั่งยืน 3. สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 สามารถด าเนินงาน การขับเคลื่อนการมีงานท าของนักเรียน รู้ความต้องการของเด็กว่าจะไปประกอบอาชีพใดบ้างและศึกษาต่อ ที่ตรงกับความสามารถของตัวเอง ปัญหา อุปสรรค การด าเนินการรับนักเรียนในกิจกรรมการส ารวจข้อมูล ทร.14 จะประสบปัญหาการที่ผู้ปกครองมีถิ่นที่อยู่ ไม่เป็นหลักแหล่ง และนักเรียนย้ายที่อยู่ตามผู้ปกครองโดยไม่แจ้งย้ายต่อโรงเรียนและทะเบียนราษฎร์ จึงท าให้ การเก็บข้อมูล ทร.14 ได้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ 1) โรงเรียนควรประชุมชี้แจงครูที่รับผิดชอบและผู้ปกครองให้เข้าใจตรงกันในเรื่องการลาออก และการย้ายนักเรียนไปเข้าเรียนที่โรงเรียนแห่งใหม่ 2) โรงเรียนควรติดตามนักเรียนอย่างจริงจัง เมื่อนักเรียนขาดเรียนเกินก าหนด 3) เมื่อนักเรียนมีปัญหา โรงเรียนควรออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นรายกรณี 4.1.2 โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ปีการศึกษา 2564 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 งบประมาณ 10,000 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก 1. ประชุมคณะกรรมการรับนักเรียนระดับส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2. ประชาสัมพันธ์การรับนักเรียนปีการศึกษา 2564 เพื่อรณรงค์การเข้าเรียน 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดท าข้อมูลส ามะโนประชากรวัยเรียนที่มีอายุถึงเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ ตามพ.ร.บ.การศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 และจัดท าข้อมูลประชากรวัยเรียน 4. ออกติดตามการรับนักเรียน และออกติดตามดูแลเด็กนักเรียนที่มีแนวโน้มออกกลางคัน


30 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของโครงการ 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัด สามารถด าเนินการรับนักเรียนได้อย่างทั่วถึงและเสมอภาค 2. ร้อยละ 100 ของประชากรวัยเรียนถึงเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ เข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3. ร้อยละ 100 ของนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4. ร้อยละ 100 ของนักเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หรือเทียบเท่า ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ 1. โรงเรียนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีแผนการรับนักเรียน 2. ประชากรวัยเรียนในเขตพื้นที่บริการได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ด าเนินการจัดท า แผนการรับนักเรียนได้อย่างถูกต้อง 2. โรงเรียนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ด าเนินการจัดท าข้อมูล ส ามะโนประชากรวัยเรียนได้ครบถ้วน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ปีการศึกษา 2564 เด็กทุกคนที่มีอายุ 3-6 ปี ได้รับการเตรียมความพร้อมในระดับการศึกษาปฐมวัย และเด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 7 - 16 ทุกคน ได้รับบริการการศึกษา ภาคบังคับ เหมาะสมตามศักยภาพ มีโอกาส ตามสิทธิอย่างเท่าเทียมทั่วถึงและตรงตามศักยภาพ โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ผู้เรียนได้เรียนรู้ อย่างมีความสุข จบการศึกษาตามก าหนดเวลาของหลักสูตร อัตราการออกกลางคันเป็นศูนย์ และเข้ารับการศึกษา ต่อระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานหรืออาชีวศึกษาเพิ่มขึ้น ปัญหา อุปสรรค - ข้อเสนอแนะ - ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษานอกระบบยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ด้อย ผู้พลาดโอกาสทางการศึกษา (กศน.) 4.1.3 โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ปีการศึกษา 2564 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม งบประมาณ 705,400 บาท งบประมาณจาก กศน. กิจกรรมหลัก จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของโครงการ ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถ อยู่ร่วมและท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม


31 ผลการด าเนินงาน 1. เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 ของผู้เรียน/ผู้รับบริการระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อ าเภอทั้ง 7 แห่ง ในสังกัด ส านักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม จบตามเกณฑ์การศึกษาที่ก าหนด 2. เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของผู้เรียน/ผู้รับบริการระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อ าเภอทั้ง 7 แห่ง ในสังกัด ส านักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม มีความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดีต่อการศึกษาตลอดชีวิต และมีคุณธรรมน าความรู้ ตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนผู้ด้อยโอกาส ผู้พลาดโอกาส และผู้ขาดโอกาสทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาให้เป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการด าเนินชีวิต ปัญหา อุปสรรค การจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ท าให้นักศึกษาบางส่วนไม่คุ้นชินกับการเรียนรูปแบบนี้ บางส่วนไม่มี สัญญาณอินเทอร์เน็ตเอง ท าให้ไม่สามารถเข้าเรียนได้ ดังนั้น การจัดการเรียนรู้จึงเป็นไปตามสภาพของนักศึกษา ที่พร้อมและสะดวกในการร่วมกิจกรรมนั้น ๆ อาจท าให้การประเมินผลเกิดการล่าช้า เพราะการติดตามงานที่ครู มอบหมายให้นักศึกษา จะไม่เป็นตามเวลาที่ก าหนดส่ง เหมือนกับรูปแบบที่ให้นักศึกษามาพบกลุ่ม (On-site) อย่างไรก็ตามในสภาวการณ์ที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนในที่ตั้ง หรือ On site ได้ ครูผู้สอนได้บูรณาการ การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยผสมผสานการเรียนรู้ และการวัดผล ประเมินผล โดยสื่อสารกับผู้เรียนผ่านช่องทาง On hand โดยค านึงถึงมาตรการการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ทั้งการมอบหมายภาระงาน ในรูปใบงาน ใบความรู้ ตลอดจนการวัดและประเมินผล


32 ข้อเสนอแนะ - ครูควรมีระบบช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล อาจใช้รูปแบบการเยี่ยมบ้าน ติดตามสภาพปัญหาและ ความต้องการ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านการเรียนการสอนต่อไป กลยุทธ์ที่ 4.3 ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงสังคม ตัวชี้วัดที่ 1 ทุกสถานศึกษาพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมและท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม 4.3.1 โครงการขับเคลื่อนการด าเนินงานของศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา 2564 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 งบประมาณ 49,800 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก ด าเนินการโอนงบประมาณที่ไดรับจัดสรรให้กับศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่การศึกษา (ร.ร.วัดเกาะวังไทร) เพื่อด าเนินการกิจกรรมหลัก 2 กิจกรรม ดังนี้ 1. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศงานแนะแนว ได้แก่ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ งานแนะแนว ซึ่งประกอบด้วย ฐานข้อมูลนักเรียน ฐานข้อมูลทางการศึกษาและข้อมูลทุนการศึกษาต่าง ๆ และฐานข้อมูลด้านอาชีพ 2. การจัดหาและพัฒนาสื่อเครื่องมือที่จ าเป็นในการแนะแนว ได้แก่ การจัดท าคู่มือกิจกรรมแนะแนว ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และเผยแพร่ให้กับโรงเรียน 121 โรง พัฒนาช่องทางการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และจัดกิจกรรมบริการแนะแนวศึกษาร่วมกับภาคีเครือข่าย โดยการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ -ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนงานแนะแนวจากศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่ การศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 เชิงคุณภาพ - ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนว ที่มีประสิทธิภาพ - ร้อยละ 100 ของผู้เรียนที่จบการศึกษาชั้น ป.6 และ ม.3 มีทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพ และการมีงานท า ตามความถนัด และความต้องการของตนเอง มีทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการ ของประเทศ วางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและน าไปปฏิบัติได้ ผลการด าเนินงาน 1. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศงานแนะแนว ได้ด าเนินการวางแผนและออกแบบระบบ สารสนเทศงานแนะแนวและรวบรวมข้อมูลเพื่อพัฒนาฐาน ซึ่งอยู่ระหว่างการด าเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศ งานแนะแนวในขั้นตอนการเขียนโปรแกรมเพื่อรองรับฐานข้อมูล


