The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการผักอบแห้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chompoo, 2021-09-22 21:59:18

โครงการผักอบแห้ง

โครงการผักอบแห้ง

ผักอบแห้ง

ชมพู่ จัดทำโดย
กญั ญ์วรา โพธเิ นตร รหสั นกั ศึกษา 63302010072
แสงจนั ทร์ รหสั นกั ศึกษา 63302010073

เสนอ
อาจารยน์ พิ ร จทุ ัยรตั น์

รายงานนี้เป็นสว่ นหน่ึงของการศึกษา วิชา โครงการ
สาขาวิชา การบญั ชี ประเภทวชิ า บริหารธรุ กิจ
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบรุ ี

ผกั อบแหง้

นางสาวชมพู่ จัดทำโดย
นางสาวกญั ญว์ รา โพธิเนตร รหสั นกั ศกึ ษา 63302010072
แสงจนั ทร์ รหสั นกั ศึกษา 63302010073

เสนอ
อาจารยน์ พิ ร จทุ ัยรัตน์

รายงานนเี้ ปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษา วชิ า โครงการ
สาขาวิชา การบญั ชี ประเภทวชิ า บรหิ ารธรุ กิจ
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี

ใบรบั รองโครงการ

วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี

เรอ่ื ง ผกั อบแห้ง โพธิเนตร
จัดทำโดย นางสาวชมพู่

นางสาวกัญญว์ รา แสงจันทร์

ไดร้ บั การรบั รองใหน้ ับเปน็ สว่ นหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู
(ปวส.) สาขาวชิ าการบญั ชี ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกิจ

……………………………………หัวหนา้ แผนกวชิ า ………………………….รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยวิชาการ
(นางนิพร จุทยั รตั น)์ (นายยรรยงค์ ประกอบเกื้อ)

วนั ที่……..เดือน…………………………พ.ศ…… วนั ท…่ี …..เดอื น…………………………พ.ศ……….

คณะกรรมการสอบโครงการ
…………………………………………………ประธานกรรมการ (อาจารย์ท่ปี รกึ ษาโครงการ)
(……………………………………………….)

………………………………………………..กรรมการ
(……………………………………………….)

………………………………………………..กรรมการ
(……………………………………………….)

………………………………………………..กรรมการ
(……………………………………………….)

ชื่อผลงาน ผักอบแห้ง
ชอ่ื นักศกึ ษา
นางสาวชมพู่ โพธเิ นตร
สาขาวชิ า
ประเภทวชิ า นางสาวกัญญ์วรา แสงจันทร์
ปกี ารศกึ ษา
สถานศึกษา การบญั ชี

บริหารธุรกิจ

2564

วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี

บทคดั ย่อ

โครงการผักอบแห้ง มวี ตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ผกั อบแหง้ 2. เพอ่ื พัฒนาบรรจุ
ภณั ฑ์และเพมิ่ ทางเลือกแก่ผูบ้ ริโภค 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของกลมุ่ เป้าหมายที่มีต่อผลิตภณั ฑ์
ผกั อบแห้งกลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่ นักศึกษาประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสงู (ปวส.) ชนั้ ปีที่ 2 แผนก
วิชาการบญั ชี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 84 คน เครอ่ื งมือที่
ใชใ้ นการศึกษา คือ แบบสอบถามเพื่อศึกษาความพงึ พอใจท่ีมตี อ่ ผลติ ภณั ฑแ์ ละบรรจภุ ัณฑผ์ กั อบแห้ง
แบง่ ออกเปน็ 3 ด้าน คอื ดา้ นคณุ ภาพผลิตภัณฑ์ ดา้ นการบรรจุภัณฑ์และการใชง้ าน และดา้ นส่งเสริม
การจัดจำหนา่ ย สถิตทิ ่ใี ช้ในการศึกษา คือ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Arithmetic Mean)
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation S.D.)

ผลการศึกษาพบว่า
ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านสภาพท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
พบว่านักศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ จำนวน 79 คน คดิ เป็นร้อยละ 94.00
ส่วนใหญ่อยูใ่ นช่วงอายุ อายุ 20 – 21 ปี จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 57.10 รองลงมาอายุ
18 – 19 ปี จำนวน 35 คน คิดเปน็ ร้อยละ 41.70 และ 22 ปขี ้ึนไป จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
1.20 กลุม่ เรียนสว่ นใหญเ่ ป็นกลุ่มปวส.2/2 จำนวน 31 คน คดิ เป็นร้อยละ 36.90 รองลงมากล่มุ
ปวส.2/3 จำนวน 27 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.10 และกลมุ่ ปวส.2/1 จำนวน 26 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
31.00

กติ ตกิ รรมประกาศ

การศกึ ษาเร่ือง “ผกั อบแห้ง” ในคร้ังนี้ สามารถสำเร็จลุลว่ งอยา่ งสมบูรณ์ดว้ ยความเมตตา
จากอาจารยน์ ิพร จทุ ยั รัตน์ ทป่ี รกึ ษาโครงการที่ใหค้ ำปรึกษาแนะแนวทางท่ีถกู ต้อง และเอาใจใส่
ด้วยดตี ลอดระยะเวลาในการทำโครงการ ผ้ศู ึกษารู้สึกซาบซง้ึ เป็นอยา่ งย่ิง จึงขอกราบขอบพระคณุ เป็น
อยา่ งสงู มา ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคณุ บิดา มารดา อาจารย์ และเพื่อนๆ ทกุ คนทใ่ี หค้ ำแนะนำชว่ ยเหลือสนับสนุน
ผศู้ ึกษาโครงการมาตลอด โครงการจะสำเรจ็ ลลุ ว่ งไปไม่ได้ หากไม่มบี ุคคลดังกลา่ วในการจัดทำ
โครงการ

คณุ ค่าและประโยชน์ของการศึกษานี้ ผ้ศู ึกษาขอมอบเป็นกตัญญกู ตเวทติ าแด่บุพการี
บรู พาจารย์ และผู้มีพระคณุ ท่านทัง้ ในอดีตและปจั จบุ ัน ท่ีได้อบรม สงั่ สอน ชแี้ นะแนวทางใน
การศึกษาจนทำให้ผศู้ กึ ษาประสบความสำเรจ็ มาจนตราบทุกวันน้ี

ชมพู่ โพธเิ นตร
กัญญ์วรา แสงจนั ทร์

สารบญั หนา้

ใบรบั รองโครงการ ค
บทคัดย่อ ง
กติ ตกิ รรมประกาศ ฉ
สารบญั ช
สารบัญตาราง ฌ
สารบญั ภาพ ญ
บทท่ี 1 บทนำ 1
1
ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา 1
วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา 2
ขอบเขตของการศกึ ษา 2
ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ 2
นยิ ามศพั ท์ 4
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง 4
จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา คำอธิบายรายวชิ า 5
ทฤษฏีการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด (SWOT Analysis) 7
ทฤษฏีการวเิ คราะห์ผูบ้ ริโภค 8
ทฤษฏีกลยทุ ธก์ ารตลาด (4Ps) และ (8Ps) 12
ทฤษฏพี ฤตกิ รรมผ้บู รโิ ภค (Buyer Behavior’s Model) 15
แนวคิดการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 23
แนวคดิ ของหลักการบัญชตี ้นทุน 26
แนวคดิ ในการวัดผลกำไร 34
งานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง 36
บทที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ โครงการ 36
ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 36
เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษา

สารบญั (ตอ่ ) ซ

ข้นั ตอนในการสรา้ งเครอื่ งมือ หน้า
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถติ ิที่ใชใ้ นการศึกษา 37
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 38
ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 38
ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อผลติ ภณั ฑ์และบรรจภุ ัณฑผ์ ักอบแหง้ 40
บทที่ 5 สรุปผล อธปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 41
สรุปผลการวิจัย 44
อธปิ รายผลการวิจัย 47
ขอ้ เสนอแนะ 47
บรรณานกุ รม 48
ภาคผนวก 50
ภาคผนวก ก แบบขออนมุ ัติโครงการ แบบเสนอโครงการ 51
52
ข แบบสอบถาม 53
ค งบประมาณค่าใชจ้ า่ ย 59
ง ภาพดำเนินงาน 63
ประวตั ผิ ทู้ ำการศกึ ษา 65
75

สารบญั ตาราง

หนา้

ตาราง 1 แสดงความถแี่ ละร้อยละของกลุม่ เปา้ หมายจำแนกตามเพศ 41

ตาราง 2 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของกลมุ่ เปา้ หมายจำแนกตามช่วงอายุ 42

ตาราง 3 แสดงความถี่และร้อยละของกล่มุ เปา้ หมายจำแนกตามช่วงสถานะ 43

ตาราง 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกลุ่มเป้าหมาย 44

ทีม่ ตี ่อผลติ ภณั ฑ์และบรรจุภัณฑ์ผักอบแหง้ ด้านคุณภาพผลิตภณั ฑ์

ตาราง 5 แสดงคา่ เฉลยี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของ 45

กลมุ่ เปา้ หมายที่มีตอ่ ผลติ ภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ผักอบแห้งด้านการบรรจุภณั ฑ์

และการใชง้ าน 46
ตาราง 6 แสดงคา่ เฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของ

กลุม่ เปา้ หมายที่มีตอ่ ผลติ ภัณฑแ์ ละบรรจภุ ัณฑ์ผักอบแหง้ ดา้ นส่งเสริมการจดั จำหนา่ ย

สารบัญภาพ หนา้

ภาพท่ี 1 แสดงความถี่และร้อยละของกลมุ่ เป้าหมายจำแนกตามเพศ 41
ภาพท่ี 2 แสดงความถี่และร้อยละของกล่มุ เป้าหมายจำแนกตามชว่ งอายุ 42
ภาพท่ี 3 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลมุ่ เปา้ หมายจำแนกตามช่วงสถานะ 43
ภาพที่ 4 แสดงค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกล่มุ เป้าหมาย 44

ด้านคณุ ภาพผลิตภัณฑ์ 45
ภาพท่ี 5 แสดงค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจของกลุ่มเป้าหมายที่
46
ด้านการบรรจุภัณฑ์และการใชง้ าน
ภาพที่ 6 แสดงค่าเฉล่ีย และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของกลมุ่ เปา้ หมาย 66
66
ด้านสง่ เสรมิ การจัดจำหนา่ ย 67
ภาพท่ี 7 จัดเตรียมแครอท มันมว่ งและกระเจ๊ยี บเขียว 67
ภาพที่ 8 นำผักท่ีจดั เตรยี มไว้มาลา้ งนำ้ ใหส้ ะอาด 68
ภาพที่ 9 นำผกั ทจี่ ดั เตรียมมาหั่นเปน็ ช้ิน 68
ภาพท่ี 10 นำแครอทมาหั่นใหม้ ขี นาดเทา่ ๆกนั 69
ภาพท่ี 11 นำมนั ม่วงมาห่ันใหม้ ขี นาดเทา่ ๆกนั 69
ภาพท่ี 12 นำผักที่ห่ันเสร็จแล้วเตรียมอบด้วยเคร่ืองทอดไรน้ ้ำมนั 70
ภาพที่ 13 นำนำ้ มันมาทาท่ผี กั เพื่อไม่ใหผ้ กั ตดิ กับหม้อทอด 70
ภาพที่ 14 ทาน้ำมันลงบนผักทไ่ี ดจ้ ัดเตรยี มไว้เล็กน้อย 71
ภาพท่ี 15 นำเกลือมาโรยบนผกั เพ่ือใหเ้ กิดรสชาติเล็กน้อย 71
ภาพท่ี 16 อนุ่ หมอ้ ทอดไร้น้ำมันไวท้ ่ี 220 องศา 72
ภาพท่ี 17 นำผกั ท่ีเตรียมไวม้ าวางใสใ่ นถาดหม้อทอดไร้นำ้ มัน 72
ภาพที่ 18 เริม่ การทอดโดยใชห้ มอ้ ทอดไร้น้ำมัน 73
ภาพท่ี 19 ผักที่ทอดโดยหม้อทอดไร้นำ้ มันสกุ จนทัว่ ถึง 73
ภาพท่ี 20 นำผักท่ีทอดไว้มาพกั จนผักหายร้อน
ภาพที่ 21 นำกระเจี๊ยบเขยี วทีท่ อดเสร็จส้นิ มาใส่ในบรรจภุ ณั ฑท์ จ่ี ัดเตรียมไว้
ภาพท่ี 22 นำแครทอทท่ที อดเสรจ็ ส้ินมาใส่ในบรรจภุ ณั ฑ์ทีจ่ ดั เตรียมไว้

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ฎ

ภาพที่ 23 นำมันม่วงทท่ี อดเสรจ็ สิ้นมาใส่ในบรรจุภณั ฑท์ ่จี ัดเตรยี มไว้ หน้า
ภาพท่ี 24 นำตราผลิตภณั ฑ์มาตดิ ท่ีบรรจภุ ณั ฑ์ให้เรียบรอ้ ย
74
74

บทท่ี 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา
ประชากรของประเทศไทยสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ผลผลติ สว่ นใหญ่เปน็ ขา้ ว

ผกั และผลไม้ แต่ประสบปญั หาเมอื่ ผลผลิตทอ่ี อกมา จำหน่ายไม่หมด ผักท่เี หลอื จะเน่าเสียและมีราคา
ตำ่ ดังน้นั การแปรรูปผักที่เหลือเพื่อเก็บไว้จำหนา่ ยหรอื เก็บไวบ้ รโิ ภคระยะยาวในระดับอตุ สาหกรรม
ท้องถ่นิ จึงจำเปน็ การอบแห้งผกั เปน็ การแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตรที่นา่ สนใจ สว่ นใหญ่ในการ
อบแห้งจะใช้น้ำมัน แตป่ ัจจุบันคนหันมารกั สุขภาพกันมากขึ้นและความสะดวกสบายจงึ เปลี่ยนจาก
การใชน้ ้ำมนั มาเป็นเคร่ืองทอดไรน้ ้ำมันแทนเพ่ือเปน็ แนวทางสำหรบั คนท่รี กั สุขภาพ

ปัจจุบนั ผักอบแหง้ ได้รบั ความนยิ ม เนอื่ งจากผักเปน็ พืชทมี่ ีประโยชน์ทางดา้ นรา่ งกายและ
สำคญั ต่อสุขภาพเปน็ อยา่ งมาก ผักอดุ มไปด้วย วิตามินเอ วิตามนิ ซี วติ ามนิ บี1,2,3 เบต้าแคโรทนี
คาร์โบไฮเดตร แร่ธาตุ และใยอาหาร ทชี่ ่วยเสริมสร้างการควบคมุ การทำงานของร่างการ ชว่ ยควบคุม
การไหลเวียนของของเหลวในรา่ งกาย ช่วยในระบบสายตาและการมองเห็น บำรงุ ผิวพรรณใหเ้ ตง่ ตงึ
ชว่ ยกระตุน้ การขับถ่าย และช่วยใหต้ ับขับสารพิษในร่างกายไดด้ ีข้ึน นอกจากนี้การนำผักมาแปรรปู
ดว้ ยวธิ ีการอบแห้งนน้ั เป็นวธิ ที ่ีช่วยรักษาคุณภาพของวิตามินในผักให้คงอยู่ โดยไมผ่ ่านกรรมวธิ ีทีท่ ำให้
วติ ามินของผักลดลง การอบแห้งชว่ ยใหส้ ามารถถนอมและเก็บรกั ษาได้ยาวนาน โดยใช้หลักการในการ
ลดความชื้นของอาหารให้อยู่ในระดบั ที่เช้ือจุลนิ ทรีย์ไมส่ ามารถเจริญได้ เช่น รา ยีสต์ แบคทีเรีย ทีเ่ ปน็
สาเหตใุ ห้อาหารเส่ือม

ดงั นน้ั ผู้จัดทำจงึ ได้คดิ แนวคิดจัดทำโครงการ “ผกั อบแห้ง” เพอ่ื ให้การทานผกั ของผู้บริโภค
ง่ายขึ้นและเพื่อสขุ ภาพทีแ่ ข็งแรง และหันมาทานของทานเลน่ ท่ที ำจากผักที่ให้ประโยชน์สูงแทนขนม
ขบเค้ียวที่มีแคลลอร่สี ูง โดยผกั ท่ีนำมาอบแห้ง ไดแ้ ก่ แครอท มนั มว่ ง และกระเจี๊ยบเขียว เป็นต้น

วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา
1. เพ่อื พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ผักอบแห้ง
2. เพื่อพฒั นาบรรจุภณั ฑ์และเพ่ิมทางเลือกแกผ่ ูบ้ ริโภค
3. เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของกลมุ่ เปา้ หมายท่ีมีต่อผลติ ภณั ฑ์ผกั อบแหง้

2

ขอบเขตของการศึกษา
1. ขอบเขตดา้ นกลุ่มเปา้ หมาย ไดแ้ ก่ นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.)

ช้ันปที ่ี 2 แผนกวิชาการบัญชี ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี
จำนวน 84 คน

2. ขอบเขตด้านเน้อื หา ได้แก่ การทำผลิตภณั ฑผ์ กั อบแหง้ จากผกั 3 ชนิด ได้แก่ แครอท
มนั มว่ ง และกระเจีย๊ บเขียว โดยการนำผักมาอบแหง้ เพื่อเป็นอาหารทสี่ ามารถทานแทนขนมทีม่ ี
โซเดียมสูง แครทช่วยต่อต้านเซลล์มะเร็ง มันมว่ งช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือดลดความเส่ียงโรคหัวใจ
และ กระเจยี๊ บเขยี วช่วยควบคมุ ระดับน้ำตาลในเลอื ดให้คงทีไ่ ด้

3. ขอบเขตดา้ นเวลาและสถานที่ ตง้ั แต่วนั ที่ 1 มถิ ุนายน 2564 ถึง 1 ตลุ าคม 2564
ณ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบรุ ี

ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
1. ไดผ้ ลิตภัณฑ์ผักอบแหง้
2. ไดบ้ รรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑผ์ กั อบแห้ง
3. ได้ทราบความพงึ พอใจของกล่มุ เป้าหมายท่ีมีต่อผลติ ภณั ฑ์ผักอบแห้ง

นิยามศพั ท์เฉพาะ
ผกั อบแห้ง หมายถึง การนำผกั ที่มปี ระโยชนม์ าอบให้แหง้ สี รสชาติและประโยชนข์ องผักจะ

ไมเ่ ปลย่ี นแปลง คุณคา่ ทางโภชนาการสูง ไขมันต่ำ การอบแหง้ ช่วยถนอมอาหารและเก็บรักษาได้
ยาวนาน และทำให้ผกั นั้นทางง่ายเนื่องจากได้หัน่ ผักใหเ้ ป็นช้ินบางๆเพื่อสะดวกต่อการรับประทาน
สามารถทานเป็นของทานเลน่ และมปี ระโยชน์ตอ่ สขุ ภาพ

แครอท หมายถึง ช่วยบำรงุ สายตา เพราะในแครอทมีสารเบตา้ แคโรทีน ซ่งึ เปน็ หน่งึ ใน
วติ ามนิ ท่รี า่ งกายต้องการ อีกทงั้ มปี ระโยชน์ทช่ี ่วยในเรอื่ งของการบำรงุ สายตาของเราดว้ ย ชว่ ยถนอม
ดวงตาให้สามารถมองเห็นอย่างปกติไปได้อีกนาน เพราะแครอท (Carrot) อดุ มไปดว้ ยวติ ามนิ และแร่
ธาตทุ ี่มีประโยชนห์ ลายชนดิ เช่น เบตา้ แคโรทีน วิตามินเอ วิตามนิ บี1 วติ ามนิ บี2 วติ ามนิ ซี วติ ามินอี
ธาตุแคลเซยี ม ธาตุโพแทสเซยี ม ธาตฟุ อสฟอรสั ธาตุเหล็ก ซึ่งชว่ ยต่อตา้ นเซลลม์ ะเร็ง เปน็ ตน้

3

มนั ม่วง หมายถงึ มีส่วนชว่ ยลดคอเลสเตอรอลในเลือดลดความเสย่ี งโรคหัวใจและหลอด
เลอื ดได้และยังช่วยชะลอความเสอ่ื มของเซลล์ในรา่ งกาย อีกทัง้ สารตา้ นอนมุ ลู อิสระเหล่าน้ยี ังมฤี ทธ์ิ
ต้านรังสยี ูวี

กระเจ๊ียบเขยี ว หมายถงึ เป็นสมนุ ไพรท่อี ดุ มไปด้วยวติ ามิน แร่ธาตุ และสารต้านอนุมลู อสิ ระ
มากมาย ชว่ ยบำรุงสุขภาพและรักษาโรคต่าง ๆ ได้ เชน่ ชว่ ยตา้ นสารอนุมูลอสิ ระท่เี ปน็ อันตรายตอ่
เซลล์ภายในร่างกาย บรรเทาอาการเหน่ือยล้า และอาจรกั ษาโรคเบาหวานได้

