The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ane Cha, 2023-01-19 03:40:26

รายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

47 สรุปผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนภูมิแสดงผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จ าแนกตามประเด็นยุทธศาสตร์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน่วยงานการศึกษาในจังหวัดนครปฐม มีผลการด าเนินงานการจัดการศึกษา ตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ครบทั้ง 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ รวมจ านวน 22 โครงการจ าแนก ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง จ านวน 3 โครงการ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1.1 พัฒนาการจัดการศึกษาในทุกระดับทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี ปรองดอง ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติและความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมการเมืองการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1.1 โครงการสร้างและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาท ด้านการศึกษาสู่การ ปฏิบัติประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) นักเรียน ครู วิทยากรและบุคลากร ทางการศึกษา จ านวน 600 คน เข้าร่วมกิจกรรม 2) ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้พระราชกรณียกิจของ พระราชวงค์จักรีมีเจตคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีโอกาสท าหน้าที่เป็นพลเมืองดี มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม สามารถวางแผนการประกอบอาชีพเพื่อให้มีงานท าได้เรียนรู้ถึง นวัตวิถีของท้องถิ่นและชุมชน มีจิตส านึกรัก และภูมิใจในท้องถิ่นชุมชนของตนเอง สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้และเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ 1.1.2 โครงการพัฒนาสภานักเรียน ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 มีโรงเรียนต้นแบบการด าเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน 2) ร้อยละ 90 ของโรงเรียนมีการด าเนินงาน กิจกรรมสภานักเรียนในโรงเรียน 3) ร้อยละ 90 ของนักเรียนในโรงเรียนในสังกัด มีพฤติกรรมการแสดงออกถึง พื้นฐานการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีนิสัยการเป็นผู้น าและ ยุทธศาสตร์ที่ 1 14% ยุทธศาสตร์ที่ 2 9% ยุทธศาสตร์ที่ 3 27% ยุทธศาสตร์ที่ 4 36% ยุทธศาสตร์ที่ 5 14%


48 ผู้ตามที่ดี คิดเป็นแก้ปัญหาเป็น รู้จักใช้สิทธิ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผดุงประโยชน์ต่อส่วนร่วม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลยุทธ์ที่ 1.3 เสริมสร้างกลไกการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด หรือภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ 1.3.1 โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ โรงเรียนขยายโอกาส จ านวน 19 โรงเรียน ได้รับจัดสรรงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนการด าเนินงานป้องกันยาเสพติด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขัน จ านวน 2 โครงการ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 2.1 พัฒนาสมรรถนะและทักษะของผู้เรียนเพื่อรองรับการแข่งขัน 2.1.1 โครงการการด าเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2564 ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ นักเรียนได้เข้าร่วมโครงการพัฒนา อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และนักเรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ ตามความถนัด และตามความสามารถของตนเอง 2.1.2 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) ร้อยละ 98 ของนักเรียนที่ได้รับการ พัฒนาทักษะความคิดทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2) ผู้เรียนทุกคนที่ได้รับการพัฒนาทักษะความคิด ทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้มีความรู้สามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวันได้เป็นอย่างดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ จ านวน 6 โครงการ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 3.1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3.1.1 โครงการการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐาน ระดับชาติ NT ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกโรงเรียนในศูนย์สอบ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 1 ด้านคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 4.40 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ด้านภาษาไทย คะแนน เฉลี่ยร้อยละ 48.78 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี รวม 2 ด้าน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 49.09 อยู่ในระดับคุณภาพดี 3.1.2 โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียนจากการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน (RT) ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ เกิดเครือข่ายความร่วมมือของครูผู้น าชุมชนวิชาชีพ โรงเรียนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 จ านวน 117 โรงเรียน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงวิชาการเกี่ยวกับการทบทวนมาตรฐาน การเรียนรู้ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ในการพัฒนาคุณภาพคุณภาพผู้เรียน ความสามารถด้านภาษาไทย ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และความสามารถด้านการอ่านในระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั้งนี้ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีพัฒนาการลดลง


49 ร้อยละ 0.08 ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย และผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีพัฒนาการสูงขึ้นร้อยละ 1.14 ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 3.1.3 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O - NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ปีการศึกษา 2563 มีผลดังนี้ 1. การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับ สพฐ.กับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 ปีการศึกษา 2563 พบว่าวิชาภาษาไทยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าระดับ สพฐ. ส่วนวิชาภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ย ต่ ากว่าระดับ สพฐ. ในภาพรวมมีพัฒนาการ เพิ่มขึ้นจาก ปีการศึกษา 2562 โดยมีผลต่าง 1.42 2. การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 ระหว่างปีการศึกษา 2562 และ 2563 พบว่า วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น ส่วนวิชาคณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยลดลง 2.63 ผลเฉลี่ยในภาพรวม มีพัฒนาการสูงขึ้นร้อยละ 4.79 3. การเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปจากผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 มีจ านวนนักเรียนได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยคิดเป็นร้อยละของจ านวนผู้สอบได้ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป จากแต่ละกลุ่มวิชา พบว่ามีจ านวน เพิ่มมากขึ้น ใน 3 กลุ่มวิชา ได้แก่วิชา ภาษาไทย เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.56 วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.22 ซึ่งเพิ่มขึ้นสูงกว่าทุกวิชา และวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.99 ส่วนวิชาคณิตศาสตร์ จ านวนนักเรียน ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 ลดลงร้อยละ 1.01 4. ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายกลุ่มโรงเรียนปีการศึกษา 2563 พบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่วิชาภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยรอยละ 57.96 รองลงมาคือวิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 39.89 ล าดับต่อมาคือวิชาภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 38.14 ส่วนวิชาที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด ได้แก่ วิชาคณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 29.76 ระดับชั้นมัธยมศึษาปีที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O - NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ปีการศึกษา 2563 มีผลดังนี้ 4.1 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับ สพฐ. กับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 ปีการศึกษา 2563 พบว่า วิชาภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าทุกรายวิชาที่ 56.16 และมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับ สพฐ. คิดเป็นร้อยละ 0.98 ส่วนอีก 3 วิชามีค่าเฉลี่ยต่ ากว่าค่าเฉลี่ยของ สพฐ. โดยวิชาภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 31.33 ต่ ากว่า ระดับ สพฐ. ร้อยละ 2.81 วิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 29.63 ต่ ากว่าระดับ สพฐ. ร้อยละ 0.54


50 ส่วนวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งมีคะแนนค่าเฉลี่ยร้อยละต่ าสุดในระดับเขตพื้นที่ มีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 18.21 ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยระดับ สพฐ. ร้อยละ 7.61 4.2 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 ระหว่างปีการศึกษา 2562 และ 2563 พบว่ามีเพียงวิชาเดียวที่มีคะแนนค่าเฉลี่ยร้อยละสูงขึ้น ได้แก่ วิชาภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 31.99 สูงขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ร้อยละ 1.84 ในภาพรวม ทั้ง 4 วิชา มีพัฒนาการลดลง ในระดับร้อยละ 0.24 4.3 การเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปจากผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2562 – 2563 มีจ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ในภาพรวมทั้ง 4 วิชา ลดลง โดยวิชาภาษาไทย มีจ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น คิดเป็น ร้อยละ 61.42 ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.98 ส่วนวิชาภาษาอังกฤษมีจ านวนลดลงร้อยละ 3.83 วิชาคณิตศาสตร์ ลดลงร้อยละ 6.76 และวิชาวิทยาศาสตร์ ลดลงร้อยละ 6.76 4.4 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทั้ง 8 โรงเรียน (ตามจ านวนที่สมัครใจเข้าสอบ) พบว่า เฉลี่ยต่ าสุด คือ ร้อยละ 30.18 และคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ร้อยละ 36.95 3.1.4 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 สังกัด สช. และ อปท. ในจังหวัดนครปฐมได้รับการทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ท างกา รเรียน 2) เอกส า รส า รสนเทศผลกา รทดสอบ O-NET ชั้นป ร ะถมศึกษ าปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ านวน 1 ฉบับ 3) ครูโรงเรียนเอกชน จ านวน 90 คน เข้ารับ การประชุมปฏิบัติการ กลยุทธ์ที่ 3.2 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเป็นผู้น าทางวิชาการ ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 3.2.1 โครงการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563 ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ นักเรียนปฐมวัยพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ กลยุทธ์ที่ 3.5 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม 3.5.1 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาด้านต่าง ๆ ได้แก่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