33 2. การจัดหาและพัฒนาสื่อเครื่องมือที่จ าเป็นในการแนะแนว ด าเนินการจัดท าคู่มือกิจกรรมแนะแนว ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อยู่ระหว่างการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับโรงเรียนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถขับเคลื่อนงานแนะแนวให้สอดคล้องกับนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และทิศทางการพัฒนา โดยใช้ศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่การศึกษาเป็นกลไกในการขับเคลื่อน 2. สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีการ ขับเคลื่อนการท างานแนะแนวตามแนวทางของศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่การศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เข้มแข็ง และยั่งยืน 3. สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 สามารถด าเนินงาน การขับเคลื่อนการมีงานท าของนักเรียน รู้ความต้องการของเด็กว่าจะไปประกอบอาชีพใดบ้างและศึกษาต่อที่ตรง กับความสามารถของตัวเอง ปัญหา อุปสรรค สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) มีผลต่อกระบวนการแนะแนว ทางการศึกษา ท าให้ไม่สามารถด าเนินงานแนะแนวในเรื่องต่าง ๆ ให้กับนักเรียนได้โดยตรงได้ ข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาในช่วงสถานการณ์ COVID – 19 ศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่การศึกษา (รร.วัดเกาะวังไทร) จึงได้ด าเนินการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศงานแนะแนวเพื่อขับเคลื่อนงานแนะแนว ของเขตพื้นที่การศึกษา ด้วยการใช้เทคโนโลยี และพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศงานแนะแนวอย่างเป็นระบบ และเพื่อตอบสนองนโนบายของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการด าเนินงานของศูนย์แนะแนว ประจ าเขตพื้นที่การศึกษา


34 4.3.2 โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและคุ้มครองนักเรียน หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 งบประมาณ 15,000 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก 1) พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) จัดท าข้อมูลนักเรียนกลุ่มเสี่ยงต่างๆ 3) พัฒนา ส่งเสริมพฤติกรรมนักเรียน และคุ้มครอง พิทักษ์สิทธินักเรียน 4) ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ 1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือและคุ้มครอบนักเรียน และการแนะแนว ที่มีประสิทธิภาพ 2. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีข้อมูลนักเรียนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา กลุ่มพิเศษ ของโรงเรียนในสังกัด ร้อยละ 90 ผลการด าเนินงาน 1. คัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และครูเพื่อรับรางวัลครูต้นแบบ การจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต ประจ าปี 2564 ระดับเขตพื้นที่ เมื่อ วันที่ 10 มิถุนายน 2563 เวลา 13.30 น. โดยมีจ านวนสถานศึกษา ที่ส่งคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประจ าปี 2564 2. ส่งเสริมให้โรงเรียนในสังกัดได้ด าเนินการตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยให้สถานศึกษา เฝ้าระวัง สังเกตพฤติกรรม และเข้าช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหาในด้านต่าง ๆ 3. นักจิตวิทยาประจ าส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้เข้าประชุม ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meeting เมื่อวันที่ 5 – 7 กรกฎาคม 2564 เพื่อยกระดับคุณภาพระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียนและเสริมสร้างทักษะชีวิตให้นักเรียน รวมทั้งพัฒนาการท าหน้าที่ของนักจิตวิทยาโรงเรียน ประจ าส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเป็นโค้ชให้กับครูที่ท าหน้าที่เป็น Case Manager (CM) ให้ด าเนินการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. ด าเนินการออกแบบการคัดกรองนักเรียนรายบุคคล , แบบการเยี่ยมบ้านนักเรียน และแบบสรุปผล การคัดกรองนักเรียน และได้แจกแบบการคัดกรองดังกล่าว แก่โรงเรียนในสังกัด จ านวน 117 โรงเรียน 5. โรงเรียนในสังกัดได้ด าเนินการตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ การคัดกรองนักเรียน รายบุคคล โดยการเยี่ยมบ้านหรือรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลด้วยวิธีอื่น ๆ เพื่อส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและแก้ไข ปัญหา หรือส่งต่อนักเรียน ต่อไป 6. ด าเนินการส ารวจจ านวนเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา (ที่มีบัตรและยังไม่หมดอายุ) และส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาส่งผลการปฏิบัติงาน เพื่อพิจารณา มอบเกียรติบัตรเป็นการสร้างขวัญก าลังใจในการท างานต่อไป