บทที่ 2

เอกสาร ทฤษฏแี ละงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง

ในบทนจี้ ะนำเสนอเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวข้อง มีดังต่อไปน้ี
1. จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า คำอธิบายรายวิชา
2. ทฤษฏีการวเิ คราะห์สถานการณ์ทางการตลาด (SWOT Analysis)
3. ทฤษฏีการวเิ คราะห์ผบู้ รโิ ภค
4. ทฤษฏกี ลยทุ ธ์การตลาด (4Ps) และ (8Ps)
5. ทฤษฏพี ฤติกรรมผบู้ ริโภค (Buyer Behavior’s Model)
6. แนวคิดการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์
7. แนวคิดของหลักการบญั ชตี น้ ทนุ
8. แนวคิดในการวัดผลกำไร
9. งานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง

1. จดุ ประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา คำอธิบายรายวิชา
1.1 จุดประสงคร์ ายวชิ า
1.1.1 เข้าใจหลักการและกระยวนการวางแผนจดั ทำโครงการสรา้ งหรือพัฒนางาน
1.1.2 ประมวลความร้แู ละทักษะในการสร้างและหรอื พัฒนางานในสาขาวิชาชีพ ตาม

กระบวนการวางแผน ดำเนินงาน แก้ปญั หา ประเมนิ ผล ทำรายงานและนำเสนอ
1.1.3 มีเจตคตแิ ละกจิ นิสยั ในการทำงานดว้ ยความรับผดิ ชอบ มวี ินัย คณุ ธรรม

จรยิ ธรรม ความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรคแ์ ละสามารถทำงานร่วมกับผู้อน่ื
1.2 สมรรถนะรายวชิ า
1.2.1 แสดงความรู้เก่ียวกับการจัดทำโครงการและการนำเสนอผลงาน
1.2.2 ดำเนนิ การจดั ทำโครงการ
1.2.3 รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน
1.3 คำอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาและปฏบิ ัติเก่ียวกับหลักการจดั ทำโครงการ การวางแผน การดำเนินงาน การ

5

แก้ปญั หาการประเมนิ ผล การจัดทำรางงานและการนำเสนอผลงาน โดยปฏบิ ัตจิ ดั ทำโครงสร้างหรือ
พัฒนางานที่ใชค้ วามร้แู ละทักษะในระดับฝีมือสอดคล้องกับสาขาวชิ าชีพท่ศี กึ ษา ดำเนนิ การเปน็
รายบุคคลหรือกลุม่ ตามลักษณะของงานให้แลว้ เสร็จในระยะเวลาทีก่ ำหนด

2. ทฤษฏีการวิเคราะหส์ ถานการณ์ทางการตลาด
การประเมนิ สภาพแวดลอ้ มภายในการวเิ คราะห์และพจิ ารณาทรพั ยากรและความสามารถ

ภายในบริษัททุก ๆ ดา้ นเพ่ือท่ีจะระบจุ ดุ แขง็ และจุดอ่อนของธุรกจิ แหล่งทม่ี าเบ้ืองตน้ ของขอ้ มูลเพื่อ
การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน คือระบบข้อมูลเพอ่ื การบรหิ ารที่ครอบคลมุ ทุกดา้ น ท้ังในด้าน
โครงสรา้ งระบบ ระเบียบ วธิ ีปฏบิ ัติงาน บรรยากาศในการทำงานและทรพั ยากรในการบรหิ าร (คน
เงิน วัสดุ การจัดการ) รวมถึงการพจิ ารณาผลการดำเนินงานทผี่ ่านมาของบรษิ ัทเพ่ือที่จะเขา้ ใจ
สถานการณ์และผลกลยุทธก์ ่อนหน้าน้ีด้วยการประเมินสภาพแวดลอ้ มภายนอกภายใตก้ ารประเมนิ
สภาพแวดล้อมภายนอกของบรษิ ทั ทำใหส้ ามารถคน้ หาโอกาสและอปุ สรรค การดำเนินงานของบริษทั
ท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากสภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจทั้งในประเทศและระหวา่ งประเทศท่เี กีย่ วกับการ
ดำเนินงานของบริษัท เชน่ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นโยบาย การเงิน การงบประมาณ
สภาพแวดลอ้ มทางสังคม เช่น ระดับการศึกษา การตั้งถ่นิ ฐานและการอพยพของประชาชน ลักษณะ
ชมุ ชน ขนบธรรมเนยี มประเพณี คา่ นิยม ความเชอ่ื และวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมทางการเมอื ง เช่น
บทบัญญัติกฎหมายตา่ ง ๆ มติคณะรัฐมนตรี และสภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี หมายถึงกรรมวิธี
ใหมๆ่ และพัฒนาการทางดา้ นเครอื่ งมืออปุ กรณ์ทีจ่ ะชว่ ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการผลิตและการบริการ

2.1 จดุ แข็ง (Strengths) : จุดเดน่ หรือจดุ แข็ง (ข้อไดเ้ ปรยี บ) เป็นผลมาจากปจั จยั ภายใน
เป็นขอ้ ดีที่เกดิ จากสภาพแวดล้อมภายในบรษิ ัท เชน่ จดุ แข็งดา้ นการเงนิ และข้อได้เปรียบดา้ นการ
ผลิต และดา้ นทรัพยากรบุคคล โดยบรษิ ทั จะตอ้ งใช้ประโยชน์จากจุดแขง็ ในการกำหนดกลยทุ ธ์
การตลาด

2.2 จดุ ออ่ น (Weaknesses) : จุดดอ้ ยหรือจุดอ่อน ข้อเสียเปรียบเป็นผลมาจากปัจจัย
ภายใน เปน็ ปัญหาหรอื ข้อบกพรอ่ งท่เี กิดจากสภาพแวดล้อมภายในตา่ ง ๆ ของบริษัท เชน่ การขาด
เงินทนุ นโยบายและทิศทาง การบรกิ ารท่ีไม่แนน่ อน หรือบคุ ลากรท่ีไม่มีคณุ ภาพ ซ่งึ บริษทั จะต้องหา
วธิ ใี นการปรบั ปรงุ ให้ดีขึน้ หรือขจดั ใหห้ มดไปอันจะเป็นประโยชน์ต่อบริษทั

2.3 โอกาส (Opportunities) : เกิดจากปัจจยั ภายนอก เป็นผลจากการท่สี ภาพแวดล้อม

6

ภายนอกของบริษทั เอือ้ ประโยชน์ หรอื ส่งเสรมิ การดำเนินงานของบริษทั โอกาสแตกต่างจากจุดแขง็
ตรงท่ีโอกาสเปน็ ผลมาจากสภาพแวดล้อมภายนอก แต่จดุ แขง็ เปน็ ผลมาจากสภาพแวดล้อมภายใน
ผปู้ ระกอบการท่ีดจี ะต้องแสวงหาโอกาสอยู่เสมอ โดยการวเิ คราะห์สงิ่ แวดล้อมภายนอกที่เปล่ียนแปลง
อยู่เสมอ ตลอดเวลา เชน่ เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง เทคโนโลยแี ละการแข่งขันในตลาด และใช้
ประโยชนจ์ ากโอกาสนน้ั

2.4 อุปสรรค (Threats) : เกิดจากปจั จยั ภายนอก เปน็ ขอ้ จำกดั ทเี่ กิดจากสภาพแวดลอ้ ม
ภายนอกท่สี ่งผลเสียตอ่ ธรุ กิจ เช่น ราคาน้ำมันทสี่ ูงขนึ้ อตั ราดอกเบี้ยทีส่ ูงขึน้ สภาพเศรษฐกิจท่ชี ะลอ
ตัว ผ้ปู ระกอบการจำเป็นต้องปรบั กลยุทธท์ างการตลาดให้สอดคลอ้ ง และพยายามขจัดอปุ สรรคต่าง ๆ
ท่ีเกดิ ข้นึ ให้ได้ ซงึ่ มีหลกั สำคัญ 5 ประการ

2.4.1 New Entrants คือ การเข้ามาของคู่แข่งขันรายใหมใ่ นธุรกจิ ท่เี ราอยู่
ผแู้ ขง่ ขนั รายใหม่เขา้ มาง่ายหรืออยาก เช่น เทคโนโลยกี ารผลติ ยากหรืองา่ ย การจัดวตั ถุดิบยากหรอื
ง่าย ตลาดมีความดึงดูดใจมากหรอื ไม่ ถา้ ทุกอยา่ งงา่ ยไปหมด คูแ่ ข่งขันรายใหมจ่ ะเขา้ มาไดง้ ่ายจะมี
จำนวนค่แู ข่งขนั มากขึ้น

2.4.2 Suppliers of Key Inputs คือ อำนาจต่อรองของผ้ขู าย วา่ ผ้ขู ายมีอำนาจอยใู่ น
มือมีอำนาจในการต่อรองมากนอ้ ยแค่ไหน ความสัมพันธ์ดีมากนอ้ ยแค่ไหน

2.4.3 Substitute Products คอื การเขา้ มาของสินค้าทดแทน เชน่ อายุของผลิตภัณฑ์
life style ของลกู ค้าท่ีเปล่ยี นไปจากเดิม ยกตวั อย่างใหเ้ หน็ ได้ เชน่ การเปลีย่ นแปลงจากฟิล์มถ่ายรปู
เปน็ กลอ้ งดจิ ติ อล การเปลี่ยนจากสง่ จดหมายทางตูไ้ ปรษณียม์ าเปน็ อเี มล์ เปน็ ต้น ต้องลองคดิ ดูวา่
ธรุ กิจมีแนวโนม้ ทจ่ี ะถูกสนิ คา้ ชนดิ มาแทนทหี รือไม่ หรือสินคา้ มีแนวโนม้ ท่จี ะแทนทีส่ ินค้า ชนดิ นี้ได้
หรอื ไม่

2.4.4 Buyers คอื อำนาจต่อรองของผู้ซ้ือในธุรกจิ ผู้ครองตลาดหรือไม่ ลกู ค้ามีอำนาจใน
การตอ่ รองมากน้อยแค่ไหน เชน่ โทรศัพท์มือถือในยคุ เร่ิมแรก มกี ารล็อคเครือขา่ ยไว้ที่ตวั เครื่อง ลกู ค้า
จะต้องเกิดการตัดสนิ ใจเม่ือต้องการเปล่ยี นคา่ ยเครือข่ายทใี่ ช้งานอยู่ เพราะจะต้องซื้อโทรศพั ท์เครื่อง
ใหม่ ซ่ึงปจั จบุ นั ได้มกี ารปลดล็อคเครือข่ายทตี่ ัวเครื่องแล้ว ประกอบกบั ชิมการด์ และ ตัวเครื่องกม็ ี
ราคาถูกลงมาก ลูกคา้ มสี ิทธิท์ ี่จะเปลีย่ นค่ายเครือข่ายไปมาได้อยา่ งงา่ ยดาย ถา้ ในข้นั ตอนตอ่ ไปมกี าร
ปลดล็อคหมายเลขโทรศัพท์ การแข่งขนั ของเครือข่ายโทรศพั ท์เคล่อื นที่รุนแรงกวา่ น้ี ดังนนั้ ถา้ ลูกค้า
เปลย่ี นใจไดง้ ่าย การแข่งขันด้านราคา โปรโมชน่ั ต่างๆ จะรุนแรงมากขึ้น กลายเปน็ ลูกคา้ ได้เปรียบจาก

7

การแขง่ ขัน และมีอำนาจในการต่อรองสงู
2.4.5 Rivalry among competing seller คอื สภาวะการแข่งขนั ในกลุ่มท่ีมี

ผลิตภณั ฑแ์ ละตลาดเดยี วกนั มีกิจกรรมการแข่งขันทางการตลาดหมุนวนเวียนไมม่ ีวนั หยุด

3. ทฤษฏีการวิเคราะหผ์ ู้บรโิ ภค
ผู้บริโภคหมายถึง ผู้ซ้ือ หรือผู้รบั บรกิ ารจากผู้ประกอบธุรกิจ หรอื ผูท้ ี่ได้รับการเสนอชักชวน

จากผูป้ ระกอบธุรกจิ เพื่อให้ซื้อสินค้าหรือบริการ และหมายความรวมถึงผใู้ ชส้ ินค้าหรือผ้ไู ด้รับบริการ
จากผู้ประกอบธรุ กิจแมไ้ มไ่ ด้เสยี คา่ ตอบแทน ในสงั คมปจั จุบัน ผู้บรโิ ภคมักจะถูกเอารดั เอาเปรยี บดว้ ย
วธิ ตี ่างๆ จากการใช้กลยุทธ์ทางการตลาดท่ีขนาดคุณธรรมและความรบั ผดิ ชอบ ผบู้ ริโภคจงึ ถกู เอารัด
เอาเปรยี บท้งั ในด้านคุณภาพและราคา อีกท้ังประชาชนสว่ นใหญย่ ังขาดความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั
การใชส้ ิทธติ ่างๆ ตลอดจนขาดขอ้ มูลประกอบการตัดสินใจเลอื กซื้อสินค้าและบรกิ ารพฤติกรรมท่ี
ผูบ้ รโิ ภคแสดงออกในการแสวงหาสำหรับการซ้ือ การใช้ การประเมนิ และการจบั จ่ายใช้สอย ซงึ่ สินคา้
และบริการทีเ่ ขาคาดหวงั ว่าจะทำให้ความต้องการ ของเขาไดร้ ับความพอใจ เปน็ การศึกษาถงึ เหตุ
จงู ใจทีท่ ำใหเ้ กดิ การตัดสินใจซอื้ ผลิตภณั ฑ์โดยมจี ุดเร่ิมต้นจากการเกดิ สง่ิ กระตุ้น (Stimulus) ท่ที ำให้
เกดิ ความต้องการสง่ิ กระตุ้นท่ีผา่ นเขา้ มาทางความรสู้ ึกนึกคิดของผ้บู ริโภคเปรยี บเสมือนกล่องดำ
(Buyer’s Black Box) ซึง่ ผู้ผลติ หรือผ้ขู ายไม่สามารถคาดคะเนได้ ความรสู้ ึกนกึ คิดของผู้บริโภคจะ
ได้รบั อิทธพิ ลจากลักษณะต่างๆ ของผู้ซื้อหรอื การตัดสนิ ใจของผซู้ ือ้ จดุ เร่ิมต้นอยู่ที่มสี ิ่งมากระตุน้ ทำให้
เกิดความต้องการก่อน แลว้ ทำใหเ้ กดิ การตอบสนอง

การวิเคราะห์พฤติกรรมผูบ้ ริโภคเป็นการค้นหาหรือวจิ ยั ที่เกีย่ วกับพฤตกิ รรมการซื้อและ
บริโภคเพื่อทราบถงึ ลกั ษณะความต้องการและพฤติกรรมการซ้อื และการใชข้ องผูบ้ รโิ ภค คำตอบทีไ่ ด้
จะชว่ ยใหส้ ามารถจัดกลยุทธ์ การตลาด ที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจของผ้บู ริโภคได้อย่าง
เหมาะสม ดังรายละเอียดน้ี

3.1 ใครอยู่ในตลาดเป้าหมาย (who constitutes the market?) เปน็ คำตอบเพ่อื ทราบถงึ
ลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย (occupants)

3.2 ผบู้ รโิ ภคซ้ืออะไร (what does the market buy?) เป็นคำถามเพื่อทราบถึงสงิ่ ทต่ี ลาด
ซอื้ (objects)

3.3 ทำไมผบู้ ริโภคจึงซ้ือ (why does the market buy?) เปน็ คำถามเพื่อทราบถึง
วัตถุประสงค์ในการซ้ือ (objectives)

8

3.4 ใครมีสว่ นร่วมในการตดั สนิ ใจ (who participates in the buying) เป็นคำถามเพื่อ
ทราบถงึ บทบาทของกลมุ่ ตา่ ง ๆ ท่ีมีอิทธิพลหรือมสี ่วนรว่ มในการตัดสอนใจซอ้ื (organization)

3.5 ผ้บู ริโภคซอื้ อย่างไร (how does the market buy?) เป็นคำถามเพื่อทราบถงึ ข้นั ตอน
ในการตดั สินใจซื้อ (operations)

3.6 ผ้บู ริโภคซอ้ื เม่อื ใด (when does the market buy?) เปน็ คำถามเพ่ือทราบโอกาสการ
ซ้อื (occasions)

3.7 ผูบ้ ริโภคซื้อทีไ่ หน (where does the market buy?) เป็นคำถามเพ่ือทราบถึงโครงการ
สรา้ งชอ่ งทาง ท่ีผ้บู ริโภคจะไปซื้อในชอ่ งทางการจดั จำหน่ายนัน้ ๆ (outlets)

4. ทฤษฏีกลยุทธ์การตลาด (4Ps) และ (8Ps)
ความหมายของการตลาดคือ ทใ่ี ดกต็ าม ทัง้ ที่เป็นสถานที่หรือไม่มสี ถานที่ ท่ีมีอุปสงค์และ

อปุ ทาน ในสนิ ค้า หรอื บริการมาพบกนั จนทำใหเ้ กดิ ราคาท่ีมาจากกลไกตลาด โดยเศรษฐกจิ ในระบบ
ตลาดน้ียอมรบั การเปลีย่ นแปลงของราคา เช่น การท่ีราคาลดลงโดยอตั โนมัติเมื่อมีการเสนอขายสินค่า
เปน็ ตน้ ทางดา้ นทฤษฏนี ั้น เห็นวา่ เศรษฐกจิ ในระบบตลาดที่แทจ้ ริงน้นั จำเปน็ ต้องประกอบไปด้วย
เงอ่ื นไขต่าง ๆ ดงั น้ีคือ ผู้ผลิตสินค่าทีม่ ีขนาดเล็ก ผ้บู รโิ ภคจำนวนมากรวมถงึ มาตรการในการกีดกัน
การเข้าตลาดท่ีน้อย เงื่อนไขเหล่านี้ถา้ มีครบทง้ั หมดจะถือว่าเปน็ ตลาดท่ีสมบูรณ์ซงึ่ พบได้มากในโลก
ปัจจบุ ัน (Kotler, 2003a, p.11) คำวา่ “ตลาด (Market)” มคี วามหมายครอบคลุมถงึ ลูกค้าหลาย
กลมุ่ รวมทั้งตลาดที่มตี ัวตนโดยลักษณะทางกายภาพ และตลาดทีไ่ ม่มตี วั ตนในกายภาพ (ตลาด
Digital) ตลอดจนตลาดขนาดใหญ่ทม่ี ีหลายๆตลาดย่อยซึ่งมีความเก่ยี วข้องสัมพันธอ์ ยู่ในธุรกจิ น้นั
ขอบเขตของการตลาด (The Scope of Marketing) การตลาดเปน็ งานท่เี กย่ี วข้องกบั การสร้างสรรค์
การสง่ เสริม และการสง่ มอบสินคา้ หรือบริการให้กบั ผ้บู ริโภคและองค์กรการธุรกิจต่างๆ นกั การตลาด
มหี นา้ ท่กี ระตนุ้ ความต้องการ ซื้อผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ ของบริษัทตลอดจนรบั ผดิ ชอบต่อ

4.1 ทฤษฎีกลยุทธก์ ารตลาด (4Ps) เป็นทฤษฎสี ่วนประสมการตลาด โดย โบเลน วิลเลยี ม
(Bolen William) กล่าวไวว้ ่า สว่ นประสมทางการตลาดเปน็ ตัวแปรทางการตลาดทสี่ ามารถควบคุมได้
4 ประการ (The Four P’s หรอื Mix) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) ช่องทางการจัด
จำหน่าย (Place) และการสง่ เสริมการตลาด(Promotion) ซ่งึ ต้องนำมาใช้รว่ มกนั เพื่อตอบสนองความ
ตอ้ งการของตลาดเปา้ หมายโดยรวม

4.1.1 ผลติ ภณั ฑ์ (Product) หมายถงึ ส่ิงทเี่ สนอขายโดยธรุ กิจ เพ่อื สนองความตอ้ ง

9

การของผบู้ รโิ ภคให้ได้รบั ความพงึ พอใจ ผลติ ภณั ฑ์ทเี่ สนอขายอาจจะมีตวั ตนหรอื ไมม่ ตี ัวตนก็ได้ ซง่ึ
ประกอบดว้ ย สินค้า บริการความคดิ สถานท่ี องค์กร หรือบคุ คล เป็นต้นผลิตภณั ฑจ์ ัดแบ่งความทน
ถาวรและจับต้องได้ออกเป็น 3 ประเภท ดงั นี้

4.1.1.1 สินค้าคงทน (Durable Goods) หมายถงึ ผลิตภณั ฑท์ ส่ี ามารถใช้
ประโยชน์ได้ นาน เชน่ รถยนต์ เครอื่ งใช้ไฟฟ้า เปน็ ตน้

4.1.1.2 สนิ ค้าไมค่ งทน (Non- Durable Goods) หมายถงึ วตั ถทุ จ่ี ะถูกใช้หมด
ไปในเวลาอันสน้ั เช่น นำ้ อัดลม ขนมกรุบกรอบ ยาสีฟนั เป็นตน้

4.1.1.3 บรกิ าร (Service) หมายถึง ผลิตภณั ฑท์ ่ีไม่ใชว่ ตั ถุแต่มีคุณประโยชน์ที่
ทำใหเ้ กิดความพึงพอใจ เช่น ธุรกิจบันเทิง การท่องเทย่ี ว และการประกนั ภยั เป็นตน้