51 การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การสร้างจิตส านึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดีการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา การบ าเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนด้านอื่น ๆ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวันได้ เพื่อน าไปสู่การแก้ปัญหา พัฒนาการด ารงชีวิต พัฒนาการประกอบอาชีพ และการพัฒนา ชุมชน และสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา จ านวน 8 โครงการ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 4.1 เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบนอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 4.1.1 โครงการรับนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มที่มี อายุเข้าสู่เกณฑ์การศึกษาภาคบังคับเข้ารับการศึกษา 2) ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น 4.1.2 โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ปีการศึกษา 2564 ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) โรงเรียนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีแผนการรับนักเรียน 2) ประชากรวัยเรียนในเขตพื้นที่บริการได้รับ โอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง 4.1.3 โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ ร้อยละ 80 ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อ าเภอทั้ง 7 แห่ง ในสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม มีความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดีต่อการศึกษาตลอดชีวิต และมีคุณธรรมน าความรู้ตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลยุทธ์ที่ 4.3 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมและท างานร่วมกับผู้อื่นภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคม 4.3.1 โครงการขับเคลื่อนการด าเนินงานของศูนย์แนะแนวประจ าเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา 2564 ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ งานแนะแนว ได้ด าเนินการวางแผนและออกแบบระบบสารสนเทศงานแนะแนวและรวบรวมข้อมูลเพื่อพัฒนาฐาน ซึ่งอยู่ระหว่างการด าเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศงานแนะแนวในขั้นตอนการเขียนโปรแกรมเพื่อรองรับ ฐานข้อมูล 2) การจัดหาและพัฒนาสื่อเครื่องมือที่จ าเป็นในการแนะแนว ด าเนินการจัดท าคู่มือกิจกรรมแนะแนว ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อยู่ระหว่างการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับโรงเรียนในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1


52 4.3.2 โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและคุ้มครองนักเรียน ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบ ดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียน และการแนะแนวที่มีประสิทธิภาพ 2) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 มีข้อมูลนักเรียนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา กลุ่มพิเศษ ของโรงเรียนในสังกัด ร้อยละ 90 4.3.3 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความรู้ เจตคติค่านิยมที่ถูกต้อง มีทักษะหรือความสามารถพื้นฐานที่จ าเป็น ส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน สามารถเผชิญกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมกับการปรับตัวในอนาคต 4.3.4 โครงการการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการได้เรียนรู้ มีทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และน า ความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน สามารถพึ่งพาตนเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้ 4.3.5 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าร่วมกิจกรรมกิจกรรมตามโครงการมีการพัฒนาด้านอาชีพ น าความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ลดรายจ่าย พัฒนาตนเองและครอบครัวอย่างเป็นระบบ มีการรวมกลุ่มการน าความรู้ไปต่อยอดและพัฒนาอาชีพ ในชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมบนฐาน ของเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล จ านวน 3 โครงการ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 5.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัดและฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาให้เป็น เอกภาพ เป็นปัจจุบันและทันต่อการใช้งาน 5.1.1 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 1 ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และโรงเรียนในสังกัดทุกแห่ง มีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ อย่างเป็นระบบ


53 กลยุทธ์ที่ 5.2 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 5.2.1 โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัด ด าเนินการโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมของชาติ (โครงการ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) 2) ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู และนักเรียนในสังกัด ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม 3) โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้รับการ ยกระดับคุณภาพเป็นโรงเรียนคุณธรรม ระดับ 2 ดาว และ 3 ดาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 4) ผู้บริหาร ครูและ บุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ “คุรุชนคนคุณธรรม” จ านวน 20 คน 5) ส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ด้านการจัดการเรียนการสอน จ านวน 15 นวัตกรรม ด้านการบริหาร จ านวน 5 นวัตกรรม ด้านการนิเทศ ติดตาม จ านวน 1 นวัตกรรม กลยุทธ์ที่ 5.3 สนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างอิสระ และมีประสิทธิภาพภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ 5.3.1 โครงการการบริหารงานและตรวจติดตามโรงเรียนเอกชนในสังกัด ผลที่ได้จากการด าเนินงานตามเป้าหมายโครงการ 1) โรงเรียนเอกชนในระบบในสังกัด ใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภทครบถ้วน ถูกต้อง 2) โรงเรียนเอกชนในระบบในสังกัดขอจัดตั้ง การจัดการเรียน การสอนของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ได้ถูกต้อง