35 7. ด าเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดท าคู่มือระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โรงเรียนในสังกัดมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียน มีทิศทาง ในการด าเนินงานอย่างเป็นระบบและมีทิศทางเดียวกัน สามารถส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวัง อีกทั้งสามารถป้องกันและการช่วยเหลือแก้ปัญหาต่าง ๆ ของเด็กนักเรียนในสังกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัญหา อุปสรรค 1. ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท าให้การท างาน เกิดความล่าช้าและไม่สามารถปฏิบัติงานตามแผนการด าเนินการได้ 2. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรมาค่อนข้างน้อย ข้อเสนอแนะ - 4.3.3 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม งบประมาณ 91,425 บาท งบประมาณจาก กศน. กิจกรรมหลัก ฝึกอบรมประชาชน เพื่อให้มีความรู้ที่ให้ความส าคัญกับการพัฒนาคนทุกช่วงวัย ให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมส าหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถ อยู่ร่วมและท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ อบรมประชาชนในพื้นที่นครปฐม จ านวน 795 คน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความรู้ เจตคติค่านิยมที่ถูกต้อง มีทักษะหรือความสามารถพื้นฐานที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิต ในสังคมปัจจุบัน สามารถเผชิญกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมกับการปรับตัวในอนาคต


36 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความรู้ เจตคติค่านิยมที่ถูกต้อง มีทักษะหรือความสามารถ พื้นฐานที่ส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน สามารถเผชิญกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมกับการปรับตัวในอนาคต ปัญหา อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 อ าเภอสามพรานเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด และเข้มงวด ดังนั้นการจัดกิจกรรมต้องด าเนินการมาตรการการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Covid 2019) และสถานการณ์การแพร่ระบาดยังไม่ดีขึ้นมากนัก ท าให้การด าเนินการค่อนข้าง ล าบาก และต้องใช้ความระมัดระวังในการจัดกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายไม่กล้าเข้าร่วมกิจกรรม ท าให้ยังจัดไม่ครบ ทุกต าบล ประกอบกับในช่วงไตรมาส 4 ได้รับการจัดสรรงบประมาณล่าช้า ท าให้การจัดกิจกรรมต้องด าเนินการ ไปจนถึงช่วงปลายเดือนกันยายน ข้อเสนอแนะ ปรับรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน 4.3.4 โครงการการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม งบประมาณ 172,800 บาท งบประมาณจาก กศน. กิจกรรมหลัก จัดการศึกษาอาชีพให้กับประชาชนทั่วไป ให้มีความรู้และทักษะอาชีพ พัฒนาอาชีพเดิม สร้างอาชีพใหม่ สามารถน าความรู้และทักษะไปใช้เพื่อสร้างรายได้ ลดรายจ่ายให้กับประชาชนในชุมชนท้องถิ่น


37 ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ ประชาชนได้เรียนรู้ มีทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และน าความรู้ ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน สามารถพึ่งพาตนเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้ ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดนครปฐม จ านวน 432 คน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการได้เรียนรู้ มีทักษะ กระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และน าความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน สามารถพึ่งพาตนเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนได้เรียนรู้ มีทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และน าความรู้ ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน สามารถพึ่งพาตนเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้ ปัญหา อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 ต้องมีมาตรการเว้นระยะห่าง จึงท าให้มีข้อจ ากัดในสถานที่ และกิจกรรม การเรียนการสอนที่ด าเนินการไม่สะดวก ข้อเสนอแนะ - ต้องมีมาตรการคัดกรองวัดไข้ มีจุดบริการล้างมือด้วยสบู่และน้ าสะอาด หรือเจลแอลกอฮอล์ผู้เข้าร่วม กิจกรรมทุกคนต้องสวมหน้ากากอนามัย จัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ลดการแออัด จัดกิจกรรมในสถานที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก และลดเวลาการจัดกิจกรรมให้สั้นลงเท่าที่จ าเป็น - เลื่อนการจัดกิจกรรมออกไปก่อน