4.1.2 ราคา (Price) ราคาเปน็ ส่งิ กำหนดมลู ค่าของผลติ ภณั ฑ์ในรูปของเงนิ ตรา ถอื เปน็
ส่วนหนง่ึ ของเครื่องมือทางการตลาด ท่มี ีส่วนชว่ ยใหเ้ กดิ การแลกเปล่ียนขึน้ เช่น ในการซ้ือของให้ผู้อ่นื
ผูซ้ อ้ื มกั คาดว่าผ้รู ับจะเข้าใจถึงจำนวนเงินใชไ้ ปในการซอ้ื ของชน้ิ นนั้ ผลิตภัณฑถ์ ้าหากมรี าคาต่ำเกนิ ไป
อาจดึงดดู ผบู้ ริโภคประเภทน้ีไดย้ าก ดงั นัน้ ในการกำหนดราคาจงึ ต้องพจิ ารณาถึงความสอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของตลาดเปา้ หมายและสว่ นประสมทางการตลาดตัวอนื่ ๆ

4.1.3 สถานที่ (Place) ชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ย (Distribution) หมายถึง สถานท่ที าง
การตลาดหรอื กิจกรรมต่างๆ ท่ีจะมีส่วนทำให้การเคลื่อนยา้ ยสนิ คา้ จากผู้ผลติ ไปสผู่ บู้ รโิ ภค ในสถานที่
ที่มคี วามต้องการและความเหมาะสม ดงั น้ัน ในดา้ นของสถานท่ี (Place Channel) จึงเกี่ยวกับ
เครือ่ งมอื ทน่ี ักตลาดนำมาใช้ 2 ประเภท คือ ชอ่ งทางการจัดจำหน่ายและการกระจายตวั สินคา้

4.1.4 การสง่ เสรมิ การตลาด (Promotion) เม่ือมีการตัดสนิ ใจด้านผลติ ภัณฑ์ ดา้ นราคา
และดา้ นจัดจำหน่ายท่ีเหมาะสมแล้ว ยังต้องแกป้ ัญหาอกี หนึ่งอยา่ ง คือทำใหผ้ ลติ ภัณฑเ์ ปน็ ทร่ี ู้จัก
เพื่อให้ผู้บรโิ ภคมาเลอื กซอื้ การสง่ เสรมิ การตลาดจงึ เปน็ กระบวนการของการให้ข้อมลู และโน้มนา้ วใจ
ผ้บู ริโภค ประกอบไปด้วยสว่ นประสมทางการตลาด เป็นเครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการสง่ เสรมิ การตลาด
ประกอบด้วย 4 ประการ ไดแ้ ก่

4.1.4.1 การขายโดยบคุ คล เปน็ กลยทุ ธ์ในการขายโดยการเขา้ ถงึ ลูกค้า
เป้าหมายโดยตรง หรือพ่อคา้ คนกลางเพือ่ อธบิ ายประโยชน์ของผลิตภณั ฑ์

4.1.4.2 การโฆษณา เปน็ กจิ กกรมการสื่อสารทางการตลาดโดยมีการนำ imc
เข้ามาเพอื่ เพ่ิมช่องทางในการโฆษณา โดยมีคา่ ใชจ้ ่ายเขา้ มาเกยี่ วขอ้ ง

10

4.1.4.3 การส่งเสรมิ การขาย เป็นสงิ่ ทก่ี ระต้นุ ให้เกดิ การซ้ือเรว็ ข้ึน และยังเปน็
การกระต้นุ ตัวแทนการจดั จำหน่าย แต่ในขณะเดยี วกันทำใหผ้ บู้ รโิ ภคเกิดการตัดสนิ ใจเร็วขนึ้ ในสายตา
ผู้บริโภค

4.1.4.4 การประชาสมั พนั ธ์ ความพยายามท่ีจดั เตรียมไว้เพื่อจงู ใจให้เกดิ ความ
คิดเหน็ ทีด่ ี โดยมกี ารใชก้ จิ กรรมหรือสอื่ ต่างๆท่ีไมใ่ ช่การค้า จะเหน็ ว่าการให้ข่าวเปน็ ส่วนหนึ่งของการ
ประชาสัมพนั ธ์

4.2 ทฤษฎีกลยทุ ธ์การตลาด (8Ps) กลยทุ ธ์ทางการตลาดสมยั ใหมซ่ ึ่งเปน็ สว่ นผสมทาง
การตลาด(Marketing Mix) หรอื ท่ีเรยี กสัน้ ๆว่า 8P’s ซงึ่ ต้องมีแนวทางความคดิ ทางการส่ือสาร
การตลาด(IMC) โดยอาศยั เคร่อื งมือการ ตดิ ต่อส่ือสารกบั ผู้บริโภคแบบสมัยใหม่ซึ่งแบง่ ส่วนขยาย
เพมิ่ เติมจากเดิมอีก หลายสว่ นท้งั งานศึกษาท้งั ภายในและภายนอกประเทศเช่ือมโยงส่กู ารทำธรุ กิจ
สมยั ใหมซ่ ง่ึ เน้นการสร้างผลกำไรสงู สดุ บนความพอใจของผู้บรโิ ภคซึ่งเปน็ การทำ ธรุ กิจระยะยาว
(Long-Term Business) พร้อมกับพฤตกิ รรมทเ่ี ปล่ยี นไปของผู้บริโภคสมยั ใหมซ่ ึ่งเปลย่ี นไปอย่างมาก
โดยเฉพาะการแบ่งส่วนการตลาด(Segmentation)ซึ่งไมส่ ามารถแบง่ ส่วนการตลาดแบบ เดมิ ๆ ได้
แล้ว ซง่ึ การเอกสารการศึกษาในสว่ นแรกเปน็ แนวทางทำธุรกิจและกอ่ ให้เกิดพฤตกรรมใน การเลือก
ซื้อผลิตภณั ฑ์เสริมอาหารที่มคี วามเกี่ยวข้องและสอดคล้องกับการศึกษาในครั้งน้ี

4.2.1 กลยุทธผ์ ลติ ภณั ฑ์ (Product Strategy) กลยทุ ธ์ในส่วนแรกนจ้ี ะเป็นเรื่องท่ี
เกี่ยวข้องกบั การ ตัดสนิ ใจในส่วนทเ่ี กยี่ วเน่อื งกบั ตัวผลติ ภัณฑ์ทงั้ หมด ไม่ว่าจะเป็นส่วนของคุณสมบตั ิ
สว่ นตัวท่ตี อ้ งตั้งเป้าว่าจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้ในระดับความพงึ พอใจ
ขนาดไหน การนำสนิ ค้าไปเปรียบเทยี บ กบั ผลติ ภัณฑ์ของคู่แขง่ ขนั ในท้องตลาดว่ามจี ดุ เด่นและ จุด
ดอ้ ยอย่างไร นอกจากน้ยี ังมีในสว่ นของวตั ถุดบิ และสายงานการผลิตด้วย

4.2.2 กลยทุ ธ์ราคา (Price Strategy) การกำหนดราคาของผลติ ภัณฑ์สนิ คา้ ถือเป็นกล
ยุทธ์ สำคญั ของแผนงานทางการตลาดที่จะช่วยสร้างความไดเ้ ปรยี บมากขึน้ โดยการกำหนดราคา
จะต้องคำนึงถึงปัจจยั ของตน้ ทุนการผลิตบวกกับผลกำไรท่ีต้องการจะได้จากการขายผลิตภัณฑแ์ ลว้ จงึ
ทำการกำหนดราคาขายออกมา โดยตอ้ งคำนึงสภาพการแขง่ ขันของตลาดสนิ ค้า นอกจากน้ีการ
กำหนดราคายังมีนยั ท่ีบ่งบอกถึงตำแหนง่ ท่ตี อ้ งการจะ ใหส้ ินค้าไปยนื อยูด่ ว้ ย ซึ่งการต้ังราคาอาจจะตง้ั
ใหใ้ กล้เคยี ง กบั สนิ คา้ ประเภทเดยี วกันบนทอ้ งตลาด หรอื น้อยกวา่ ถา้ ต้องการแย่งชิงฐานลูกค้า และ
มากกวา่ ถา้ ตอ้ งการวางตำแหน่ง ผลิตภณั ฑใ์ ห้อยเู่ หนือกว่าผลติ ภณั ฑท์ ่ัวไป

11

4.2.3 กลยทุ ธ์ช่องทางการจดั จำหน่าย (Place Strategy) ชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ยเป็น
หนึ่งในยทุ ธศาสตรส์ ำคญั ของการวางกลยทุ ธท์ างการตลาด เพราะถา้ สามารถหาช่องทางการกระจาย
สนิ ค้าไปสูม่ ือผบู้ รโิ ภคไดม้ ากเท่าไหร่ ผลกำไรกจ็ ะเพ่ิมสงู ขน้ึ มากเท่าน้ัน โดยชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ยท่ี
นิยมใชก้ ันในปัจจุบนั มีอยดู่ ว้ ยกนั สองรูปแบบ คอื การขายไปสูม่ ือของผู้บรโิ ภคโดยตรงและการขาย
ผา่ น พอ่ ค้าคนกลาง ซึง่ สองวิธนี ้ีจะมีข้อแตกตา่ งอยตู่ รงทว่ี ่า การขายตรงไปส่มู ือผใู้ ชส้ นิ คา้ จะได้กำไรท่ี
มากกวา่ ในขณะท่ีการขายผ่านพอ่ คา้ คนกลางจะช่วยในเรื่องของยอด การจำหนา่ ยท่สี งู ขึ้นอันมีผลมา
จากเครือข่ายท่ีพ่อคา้ คนกลางได้วางเอาไวน้ น่ั เอง

4.2.4 กลยุทธ์การสง่ เสริมการตลาด (Promotion Strategy) ในบรรดาการใช้ยารักษา
โรคนน้ั การฉีดยาจะเปน็ วิธที ี่มีประสิทธภิ าพสงู สุดเน่อื งจากสามารถส่งยาเข้าสภู่ ายในรา่ งกาย ได้
โดยตรง การสง่ เสริมการตลาดกเ็ ช่นเดยี วกนั หากโปรโมชน่ั ที่ออกมาตรงใจผูบ้ ริโภค ยอดขายและ
กำไรกจ็ ะเพมิ่ ข้ึนอยา่ ง รวดเร็ว โดยกลยุทธก์ ารตลาดนี้จะต้องใชส้ ่งเสริมและสอดคลอ้ งไปกันได้กบั กล
ยุทธอ์ ย่างอืน่ ด้วย โดยการสง่ เสริมการ ตลาดน้ีสามารถทำได้หลายวธิ ี ไมว่ ่าจะเปน็ การลด แลก แจก
แถม เป็นตน้

4.2.5 กลยทุ ธ์บรรจภุ ัณฑ์ (Packaging Strategy) ในเลอื กซื้อสินคา้ ส่ิงท่ีปรากฏต่อ
สายตาของผูบ้ ริโภคเปน็ อย่างแรกก็คอื บรรจภุ ัณฑ์ จงึ สามารถกลา่ วได้วา่ บรรจภุ ัณฑเ์ ปน็ หน้าตาของ
สนิ คา้ ดงั น้ัน การออกแบบดีไซนร์ ปู ลกั ษณ์ บรรจภุ ณั ฑ์จึงเปน็ เรื่องหนงึ่ ท่สี ำคญั โดยหลกั สำคญั คือ
จะตอ้ ง มคี วามสวยงามเหมาะสมกบั ผลิตภณั ฑ์อีกทั้งความโดดเด่น เมื่อนำไปวางบนช้ันสินค้า
เปรยี บเทียบกันกบั ของคู่แขง่ จะต้อง มคี วามเหนือช้นั กว่าจึงจะประสบความสำเร็จตามแผนงานน้ี

4.2.6 กลยุทธ์การใช้พนกั งานขาย (Personal Strategy) การขายโดยใชพ้ นักงานขาย
จดั เปน็ รปู แบบการปฏบิ ตั ิตัวต่อตัวระหว่างกิจการกับลูกคา้ ท้ังนี้เพอ่ื มงุ่ หวังคำส่ังซือ้ ดว้ ยรูปแบบการ
ขายท่ีแตกตา่ งกนั การขายโดยพนักงานขายนัน้ เกี่ยวข้องกับการจ้างพนักงานขาย การจัดการทั่วๆไป
เกีย่ วกบั พนักงานขาย ตลอดจนการบรหิ ารสินค้าคงคลงั การเตรยี มการเสนอขายและการบริการหลงั
การขาย ในการพัฒนาแผนกการขายนั้น กจิ การจะเร่ิมต้ังแต่การตงั้ วัตถุประสงค์และปฏิบัตกิ าร ซ่งึ
ต้องมีความชดั เจนและสอดคลอ้ งกับประเภทของธรุ กจิ โดยอาจเป็นธุรกจิ ค้าปลีก ธรุ กิจการบริการ
หรือธุรกจิ การผลิต จากนั้นจงึ กำหนดกลยุทธ์การขาย และการดำเนินงาน การขายโดยใช้พนักงานขาย
น้นั หวงั ผลลพั ธเ์ พอ่ื เพ่ิมยอดขายและขณะเดยี วกันก็ เพ่ือสร้างสัมพนั ธ์ภาพระยะยาวกับลกู คา้ อีกดว้ ย
นอกจากน้ีการขายโดยใชพ้ นักงานขายน้ัน ยงั มีการใช้โบวช์ ัวร์ เอกสาร ใบปลิว วสั ดุอปุ กรณ์ตา่ งๆ เพ่ือ

12

ช่วยในการนำเสนอขายของพนกั งาน ตลอดจนเปน็ หลักฐานอ้างองิ และสามารถมอบไว้ให้ลูกคา้ เพื่อ
ศกึ ษาขอ้ มูลเพิ่มเตมิ

4.2.7 กลยทุ ธ์ข่าวสาร (Public Relation Strategy) การใหข้ ่าวสารน้นั คือรูปแบบ
หน่งึ ของการติดต่อส่อื สารทไี่ ม่เสียคา่ ใช้จา่ ยในการซ้ือส่อื ทั้งน้เี พอ่ื สร้างทศั นคติทเี่ ปน็ บวกต่อสนิ คา้ และ
กจิ การของเรา แต่ปจั จุบนั การส่ือสารโดยวิธีดังกล่าวอาจมีคา่ ใชจ้ ่ายอืน่ ๆ รวมท้ังค่าใชจ้ า่ ยทางอ้อม
เก่ยี วกับส่ืออีกดว้ ย การให้ข่าวสารแก่สาธารณะชน นน้ั เป็นรูปแบบหน่งึ ของการประชาสัมพนั ธ์ การให้
ขา่ วสารจัดว่าเป็นการสรา้ งภาพลกั ษณ์ในระยะยาวแก่องคก์ ร และต้องการให้ผลลัพธ์น้ีออกมาในเชิง
บวกแก่องค์กร ส่งิ ทเ่ี ราต้องพิจารณาอย่างย่ิงในการใหข้ ่าวสารคือ กลุ่มเป้าหมายทต่ี ้องการได้รบั
ขา่ วสารและสือ่ โฆษณาทจี่ ะใช้เพอื่ การสอื่ ขา่ วสาร

4.2.8 กลยุทธก์ ารใช้พลัง (Power Strategy) เป็นเรอื่ งทแี่ น่นอนว่าคุณจะไม่ใช่ผเู้ ดียว
ทที่ ำธุรกจิ ในตลาด การตอ่ รองแลกเปล่ยี นผลประโยชนก์ บั ผเู้ ล่นรายอ่ืนจงึ เป็น เรือ่ งทไี่ ม่อาจหลีกเลี่ยง
ได้ ดังนนั้ การแสวงหาหรือสรา้ งอำนาจ ในการต่อรองจึงเป็นเร่อื งจำเปน็ เพอ่ื ใหบ้ รษิ ทั ได้รับข้อเสนอ ที่
ดที ่ีสดุ ในกรณีทีไ่ ม่สามารถตกลงกนั ตามแบบได้อย่างลงตัว

5. การบริโภคและทฤษฏีพฤตกิ รรมผ้บู รโิ ภค (Buyer Behavior’s Model)
พฤติกรรมผ้บู รโิ ภค หมายถึง การกระทำต่างๆของบุคลทแี่ สดงออกมาในการแสวงหาสินค้า

และบริการทค่ี าดหวัง สามารถตอบสนองความตอ้ งการและความพึงพอใจของตนเองภายใต้
กระบวนการตัดสนิ ใจทม่ี ีมาก่อนการซ้ือทฤษฎพี ฤตกิ รรมผู้บรโิ ภค เป็นการศกึ ษาถงึ เหตุจูงใจทีท่ ำให้
เกดิ การตัดสินใจซือ้ ผลติ ภัณฑ์โดยมีจุดเรม่ิ ตน้ จากการเกดิ สิ่งกระตุ้นท่ีทำให้เกดิ ความตอ้ งการ ส่งิ ท่ี
กระตนุ้ ผ่านเขา้ มาทางความรู้สกึ ของผู้บริโภคเปรียบเสมือนกล่องดำ ซึ่งผผู้ ลติ หรือผ้ขู ายไมส่ ามารถ
คาดคะเนได้ ความรูส้ กึ นกึ คิดของผ้บู ริโภคจะได้รับอทิ ธพิ ลต่างๆของผซู้ อ้ื หรือการตัดสินใจของผู้ซื้อ
จดุ เริ่มตน้ อยทู่ ี่มีบางสิ่งมากระตนุ้ ทำให้เกิดความต้องการก่อน แล้วทำใหเ้ กดิ การตอบสนอง

ส่ิงทกี่ ระตุน้ ทางการตลาดและส่ิงกระตนุ้ อื่น ได้แก่ ปจั จัยทีเ่ รยี กวา่ สว่ นผสมทางการตลาด
ประกอบด้วยตัวผลิตภณั ฑ์ ราคา การวางจำหนา่ ย และการส่งเสริมการจำหนา่ ย ส่วนปัจจัยกระตนุ้
อนื่ ๆ ได้แก่ ปจั จัยด้านเศรษฐกจิ เทคโนโลยี การเมอื ง และวฒั นธรรม กล่องดำของผซู้ ื้อ
ประกอบดว้ ยลกั ษณะของผูซ้ ้ือ และกระบวนการตัดสนิ ใจของผ้ซู ้อื การตอบสนองผ้ซู ื้อ ไม่ว่าด้านการ
เลอื กผลิตภัณฑ์ การเลอื กตราสนิ ค้า การเลอื กผ้จู ัดจำหนา่ ย เวลาท่ซี ือ้ และจำนวนที่ซอื้

13

Marketing and other stimuli Buyer’s black box Buyer
Buyer Buyer decision response
Marketing Other characteristic process Product
Product Economic choice
Price Political
Place Technoological Brand
Promotion Cultural choice

Purchase
timing

Purchase
amount

ภาพที่ 1 การตอบสนองของผู้ซือ้

ลกั ษณะของตวั แบบนี้เริม่ จากการพจิ ารณาปัจจัยท่เี ป็นตัวกระตุ้น ซง่ึ ประกอบด้วยปจั จัย
ทางการตลาด ได้แก่ ผลิตภณั ฑ์ ราคา การวางจำหนา่ ย และการสง่ เสริมการขาย และปัจจยั กระตุ้น
อื่นๆ ได้แก่ เศรษฐกจิ เทคโนโลยี การเมอื งและวฒั นธรรม ปัจจยั ทางการตลาดจะเป็นตัวกระตุน้
โดยตรง ปัจจยั อืน่ ไดแ้ ก่ สถานการณท์ างเศรษฐกิจชีใ้ ห้เห็นอำนาจการตัดสนิ ใจซื้อของผบู้ รโิ ภค หาก
เศรษฐกิจเจริญและขยายตัวผู้บริโภคจะมีอำนาจการซ้ือสงู หากเศรษฐกิจอย่ใู นสภาวะตกตำ่ อำนาจซื้อ
ก็จะลดลง และยังมเี ทคโนโลยที ี่แตกตา่ งกนั รวมถึงวัฒนธรรมของแตล่ ะกลุม่ สังคมเปน็ องคป์ ระกอบที่
กระตุ้นให้ผู้บรโิ ภคตัดสินใจซ้ือ การตดั สนิ ใจซ้ือของผ้บู ริโภคนบั เปน็ ขน้ั ตอนสดุ ท้ายของกระบวนการ
คอื ผบู้ ริโภคตดั สินใจซ้อื ผลติ ภัณฑช์ นิดใด ย่หี อ้ ใด ราคาเท่าใด เมอ่ื ไร และจำนวนเท่าใด หลังจากทไี่ ด้
ผา่ นขัน้ ตอนกระตุ้นทางการตลาด ผ่านเขา้ มาในห้องของกลอ่ งดำ ผสมผสานกับทัศนคติ และสง่ ผลไป
ยังการตดั สนิ ใจซ้ือ

แนวคดิ “Consumer Behavior Model” ซึง่ สามารถอธิบายแตล่ ะปจั จยั ท่ีเข้ามากระทบต่อ
การตอบสนองของผู้ซื้อได้ ดังน้ี