fllflNulfl


apTfaffiflffi®ffieigd d"51Snls #"-nmu#nttl8fll5fitwirfufistj§ar ndnd8u"uegttwu tvi5. o enG[ono bd©ed a flo obchat Su# 6"snaiaar bdrbd Li@q ttedq#`flaegviiq"@@mouft@msfiirfu""muiun"uoumi5ffiftyifrorfu©rd§ap on 3 (".fi. bdfoerturb&) aUumumu tl ".fi. ± i3eru tl536"fl5Sounisfi"3m5Q~"gflwfi5nd§3j '3®q'fi3l m3jri di#n"ffi ntrfem65€Mi®uflsul±tl `l#fi:®vi"u"u"ui niiffintyi5SMTflufliti&tl en @ (".fl.bascn-bas&)auUuMumu@€utl5gmou".fi.bdfoofrdufls8uun"rd"ni5"u"umis#nStt##u "ina"yiimiifinenapnwhiu"Im3wh']oQ."6t!di#ai#®Stfiufi°iflafi{qM6mam€"i@".fl.b&b®i-bd:do (un"-gpiu a) untjndunn"1#qvi6ma@€m@ ur"nistl@§tlti5%LMfi#"d" q lun"¢enuiifisngasirag#{flw aviGayi@ OuvuwiauaoQ ".fl. baeo-toaed rfuui8ue8iunu58#u8i@ii#i8fl"rfufl6iivi€eyi@ (iENui8¢Tu to) urfulapENflow3gcaoumffiiifi@Qch8gffiniutouian@Sni8;viiiqffinen6ni5ue3tj3uM"@G#tlfi5`"¥®"flil1£"u8tl S@fianseni ifiol#n".1 iauS"tfisQ flis/f}@fls5ou m3jun"u"ui ni5#fluig"i®u®5tl§u fl¢tjtl53;ui ou ".fl. bded LSutul#i8®i"3tlu¥@ti u5sqti]i"arig N@#arflMg un3#i@"?©fi"a°iL€fifl@flflisfi"tiitl" t"mi"u"ulnl5finftyl5¢"5®ttflstl§ar§ql#uR15ttoffl#Sfl"gm.i"S®matw@ni5dibfiu"pHtlt""er"ui fllifint}1SqVIT"fl5tlfaronfl(".fl.bcoon-bdedi)ouafuMumu@Sulsg3"en.fi.bifed"°imuorid@®mu fi3ii#""oritttn".""uouuini5#nSi&`a"£`flu®5tl§arttldflistlau"u55qttl"EL.1UW'@'fut|V1%. tm%":""Vi#®fi"aii5@mtttls%tfitlqM8fliaS€"iL"¢"wimfiiitmov€M¥fl"fi5tlfu S©b@tJ@ §qi5uttatiidattlsflfi@i5m MiflrfuSaultl5®@"ialufloidqttwifl#Qfiou3vii"i di"Om ty£ "iouu E Vl ~#VIfro/a2»iapttg>. i ji:.;#?iffil `tf,Egiv. •L:`,`„-.,1SSi':``Ji.5p,i-€fty.g`..,%SaJ aflen€f"@u¢vigflufl5ul§tl - ~:!£. ~ ----- Sis L ,.`'1: `T!",`::`,-t+" , ```` -'r'L .fy. •:.4`-;[:6i£;;:;;/;"1*:-:`