38 4.3.4 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม งบประมาณ 607,950 บาท งบประมาณจาก กศน. กิจกรรมหลัก จัดการศึกษาอาชีพให้กับประชาชนทั่วไป ให้มีความรู้และทักษะอาชีพ พัฒนาอาชีพเดิม สร้างอาชีพใหม่ สามารถน าความรู้และทักษะไปใช้เพื่อสร้างรายได้ ลดรายจ่ายให้กับประชาชนในชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ ประชาชนได้รับการพัฒนาด้านอาชีพ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ลดรายจ่าย พัฒนาตนเองและครอบครัวอย่างเป็นระบบ มีการรวมกลุ่มการน าความรู้ไปต่อยอดและพัฒนาอาชีพในชุมชน ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดนครปฐม จ านวน 747 คน แยกเป็นกิจกรรมดังนี้ 1) กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) จ านวน 318 คน 2) กิจกรรมพัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชั่วโมง) จ านวน 320 คน 3) กิจกรรม 1 อ าเภอ 1 อาชีพ จ านวน 109 คน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีการพัฒนาด้านอาชีพ น าความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ลดรายจ่าย พัฒนาตนเองและครอบครัวอย่างเป็นระบบ มีการรวมกลุ่มการน าความรู้ไปต่อยอดและพัฒนาอาชีพในชุมชน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการประชาชนได้รับการพัฒนาด้านอาชีพ สามารถน าความรู้ที่ได้รับ ไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ลดรายจ่าย พัฒนาตนเองและครอบครัวอย่างเป็นระบบ มีการรวมกลุ่ม การน าความรู้ไปต่อยอดและพัฒนาอาชีพในชุมชน ปัญหา อุปสรรค สถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ท าให้ผู้ที่สนใจจะเข้าร่วมโครงการฯ ไม่มีความมั่นใจในการเข้าร่วมกิจกรรมที่มีการรวมตัวของคน จ านวนมาก ๆ ท าให้การรวบรวมคนเข้าร่วม โครงการฯ ค่อนข้างยาก


39 ข้อเสนอแนะ - ต้องมีมาตรการคัดกรองวัดไข้ มีจุดบริการล้างมือด้วยสบู่และน้ าสะอาด หรือเจลแอลกอฮอล์ผู้เข้าร่วม กิจกรรมทุกคนต้องสวมหน้ากากอนามัย จัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร ลดการแออัด จัดกิจกรรม ในสถานที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก และลดเวลาการจัดกิจกรรมให้สั้นลงเท่าที่จ าเป็น - เลื่อนการจัดกิจกรรมออกไปก่อน


40 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐาน ของเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมได้ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม โดยเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ คือ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม มีกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัดและฐานข้อมูลกลางด้าน การศึกษาให้เป็นเอกภาพเป็นปัจจุบันและทันต่อการใช้งาน (2) ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (3) สนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้ อย่างอิสระและมีประสิทธิภาพภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ และ (4) ส่งเสริมโครงการโรงเรียน คุณภาพประจ าต าบล โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม งานอาชีพ และสุขภาพอนามัย ตารางที่ 9 โครงการจัดการศึกษาตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลกลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดนครปฐม งบประมาณ หน่วยงาน (หน่วย : บาท) ที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัดและฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบันและทันต่อการ ใช้งาน 5.1.1 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 18,000 สพป.นครปฐม เขต 1 5.2 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 5.2.1 โครงการส่งเสริมเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และค่านิยมของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) 48,000 สพป.นครปฐม เขต 2 5.3 สนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างอิสระและมีประสิทธิภาพภายใต้กรอบ แนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ 5.3.1 โครงการการบริหารงานและตรวจติดตามโรงเรียนเอกชนในสังกัด 56,100 ศธจ.นครปฐม 5.4 ส่งเสริมโครงการโรงเรียนคุณภาพประจ าต าบล โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งทางวิชาการ การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม งานอาชีพ และสุขภาพอนามัย - - - รวมทั้งสิ้น 3 โครงการ 122,100