5.1 ส่งิ กระตนุ้ (stimulus) หมายถึง สง่ิ กระตุ้นท่ีอาจเกิดข้ึนเองจากภายในร่างกาย และส่งิ
กระต้นุ จากภายนอก จะต้องสนใจและจัดส่ิงกระตุ้นภายนอก เพ่ือใหผ้ ้บู รโิ ภคเกดิ ความต้องการ
ผลติ ภัณฑ์ สิง่ กระตุ้นน้ีถือวา่ เปน็ เหตจุ ูงใจใหเ้ กิดการซื้อสินค้า ซงึ่ อาจใชเ้ หตุจงู ใจซ้ือดา้ นเหตุผล และ

14

ใช้เหตจุ งู ใจใหซ้ อ้ื ในดา้ นจิตวทิ ยา (อารมณ์) ก็ไดส้ ง่ิ กระตนุ้ ภายนอกประกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื
5.1.1 สง่ิ กระตุน้ ทางการตลาด เป็นสิ่งกระต้นุ ท่สี ามารถควบคุมได้และต้องจัดใหม้ ีขนึ้

เปน็ สิ่งกระตุ้นทีเ่ กยี่ วข้องกบั ส่วนประสมทางการตลาด (marketing mix) ซง่ึ ประกอบด้วย
5.1.1.1 สิ่งกระตนุ้ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (product) เชน่ การออกแบบผลิตภณั ฑ์ให้

สวยงาม เพื่อกระตุ้นความต้องการ ผลิตภัณฑม์ ีคุณภาพดี มีการบรกิ ารที่ดเี ย่ียม
5.1.1.2 สิง่ กระต้นุ ดา้ นราคา (price stimulus) เชน่ การกำหนดราคาสนิ ค้าทมี่ ี

อยู่ใหเ้ หมาะสมกับผลติ ภณั ฑ์ โดยพจิ ารณาลูกคา้ เป้าหมาย และมคี วามหลากหลายของราคาสนิ คา้
5.1.1.3 ส่งิ กระตุ้นดา้ นการจดั ชอ่ งทางการจำหน่าย (place stimulus) เชน่ การ

จดั ช่องทางจำหน่ายผลิตภัณฑ์ให้ท่วั ถึง เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกแก่ผ้บู รโิ ภค ซ่งึ ถือได้วา่ เปน็ การกระตุ้น
ความตอ้ งการซื้อ เลอื กสถานท่เี หมาะสม และจดั บรรยากาศในร้านใหด้ ึงดูดความสนใจจากลกู คา้ เปน็
ต้น

5.1.1.4 สิง่ กระตนุ้ ด้านการส่งเสริมการตลาด (promotion stimulus) การลด
แลก แจก แถม การสร้างความสมั พนั ธ์อันดีของผู้ขายกบั บุคคลท่วั ไป เหล่าน้ีถือเป็นสิ่งกระต้นุ ความ
ตอ้ งการซอ้ื ใหผ้ ู้บริโภคมากขน้ึ

5.1.2 ส่ิงกระตุ้นอ่ืนๆ (other stimulus) เปน็ ส่ิงกระตุ้นความตอ้ งการผบู้ ริโภคที่อยู่
ภายนอก ซง่ึ ควบคุมไมไ่ ด้ สิ่งกระตนุ้ เหล่าน้ีไดแ้ ก่

5.1.2.1 สิง่ กระตนุ้ ทางเศรษฐกิจ (economic stimulus) เช่น ภาวะเศรษฐกิจ
รายได้ของ ผูบ้ ริโภค เหลา่ น้มี อี ิทธิพลต่อความต้องการของบุคคล

5.1.2.2 สงิ่ กระตุ้นทางเทคโนโลยี (technological stimulus) เทคโนโลยใี หม่ๆ
สามารถกระตุ้นความต้องการใหซ้ ้อื สนิ คา้ มากขึน้ แสดงถึงความแปลกใหม่ของผลิตภัณฑ์ ทแี่ ตกตา่ งไป
จากคูแ่ ข่งขนั ทำให้ผูบ้ ริโภคสนใจบริโภค

5.1.2.3 ส่งิ กระตุ้นทางกฎหมายและการเมือง (law and political
stimulus) เชน่ กฎหมายเพ่ิมลดภาษสี นิ คา้ ใดสินค้าหน่ึง จะมีอทิ ธิพลต่อการเพม่ิ หรือลดความต้องการ
ของผู้ใชบ้ รกิ าร

5.2 กลอ่ งดำหรือความรู้สกึ นึกคดิ ของผ้ซู ้ือ (buyer’s black box) หมายถึง ความรู้สึกนึก
คดิ ของผู้ซอ้ื ซึ่งเปรยี บเสมือนกล่องดำ ทีผ่ ้ผู ลิตหรือผูข้ ายไม่สามารถทราบได้ จงึ ต้องพยายามคน้ หา
ความรู้สึกนกึ คิดของผู้ซ้ือ ความรสู้ กึ นกึ คิดของผซู้ ้อื จะได้รับอิทธิพลมาจากลักษณะและกระบวนการ

15

ตัดสินใจของผู้ซื้อ
5.2.1 ลักษณะของผู้ซื้อ (buyer characteristics) ลกั ษณะของผู้ซือ้ มอี ิทธพิ ลจาก

ปจั จยั ต่างๆ คอื ปจั จยั ดา้ นวัฒนธรรม ปัจจัยด้านสงั คม และปัจจยั ส่วนบุคคล
5.2.2 กระบวนการตัดสินใจซ้ือของผซู้ ้ือ (buyer decision process) ประกอบไปด้วย

5 ขั้นตอน ได้แก่ การรบั ร้ปู ญั หา การค้นหาข้อมูล การประเมนิ ผลทางเลือก การตัดสนิ ใจซอ้ื และ
พฤติกรรมภายหลงั การซื้อ

5.3 การตอบสนองของผซู้ ้ือ (buyer’s response) หรือการตัดสนิ ใจซ้ือของผบู้ รโิ ภคหรอื ผู้
ซือ้ ผูบ้ ริโภคจะมกี ารตดั สนิ ใจในประเด็นต่างๆ ดังน้ี

5.3.1 การเลือกผลติ ภัณฑ์ (product choice) ตัวอย่างเช่น ผ้บู รโิ ภคจะเลือกบริโภค
ผลติ ภัณฑ์ในรา้ นอนื่ ๆ

5.3.2 การเลอื กตราสินค้า (brand choice) เมื่อเลือกผลติ ภณั ฑ์ได้แล้ว ผู้บรโิ ภคก็จะ
ทำการ เลือกวา่ จะเลือกบรโิ ภคผลติ ภณั ฑ์ตราใดยี่ห้อใด

5.3.3 การเลือกผ้ขู าย (dealer choice) ตวั อย่างเช่น ผบู้ ริโภคจะเลือกจาก
ห้างสรรพสินคา้ ใด หรือรา้ นค้าใกล้บา้ นรา้ นใด

5.3.4 การเลือกเวลาในการซ้ือ (purchase choice) โดยเลอื กวา่ จะใชบ้ ริการใน
ช่วงเวลาใด วันไหน เปน็ ต้น

5.3.5 การเลือกปริมาณการซือ้ (purchase amount) ตัวอยา่ งเช่น ผบู้ ริโภคจะเลือก
วา่ จะซ้ือหนึ่งกลอ่ ง คร่งึ โหล หรือว่า หน่ึงโหล

6. แนวคิดการออกแบบบรรจุภณั ฑ์
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ รวมไปถงึ การออกแบบผลติ ภัณฑ์ มคี วามจำเปน็ และสำคญั เปน็

อย่างยงิ่ ในการทำธุรกิจ ตง้ั แต่สมัยที่คนยงั ไมร่ จู้ กั วา่ เงนิ คืออะไรดว้ ยซ้ำ เพราะมนุษย์เรามีความคิด
สรา้ งสรรค์จึงทำใหเ้ กดิ สง่ิ ใหม่ๆทช่ี ว่ ยอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตมาตง้ั แต่สมยั ยคุ หินแล้ว
ดงั นัน้ แนวคดิ หรอื หลกั การทีเ่ กดิ ขน้ึ จงึ เปน็ การรวบรวมผ่านประสบการณ์จนกลายมาเป็นหลักการ
ตา่ งๆในการออกแบบบรรจภุ ัณฑแ์ ละผลติ ภณั ฑท์ ่นี ักออกแบบไดร้ ำ่ เรยี นกนั ในทุกวนั น้ี แต่กอ่ นจะไป
ถงึ รายละเอยี ดและหลกั การว่าเราจะทำอย่างไรให้การออกแบบบรรจุภณั ฑ์และผลติ ภัณฑข์ อง SME
รายยอ่ ยๆ ทีม่ ีงบประมาณจำกัด จะได้นำไปใชเ้ พื่อออกแบบให้สนิ คา้ และผลติ ภัณฑ์ของตวั เองเป็น
ผลิตภณั ฑ์อยู่ในบรรจภุ ัณฑท์ ่ีสวยงามดึงดูดใจผู้บริโภคได้อย่างมีหลกั การ เรากต็ ้องมาเรียนรู้กันกอ่ นว่า

16

ความหมายของสิง่ ท่เี ราจะได้เรยี นรู้หลกั การน้ี
6.1 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ( packaging design ) คือ การวางแผนและการสร้างสรรค์

ผลงาน สนิ คา้ หรอื ผลติ ภัณฑ์ ใหเ้ ห็นถึงหน้าทีก่ ารทำงานเพ่ือใชใ้ น การบรรจุ ห่อหุ้ม หรอื ปกป้อง
ส่ิงของหรือสนิ คา้ โดยมปี ระโยชนใ์ นหลายๆด้าน เชน่ ความสวยงาม ความคงทน และ ป้องกนั สนิ ค้า
หรือผลิตภณั ฑ์ดา้ นใน ไมใ่ ห้เกิดความเสยี่ ง หรอื เปน็ อนั ตรายแตกหักชำรดุ

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Design) คือการกำหนดรปู แบบและโครงสรา้ งของ
บรรจภุ ณั ฑใ์ ห้เหมาะสมและสมั พนั ธก์ บั ตัวสนิ คา้ เพ่ือป้องกันไมใ่ หส้ นิ คา้ เสยี หายจากการเคลื่อนย้าย
เพือ่ อำนวยความสะดวกให้กับระบบขนสง่ และเพ่ิมคณุ ค่าด้านจติ วทิ ยาต่อผ้บู ริโภค ซ่งึ ต้องอาศยั ทัง้
ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ในการสร้างสรรค์

6.1.1 วตั ถุประสงคข์ องการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ เพื่อนำเอาวัสดุ เชน่ กระดาษ เย่ือ
กระดาษ ไม้ พลาสตกิ แกว้ และโลหะอนื่ ๆมาออกแบบเปน็ เปน็ ภาชนะท่ีมีความสวยงาม แขง็ แรง ได้
สดั ส่วนเหมาะสมกับตัวสินค้า เช่น กลอ่ งกระดาษ กลอ่ งกระดาษลกู ฟูก กล่องพมิ พ์ออฟเซท พาเลท
กระดาษ และภาชนะอน่ื ๆ สำหรับการนำไปใช้ รวมทั้งสร้างพจนท์ ด่ี ี ทำใหแ้ บรนดส์ นิ ค้าไดร้ ับความพึง
พอใจจากผู้ซ้ือความสำคัญของบรรจภุ ัณฑต์ ่อธุรกิจ SMEบรรจุภัณฑ์อาหารและเครื่องด่ืม รวมทงั้
บรรจภุ ัณฑส์ ำหรบั สนิ ค้าอุปโภคบรโิ ภคอน่ื ๆ มีความสำคญั ตอ่ ธุรกจิ SME ในทกุ ๆดา้ น ดังนี้

6.1.1.1 รกั ษาคุณภาพและปกป้องสินคา้ จากการปนเปอื้ น ทั้งจากฝุน่ ละออง
แมลง คน ความช้นื ความร้อน แสงแดด และการปลอมปนอ่ืน ๆ

6.1.1.2 มคี วามสะดวกต่อการจดั เกบ็ เช่น กล่องกระดาษ ที่มีขนาดใหญ่
สามารถจดั เกบ็ สนิ ค้ารวมไวใ้ นทเี่ ดยี ว หรืออำนวยความสะดวกในการขนสง่ ทำให้การเคล่อื นยา้ ย
สินค้าทำได้รวดเรว็

6.1.1.3 สง่ เสรมิ ดา้ นการตลาด ช่วยสร้างภาพลกั ษณใ์ ห้สนิ ค้าและแบรนดเ์ ป็นที่
รจู้ กั มากขึ้น

6.1.1.4 เป็นการโฆษณาประชาสมั พันธท์ งั้ ตัวสินค้าและแบรนดผ์ ลิตภัณฑใ์ หก้ ับ
ธรกจิ SME โดยการออกแบบทีม่ กี ารสื่อสารและให้ข้อมูลสนิ ค้าลงบนกล่องกระดาษหรือกล่อง
ผลิตภัณฑ์

6.1.1.5 สรา้ งอตั ลักษณใ์ ห้กบั สินค้า ทำให้เปน็ ทีส่ นใจและจดจำไดง้ ่าย การ
เลอื กใช้บรรจุภณั ฑ์ที่ออกแบบใหม้ เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั มคี วามสวยงาม และเหมาะสมสมั พันธ์กบั ตวั

17

สนิ คา้ มผี ลต่อการตัดสนิ ใจซื้อในทนั ทีโดยที่ลูกคา้ ไม่ได้มุ่งหวังในการซื้อสินค้ามาก่อน
6.1.1.6 ความสวยงามและคุณภาพของบรรจภุ ณั ฑ์ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มใหแ้ ก่

สินค้า ทำใหก้ ำหนดราคาขายได้งา่ ยขึน้
6.1.2 ประเภทของบรรจภุ ณั ฑ์ท่ีนยิ มใช้ในธุรกิจ SME
6.1.2.1 ถุงกระดาษ เปน็ บรรจภุ ณั ฑท์ ่มี หี ลายรปู แบบและหลายขนาด ใชบ้ รรจุ

สินค้าได้หลายประเภท เชน่ ถุงกาแฟ ถุงเส้ือผา้ ถุงเคร่ืองสำอาง ถงุ ใสเ่ ครื่องประดับช้ินเลก็ ๆ
6.1.2.2 กล่องกระดาษลูกฟูก เปน็ กลอ่ งทมี่ ีนำ้ หนกั เบาส่วนใหญจ่ ะทำหน้าที่ใน

การขนส่ง แต่เราก็สามารถออกแบบกล่องเพ่ือนำไปใสส่ ินคา้ เพือ่ ขายปลีกได้
6.1.2.3 ถงั กระดาษ โดยจะใช้สำหรบั การขนส่งเป็นหลัก และสินค้าท่ีนิยมบรรจุ

คอื สารเคมี เม็ดพลาสติก
6.1.2.4 ซองกระดาษหรับการบรรจสุ นิ ค้าท่ีมขี นาดเลก็ ถงึ ปานกลาง โดยการ

เลือกใช้ขนาดและชนดิ ของซองกระดาษจะขนึ้ อยู่กับชนิดของสนิ คา้
6.1.2.5 กระป๋องกระดาษ เปน็ บรรจภุ ณั ฑ์รูปทรงกระบอก นิยมใช้บรรจุอาหาร

ประเภทขนมขบเคี้ยว
การแข่งขนั ด้านการตลาดของธรุ กิจ SME มีความรุนแรงไม่แตกต่างจากธรุ กิจขนาดใหญ่ การ

พฒั นาบรรจุภณั ฑ์จึงเปน็ ทางเลอื กทน่ี ่าสนใจ การออกแบบกลอ่ งกระดาษ และกลอ่ งบรรจุภณั ฑ์อ่นื ๆ
โดยเฉพาะบรรจภุ ัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิง่ แวดลอ้ ม ไมส่ รา้ งมลภาวะและสามารถย่อยสลายได้เองตาม
ธรรมชาติ คือจุดขายทีส่ ามารถใชส้ ู้กบั ค่แู ข่งขนั ดา้ นการตลาดได้

6.2 หนา้ ทแ่ี ละบทบาทของบรรจภุ ณั ฑ์ ในสมยั ก่อนนัน้ การใช้บรรจุภณั ฑก์ เ็ พ่ือเก็บรกั ษา
สนิ ค้าให้คงสภาพ (Protection) ในระยะเวลาหน่ึงหรือจนกวา่ จะนำไปใช้แตเ่ ม่อื มีการแข่งขันทาง
การคา้ มากขึน้ บรรจภุ ณั ฑ์จึงมีบทบาท ในด้านการสง่ เสริมการตลาด (Promotion) เริม่ เน้นเร่ืองความ
สวยงาม สะดุดตา ตลอดจนความสะดวก ในการนำไปใช้บรรจภุ ัณฑ์ในปจั จุบันมีหนา้ ท่ี

6.2.1 ทำหนา้ ที่รองรบั (Contain) บรรจภุ ณั ฑจ์ ะทำหน้าท่ีรองรับสนิ ค้าใหร้ วมกันอยู่
เป็น กลุม่ นอ้ ย หรอื ตามรปู ร่างของภาชนะน้นั ๆ

6.2.2 ป้องกัน (Protect) บรรจภุ ัณฑ์จะทำหนา้ ท่ปี ้องกันคุม้ ครองสนิ คา้ ท่ีบรรจุอยู่
ภายในไมใ่ หย้ ุบ สลาย เสียรูปหรือเสียหายอนั เกดิ จากสภาพส่ิงแวดล้อม ซึง่ ประกอบด้วยสภาพดนิ ฟ้า
อากาศ ระยะเวลาในการเก็บรักษา สภาพการขนสง่ กล่าวคอื ให้คงสภาพลักษณะของสินค้าให้ เหมอื น

18

เมื่อผลิตออกจากโรงงานให้มากที่สุด การบรรจหุ ีบห่อต้องสามารถป้องกันความเสยี หายท่ีจะเกิดกบั
สินคา้ และมีความปลอดภัยต่อผู้ใชท้ ีอ่ าจได้รบั อันตรายจากสินคา้ บางอย่างซ่งึ ขึน้ อยู่กับ สมรรถนะของ
บรรจุภณั ฑ์ ดังนั้น บรรจุภณั ฑจ์ ำเปน็ ต้องมคี ุณลกั ษณะสมรรถนะท่เี หมาะสมกบั การใช้งานมาตรฐาน
ระหว่างประเทศในเร่ืองคำศัพทแ์ ละบทนยิ าม (Terminology and definitions) 8 สมรรถนะ และวิธี
ทดสอบทีเ่ ก่ียวข้อง (Performance requirements and associated test methods) จะชว่ ยให้
อุตสาหกรรมบรรจุภณั ฑ์กำหนดคณุ สมบัติของบรรจภุ ัณฑไ์ ดอ้ ย่างถูกต้องชัดเจน รวมทัง้ สรา้ งความ
มน่ั ใจ และควบคมุ คุณภาพในระดบั ท่ีต้องการ (เอสไอจี คอมบิบล็อค ประเทศไทย: ออนไลน์)และ
บรรจุภัณฑจ์ ะทำหน้าที่ป้องกนคุ้มครองสินคา้ ท่ีบรรจอุ ยู่ภายในไมใ่ หย้ บุ สลาย เสียรูป หรือเสยี หายอนั
เกดิ จากสภาพสิง่ แวดลอ้ มซ่ึงประกอบดว้ ยสภาพดินฟ้าอากาศ ระยะเวลาในการเกบ็ รักษา สภาพการ
ขนสง่ กล่าวคอื ให้คงสภาพลักษณะของสินคา้ ให้เหมอื นเมอ่ื ผลิตออกจากโรงงานให้ มากที่สุด
(Packagingbenny. ม.ป.ป:ออนไลน)์

6.2.3 ทำหน้าทรี่ กั ษา(Preserve) คุณภาพสนิ ค้าใหค้ งเดิมตั้งแต่ผ้ผู ลติ จนถึงผบู้ รโิ ภคคน
สดุ ท้าย

6.2.4 บง่ ช้(ี Identify) หรอื แจ้งข้อมูล (Inform) รายละเอียดตา่ งๆ ของสินค้าเกย่ี วกับ
ชนิดคณุ ภาพ และแหลง่ ท่ีมาหรอื จดุ หมายปลายทาง โดยหบี หอ่ ต้องแสดงข้อมูลอยางชัดเจนให้
ผบู้ ริโภครู้ ว่าสินค้าทอ่ี ยภู่ ายในคืออะไร ผลิตจาที่ไหน มปี ริมาณเท่าใด สว่ นประกอบ วนั เวลาท่ีผลิต
วนั เวลาที่ หมดอายุ การระบขุ ้อความสำคัญๆ ตามกฎหมาย โดยเฉพาะสนิ ค้าประเภทอาหาร และยา
ชอ่ื การค้า (Trade Name) เครือ่ งหมายการคา้ (Trade Mark)