fl°i#q5deflT®ufl5tl§u d 9c`/enen/fodlDdr lied iiof{fl3q fl"3tl°imus ©m»fl@n ii®°ndu"muuN"uentlimiffinftyi@udvITfluflitl§ae in 3 (".fl. bttoen-bifed:) @u-Uylumu @iuls8u" M.fl. b6fo6: mttdd"-n"aflui§m€q~"iu®uflsul§alt#"""OrRIu`ini5@nuiS"i`flu®stlftlonfl (".fl.b&ben-bd:b&)@utyumumu@dutls8wiou".fi.bifedrdufls@u"iviirfun"u""ini5anun t#rfuVIul"""fli5#nftyin"ti""tia8"ti""8udiduiS@qt®tlfloiflqaqu9VIsfliafl€Si@ ".fl. bd:b©i06:edo (u,wtts3rfu ©) ttwuual"fliedfflgrqviamam€m@ ttwuni5ua§tlJS"fl#"dN 1 ""u"uiunst|Sfi@EL@8fflov."ul`ifli@@i¥iidaiifflaq",fi,to6fooi96foduluuiult@3unus3rfu"i@ii#iu ©"rfufl{nd{eyi@(imu53rfuto)ul8"vy@"¥gco""ifiun@ded©gfflflirfutli8eyoflng3Msiifintyi3mi thasu?unoS#ufiS{rmumufl5tlce"ttgtl ifiot""ni5®oirfett¢iulflsmi5/fi@mittmttuEN"¢"umii#flsi5"i-®ufl5u§u@iutl58" ".fi.bdedrduttl#itlfii"t?gug@8us5q[tlmuiowa@¢uqugun3®¢i#i1®fi"jait3@"aqfmfi@nd"" hifl"~"ttims#nulfro~®ttfisucoen§QttofS®g"gMai"6®m"@ms®°itfiu"marunu"¢ENttiflis#nui S"il®uflsu§aron@(tw.Pl,basin-bife&)ou~umu"iu@`utls3arlth".fl.bdfo&fi~{fiay a. u"6i{flfftl flVlueyi aflui§fil55"S®ufi5Ufar to. ¢@°i"fliidi"un"t"#ufiflii#nftyiul"aflenuflsulftl unm © in. ife°"ium5d"Orfl"t"#ttfimsfifluiul53 fl"#fluitlfliulftl rmfl to a.So°""fli5d"~n"tsfl#udniiaflsiife8at#nu"fl5tlgar a.S@°""ms#"-miud{ifl3wfli5#flenuafl53UU tt@gfllifinuimou@-5ui#u@u"iuflufl5tlftl a, S@®i"m5tiuu`miffinuifiifiu "mi5aflui © S"ilflufliulfou enl.tli3a"nii"fliioifiifi"iSqVIil"mtl¢" ed.uls36"fls5arnistjs3fl"uegd{Lg¥3ttni5am9ii8n"5Srm®fl ct.S@°i"min*3jdiijd`iia33iii@#tw~enijimgr@dfiu aith"dflifl3tlfli5tlnflso"gr@iatl5Srm"flufled®" ©o. #@°i"ni€fl®qm5fintji fliaui ue3ifuuai8u @ifl`m5u£Vn5d?u6'1Mi`fltlflstlcaap ©©.ff8°""nT]fl°"um"mga"iunfluiauflsuflstlfu de. tt"tlgug¥i tg5"3uuwia? €Oi#fluisms5"Tfltt®itlgr uli361ufl"8viieiu fl"gvlolQ" fl"Sv°i°imu fl"Sv'On"u a fl"#Mlmtt flfws;M°T`" fl"Syilil" 0 flou3"1ilu ®"gv'O"" a fl"8VIlqltl flrugv°iimu flfugMoltl" flflj3ayoioimtt /©en. ul€...