41 กลยุทธ์ที่ 5.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัดและฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบัน และทันต่อการใช้งาน ตัวชี้วัดที่ 1 ทุกหน่วยงานทางการศึกษามีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด และฐานข้อมูลกลาง ด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบันและทันต่อการใช้งาน 5.1.1 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 งบประมาณ 18,000 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก กิจกรรมที่ 1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในหน่วยงาน กิจกรรมที่ 2 การจัดท าข้อมูลสารสนเทศของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ เชิงปริมาณ 1. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และโรงเรียนในสังกัดทุกแห่ง มีการใช้ ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 2. โรงเรียนทุกแห่งในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีข้อมูล สารสนเทศทางการศึกษาที่ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน เชิงคุณภาพ 1. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) ในการบริหารงานทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา พัฒนาหน่วยงาน ให้เป็นส านักงานอิเล็กทรอนิกส์และมีนวัตกรรมทางการศึกษา 2. บุคลากรทุกคนที่เข้ารับการพัฒนาด้านข้อมูลสารสนเทศ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถน าความรู้ ที่ได้รับจากการพัฒนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถรายงานหน่วยงานต้นสังกัดได้ ภายในระยะเวลาที่ก าหนด ผลการด าเนินงาน กิจกรรมที่ 1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในหน่วยงาน 1.1 การเช่าพื้นที่จัดท าเว็บไซต์ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ที่ www.nptedu.go.th เพื่อรองรับระบบสารสนเทศต่าง ๆ ที่เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน ท าให้ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีเว็บไซต์ที ่สามารถใช้รายงานผลการด าเนินงานของหน่วยงานเผยแพร่ สู่สาธารณะชนได้แบบ Real time 1.2 ด าเนินการปรับปรุงระบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย(WIFI) โดยการติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณอินเทอร์เน็ต แบบไร้สาย (WIFI) ทั้งหมด 14 จุด ทุกชั้นของอาคารส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และทุกห้องประชุม รวมทั้งบริเวณลานจอดรถใต้อาคารส านักงาน 1.3 ด าเนินการเปิดระบบประชุมทางไกลระหว่างสพฐ. และส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่านระบบ Video Conference ได้แก่ รายการ “พุธเช้าข่าว สพฐ.”, การประชุมผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทั่วประเทศ, การประชุมทางไกลชี้แจงเรื่องเร่งด่วนต่าง ๆ ของแต่ละส านัก ใน สพฐ. ด าเนินการจัดท าระบบ


42 ประชุมทางไกลระหว่างส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดผ่านช่องทาง Google meet และ Youtube NPT1 Channel ที่ https://www.youtube.com/channel/UCcP6dU9wIzHAU4EUCVbMvyw กิจกรรมที่ 2 การจัดท าข้อมูลสารสนเทศของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 2.1 แจ้งโรงเรียนประชุมทางไกลการจัดท าข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (DMC) รอบสิ้นปีการศึกษา 2563 ผ่ าน ร ะบบ youtube ที่ https://www.youtube.com/watch?v=y5cm1FaUkCg ซึ่ง จั ดโ ด ย สพ ฐ . เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2564 เวลา 09.30 น. เป็นต้นไป ส่งผลให้โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ทุกแห่งสามารถจัดท าข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (DMC) รอบสิ้นปีการศึกษา 2563 ได้ตามปฏิทินที่สพฐ. ก าหนดครบทุกโรงเรียน ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2564 มีจ านวนนักเรียนทั้งสิ้น 31,398 คน แยกเป็นเพศชาย 16,602 คน เพศหญิง 14,796 คน มีห้องเรียน 1,482 ห้อง 2.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรด้านข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ปีการศึกษา 2564 ให้กับผู้รับผิดชอบงานข้อมูลระดับโรงเรียน ในวันที่ 10 มิถุนายน 2564 ผ่านระบบการประชุมทางไกล ด้วย Google meetและ youtube มีบุคลากรผู้เกี่ยวข้องผู้เข้าประชุมต้นทาง ณ ห้องประชุมจันหอม จ านวน 11 ราย ใช้งบประมาณ 1,760 บาท และมีผู้เข้าประชุมผ่านระบบทางไกลด้วย Google meet และ youtube จ านวนทั้งสิ้น 181 คน จัดซื้อวัสดุเพื่อใช้ในการด าเนินงาน จ านวนเงิน 4,900 บาท รวมใช้งบประมาณ 6,660 บาท (หกพันหกร้อยหกสิบบาทถ้วน) โดยโรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 1 จ านวน 121 แห่ง สามารถด าเนินการจัดท าข้อมูลนักเรียนรายบุคคลในโปรแกรม DMC โดยยืนยันและรับรองข้อมูลได้ทันเวลาตามปฏิทิน ที่ สพฐ. ก าหนดครบทุกโรงเรียน โดยมีข้อมูลนักเรียน ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2564 จ านวนนักเรียนทั้งสิ้น 30,851 คน แยกเป็นเพศชาย 16,265 คน เพศหญิง 14,586 คน มีห้องเรียนจ านวน 1,449 ห้อง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) ทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้สามารถติดต่อราชการได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็ว