6.2.5 ดึงดดู ความสนใจ(Consumer Appeal) และช่วยชักจงู ในการซื้อสนิ คา้ เนื่องจาก
สินค้าชนดิ ใหมม่ ีเพ่มิ ขน้ึ อยตู ลอดเวลาการแขง่ ขันทางด้านตลาดก็เพ่ิมมากขน้ึ ทุกวนั ผูซ้ อ้ื สนิ ค้าย่อมไม่
อาจตดิ ตามการเคลอ่ื นไหวทางดา้ นตลาดได้ทนั หบี หอ่ จงึ ต้องทำหนา้ ทแี่ นะนำผลติ ภัณฑ์ทถ่ี ูกบรรจุอยู่
ใหก้ บั ผู้ซื้อด้วย ต้องดงึ ความสนใจของผ้ซู ้ือท่ีไม่เคยใช้ผลติ ภณั ฑ์นัน้ ๆ ให้สนใจในการใช้ และหลงั จาก
ใชแ้ ลว้ เกดิ ความพอใจท่ีจะซ้ือใชอ้ กี หีบหอ่ จะทำหน้าที่ขายและโฆษณาสนิ ค้าควบคกู่ นั ไปในตวั ด้วย
เสมือนหนึ่งเป็นพนกั งานขายเงยี บ (Silent Salesman) ดังน้นั การทีบ่ รรจภุ ณั ฑจ์ ะสามารถดึงดดู ความ
สนใจและชักจูงใจใหเ้ กดิ การซ้ือได้จงึ เปน็ ผลจากปัจจัยหลายๆ อยา่ งเชน่ ขนาด รปู รา่ ง สี รูปทรง วสั ดุ
ข้อความรายละเอียด ตวั อักษร ฯลฯ การดึงดูดความสนใจ(Consumer Appeal) การออกแบบบรรจุ
ภัณฑใ์ ห้มคี วาม สะดดุ ตา ชว่ ยกระตุ้น และดึงดดู ความสนใจจากผบู้ ริโภคได้ ตัวอย่างเช่น ผลติ ภัณฑท์ ี่

19

ขายผา่ น ชอ่ งทางท่ีผลติ ภณั ฑ์ต้องขายตัวมนั เอง คอื ผลติ ภัณฑท์ ่ีวางจำหนา่ ยตามซุปเปอรม์ ารเ์ ก็ตซง่ึ
บรรจุภณั ฑ์ จะมีความสำคญั มากต่อความสนใจของผู้บริโภคทหี่ ยดุ ดู หยิบชม และเลอื กซื้อโดยดูจาก
บรรจภุ ณั ฑ์ เรยี กได้วา่ บรรจุภัณฑ์ทำหน้าท่ีเป็นพนักงานขายไร้เสยี งสำหรบั ผลติ ภัณฑอ์ ่ืนทอ่ี าศัย
พนักงานขายน้ัน ความสวยงาม และความเหมาะสมของการออกแบบ วสั ดทุ ่ใี ช้ก็มีสว่ นช่วยในการ
สรา้ งความสนใจใหแ้ ก่ผู้บรโิ ภคเช่นกนั (สมพงษ์ เฟื่องอารมณ์. 2550)

6.2.6 ช่วยเพมิ่ ผลกำไร หบี ห่อจะทำหนา้ ทอ่ี ยางสมบูรณ์ไม่ไดถ้ า้ หากหบี ห่อไม่ สามารถ
ชว่ ยเพม่ิ ผลกาไรให้กบั ผลติ ภณั ฑท์ ี่บรรจุอยู่ หีบห่อสามารถชว่ ยสง่ เสรมิ ยุทธวธิ กี ารตลาด 9 โดยการ
เปิดตลาดใหมห่ รือการเพิม่ ยอดขายใหก้ บั สนิ คา้ แตล่ ะชนดิ เนื่องจากในตลาดมีสินค้า และคูแ่ ขง่
เพิม่ ขนึ้ ตลอดเวลาหากบรรจุภัณฑข์ องสนิ คา้ ใดได้รับการออกแบบเปน็ อย่างดี จะสามารถดึงดดู ตา
ดึงดูดใจผู้บริโภคและก่อให้เกิดการซือ้ ในที่สุด รวมทั้งการลดตน้ ทนุ การผลติ

6.2.7 สร้างมลู คา่ เพิม่ (Value Added) ให้แก่ผลิตภัณฑ์สรา้ งความเช่อื ถือและเปน็ ที่
ยอมรับของผ้บู ริโภค

6.2.8 การสง่ เสรมิ การจำหน่าย (Promotion) เพือ่ ยึดพนื้ ท่แี สดงจุดเด่น โชวต์ วั เองได้
อยา่ งสะดุดตาสามารถระบุแจ้งเงือ่ นไขแจ้งขอ้ มูลเกีย่ วกับการเสนอผลประโยชน์เพิม่ เตมิ เพ่อื จงู ใจ
ผู้บรโิ ภค เม่ือต้องการจัดรายการเพอ่ื เสริมพลังการแข่งขัน ก็สามารถเปล่ียนแปลงและจัดทำได้
สะดวกควบคุมได้และประหยัด

6.2.9 การแสดงตัว (Presentation) การสือ่ ความหมายบุคลิก ภาพพจนก์ ารออกแบบ
และสีสันแหง่ คุณภาพ ความคุ้มคา่ ต่อผ้บู รโิ ภค ผูใ้ ช้ ผซู้ ือ้ ใหข้ อ้ มลู ผลิตภัณฑช์ ัดแจ้ง สรา้ งความมน่ั ใจ
เหน็ แลว้ อดซอ้ื ไม่ได้

6.2.10 การจัดจำหน่ายและการกระจาย (Distribution) เหมาะสมต่อพฤติกรรมการ
ซือ้ ขายเอื้ออำนวยการแยกขาย ส่งต่อ การต้ังโชว์ การกระจาย การส่งเสริมจูงใจในตัว ทนต่อการ ขน
ยา้ ย ขนสง่ และการคลังสนิ ค้า ด้วยตน้ ทนุ สมเหตุสมผล ไม่เกดิ รอยขดู ขีด ชำรุด ตั้งแตจ่ ุดผลติ และ
บรรจจุ นถึงมือผ้ซู ื้อผู้ใช้ผู้บรโิ ภค ทนทานต่อการเกบ็ ไวน้ านได้

6.3 ความสำคญั ของการบรรจภุ ณั ฑ์ ประเทศของเรามสี นิ ค้ามผี ลิตผลทางดา้ นการ
เกษตรกรรม และการประมงมากมาย เช่น ผักสด ผลไมส้ ด และสินค้าทีเ่ ป็นอาหารจากทะเลสิ่งท่ี
กล่าวมาน้ีจะไดร้ บั ความเสยี หายมากเนื่องจากสภาวะของอากาศการบรรจุหบี ห่อ และการขนส่งท่ี
เหมาะสมมสี ่วนทจี่ ะชว่ ยลดความเสียหายเหล่าน้นั ลงไดซ้ ง่ึ เปน็ การชว่ ยให้ผลผลิตที่กล่าวถึงมือ

20

ผู้บริโภคในสภาพที่ดี และจะทำใหข้ ายได้ในราคาทส่ี งู อีกด้วย นอกจากนแ้ี ล้วผลติ ภณั ฑ์อ่ืนๆ รวมท้ัง
ผลิตภณั ฑจ์ ากอาหารแปรรูปถ้าการบรรจภุ ณั ฑ์ และการขนสง่ ที่เหมาะสมมีส่วนทจ่ี ะช่วยลดความ
เสียหาย และสามารถจำหน่ายไดใ้ นราคาที่สูงเชน่ กนั จะเห็นได้ว่าการบรรจุภณั ฑน์ ั้นมีความสำคัญเปน็
อยา่ งย่งิ ต่อผลผลติ ทั้งหลายซ่งึ สามารถสรปุ เป็นรายละเอยี ดเปน็ ขอ้ ๆ ได้ ดังนี้

6.3.1 รกั ษาคณุ ภาพและปกป้องตวั สินคา้ เร่ิมตง้ั แต่การขนสง่ การเกบ็ ใหผ้ ลผลติ หรือ
ผลติ ภณั ฑเ์ หล่านั้นมใิ ห้เสียหายจากการปนเปื้อนจากฝนุ่ ละออง แมลง คน ความช้นื แสงแดด ความ
รอ้ น และการปลอมปน เป็นต้น

6.3.2 ใหค้ วามสะดวกในเรื่องการขนส่ง การจดั เก็บมีความรวดเร็วในการขนส่ง เพราะ
สามารถรวมหนว่ ยของผลติ ภณั ฑเ์ หลา่ น้นั เปน็ หนว่ ยเดียวได้ เช่น ผลไมห้ ลายผลนำลงบรรจใุ นลงั เดียว
หรือเครอื่ งด่มื ท่ีเป็นของเหลวสามารถบรรจลุ งในกระป๋องหรอื ขวดได้เปน็ ต้น

6.3.3 สง่ เสรมิ ทางดา้ นการตลาด บรรจภุ ัณฑ์เพื่อการจัดจำหน่ายเป็นสง่ิ แรกที่ผบู้ ริโภค
เห็น ดังนนั้ บรรจุภณั ฑ์จะต้องจะทำหนา้ ท่บี อกกล่าวสงิ่ ตา่ งๆ ของตวั ผลิตภณั ฑโ์ ดยการบอกข้อมูลที่
จำเปน็ ท้ังหมดของตัวสินคา้ และนอกจากนัน้ จะตอ้ งมรี ูปลกั ษณ์ท่สี วยงามสะดุดตา เชญิ ชวนใหเ้ กิด
การตัดสินใจซ้ือซึ่งการทำหน้าทด่ี งั กลา่ วของบรรจภุ ณั ฑ์นั้นเป็นเสมอื นพนักงานขายที่ไรเ้ สียง

6.4 ประโยชน์ของบรรจุภณั ฑ์
6.4.1 การปอ้ งกนั (Protection) เช่น กันนำ้ กันคามชืน้ กนั แสง กนั แกส๊ เม่ืออุณหภูมิ

สูงหรอื ตำ่ ต้านทานมใิ ห้ผลิตภัณฑ์แปรสภาพไม่แตกไม่ฉีกขาดง่าย ปกป้องให้สนิ ค้าอย่ใู นสภาพใหมส่ ด
อยใู่ นสภาวะแวดลอ้ มของตลาดไดใ้ นวงจรยาวโดยไม่แปรสภาพขนานแท้และด้ังเดมิ

6.4.1.1 การปกป้องผลติ ภณั ฑ(์ Protection) ทำหน้าท่ีปอ้ งกันผลติ ภณั ฑ์ที่อยู่
ภายในใหค้ งอยู่ในสภาพดี ไมเ่ กิดความเสียหายจากเหตุผลต่างๆไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อม มนุษย์
สัตว์ หรือการขนส่งทำให้ผลติ ภณั ฑค์ งสภาพเดมิ เหมือนเมื่อออกจากโรงงานผลติ (สมพงษ์ เฟ่อื ง
อารมณ.์ )

6.4.2 การจดั จำหน่ายและการกระจาย (Distribution) เหมาะสมต่อพฤติกรรมการ ซอ้ื
ขายเอ้ืออำนวยการแยกขาย ส่งตอ่ การตั้งโชวก์ ารกระจาย การสง่ เสรมิ จงู ใจ ทนต่อการขนยา้ ยขนสง่
และการคลังสนิ ค้า ดว้ ยตน้ ทุนสมเหตสุ มผล ไมเ่ กิดรอยขดู ขดี ชำรดุ ตัง้ แตจ่ ุดผลติ และบรรจุจนถึง
มือผู้ซ้ือผใู้ ช้ผู้บริโภค ทนทานต่อการเกบ็ ไว้นานได้

6.4.3 การส่งเสรมิ การจำหน่าย (Promotion) เพอื่ ยดึ พน้ื ที่แสดงจุดเดน่ โชวต์ วั เองได้

21

อย่างสะดุดตาสามารถระบุแจง้ เงอ่ื นไขแจง้ ขอ้ มลู เกย่ี วกับการเสนอผลประโยชนเ์ พ่มิ เตมิ เพอ่ื จงู ใจ
ผู้บรโิ ภคเมอ่ื ตอ้ งการจดั รายการเพือ่ เสริมพลังการแข่งขนั ก็สามารถเปลยี่ นแปลง และจดั ทำได้
สะดวก ควบคุมไดแ้ ละประหยัด

6.4.4 การบรรจภุ ณั ฑก์ ลมกลนื กบั สนิ ค้ากรรมวธิ ีการบรรจุ(Packaging) เหมาะสมทัง้
ในแงก่ ารออกแบบ และเพอื่ ใหม้ โี ครงสรา้ งเข้ากบั ขบวนการบรรจุ และเอื้ออำนวยความสะดวกในการ
ห้วิ ถือกลับบ้าน ตลอดจนการใชไ้ ดก้ ับเคร่ืองมือการบรรจุท่ีมีอยู่แลว้ หรือจัดหามาไดด้ ้วยอัตรา
ความเรว็ ในการผลิตที่ต้องการต้นทนุ การบรรจภุ ณั ฑ์ตำ่ หรือสมเหตุสมผล ส่งเสรมิ จรรยาบรรณ และ
รบั ผิดชอบต่อ สงั คม ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ และอยใู่ นทำนองคลองธรรมถูกต้องตามกฎหมาย และ
พระราชบญั ญัติตา่ งๆ ไมใ่ ชแ่ ค่ผู้ผลติ อาหารและผคู้ า้ ปลีกเท่านน้ั ทต่ี ้องการความสะดวกในการพกพา
เมื่อเป็นเร่ืองของกล่องบรรจภุ ัณฑก์ ระดาษ ปจั จบุ นั นคี้ วามสะดวกถือเปน็ ปจั จยั หลักทผ่ี ู้บริโภค
พจิ ารณาเช่นกนั กล่องบรรจภุ ัณฑก์ ระดาษจงึ เป็นสงิ่ อำนวยความสะดวกอยางหนึ่งสำหรับ
ชวี ติ ประจำวนั ของผู้บริโภค น้ำหนักเบา ใชง้ ่าย ประหยัดพื้นท่ี วางซ้อนกนั ได้ ไมแ่ ตกมรี อยปรุและฝา
เปิด-ปดิ สะดวกมาก(เอสไอจี คอมบิบล็อค ประเทศไทย. 2555) การบรรจภุ ณั ฑก์ ลมกลืนกับสินคา้
และกรรมวธิ กี ารบรรจุ (Packaging) เหมาะสมทั้งในแงก่ ารออกแบบ และเพ่ือใหม้ โี ครงสรา้ งเขา้ กบั
กระบวนการบรรจแุ ละเออ้ื อำนวยความสะดวกในการหวิ้ ถอื กลับบา้ นตลอดจนการใช้ได้กับเครอื่ งมือ
การบรรจุท่ีมีอย่แู ลว้ หรือจัดหามาไดด้ ้วยอัตราความเรว็ ในการผลิตทีต่ ้องการตน้ ทุนบรรจุภณั ฑ์ต่ำและ
สมเหตุสมผลไมก่ ่อใหเ้ กิดมลพิษ และถูกต้องตามกฎหมาย และพระราชบัญญตั ติ า่ ง (จกั รพันธ์ุพนั ธุ์
พฤกษ์.)

6.4.5 เพมิ่ ยอดขายเนอื่ งจากในตลาดมสี ินคา้ และค่แู ขง่ เพ่ิมขึน้ ตลอดเวลาหากบรรจุ
ภัณฑข์ องสนิ ค้าใดไดร้ ับการออกแบบเปน็ อยา่ งดจี ะสามารถดงึ ดูดตา ดงึ ดดู ใจผู้บรโิ ภคและก่อให้เกิด
การซอ้ื ในทส่ี ดุ รวมทัง้ การลดตน้ ทนุ การผลิต

6.5 ประเภทของบรรจภุ ัณฑ์ ประเภทของบรรจภุ ัณฑส์ ามารถแบง่ ได้หลายวิธีตามหลกั เกณฑ์
ต่างๆ ดังนี้

6.5.1 ประเภทบรรจภุ ณั ฑ์แบ่งตามวธิ ีบรรจุและวิธกี ารขนถ่าย สามารถแบง่ ได้ 3
ประเภท

22

6.5.1.1 บรรจภุ ณั ฑเ์ ฉพาะหน่วย (Individual Package) คอื บรรจุภัณฑ์ที่
สัมผสั อยู่กบั ผลิตภัณฑช์ น้ั แรกเปน็ ส่งิ ที่บรรจผุ ลติ ภณั ฑเ์ อาไวเ้ ฉพาะหนว่ ย โดยมีวตั ถุประสงค์ข้นั แรก
คือ เพิ่มคุณคา่ ในเชิงพาณชิ ย์ (To Increase Commercial Value) เช่น การกาหนดให้มีลักษณะ
พเิ ศษเฉพาะ หรือทำใหม้ ีรูปร่างท่ีเหมาะแก่การจบั ถือและอำนวยความสะดวกต่อการใช้ผลิตภณั ฑ์
ภายในพร้อม ทงั้ ทำหนา้ ที่ใหค้ วามปกป้องแกผ่ ลติ ภณั ฑ์โดยตรงอกี ดว้ ย

6.5.1.2 บรรจภุ ณั ฑช์ น้ั ใน (Inner Package) คอื บรรจุภณั ฑท์ ี่อยู่ถดั ออกมาเปน็
ช้ันทส่ี อง มีหน้าท่ีรวบรวมบรรจุภัณฑข์ ้นั แรกเขา้ ไว้ดว้ ยกันเป็นชดุ ในการจำหน่ายรวมตง้ั แต่2–24 ชิ้น
ข้นึ ไป โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ขน้ั แรก คือ การป้องกนรักษาผลิตภณั ฑจ์ ากน้ำ ความชืน้ ความรอ้ น แสง
แรงกระทบกระเทือน และอำนวยความสะดวกแกก่ ารขายปลกี ย่อย เปน็ ต้น ตัวอย่างของบรรจภุ ณั ฑ์่
ประเภทนี้ ไดแ้ ก่กล่องกระดาษแขง็ ทบี่ รรจเุ คร่ืองดื่มจำนวน 1โหล, สบู่1 โหล เป็นต้น

6.5.1.3 บรรจภุ ัณฑ์ชนั้ นอกสุด (Out Package) คือ บรรจภุ ณั ฑ์ท่เี ปน็ หนว่ ยรวม
ขนาดใหญท่ ี่ใชใ้ นการขนสง่ โดยปกตแิ ลว้ ผ้ซู ้ือจะไม่ไดเ้ หน็ บรรจุภัณฑ์ประเภทน้ีมากนัก เน่ืองจากทำ
หน้าท่ปี อ้ งกันผลติ ภณั ฑ์ในระหวา่ งการขนสง่ เทา่ นนั้ ลักษณะของบรรจุภณั ฑ์ประเภทนี้ ไดแ้ ก่ หีบ ไม้
ลงั กลอ่ งกระดาษขนาดใหญท่ ่ีบรรจสุ นิ ค้าไวภ้ ายใน ภายนอกจะบอกเพียงข้อมลู ที่จำเปน็ ตอ่ การขนสง่
เท่านั้น เชน่ รหัสสินค้า (Code) เลขที่ (Number) ตราสินค้า สถานทส่ี ่ง เป็นต้น

6.5.2 การแบง่ ประเภทบรรจภุ ณั ฑต์ ามวัตถุประสงค์ของการใช้ บรรจภุ ณั ฑเ์ พื่อการขาย
ปลีก (Consumer Package) เป็นบรรจุภณั ฑท์ ่ี ผู้บรโิ ภคซ้อื ไปใช้ไป อาจมีช้นั เดยี วหรือหลายชนั้ ก็ได้
ซ่งึ อาจเปน็ Primary Package หรอื Secondary Package กไ็ ด้บรรจุภัณฑ์เพ่ือการขนสง่
(Shopping หรอื Transportation Package) เป็นบรรจภุ ณั ฑ์ท่ี ใช้รองรบั หรอื ห่อหมุ้ บรรจุภัณฑข์ ั้น
ทุตยิ ภมู ิทำหน้าทรี่ วบรวมเอาบรรจุภัณฑข์ ายปลีกเขา้ ดว้ ยกันให้เปน็ หน่วยใหญ่ เพ่ือความปลอดภยั
และความสะดวกในการเก็บรักษา และการขนสง่ เชน่ กล่อง กระดาษลูกฟกู ท่ีใชบ้ รรจยุ าสี

6.5.3 การแบง่ บรรจภุ ัณฑ์ตามความคงรูป
6.5.3.1 บรรจภุ ณั ฑป์ ระเภทรูปทรงแข็งตวั (Rigid Forms) ไดแ้ กเ่ คร่ืองแก้ว

(Glass Ware) เซรามคิ (Ceramic) พลาสตกิ จำพวก Thermosettingขวดพลาสตกิ สว่ นมากเป็น
พลาสติกฉีด ไมโ้ ลหะ และเคร่ืองปัน้ ดนิ เผามีคุณสมบัตแิ ขง็ แกรง่ ทนทานเอื้ออำนวยต่อการใชง้ าน และ
ป้องกันผลติ ภัณฑ์ จากสภาพแวดลอ้ มภายนอกได้ดี

6.5.3.2 บรรจภุ ณั ฑป์ ระเภทรูปทรงกึ่งแขง็ ตวั (Semi rigid Forms)ได้แก่ บรรจุ

23

ภณั ฑ์ ทีท่ ำจากพลาสติกอ่อนกระดาษแข็งและอลมู เิ นยี มบางคุณสมบัติทง้ั ด้านราคา น้ำหนักและการ
ปอ้ งกนั ผลิตภณั ฑ์จะอยใู นระดับปานกลาง