©m. ulqai5flgul flio3"fl` #@°i"fli5fldtl@°i"flli ao"um"ffim9i3mi5"g®uflstjqu 6t6:. uliflll"uti fllq"imm SO®i"m5naw"ev"uim3#flui a"um"ffiflftyi§msfildvI€fluflitlcaou ®&. ttiQal§di sia'illu`@3e|~a #@oi"niinawddtfl3arm5fifluibofl"u di"®miu#fltyi3mi5"1~fluflsuldousou ®b. uidflq@3m tlguful35|@ ff@°i"m5fld"tiivlfl S©mou ii@gtj53ffiuw'd fl°iu-nmuffintyi6miswli'©tlfli+qu ©dr. uiqaiif`i3®i ®'@uu" €8o"i8min@:aeoflia@tl`i""tt@3@Qnistlufl8€an druufl"#flui3m55q"®flttflitlfiti ©GS. uNflll0"fl` fi"6iou` Sao""fl"nd"m@a@uflirfu a"~fl€iuanui3flii5"iufltlflitl§tl ©ck. tliiqm flrfuflS tlauTSVlu"ifi#@®i"fliinatlu3m5"quflfl@ dr9"~miufimgi3ms6qVIlu®uflstLqu bo. mi@il8ou5gmu` @um #@oiuiumiflatlultlu"a3unu #"ufl"fiflfty|Sflli5qvli`flufltul§W b®. ui{fiq}qngq! "iigflu` u®flfiflsigM`ulejuiutL@gi"q°f°iuiqum5 ti"~flmufinftyi§mi5qVliuflufl5tl®" to©. ulqflll@@fll i@qtligtlluQ@ uun§mii8Vl`utauitlun3iENtlqojo"igum5 d"umiuanui3ms5"iu®ufl5tlIr toon. ul¢allsi"ii" fiul@3ouu L5i"u""qsms d"umiu#nui3m5fi1"iu®uflsul§" fl"3Moli" a fl"8VI1"u fl"gyilmu flou8yll{1u fl"gvlolq" fl"3Molq" fl"8vnfliu fi"gM'li",tag,@mt!mi fl"3M°i"iia3#dioi@"it!m5 fi"Sv`Oiq"ii@3Sal"@"iuflis flm".im"@3Stiiui@flit!nis ^#fl"s,-.


en tM"fiougM.i"i@®matfl"fl"m"gritufl"°"u"~ENuiflisaflftyiQ¢"i.®ufl5tl§tlttld "tlau"@ultl#"fi"t3®ug@®ussaiflirmaw@attqu§un3"-"u"~i#Qfl"aii3®mtltli3iau qmSfl"€"@""VfflttiniifinryiftMi®ttflstlflenm"fifl"guano"tliutweyu#ita3@"g@ata°"guu°ibau® d®fi"8@qm€atflisid®in¢un"~"uifl"anftyifloug@nlfl£5wfli5u3"is"mst@dqm6fl"s` tt@8fl€u8fiis3jmiafiui?m$5Qun-@uflstlgr #qfflgqufo.uuflfbrfufuw *q "i{ud 9t[r ninai®tl ".fi.bd±bG± (-q5#n*%P=:;,;?ttl" Siisi"56"?fluflitl§ai tj$36"flii3jm5finui3mifiliviiuflufliul§"


9,u0 fl"3N@flvn u fiutnul 8, u"5g"6qu'u "ul qJ uiutlouugui tjiar3uuuvia3 fl"3VIolq" Q, 6' cl ui{aii@u5smu @u®i uiiq@Sm ijouvguias|@ uiq6ssqlfui mos"fi` a a a/ 6. a a/ ui{ai@" 6ifflu@5"u uiiai"{nlej m`"snflm uiiamfli5®i aouuiu ` ui{amou{fl` q"6s" uiiam flfufi@ a cJJ€ uiifiqjqngqj iuiisfflu uiiamoam io{Ui8eJluQ@ dQ uiiaiia5"s5" "uL@5Ouu fiflU|Smi@qu"|evfluflstlsou cq soianui3flis@ov"ii®uflstl$3j ctJ' #Oo"ium5flaouutuu"ib@3iLNu 9,a tg@1uluhlsfldanfibym @flm3j ibagtls83i@uN@ 9, a I a g!81ul8msflquolulums gr0' %@iuiaflisnqoudQia3umsfinuib@fl"u 9,a No"ium5fldouVIquffluimsffifien qJq #o°iuiunisndtl@fibao ummm iiagfi@flisuovni3ou U q qJ 1 #Ooiuiufii"deiumii@aoufliulu qJ ulau®@"grififfo°"ium5flatlu3Vli5quflfl@ u~n3mi8VI`utuuiuiia8bbNufloiuingnis tl®flimi8VI`utuuiatia8ibNuqojoiuingms 9,u bQ"unmuq5nis


ส ำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัดนครปฐม 161/4 ถนนเพชรเกษม ต ำบลพระประโทน อ ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 โทรศัพท์0 3430 6418 โทรสำร 0 3430 6417 www.nptpeo.org


Click to View FlipBook Version