43 2. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีสารสนเทศทางการศึกษาที่ถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถใช้ในการบริหารจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนมีสารสนเทศทางการศึกษาพร้อมใช้เผยแพร่ สู่สาธารณชนที่สามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย ปัญหา อุปสรรค 1. การจัดท าข้อมูลนักเรียนรายบุคคลในโปรแกรม (DMC) บุคลากรในระดับสถานศึกษาเปลี่ยนแปลงบ่อย ท าให้การด าเนินงานไม่ต่อเนื่อง 2. ผู้รับผิดชอบระดับสถานศึกษา ไม่ให้ความส าคัญกับการบันทึกข้อมูลพื้นฐานในโปรแกรม DMC ท าให้ ข้อมูลบางรายการไม่สามารถน ามาใช้ประกอบในการด าเนินงานได้จริง จึงต้องจัดเก็บข้อมูลใหม่หากต้องน าข้อมูล มาใช้งานจริง ข้อเสนอแนะ ควรด าเนินการพัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบงานข้อมูลระดับสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องในทุกปีการศึกษา กลยุทธ์ที่ 5.2 ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของหน่วยงานทางการศึกษาผ่านการประเมินตามโครงการคุณธรรมและความโปร่งใส ในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ 5.2.1 โครงการส่งเสริมเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 งบประมาณ 48,000 บาท งบประมาณจาก สพฐ. กิจกรรมหลัก 1) ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อการส่งเสริม “โครงงานคุณธรรม” ในโรงเรียนอย่างยั่งยืน 2) การก ากับ ติดตามและตรวจสอบคุณภาพโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 2 ดาว 3) ประชุมคณะกรรมการคัดเลือกคุรุชนคนคุณธรรม 4) ประชุมคณะกรรมการคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี 5) พัฒนานวัตกรรมการนิเทศและติดตาม 6) นิเทศ ก ากับและติดตาม ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัด ด าเนินการโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์และค่านิยมของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) 2. ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู และนักเรียนในสังกัด ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม 3. โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้รับการยกระดับ คุณภาพเป็นโรงเรียนคุณธรรม ระดับ 2 ดาว และ 3 ดาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 4. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ “คุรุชนคนคุณธรรม” จ านวน 20 คน