6.5.3.3 บรรจภุ ัณฑป์ ระเภทรูปทรงยืดหยุ่น (Flexible Forms) ได้แก่ บรรจุ
ภณั ฑท์ ่ที ำจากวสั ดุอ่อนตัว มีลกั ษณะเปน็ แผน่ บางได้รบั ความนยิ มสงู มากเนื่องจากมรี าคาถูก (หากใช้
ใน ปรมิ าณมากและระยะเวลานาน) นำ้ หนักน้อย มีรูปแบบ และโครงสรา้ งมากมาย

6.5.4 แบง่ ตามวัสดุบรรจุภัณฑ์ทีใ่ ช้ การจดั แบ่งและเรียกชอื่ บรรจุภณั ฑใ์ นทรรศนะของ
ผอู้ อกแบบ ผ้ผู ลติ หรือนักการตลาด จะแตกต่างกนั ออกไปบรรจภุ ณั ฑแ์ ตล่ ะประเภทก็ตัง้ อยูภ่ ายใต้
วตั ถุประสงค์ หลกั ใหญ่ (Objective Of Package) ที่คลา้ ยกันคือ เพ่ือป้องกนั ผลิตภณั ฑ์ (To Protect
Products) เพื่อจำหนา่ ยผลิตภัณฑ์ (To Distribute Products) เพ่ือโฆษณาประชาสมั พันธผ์ ลิตภัณฑ์
(To Promote Products

7. แนวคิดของหลักการบัญชตี น้ ทนุ
การบัญชตี น้ ทนุ (Cost Accounting) จดั เปน็ วิธกี ารทางบัญชีทที่ ำหนา้ ที่รวบรวมข้อมลู

ทางดา้ นตน้ ทนุ ของธรุ กิจ ประเภทอตุ สาหกรรม โดยมวี ัตถุประสงค์พน้ื ฐานในการจดั ทำรายงาน
ทางการเงนิ ตลอดจนวเิ คราะห์ และจำแนกขอ้ มูลเพ่ือใช้ในการบริหารตน้ ทุน (Cost Management)
ตามความต้องการของผ้บู รหิ าร ในปัจจุบันน้ไี มใ่ ช่แต่กิจประเภทอตุ สาหกรรมเทา่ น้ัน ทจ่ี ะต้องใช้
วิธีการทางบญั ชหี รอื ข้อมลู ของบัญชีตน้ ทนุ แต่ยงั มีธุรกิจอีกหลายประเภท เชน่ โรงแรม โรงพยาบาล
โรงเรยี น มหาวิทยาลัย ธนาคาร บริษทั เงนิ ทุน บริษัทสายการบนิ และกิจการอน่ื ๆ อีกมากมายท่ีได้มี
การนำวิธกี ารบัญชตี ้นทนุ ไปประยุกต์ใช้เพื่อการตัดสินใจของผู้บรหิ าร อย่างไรกต็ ามวัตถปุ ระสงคท์ ่ี
สำคญั ของข้อมูลทางบญั ชีตน้ ทุนพอสรปุ ได้ดังน้ี

7.1 เพอื่ ให้ทราบถึงตน้ ทุนการผลติ ตลอดจนต้นทนุ ขาย (Cost of goods sold) ประจำงวด
ซง่ึ จะนำไปหกั ออกจากรายได้ในงบกำไรขาดทุน เพื่อชว่ ยให้ผบู้ รหิ ารได้ทราบผลการดำเนินงานของ
กิจการว่ามผี ลกำไรหรือขาดทุนอย่างไร

7.2 เพือ่ ใช้ในการตีราคาสนิ ค้าคงเหลอื (Inventory Evaluation) ในธุรกจิ อตุ สาหกรรม
สินค้าคงเหลอื ทจี่ ะปรากฏในงบดลุ จะประกอบดว้ ย วตั ถดุ ิบ งานระหวา่ งผลิต และสนิ คา้ สำเรจ็ รูป ซง่ึ
การแสดงมูลค่าของสนิ คา้ คงเหลอื เหล่านไ้ี ด้อย่างถูกต้อง หรือใกลเ้ คียงความเป็นจริงมากทสี่ ุด
จำเปน็ ต้องอาศัยวธิ ีการทางบัญชตี น้ ทุนทมี่ ีประสิทธิภาพ

24

7.3 เพ่ือให้ข้อมลู เก่ียวกับการตดั สินใจวางแผนและควบคุม (Planning and Control) ซึ่งจะ
ช่วยให้ผบู้ ริหารสามารถดำเนนิ ธรุ กิจไปอยา่ งมีแบบแผน และบรรลเุ ปา้ หมายตามความต้องการของ
ธรุ กิจในทีส่ ุด นอกจากนี้ข้อมูลทางบัญชตี ้นทุนยงั ช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบถึงความผดิ พลาดหรอื
จุดบกพร่องในการดำเนนิ ธรุ กิจ เพอ่ื หาทางกำหนดวธิ ีการปฏิบัตเิ พ่อื แก้ไขเหตุการณท์ ี่ไม่พงึ ประสงค์ได้
อย่างทันท่วงที

7.4 เพอื่ ใช้เป็นเครื่องมอื ในการวเิ คราะหป์ ัญหาเพ่อื ตัดสินใจ(Decision Making) ทั้งน้ใี นการ
ดำเนินธุรกิจ ผู้บรหิ ารมกั จะต้องประสบปัญหาที่จะตอ้ งทำการแกไ้ ขอยตู่ ลอดเวลา ไม่วา่ จะเปน็ ปญั หา
ในระยะส้ัน หรือปัญหาทีจ่ ะส่งผลกระทบในระยะยาวก็ตาม เช่น การตัดสินใจเกีย่ วกบั การรบั ใบสง่ั ซื้อ
พเิ ศษ การปิดโรงงานชัว่ คราว การเพิ่ม – ลดรายการผลติ การตง้ั ราคาสนิ คา้ การวเิ คราะห์กำไร การ
กำหนดกลยทุ ธ์ในการประมูลงาน เป็นตน้

ขอบเขตของหลกั การบัญชไี ด้ถูกแบง่ ออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ บัญชีการเงนิ (Financial
accounting ) และบญั ชีต้นทุน (Cost Accounting) ซ่งึ บัญชีการเงิน นน้ั ค่อนขา้ งทีจ่ ะมีขอบเขตกว้าง
เนอื่ งจากเปน็ บญั ชที ี่เก่ียวข้องกับการจัดทำงบการเงนิ เพื่อเสนอตอ่ บุคคลภายนอก เชน่ ผูถ้ ือห้นุ นัก
ลงทุน เจ้าหน้ี เป็นต้น การวเิ คราะห์งบการเงินจึงเปน็ เคร่ืองมอื ทจี่ ะให้ขอ้ มลู เพื่อการตัดสินใจแกบ่ ุคคล
ตา่ ง ๆ ดังกลา่ ว เชน่ นกั ลงทุนก่อนทีจ่ ะตดั สินใจลงทุนในธุรกจิ ใดก็จะตอ้ งทำการวเิ คราะหง์ บการเงนิ
ของกิจการหรือธุรกจิ น้ัน ๆ เสียก่อน ท้ังน้ี เพ่อื จะไดท้ ราบถึงความเส่ยี ง และความเป็นไปไดท้ จี่ ะ
ตัดสินใจลงทนุ ในธรุ กิจนั้น เป็นตน้ และดว้ ยเหตผุ ลทีว่ ่า งบการเงนิ นี้จะต้องจัดทำขนึ้ เพ่ือเสนอตอ่
บคุ คลภายนอก ซง่ึ จะนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถปุ ระสงค์ของการตดั สินใจที่แตกต่างกัน ดังนั้น งบ
การเงินนจ้ี ึงต้องจดั ทำข้ึนตามหลกั การบัญชที ่ีรบั รองโดยทว่ั ไป (Generally Accepted Accounting
Principles : GAAP) และจากการจัดทำงบการเงินภายใต้หลักการบญั ชีทย่ี อมรับกันทั่วไปนเี้ อง จึงทำ
ให้ข้อมลู ทางการเงินทป่ี รากฏในงบการเงนิ เป็นข้อมลู ในอดีตทัง้ ส้นิ ทั้งนีเ้ พราะการจัดทำงบการเงินที่
เสนอตอ่ บุคคลภายนอกนี้ควรจะมีความถูกต้องแน่นอน มีหลักฐาน และเชอื่ ถือได้นน่ั เอง บญั ชตี ้นทุน
เป็นหลักการบญั ชีท่เี กย่ี วกับการสะสมและวิเคราะห์ข้อมลู เพ่ือการตดั สนิ ใจของฝ่ายบริหาร ทงั้ เพ่ือการ
วางแผน ควบคมุ และการตัดสนิ ใจในเรือ่ งอน่ื ๆ โดยปกตแิ ลว้ การบญั ชีต้นทนุ จะทำหน้าทีห่ ลักในการ
สะสมข้อมลู ทางดา้ นตน้ ทุนท่ีเป็นขอ้ มูลทเ่ี กดิ ขน้ึ แล้วในอดีต เพอ่ื คำนวณหาต้นทุนของผลิตภัณฑ์
รวมทง้ั ใช้ประมาณมูลค่าของสนิ คา้ คงเหลอื นอกจากนก้ี ารบัญชีตน้ ทุนยงั เปน็ สว่ นท่ีเกีย่ วข้องกบั การ
ประมาณหรือการพยากรณต์ ้นทนุ ท่จี ะเกิดข้นึ ในอนาคตเพื่อการตดั สนิ ใจอกี ด้วย ซงึ่ ในส่วนนีเ้ องจงึ ทำ

25

ให้การบัญชตี ้นทุนเข้ามามบี ทบาทเพ่ือการตัดสนิ ใจของฝ่ายบรหิ าร ในปจั จุบนั นก้ี ารพฒั นาทางด้าน
อุตสาหกรรมและการผลิตไดม้ ีการพฒั นาเปลยี่ นแปลงไปอย่างมาก เชน่ การนำเคร่อื งจักรกล เครอ่ื ง
คอมพวิ เตอร์เขา้ มาใช้ในกระบวนการผลิต เป็นต้น การนำบัญชีต้นทุนเข้ามาใชเ้ พื่อทำหน้าที่ในการ
เกบ็ รวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่ถูกต้อง และมีความสามารถท่ีจะใหข้ ้อมลู เพื่อการตดั สนิ ใจแก่ฝ่าย
บริหารได้อย่างรวดเร็ว ทันสมยั และเช่ือถือไดจ้ ึงเปน็ สิ่งที่นักบญั ชีตน้ ทุนจะต้องมีความเข้าใจ และ
สามารถท่จี ะประยุกตก์ ารบัญชตี ้นทนุ ใหใ้ ชไ้ ดก้ ับลักษณะของธรุ กจิ ต่าง ๆ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ต้นทนุ เปน็ มลู ค่าของทรพั ยากรที่ใชใ้ นการผลิตหรอื การให้บรกิ าร เปน็ สว่ นท่เี รียกว่ามลู ค่า
ของปจั จัยเข้าของระบบ ต้นทุนจึงเปน็ เงินสดหรอื ค่าใช้จา่ ยในรปู แบบอ่ืนทจ่ี า่ ยไปเพ่อื ให้ได้มาซ่งึ การ
บรกิ าร หรอื ผลผลติ ในทางธุรกิจ ต้นทนุ คือ คา่ ใชจ้ า่ ยในสว่ นท่ีจ่ายไปเพื่อให้ได้มาซ่งึ ผลตอบแทนหรือ
รายได้ ต้นทนุ จึงเป็นสว่ นสำคัญในการตัดสินใจทางธรุ กจิ ตา่ งๆ

ตน้ ทนุ ขาย ค่าใชจ้ ่าย และความสูญเสีย โดยแทจ้ ริงเปน็ สง่ิ เดียวกนั แต่จะมีความหมายที่
แตกตา่ งกนั ในดา้ นความหมายของการใช้งาน ตน้ ทนุ และความสูญเสยี ตา่ งกเ็ ปน็ ค่าใช้จ่ายทงั้ สน้ิ
คา่ ใช้จา่ ยไมว่ า่ จะอยู่ในรปู แบบของเงินสดหรือสง่ิ เปลยี่ นแปลงใดๆถือไดว้ ่าเปน็ สิง่ ทจ่ี ่ายไปเพ่อื ให้ได้ผล
ผลิต

คา่ ใช้จ่าย (Expense) หมายถึง ตน้ ทุนในการใหร้ ายได้ สำหรับช่วงเวลาใดๆ เชน่ เงินเดอื นใน
สำนกั งาน ค่าใชจ้ ่ายเป็นจำนวนเงินหรอื ส่ิงแลกเปลี่ยนท่ีจา่ ยไปเพื่อใช้ในการบริการ ซง่ึ ตัดลดทอนจาด
สว่ นรายได้ในงวดบัญชี จงึ มักจะใช้ในด้านรายได้ทางการเงินมากกว่าใช้ในระบบบญั ชีทรัพย์สนิ

ต้นทนุ (Cost) หมายถงึ คา่ ใช้จ่ายท่ีจา่ ยไปสำหรับปจั จัยทางการผลิตเพ่ือใหเ้ กดิ ผลผลติ
ตน้ ทุนจำเป็นสว่ นสำคญั ต้นทุนเปน็ มูลคา่ ที่วัดได้ในเชิงเศรษฐศาสตร์ของทรัพยากรท่ใี ช้ และต้นทนุ
ลกั ษณะทใ่ี ช้จ่ายไปเพ่ือให้ได้ผลิตภัณฑห์ รอื การบริการท่ีถือเปน็ สินทรพั ยไ์ ด้ เชน่ วสั ดุคงคลงั งาน
ระหวา่ งทำ และสนิ ค้าสำเร็จรูป ต้นทุนกบั ความสูญเสยี ท่ีจริงแล้วมคี วามหมายในเชิงค่าใช้จา่ ย
เหมือนกนั หากพจิ ารณาความแตกตา่ งของความหมายสรุปไดด้ ังน้ี ต้นทนุ คือ ค่าใช้จ่ายที่จา่ ยไปแล้ว
ผลผลิตหรือการบรกิ ารท่ีเป็นสนิ ทรัพย์ และคือขอ้ มลู ทางการบัญชีเพอ่ื ใชใ้ นการวางแผนและควบคุม
การดำเนินงาน ข้อมลู ต้นทนุ ท่ีได้จะชว่ ยในการทำงบประมาณและประมาณการต้นทุนการผลิต
กำหนดราคาขาย ประมาณการผลกำไรและใช้ในการตดั สนิ ใจการลงทุนและการขยายงานในด้านการ
ควบคมุ จะใช้ในการเปรียบเทียบผลการดำเนนิ งานกับงบประมาณตน้ ทนุ ที่กำหนดไว้ เพอ่ื ช่วยให้ฝ่าย
บรหิ ารรบั ร้ถู ึงการปฏิบตั ทิ ่ีไม่มปี ระสิทธภิ าพเม่อื ส้ินรอบระยะเวลาบญั ชี

26

ความสญู เสีย คือ ค่าใชจ้ ่ายที่จ่ายไปแลว้ เกดิ ผลไดน้ ้อยกว่าหรือค่าเสยี หายท่ีต้องจา่ ยโดยไมม่ ี
ผลตอบแทน และเปน็ คา่ ใช้จ่ายทถ่ี ูกตดั ออกจากสว่ นของผู้ถือหุ้นมากกว่าทจ่ี ะหักจากส่วนของการ
ลงทุน ความสญู เสยี เกดิ ข้นึ ได้จากการตดั สนิ ใจผิดพลาดหรือเกดิ จากสง่ิ ผิดปกติตามธรรมชาติ เช่น
ไฟไหม้ ตกึ ถล่ม เป็นตน้ ตน้ ทุนกบั ความสูญเสยี เปน็ สิ่งเดยี วกัน เพยี งแต่มีเสน้ แบง่ เขตซึ่งทำใหต้ ้นทนุ
กลายเป็นความสูญเสยี เม่ือผลได้น้อยกว่าค่าใช้จ่าย เม่ือปรับคา่ ใชจ้ า่ ยใหเ้ กิดผลประโยชน์มากขน้ึ ทำ
ให้สรา้ งผลได้มากกว่า ความสูญเสยี จะกลายเป็นต้นทุนไป การเพิ่มขึ้นของคา่ ใชจ้ ่ายในเชิงต้นทุนจงึ
เปน็ ส่งิ ทไ่ี มน่ า่ กังวลเนื่องจากจะได้ผลประโยชนเ์ พิ่มข้นึ ในขณะเดยี วกันสามารถลดค่าใช้จ่ายซ่งึ เปน็
ตน้ ทุนลงได้ โดยผลผลติ เทา่ เดิมหรอื มากกวา่ ก็จะเป็นการดี แนวคิดตรงนจ้ี ะสามารถชว่ ยให้ผู้บริหารให้
เลกิ กังวลตอ่ ต้นทนุ และกงั วลต่อความสญู เสยี มากกวา่

8. แนวคดิ ในการวัดผลกำไร
การวัดมูลคา่ คือการกำหนดจำนวนทีเ่ ป็นตัวเงินเพื่อรบั รู้องค์ประกอบของงบการเงนิ ในงบดลุ

และงบกำไรขาดทนุ การวดั มลู ค่าจะเกี่ยวข้องกบั การเลอื กใช้เกณฑ์ในการวัดค่าต่างๆในสดั สว่ นที่
แตกต่างกนั ในลกั ษณะท่ีไมเ่ หมอื นกันซ่งึ เกณฑ์ในการวัดคา่ ต่างๆมดี งั ต่อไปน้ี

8.1 ราคาทนุ เดิน (Histotical Cost) หมายถึง การบนั ทึกสินทรพั ย์ดว้ ยจำนวนเงนิ สดหรือ
รายการเทียบเท่าเงนิ สดที่จ่ายไปหรือบันทึกดว้ ยมลู คา่ ยุตธิ รรมของสิง่ ที่นำไปแลกสนิ ทรัพย์มา ณ เวลา
ทไ่ี ด้มาซึ่งสินทรัพยน์ ้นั การบันทึกหน้สี ินด้วยจำนวนเงนิ ท่ีได้รบั จากการกอ่ ภาระผูกพนั หรือบันทึกด้วย
จำนวนเงินสดหรอื รายการเทียบเท่าเงนิ สดท่ีคาดวา่ จะต้องจา่ ยเพือ่ ชำระหนีส้ นิ ที่เกิดการดำเนนิ งาน
ตามปกติของกิจการ

8.2 ราคาทุนปัจจบุ ัน หมายถึง การแสดงสินทรัพยด์ ว้ ยจำนวนเงินสดหรอื รายการเทียบเท่า
เงินสดที่ต้องจ่ายในขณะน้นั เพอ่ื ให้ได้มาซ่งึ สนิ ทรัพยช์ นดิ เดียวกนั หรือสนิ ทรัพย์ทเ่ี ท่าเทียมกนั การ
แสดงหน้ีสินด้วยจำนวนเงนิ สดหรือรายการเทยี บเทา่ เงนิ สดทต่ี ้องใชช้ ำระผกู พนั ในขณะน้ัน

8.3 มลู ค่าท่ีจะได้รับ หมายถึง การแสดงสินทรัพยด์ ้วยจำนวนเงนิ สดหรอื รายการเทียบเท่า
เงินสดที่อาจได้มาในขณะนน้ั หากกจิ การขายสนิ ทรัพยโ์ ดยใช่การบงั คบั ขาย การแสดงหนี้สินดว้ ยมลู
ค่าทีต่ ้องจ่ายคนื หรือดว้ ยจำนวนเงนิ สดหรอื รายการเทียบเท่าเงนิ สดท่คี าดว่าจะต้องจ่ายเพื่อชำระหนี้
กินที่เกดิ จากการดำเนินงานตามปกติ

8.4 มลู ค่าปจั จบุ ัน หมายถึง การแสดงสนิ ทรัพยด์ ้วยมลู ค่าปัจจบุ ันของกระแสเงินสดรับสุทธิ

27

ในอนาคตซงึ่ คาดว่าจะได้รบั ในการดำเนินงานตามปกตขิ องกิจการ และ การแสดงหนีส้ ินด้วยมลู คา่
ปัจจุบนั ของกระแสเงินสดจ่ายสทุ ธซิ ึ่งคาดว่าจะต้องจ่ายในการชำระเงนิ สนิ ภายใต้การดำเนนิ งาน
ตามปกติของกจิ การ

แนวคิดการวดั ผลกำไร แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ แนวคิดทางการบัญชแี ละแนวคิดทาง
เศรษฐศาสตร์

8.5 แนวคิดในการวดั ผลกำไร-แนวคิดทางการบัญชี การวดั ผลกำไรทางบัญชี คอื ผลตา่ ง
ระหวา่ งรายได้ทีเ่ กดิ ข้นึ ในงวดบัญชีต้นทนุ กับค่าใช้จา่ ยทีเ่ ก่ยี วขอ้ งทั้งหมด ซ่งึ เปน็ ผลมาจาก 1.ขอ้
สมมุตฐิ านทางการบัญชี เช่น หลกั การทเ่ี กดิ ขึ้นของรายได้ หลักราคาทุน หลักการจบั คูร่ ายไดก้ บั
ค่าใชจ้ า่ ยหลักรอบระยะเวลา 2.รายการและเหตุการณ์ทางการบญั ชีท่ีเกดิ ขึ้นแลว้ ตามเกณฑค์ งค้าง
และดำเนินงานต่อเน่ือง

วิธวี ัดผลกำไรทางบญั ชี มี 2 ประเภท ดงั นี้
8.5.1 การวดั ผลกำไรจากรายการเละเหตุการณ์ทางบัญชเี ป็นรายการที่เกิดขนึ้ แล้ว

เช่น การกู้ยืมเงนิ การซื้อสนิ ค้า การขายสนิ ค้า เป็นต้น ขอ้ ดีของแนวคิดน้ี คือ กจิ การสามารถแสดง
รายละเอียดของกำไรได้หลายรูปแบบ เช่น กำไรตามประเภทสินคา้ กำไรตามประเภทลกู ค้า เป็นตน้
กิจการสามารถแสดงกำไรตามเหตุการณ์เกิดของกำไร เช่น กำไรจากการดำเนินงาน กำไรจากการ
ลงทุน กำไรจากการขายสนิ ค้า

8.5.2 การวัดผลกำไรจากกิจกรรม จะวัดกำไรโดยพจิ ารณาจากกิจกรรมในการ
ดำเนนิ งาน เช่น ผลติ ขาย เปน็ ต้น ดังนนั้ กำไรจึงเกดิ ขน้ึ จากการรายงานความสำเรจ็ ไม่ใชร่ ายงาน
การคาดคะเน เชน่ การวดั กำไรจากกิจกรรมการผลิต กจิ การจงึ ใหค้ วามสนใจในกิจกรรมท่ีเกิดขน้ึ โดย
ไมส่ นใจการเปลย่ี นแปลงมูลค่า ขอ้ ดีของแนวคดิ นี้ คือ กจิ การสามารถวัดกำไรตามวตั ถปุ ระสงคข์ อง
การดำเนินงาน และผบู้ ริหารสามารถวดั ประสิทธภิ าพในการดำเนนิ งานของแต่ละกจิ กรรมได้

8.6 แนวคิดในการวดั ผลกำไร-แนวคดิ ทางเศรษฐศาสตร์ กำไรทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง
การบริโภคและการออม การออม หมายถงึ ทุนทเ่ี พ่มิ ข้นึ

ดงั นน้ั กำไรทางเศรษฐศาสตร์จงึ เป็นสมการได้ดังน้ี
Ye =C+S=C+ (Kt-Kt-1)
Ye =กำไรทางเศรษฐศาสตร์
C =การบริโภค(Consumption)

28

S =การออม (Saving)
K t =ทนุ ณ วันปลายงวด
K t-1 =ทนุ ณ วนั ต้นงวด
กำไรทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง จำนวนทส่ี ามารถบรโิ ภคได้ โดยไม่กระทบทนุ กิจการ
สามารถรกั ษาระดับทุนได้หากจำนวนทกุ วันสน้ิ งวดเทา่ กบั เม่อื ตน้ งวด ดงั น้ัน จำนวนเงนิ ทีเ่ กนิ กว่าทนุ
ทีต่ อ้ งรักษาระดบั ไว้ คอื กำไร
กำไร หมายถึง การเพ่ิมของทุนหรือสินทรพั ยส์ ุทธิในระหว่างงวด โดยวดั จากหนว่ ยเงนิ ตาม
อำนาจซื้อเดิมตลอดรอบระยะเวลาน้ัน หรอื มลู คา่ สงู สุดทส่ี ามารถบรโิ ภคได้โดยทำให้ฐานะ ณ วนั
ปลายงวดดเี ทา่ กบั ฐานะ ณ วันตน้ งวด
แนวคิดเกี่ยวกบั ทุนและการรักษาระดบั ทุน มปี ัญหา คือ มูลคา่ ของทนุ หรอื สนิ ทรัพย์สทุ ธิ มี
การวัดมลู ค่าได้ 6 วิธี ดงั น้ี
8.6.1 วิธีมูลคา่ ปจั จุบัน (Present Value) การตง้ั รายจ่ายข้นึ เปน็ ทุน(Capitalization)
เป็นการใช้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงนิ สดที่กิจการต้องจา่ ยใหเ้ จา้ ของตลอดอายกุ ารดำเนินงาน และ
จำนวนเงินที่กจิ การจะต้องจา่ ยเม่ือกจิ การดว้ ยการวัดมูลค่าของทุนปัจจยั ทต่ี ้องคำนึงถึงในวธิ ีนี้ มีดงั นี้
P = มลู ค่าปจั จุบันของกระแสเงินสดทงั้ หมดท่ีจะต้องจา่ ยให้แกเ่ จ้าของหรือผูถ้ ือหุ้น
R t = กระแสเงินสดจ่ายในแตล่ ะปี
i = อตั ราคดิ ลด
n = ระยะเวลาที่กจิ การจะดำเนินงาน
8.6.2 การวดั มลู คา่ ตลาด (Market Valuation) วิธนี ค้ี ำนวณจำนวนหุน้ ทง้ั หมดของ
กจิ การท่ีออกจำหน่ายคูณดว้ ยราคาตลาดหนุ้ (พจิ ารณาจากความเต็มใจในการลงทุนซ้ือหุ้นของ
กจิ การ) ตัวอย่าง กจิ การออกหนุ้ สามัญ 10,000 หนุ้ ราคาตามมูลค่าหนุ้ ละ10 บาท วนั ส้ินงวดราคา
ตลาดหุ้นละ 15 บาทดังน้ัน มูลค่าของห้นุ ตามวธิ นี ี้ = 10,000x15=150,000
8.6.3 มูลค่าเงนิ สดเทียบเท่าในปจั จบุ นั (Current Cash Equivalent) วิธีนคี้ ำนวณทนุ
จากมลู คา่ สทุ ธขิ องสินทรัพย์ท่ีขายได้ ได้จากราคาตลาดของสนิ ทรพั ย์ท้งั ส้ินหักดว้ ยราคาตลาดของ
หนีส้ ินทงั้ ส้ินวธิ ีน้ี ต้องอาศยั ความเห็นของผู้เชย่ี วชาญภายนอกในการตีราคาสินทรพั ย์และหนี้สิน ซ่ึง
ตอ้ งปรบั ด้วยความเส่ยี งและความไม่แนน่ อน และปัจจยั อ่ืนที่เกย่ี วข้องกับสนิ ทรัพย์และหนีส้ นิ แตล่ ะ
รายการ ราคาตลาดสนิ ทรัพย์และหนสี้ ินบางรายการกำหนดไดย้ าก

29

8.6.4 ราคาทนุ เดิม (Historical Input Price) ราคาทุนเดมิ เป็นราคาทมี่ หี ลักฐานที่
แน่นอน ตรวจสอบได้ และเป็นราคาทน่ี ่าเช่ือถือ แตไ่ มไ่ ดแ้ สดงฐานะของกจิ การ หรอื สว่ นทุนของ
กจิ การท่เี ปน็ อยู่เมื่อเวลาเปลย่ี นไป เนอื่ งจากเปน็ ราคาในอดีตกำไรตามวิธีนี้ คอื กำไรทเ่ี กิดจากการ
ดำเนินงาน และกำไรท่เี กดิ จากการถือสนิ ทรัพยไ์ ว้เฉพาะสว่ นทีเ่ กิดข้ึนแลว้

8.6.5 ราคาปัจจุบนั ในการจดั หา (Current Input Price) เปน็ ราคาท่ีได้มาจากการ
พจิ ารณาวา่ ถ้าหากกจิ การต้องจัดหาสินทรพั ยท์ ่ีมีอยู่ในกจิ การขณะนั้น กจิ การต้องจา่ ยเป็นจำนวน
เทา่ ใด ทุนจะเทา่ กับจำนวนเงินทีก่ ิจการต้องจ่ายในการจดั หาสนิ ทรัพย์ใหม่มาแทนสนิ ทรัพย์เดมิ หัก
ด้วยมลู ค่าของหน้ีสินทต่ี ้องชำระกำไรตามวิธีน้ี คือกำไรที่เกิดจากการมกี รรมสิทธิใ์ นสนิ ทรัพย์ทั้งสว่ นท่ี
เกดิ ข้ึนแล้ว และส่วนทีย่ ังไมเ่ กิดขน้ึ

8.6.6 การรักษาระดับความสามารถในการผลติ (Productive Capacity
Maintenance) เปน็ วธิ วี ดั ทุนจากกำลงั การผลติ กำไรตามแนวคดิ นี้เกิดขน้ึ เมื่อกำลงั การผลติ ท่กี ิจการ
สามารถใชใ้ นการผลติ หรอื ใช้ผลติ จริงเมือ่ สนิ้ รอบระยะเวลาบญั ชีสงู กว่ากำลังการผลติ เมื่อเร่ิม
ระยะเวลาบัญชีการวัดความสามารถในการผลิต ทำได้ดงั นี้-วัดความสามารถในการผลิตของกจิ การ
โดยวัดจากปรมิ าณสินคา้ ทกี่ ิจการผลติ ไดใ้ นปัจจบุ ันเทยี บกับปีกอ่ น วดั ความสามารถในการถอื ครอง
สนิ ทรพั ย์แนวคิดเก่ียวกับพฤติกรรมเป็นการนำผลกำไรไปใช้ในกระบวนการตดั สนิ ใจของผู้เก่ยี วขอ้ ง
การใช้ผลกำไรเพ่ือคาดคะเนเหตกุ ารณ์ในอนาคต เช่น เงนิ ปันผลที่กจิ การจา่ ยในอนาคต ราคาตลาด
ในอนาคตของหุน้ กำไรทใี่ ช้ในการคาดคะเนดังกลา่ วเป็นกำไรทีค่ ำนวณจากราคาปัจจุบันผู้สนใจผล
กำไรกรณีนี้ ได้แก่ ผลู้ งทนุ เจ้าหน้ี ท่ีปรึกษาการลงทุน ผ้บู ริหารใช้ผลกำไรในการวางแผนและควบคุม
งานในอนาคต-ผู้ลงทนุ ใช้ผลกำไรในการประมาณกระแสเงินสด ผลตอบแทนการลงทนุ

แนวคดิ เกี่ยวกับกำไรภายใตค้ วามไมแ่ นน่ อน การดำเนนิ ธุรกจิ ยอ่ มมีความไม่แน่นอน ที่ไม่อาจ
หลีกเลี่ยงได้ดงั นนั้ กำไรจึงไม่อาจใชว้ ัดผลการดำเนนิ งานที่ผ่านมาในอดีตดว้ ยมูลคา่ ท่ีเกิดข้นึ ตามวธิ ี
ปฏบิ ัตทิ างการบัญชี (กำไร=รายได้-คา่ ใช้จา่ ย) แต่กำไรจะหมายถึง การเปลีย่ นแปลงในทุนของกจิ การ
ในชว่ งเวลาหน่งึ ซ่ึงไม่รวมการเพ่ิมทนุ หรือการจา่ ยปนั ผล มีเกณฑ์การวดั ดังน้ี

8.6.6.1 มูลค่าของกำไร เปน็ การวัดจากการแลกเปล่ียนสิง่ ของ
8.6.6.2 เกณฑ์การวัดมูลค่าทางบัญชี ใช้จำนวนเงิน ณ วนั เกิดรายการ โดย
ไมค่ ำนึงถงึ อำนาจซ้ือ เกณฑ์การวดั มูลคา่ อาจแบง่ ได้ 2 ระบบ ดงั น้ี

1) ระบบเงินในนาม (Nominal Dollars) เป็นระบบเงนิ ท่ไี ม่คำนงึ ถึง

30

การเปลย่ี นแปลงค่าของเงินในระยะเวลาทต่ี ่างกัน เป็นระบบทีน่ ิยมใช้ทวั่ ไป
2) ระบบเงนิ คงท่ี (Constant Dollars) เป็นระบบทีค่ ำนึงถงึ ค่าของเงิน

ในเวลาตา่ งกัน จงึ ใชด้ ัชนรี าคาเป็นตัวปรบั มูลค่า
8.6.6.3 แนวคดิ เก่ยี วกับทุนทุนหมายถงึ สนิ ทรัพย์สุทธิ (สนิ ทรัพย์ ลบ

หนสี้ นิ ) มี 2 แนวคดิ ทุนทางการเงนิ หมายถึง ทนุ ซึ่งวัดจากมลู ค่าของสินทรัพย์สุทธิ หรือสว่ นท่ี
เจ้าของนำมาลงทุนในรูปของสินทรัพย์ ทุนทางการผลติ หรือทุนทางกายภาพ หมายถงึ ทุนท่ีวดั จาก
ความสามารถของกจิ การในการจัดการสินคา้ และบริการแนวคดิ กำไรเกิดขึ้นเม่อื กำลังการผลติ ท่ี
กจิ การสามารถใชใ้ นการผลิตหรอื ท่ใี ชผ้ ลติ จรงิ เมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชสี ูงกว่ากำลังการผลิตเมื่อตน้
รอบระยะเวลาบัญชี สนิ ทรพั ยไ์ มเ่ ปน็ ตวั เงนิ ท่ีมีอยู่ หมายถึง การรักษาสนิ ทรัพยใ์ ห้อยใู่ นสภาพเดมิ
หากมีการจัดหาสนิ ทรัพย์มาทดแทน กจิ การจะใช้ราคาทดแทนปรมิ าณของผลผลิตที่

8.7 การเปรียบเทียบมลู ค่าของสนิ ทรพั ย์ในช่วงเวลาตา่ งกันตามแนวทางของงบแสดงฐานะ
การเงนิ สามารถทำได้ 2 วธิ ี ดังนี้

8.7.1 การเปรยี บเทียบทุนหรอื สนิ ทรพั ย์สทุ ธทิ ง้ั หมดของกจิ การ วธิ ีนี้กิจการจะวัด
มลู คา่ เพิ่มขน้ึ ของสนิ ทรัพยต์ ามระยะเวลาทีถ่ ือสนิ ทรพั ย์นั้น (วดั กำไรจากการถอื สินทรัพย)์

8.7.2 การวัดมูลค่าเพ่มิ การวัดมูลค่าในราคาท่ีมหี ลกั ฐานสมบูรณท์ ่สี ุด หรือวดั มูลคา่
ตามเงินสดที่ได้รบั จากการตีราคาเพ่ิมขน้ึ เชน่ ราคา NRV ของสินคา้ คงเหลอื

8.8 การเปรยี บเทยี บรายได้และคา่ ใช้จ่ายตามแนวทางของงบกำไรขาดทุน (Income
Statement approach) เป็นแนวคดิ วดั ความเกีย่ วพันโดยตรงระหวา่ งต้นทุนท่ีเกดิ ข้ึนกับรายได้ใน
บางกจิ การอาจจะเปลี่ยนราคาทนุ เดมิ เป็นราคาทเี่ ปน็ จำนวนเงนิ ตามอำนาจซ้ือ (กำไร) เชน่ กำไรจาก
การถือครองสินทรัพย์ นอกจากวธิ วี ัดผลกำไรที่แตกตา่ งกนั นกั บญั ชแี ต่ละกลุม่ ยังมีแนวคิดและมุมมอง
แตกต่างกัน เช่น

8.8.1 นกั บัญชีกลุม่ ดั้งเดิม (Classical School) ใชร้ าคาทนุ เดิม
8.8.2 นักบัญชีกล่มุ ใหม่ (Neoclassical School)–สนับสนุนแนวคดิ เรื่องอำนาจซื้อ นน่ั
คอื ปรบั ด้วยดัชนีราคา
8.8.3 นักบญั ชกี ลุ่มพัฒนา (Radical School) -ราคาปจั จุบนั -วธิ ีการบัญชตี ามราคาทุน
ปจั จบุ ัน (Current Income)-วิธีราคาตามทนุ ปจั จุบันที่ปรับด้วยดัชนีราคา (General Price Level
Adjusted Current Cost Accounting)

31

8.9 รายการท่ีใช้ในการคำนวณกำไร เป็นความต้องการทราบกำไรขาดทนุ สำหรับงวดปัจจยั
ท่ีกระทบกำไรได้แก่ ปจั จยั ภายนอกและปัจจยั ภายใน เป็นหนา้ ที่ผู้บรหิ ารท่จี ะต้องจดั การการแสดง
กำไรที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับแนวคิด 2 แนวคดิ คือ 1.) แนวคิดผลการดำเนินงานในปัจจุบัน 2.)
แนวคดิ รวมหมดทุกอย่าง แนวคดิ ผลการดำเนนิ งานในปัจจบุ ัน แนวคดิ น้ีเน้นตัวเลขกำไรจากการ
ดำเนนิ งานตามกจิ กรรมภายใต้สถานการณ์ตามปกติของกจิ การ ดงั นั้น การคำนวณกำไรหรือขาดทนุ
สทุ ธิจะไม่รวมรายการซง่ึ ไม่เกี่ยวกับการดำเนนิ งานตามปกติ ตามแนวคิดวธิ ีนี้ รายการท่ีไม่รวมคำนวณ
กำไรขาดทนุ สุทธจิ ะปรบั ปรงุ เขา้ กำไรสะสมโดยตรง แนวคดิ นม้ี ุ่งวัดประสิทธภิ าพของกิจการในการใช้
ทรพั ยากรทีม่ ีอยู่ เช่น ที่ดิน ทุน แรงงาน และผู้บริหาร

AICPA สนับสนุนแนวคิดนี้ ให้เหตผุ ลสนับสนุน ดังน้ี ผใู้ ช้งบกำไรขาดทนุ สนใจ กำไรสุทธิ
ดงั น้นั งบกำไรขาดทุนควรแสดงใหเ้ หน็ กำไรสทุ ธทิ มี่ าจากกิจกรรมหลักของธรุ กิจ ผูบ้ รหิ ารและนกั
บญั ชเี ปน็ ผู้ทมี่ ีความรูแ้ ละความเช่ียวชาญทางการบญั ชี ดังนั้น จึงควรให้ผบู้ ริหารและนกั บัญชีตดั สินใจ
วา่ รายการใดควรเป็นรายการที่รวมอยู่ในการดำเนินงานของกิจกรรมตามปกติ รายการควรเป็น
รายการพิเศษ มผี ูค้ ัดคา้ นแนวคดิ นี้ ใหเ้ หตผุ ล ดังน้ี ถา้ งบกำไรขาดทุน แสดงเฉพาะรายการท่เี ก่ยี วข้อง
กบั การดำเนนิ งานในงวดปจั จุบันนั้น ผทู้ ่ไี มม่ ีความรู้อาจจะไม่สนใจ รายการอ่นื นอกจาก กำไรสทุ ธิที่
แสดงในงบกำไรขาดทุน-การเปดิ โอกาสให้ผูบ้ ริหารและนักบญั ชเี ป็นผ้ตู ัดสินใจวา่ รายการใดควรเป็น
รายการท่ีรวมอยใู่ นการดำเนินงาน อาจเป็นช่องทางของการตกแต่งรายการทางการเงนิ ได้งา่ ย

กำไรที่มปี ระโยชนต์ ่อผู้ใช้ขอ้ มูลมากที่สุด ควรรวมรายการต่าง ๆ ทม่ี ีผลกระทบต่อการเพ่ิมข้นึ
หรือการลดลงในสว่ นของเจา้ ของ (ยกเวน้ การจ่ายปนั ผลและการเพิ่มทนุ ลดทุน) นั่นคือ แนวคดิ ของงบ
กำไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ ปัจจบุ ัน-แนวคดิ นี้ได้รบั การสนบั สนนุ จาก AAA 1936,1941,1948 ว่า งบกำไร
ขาดทนุ สำหรับงวดใดงวดหน่งึ ควรแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่ายทัง้ หมด โดยไม่คำนงึ ถึงวา่ เปน็ ผลจากการ
ดำเนินงานในปจั จุบันหรือไม่ “รวมหมดทุกอยา่ ง” เหตผุ ลสนบั สนนุ มดี งั น้ี

8.9.1 การแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่ายทั้งหมดในงบกำไรขาดทนุ ทำให้ผูใ้ ชเ้ ข้าใจได้ง่าย
และสามารถประเมนิ ความสำคญั ของรายการและผลกระทบของรายการท่ีมีผลตอ่ การดำเนนิ งาน

8.9.2 การแสดงรายการดงั กล่าว พรอ้ มทงั้ ช้ีแจงรายละเอียดของรายการทเี่ กิดขึ้นทำให้
ผู้ใช้งบการเงนิ สามารถจัดหมวดหมู่ได้ และวเิ คราะหร์ ายการไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

8.9.3 การท่ผี ้บู ริหารสนใจแต่เฉพาะกำไรสุทธจิ ากการดำเนนิ งาน อาจะทำให้กิจการ
ประมาณรายการต่าง ๆ ผดิ พลาดได้

32

8.9.4 ผสู้ นบั สนนุ แนวคดิ นี้ ผลรวมของกำไรขาดทุนสทุ ธิในแตล่ ะงวดควรเทา่ กับกำไร
ขาดทนุ สุทธริ วมทงั้ หมด ดงั น้ันกจิ การควรรวมรายการพเิ ศษ และรายการปรับปรุงแกไ้ ขกำไร หรอื
แกไ้ ขข้อผดิ พลาดทสี่ ำคัญ ไว้ในงบกำไรขาดทนุ

8.9.5 กจิ การควรแสดงรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีท่เี กิดขนึ้ ไม่ว่ารายการนัน้ จะ
เปน็ รายการปกติหรือรายการพเิ ศษในงวดที่รายการดงั กลา่ วเกิดข้ึน