44 5. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี - ด้านการจัดการเรียนการสอน จ านวน 15 นวัตกรรม - ด้านการบริหาร จ านวน 5 นวัตกรรม - ด้านการนิเทศ ติดตาม จ านวน 1 นวัตกรรม ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ 1. โรงเรียนในสังกัด จ านวน 117 โรงเรียน 2. ผู้บริหาร ครู และนักเรียน ในสังกัดทุกคน 3. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ “คุรุชนคนคุณธรรม” - ผู้บริหารโรงเรียน จ านวน 5 คน - ครู จ านวน 5 คน 4. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี - ด้านการจัดการเรียนการสอน จ านวน 15 นวัตกรรม - ด้านการบริหาร จ านวน 5 นวัตกรรม 5. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนวัตกรรม Best Practice การนิเทศ ติดตาม จ านวน 1 นวัตกรรม เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ด าเนินงานโครงการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้บริหาร ครู และนักเรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม อย่างต่อเนื่อง 3. โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้รับการยกระดับ คุณภาพเป็นโรงเรียนคุณธรรม ระดับ 2 ดาว และ 3 ดาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 4. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ “คุรุชนคนคุณธรรม” ตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีทั้งด้านการ จัดการเรียนการสอน และด้านการบริหาร ตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนวัตกรรม Best Practice ด้านการนิเทศ ติดตามการด าเนินงานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ทุกโรงเรียนมีการ ด าเนินงาน โครงการส่งเสริมเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) 2. นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิดขึ้นในตัว 3. เพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนคุณธรรมในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2


45 4. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา “คุรุชนคนคุณธรรม” ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ 5. โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี 6. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนวัตกรรมด้านการนิเทศ ก ากับ ติดตาม ปัญหา อุปสรรค - ข้อเสนอแนะ - กลยุทธ์ที่ 5.3 สนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างมีอิสระ และมีประสิทธิภาพภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ ตัวชี้วัดที่ 1 ทุกสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างอิสระและมีประสิทธิภาพ ภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ 5.3.1 โครงการการบริหารงานและตรวจติดตามโรงเรียนเอกชนในสังกัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม งบประมาณ 56,100 บาท งบประมาณจาก สช. กิจกรรมหลัก 1) แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการตามโครงการ 2) ด าเนินการตรวจการขอจัดตั้ง การจัดการเรียนการสอน และการเลิกกิจการของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ 3) ด าเนินการตรวจ นิเทศ และติดตามการขอรับเงินอุดหนุนการใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภท และการบริหาร จัดการโรงเรียนเอกชนในสังกัด ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายโครงการ เชิงปริมาณ 1. โรงเรียนเอกชนในสังกัด ทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งสิ้น 120 โรงเรียน เข้าร่วมประชุม คัดเลือกคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดนครปฐม สามารถสรรหาและคัดเลือก คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดนครปฐม ได้ครบถ้วน 2. โรงเรียนเอกชนในระบบ จ านวน 45 โรงเรียน ได้รับการตรวจติดตามการใช้จ่ายเงินอุดหนุน ทุกประเภทของโรงเรียน 3. โรงเรียนเอกชนนอกระบบ จ านวน 75 โรงเรียน ได้รับการตรวจการขอจัดตั้ง ตรวจการจัดการเรียน การสอน และการเลิกกิจการของโรงเรียนเอกชน เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนเอกชนในสังกัด ทั้งในระบบและนอกระบบ ร้อยละ 90 สามารถสรรหาและคัดเลือก คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดนครปฐม ได้ครบถ้วน 2. โรงเรียนเอกชนในระบบ ร้อยละ 80 สามารถใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภทของโรงเรียนได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมาย ที่ก าหนด 3. โรงเรียนเอกชนนอกระบบ ร้อยละ 100 สามารถด าเนินการได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมาย ที่ก าหนด


46 ผลการด าเนินงาน เชิงปริมาณ 1. ตรวจติดตามการใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภทของโรงเรียนเอกชนในสังกัดได้ครบทุกโรงเรียน 2. ตรวจการขอจัดตั้ง การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเอกชนนอกระบบได้ครบทุกโรงเรียน เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนเอกชนในระบบในสังกัด ใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภทครบถ้วน ถูกต้อง 2. โรงเรียนเอกชนในระบบในสังกัดขอจัดตั้ง การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ได้ถูกต้อง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โรงเรียนเอกชนในก ากับดูแล มีระบบการบริหารจัดการเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินอุดหนุนให้ถูกต้อง ตามระเบียบที่กฎหมายก าหนด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพของโรงเรียนและผู้เรียน ปัญหา อุปสรรค - ข้อเสนอแนะ -


Click to View FlipBook Version