8.9.6 บางกรณี การจัดประเภทรายการและเหตุการณ์ทางบญั ชเี ปน็ รายการพเิ ศษ อาจ
มขี อ้ โตแ้ ย้งหรอื ไมช่ ดั เจน ดงั น้ัน หากยอมใหม้ ีการใชด้ ุลยพินจิ อาจจะเกิดความไม่ชัดเจน

การแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายท้ังหมด โดยไม่คำนงึ ถึงว่าเป็นผลมาจากการดำเนนิ งาน
ตามปกติหรือไม่ อาจทำใหเ้ กิดการอธิบายรายการท่ีไมช่ ัดเจน หรอื การไมเ่ ข้าใจตวั เลขในงบกำไร
ขาดทุน ส่งผลให้เกดิ ความผดิ พลาดในการวเิ คราะห์ถ้าหากรายได้และคา่ ใช้จา่ ยที่ถือเปน็ รายการพิเศษ
ในงวดก่อนผดิ พลาด และรายการดังกลา่ วไม่นำมารวมอยูใ่ นงบกำไรขาดทุนของงวดบญั ชปี จั จุบนั แล้ว
จะมีผลทำให้กำไรขาดทุนของกจิ การผดิ พลาดไปอยา่ งน้อย 2 งวด คือ งวดก่อนและงวดปัจจบุ ัน

APB ฉบับ 30 จำแนกรายการกำไรขาดทุนที่ไม่ถอื เปน็ รายการพิเศษ เน่ืองจากโดยลักษณะ
ของรายการเหล่านค้ี าดได้วา่ จะเกิดขน้ึ ในอีกอนาคตอนั ใกล้ เช่น การตดั จำหน่ายบญั ชลี ูกหนี้ สนิ คา้
คงเหลือ รายจา่ ยต่อตดั บัญชีหรือสนิ ทรพั ย์ไม่มีตวั ตน รายการกำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลย่ี น
เงินตราต่างประเทศ การยกเลิกการดำเนินงานบางส่วน รายการกำไรหรือขาดทนุ จากการขาย หรือ
จำหน่ายท่ีดนิ อาคารและอุปกรณ์ รายการขาดทุนจากการนดั หยดุ งานของพนักงาน การปรับปรุง
รายการเกี่ยวกบั สัญญาเชา่

การแก้ไขและปรบั ปรุงรายการปกตหิ รอื รายการและเหตกุ ารณ์ทางบญั ชที ีเ่ กิดขึ้นใหมร่ ายการ
และเหตุการณท์ างบญั ชดี งั กล่าว หมายถึง รายการท่ีไมเ่ ข้าลักษณะของรายการทีเ่ กดิ ขึน้ ในงวดบัญชี
ก่อน แต่เปน็ รายการท่เี ก่ียวข้องกบั การคำนวณกำไรขาดทุนในงวดปัจจบุ ันหรอื งวดหนา้ เชน่
การเปลีย่ นแปลงอายกุ ารใช้งานเครือ่ งจักร การเปล่ยี นแปลงประมาณการทางการบัญชี

8.10 การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางการบัญชี (Changes in Accounting estimates)
การปรับปรุงมลู ค่าตามบัญชีของสินทรพั ย์ หรือหน้สี ิน หรือจำนวนท่ีมีการใช้ประโยชน์ของสนิ ทรัพย์ใน
ระหวา่ งงวด อันเป็นผลมาจากการประเมินสภาพปัจจบุ นั ของสนิ ทรัพย์และหนสี้ นิ และการประเมิน
ประโยชน์และภาระผูกพัน ที่คาดว่าจะเกิดข้นึ ในอนาคตท่เี กีย่ วขอ้ งกับสนิ ทรัพย์และหนี้สนิ นน้ั การ
เปล่ยี นแปลงประมาณการทางบัญชีเปน็ ผลจากการไดร้ ับข้อมูลใหม่หรือมีการพัฒนาเพมิ่ เตมิ จากเดิม

33

การเปลี่ยนแปลงประมาณการจงึ ไม่ถือเปน็ การแก้ไขข้อผดิ พลาด มีลักษณะดงั นี้
8.10.1 ลกั ษณะท่ี 1 ที่เปน็ การเปลยี่ นแปลงหลกั การบญั ชที ย่ี อมรับโดยท่วั ไปหลักการ

หนง่ึ ไปสอู่ ีกหลกั การหน่ึง อธิบายด้วยตัวอย่าง คือ การเปล่ียนแปลงนโยบายการบัญชใี นเร่อื งการตี
ราคาสนิ ค้าคงเหลือ ซงึ่ เดิมนักบญั ชอี าจจะเลือกใชว้ ิธีการราคาทุนทแี่ ท้จรงิ Specific Identification
เปล่ยี นมาเปน็ วิธกี ารตีราคาสินค้าคงเหลือแบบ แบบเข้าก่อน-ออกก่อน FIFO ซงึ่ รปู แบบนข้ี องการ
เปล่ยี นแปลงนอี้ าจมเี จตนาที่จะมุ่งให้การแสดงราคาของสนิ ค้าคงเหลือสอดคล้องกับสภาพของการ
ดำเนนิ ธุรกิจ Business Model และสภาพของการบริหารสินค้าคงคลงั ประกอบกบั เป็นการ
เปลีย่ นแปลงที่จะเกดิ ขึ้นอาจตอ้ งการให้งบการเงินของกิจการได้แสดงขอ้ มูลทีน่ า่ เชื่อถอื ตรงกบั
ความเหน็ จรงิ ท้งั น้เี มื่อมีการเปล่ยี นแปลงจะต้องมีการแสดงเหตผุ ลท่เี หมาะสมประกอบด้วย

8.10.2 ลักษณะท่ี 2 การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี (Change in
Accounting Estimate) แนวการเปล่ยี นแปลงทีเ่ กิดขึน้ น้เี ป็นการเปลย่ี นแปลงที่มสี าเหตุมาจาก
สภาพแวดลอ้ มที่เปล่ียนแปลงไป หรอื เปน็ เพราะมกี ารปรบั ปรงุ ขอ้ มูลในการจัดทำประมาณการทาง
บัญชีใหม่ โดยของเดิมอาจแสดงข้อมลู หรือสะทอ้ นภาพการประกอบธุรกิจได้ไม่เหมาะสม นักบญั ชจี งึ
ตอ้ งมีการทบทวนเนื้อหาสาระของการเปลี่ยนแปลงประมาณการประกอบดว้ ย ทั้งนีเ้ หตุการณ์ทีต่ ้อง
ทำให้พจิ ารณาประมาณการต่าง ๆ มกั พบไดจ้ ากการประมาณการหนีส้ งสยั จะสูญ, การประมาณราคา
ซากของสินทรัพย์ถาวร,การทบทวนอายกุ ารการใช้งานไดร้ ับประโยชน์ , การเปลย่ี นแปลงวิธีการคดิ
คำนวณค่าเสื่อมราคา เปน็ ตน้ ซงึ่ ประเด็นท่ียกตวั อยา่ งประกอบน้ีจำเป็นต้องอาศัยหลักในการ
พจิ ารณาจากหลายปจั จยั รว่ มกัน เพราะในเมื่อนักบัญชเี องกไ็ ม่สามารถทราบได้วา่ สถานการณ์ใน
อนาคตจะมผี ลกระทบต่อธุรกิจอย่างไรบ้าง หรอื แนวโน้มทิศทางในการไดร้ บั ประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกิจมี
การเปลีย่ นไปหรือไม่ การประมาณการทางบัญชจี งึ เปน็ สิง่ ท่ีควรมกี ารทบทวนประกอบกบั ศกึ ษาปัจจัย
ทที่ ำให้สถานการณ์แวดล้อมด้วยเชน่ กนั

8.10.3 ลกั ษณะที่ 3 การเปลี่ยนแปลงหน่วยงานทเี่ สนอรายงาน (Change in
Reporting Entity) ซง่ึ ในประเดน็ นก้ี จิ การจะต้องใหค้ วามสำคญั เช่นเดียวกนั เพราะในภาวะของการ
เติบโตทางเศรษฐกจิ การรวมกลมุ่ การค้าทางธรุ กิจ เป็นสิง่ ทผ่ี บู้ ริหารหลายท่านให้ความสนใจ ดว้ ย
มูลเหตทุ ่ีสำคญั ประการหน่ึงก็คือ การเปิดเขตเสรีการคา้ อาเซียน ธรุ กจิ อาจจะต้องเพมิ่ ขอบเขตอำนาจ
ในการต่อรอง โดยรปู แบบเดิมเปน็ ธรุ กิจทท่ี ำเพียงเจ้าเดียว แห่งเดยี ว อาจจะมีอำนาจในการตอ่ รองท่ี
น้อยกว่าการรวมกลุ่มธุรกิจ ดังน้ันหากแนวทางในการดำเนินธรุ กจิ เปลี่ยนไปจากเดิมมีการนำเสนอต่อ

34

ผบู้ รหิ าร หรือผ้มู สี ว่ นไดเ้ สียเพยี งกลมุ่ เดยี ว อาจจะต้องเปลยี่ นรปู แบบในการนำเสนอรายงานหรอื มี
การเปล่ียนแปลงกลมุ่ บุคคลที่นำเสนอใหม่ก็ได้

9. งานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง
ชลธร ชเู ชดิ และนพรตั น์ ลมิ ติยะโยธิน (2559) การศึกษาคร้ังนี้ มวี ตั ถุประสงค์เพื่อศึกษา

อัตราสว่ นท่ีเหมาะสมระหว่างกระเจย๊ี บเขยี วและใบผักหวานบา้ น โดยนำตำรบั พน้ื ฐานจาก
กระบวนการผลิตกระเจ๊ยี บเขียวแผ่นอบกรอบโดยใช้เครอ่ื งอบแห้งแบบลมร้อน ของนิภาพรและ
อารดา (2558) ทำการทดแทนกระเจ๊ียบเขียวด้วยใบผักหวานบ้าน ในอัตราสว่ นทแ่ี ตกต่างกัน 3 ระดับ
คือ 50 : 50 40 : 60 และ 30 : 70 ของนำ้ หนกั ส่วนผสมทัง้ หมด เพ่อื เลือกอตั ราส่วนทเี่ หมาะสมของ
กระเจีย๊ บเขยี วและใบผักหวานบา้ น ศกึ ษาคณุ ค่าทางโภชนาการของผลติ ภัณฑ์ใบผกั หวานบ้านแผ่นอบ
กรอบปรุงรส และศกึ ษาความเป็นไปได้ในการใชเ้ ครอื่ งต้นแบบสำหรบั การทำผกั แผ่นเพื่อวิสาหกิจ
ชมุ ชนและวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม โดยนำตำรบั ใบผักหวานบา้ นแผน่ อบกรอบปรงุ รสท่ี
ได้รบั การยอมรบั มาทดลองกับเคร่อื งทำแหง้ แบบลกู กล้ิง (drum dry) และเคร่ืองทำแห้งแบบสายพาน
(belt drier) ผลการศึกษา พบวา่ อตั ราส่วนการทดแทนกระเจี๊ยบเขยี วดว้ ยใบผักหวานบ้านท่ี รอ้ ยละ
40 : 60 ของน้ำหนักสว่ นผสมทงั้ หมด ผทู้ ดสอบชมิ ใหก้ ารยอมรับมากทสี่ ดุ ในด้านลักษณะปรากฎ สี
กลน่ิ รสชาติ เนอ้ื สัมผสั และความชอบโดยรวม ผลการวิเคราะหค์ ณุ ค่าทางโภชนาการ พบว่า
ผลติ ภณั ฑ์ใบผักหวานบ้านแผ่นอบกรอบปรุงรส ปริมาณ 100 กรัม ใหพ้ ลังงาน 372.09 กิโลแคลอร่ี
โปรตนี ร้อยละ 1 4.70 ไขมนั ร้อยละ 5.29 คารโ์ บไฮเดรต รอ้ ยละ 66.42 เถ้า ร้อยละ 7.83
ความชนื้ /นำ้ ร้อยละ 5.76 และพลังงานจากไขมนั 47.6 1 กโิ ลแคลอรี่ ผลการศึกษาความเป็นไปได้ใน
การใชเ้ ครอ่ื งตน้ แบบสำหรบั การทำผักแผน่ เพ่ือวสิ าหกจิ ชุมชนและวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม
พบว่า เครอ่ื งทำแห้งแบบสายพาน ท่ีอุณหภมู ิ 170 องศาเซลเซยี ส เวลา 42 นาที มีความเป็นไปได้ใน
การผลติ ใบผกั หวานบ้านแผ่นอบกรอบปรงุ รสการบรโิ ภคผักพน้ื บา้ นของคนไทยนน้ั อาจกลา่ วไดว้ ่าเป็น
วิถีชีวติ ปกตขิ องสังคมไทยมาแตโ่ บราณ ผกั พ้ืนบ้านปลกู งา่ ย มภี มู ิต้านทานต่อโรคและแมลงไดด้ ีกวา่
ผกั ทมี่ าจากต่างประเทศที่นำเข้ามาปลกู ในประเทศไทย จึงทำให้ปลอดภัยจากสารเคมี ยาฆา่ แมลง
และปยุ้ เรง่ การเจรญิ เตบิ โต ผักพ้นื บา้ น หมายถึง พรรณพืชพน้ื บา้ นหรอื พรรณไม้พื้นเมืองในทอ้ งถ่ินที่
ชาวบา้ นนำมาบริโภคเป็นผักตามวัฒนธรรมการบรโิ ภคของทอ้ งถิน่ ทไี่ ด้มาตามแหล่งธรรมชาติ จาก
สวน นา ไร่ หรอื ชาวบ้านนำมาปลูกไวใ้ กล้บ้านเพ่ือสะดวกในการเกบ็ มาบรโิ ภค ผักพืน้ บา้ นเหล่านีอ้ าจ
มชี อ่ื เฉพาะตามท้องถิ่น และนำไปประกอบเปน็ อาหารพืน้ เมืองตามกรรมวธิ เี ฉพาะของแต่ละทอ้ งถ่ิน

35

ด้วยคุณค่าของผักพืน้ บ้านที่มีมากมายท้งั ในเร่ืองคุณค่าทางอาหาร คุณค่าทางสมุนไพร หรอื ใชเ้ ป็นยา
เพ่อื ป้องกันและบำบดั โรค เป็นเครอื่ งมือในการดำรงชีพ และบางประเภทกม็ ีประโยชนท์ างด้าน
เศรษฐกจิ ด้วย (เมฆ, 2548) ที่จะกลา่ วถงึ ในท่ีนเี้ ป็นผักทีม่ ปี ระโยชนท์ างอาหารและสรรพคณุ ทางยา
มากมาย คอื ผักหวานบา้ น เป็นผักทีม่ ีคุณคา่ ทางโภชนาการ มสี ่วนประกอบท่สี ำคญั ในผักหวานบา้ น
ได้แก่ พลังงาน น้ำ โปรตีน ไขมันคารโ์ บไฮเดรต ใยอาหาร เถ้า วิตามนิ เอ วติ ามินบี1 วติ ามนิ บี2
วติ ามินบี3 วติ ามินซี แคลเซยี มฟอสฟอรสั ธาตเุ หลก็ และมีสรรพคุณทหี่ ลากหลาย ใบผกั หวานบา้ น
นำมาปรุงเป็นยาเขียวเพื่อชว่ ยแก้ไข้ ระบายความรอ้ นในร่างกายไดเ้ ช่นกัน สว่ นน้ำคน้ั จากใบกใ็ ช้เป็น
ยาทาแก้แผลในปากไดด้ ้วย

บทท่ี 3

วิธีการดำเนินโครงการ

ผักอบแห้ง เปน็ การพฒั นาผลติ ภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ เพ่ือให้เหมาะสมกับความต้องการและ
เป็นทีน่ า่ สนใจแก่ผ้บู รโิ ภค โดยผศู้ กึ ษาได้ดำเนินงานตามลำดับขัน้ ตอนดังต่อไปนี้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการศึกษา
3. ขน้ั ตอนในการสรา้ งเคร่ืองมือ
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถติ ิทใี่ ชใ้ นการศึกษา

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นกั ศึกษาประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.) ชั้นปที ่ี 2 แผนกวิชาการบัญชี ภาคเรยี นท่ี 1 ปี

การศึกษา 2564 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี จำนวน 84 คน

2. เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการศึกษา
เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการศกึ ษาครง้ั น้ีเป็นแบบสอบถาม ซง่ึ ประกอบด้วยแบบตรวจรายการ แบบ

มาตราส่วนประมาณคา่ และแบบคำถามปลายปดิ และปลายเปิด จำนวน 3 ตอนมรี ายละเอยี ด ดังน้ี
ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อผลิตภณั ฑ์และบรรจุภัณฑผ์ ักอบแห้ง ลักษณะ

แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ 5 ระดบั
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะและความคิดเหน็

37

3. ข้นั ตอนในการสรา้ งเครอื่ งมือ
การสรา้ งเครื่องมือจากแบบสอบถาม ซ่ึงมรี ายละเอียดแบง่ เป็น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ข้อ 1 เพศ
ข้อ 2 อายุ
ขอ้ 3 กลุ่มเรยี น

ตอนท่ี 2 ศึกษาความพึงพอใจทม่ี ตี อ่ ผลิตภัณฑแ์ ละบรรจุภัณฑ์ผักอบแหง้ ลกั ษณะ

แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ 5 ระดับ

ระดับ 5 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมากที่สุด

ระดับ 4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก

ระดบั 3 หมายถงึ มีความพึงพอใจปานกลาง

ระดับ 2 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อย

ระดบั 1 หมายถงึ มีความพอใจน้อยทส่ี ุด

โดยกำหนดเกณฑ์การแปลความหมายข้อมลู ทีเ่ ปน็ ค่าเฉล่ยี ตา่ งๆ คือ

คา่ เฉล่ียระหวา่ ง ความหมาย

4.51 – 5.00 ความพึงพอใจระดับมากที่สดุ

3.51 – 4.50 ความพงึ พอใจระดับมาก

2.51 – 3.50 ความพงึ พอใจระดับปานกลาง

1.51 – 2.50 ความพงึ พอใจระดับน้อย

1.00 – 1.50 ความพอใจระดบั น้อยทสี่ ดุ

ตอนท่ี 3 เป็นแนวคำถามปลายเปดิ สำหรับผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ เพมิ่ เติม

และให้ข้อเสนอแนะต่างๆ

38

4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
คณะผู้จดั ทำได้ดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลตามลำดับขนั้ ตอน ดงั นี้
4.1 ดำเนินการแจกแบบสอบถาม ผักอบแห้ง โดยแจกแบบสอบถามใหก้ ลุม่ เป้าหมายผ่าน

ทางออนไลน์ โดยใช้ Google From
4.2 เกบ็ รวบรวมแบบสอบถาม ผกั อบแห้ง เพ่ือนำข้อมูลที่ไดม้ าวิเคราะห์ต่อไป

5. การวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถติ ิที่ใชใ้ นการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมลู เก่ยี วกับลักษณะของผตู้ อบแบบสอบถาม สถติ ทิ ี่ใชเ้ ปน็ รอ้ ยละ

(Percentage) ค่าเฉล่ีย (Arithmetic Mean) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation S.D.)
โดยรวบรวมข้อมลู การหาคา่ สถิตพิ ื้นฐาน คือ รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานของคะแนน
ท่ีได้โดยใชส้ ูตรดังนี้

5.1 คา่ รอ้ ยละ P = ×
เมือ่ P
F
N
แทน รอ้ ยละ

แทน ความถที่ ่ีตอ้ งการแปลงค่าให้เป็นร้อยละ

แทน จำนวนความถท่ี ง้ั หมด

5.2 คา่ เฉลยี่ ̅ =
เมอื่


̅ แทน คา่ เฉลยี่

∑ แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดในกลุ่ม

N แทน จำนวนคะแนนในกลุ่ม

39

5.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

S.D. = √ −(∑ )

[ − ]

เม่อื S.D. แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

∑ แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั

N แทน จำนวนคะแนนในกลุ่ม

บทที่ 4

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

แบบสอบถามน้ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือพฒั นาผลติ ภัณฑผ์ ักอบแหง้ ศึกษาความพึงพอใจของ
กล่มุ เปา้ หมายทม่ี ีต่อผลิตภัณฑ์และบรรจภุ ัณฑ์ผกั อบแห้ง โดยผู้ศกึ ษาไดด้ ำเนินงานตามลำดับขั้นตอน
ดังตอ่ ไปนี้

4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
n แทน จำนวนคนในกลมุ่ เปา้ หมาย
χ̅ แทน คะแนนเฉลีย่
S.D. แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

4.2 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลในการศกึ ษาคร้ังน้ี ผ้ศู ึกษาไดด้ ำเนนิ การวิเคราะหอ์ อกเป็น 3 ตอนดังน้ี
ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ศึกษาความพึงพอใจทมี่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑผ์ ักอบแหง้ แบ่งออกเปน็ 3
ดา้ น คอื ดา้ นคณุ ภาพผลิตภัณฑ์ ด้านการบรรจุภัณฑ์และการใช้งาน และด้านส่งเสรมิ การจดั จำหน่าย
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น


Click to View FlipBook Version