The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mimm.jewpanya, 2021-05-27 06:25:10

หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา

ปี2564



คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ในโรงเรียนตน้ แบบและโรงเรียนท่ีมีความพร้อมการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ และใช้
ในโรงเรียนทว่ั ไปในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นอนบุ าลตาก สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาตาก เขต
๑ ในฐานะที่เป็นโรงเรียนตน้ แบบการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงได้
ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง
๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเอกสารประกอบ
หลักสูตรขึ้น เพื่อใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และเพื่อให้
กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งร่วมกันรับผิดชอบและทำงาน
ร่วมกนั อย่างเปน็ ระบบ โดยจัดทำและพฒั นาหลักสูตรตามแนวคิดหลกั สูตรอิงมาตรฐาน คือ กำหนด
มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปา้ หมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน การ
เรียนรทู้ ก่ี ำหนดในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทกุ คนให้มีความสมดุลทั้ง
ดา้ นรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสำนกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่นั ในการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มีความรู้และทักษะพนื้ ฐาน รวมทั้งเจต
คตทิ ีจ่ ำเปน็ ต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ิต โดยม่งุ เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญ
บนพน้ื ฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ

ขอขอบคณุ ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาตาก เขต ๑ คณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานโรงเรียนอนุบาลตาก คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนบุคคลและ
หน่วยงานท่ใี หค้ วามร่วมมอื อำนวยความสะดวกต่าง ๆ อันเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาหลกั สูตรครั้งน้ี
โรงเรยี นอนุบาลตาก หวงั เปน็ อยา่ งยิ่งวา่ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลตาก พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และเอกสาร
ประกอบหลักสูตรที่จัดทำขึ้น จะเป็นประโยชน์สำหรับครูผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องให้สามารถนำ
หลักสูตรไปใชจ้ ดั การเรยี นการสอนและดำเนินการวดั และประเมนิ ผลไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

(นายเสวก บุญประสพ)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตาก



สารบญั หนา้

เรื่อง ๑

บทท่ี ๑ สว่ นนำ ๑๐
ความนำ ความสำคัญ ๑๑
ลักษณะของหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนบุ าลตาก ๑๓
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ๓๑
คุณภาพผู้เรียน ๓๔
ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก ๔๔
โครงสรา้ งเวลาเรยี น ๔๕
บทที่ ๒ คำอธิบายรายวชิ า ๔๖
คำอธบิ ายรายวิชา ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ ๔๗
คำอธิบายรายวิชา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๔๘
คำอธบิ ายรายวิชา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ ๔๙
คำอธิบายรายวชิ า ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
คำอธิบายรายวิชา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๕๐
คำอธบิ ายรายวชิ า ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๕๑
บทที่ ๓ หนว่ ยการเรียนรู้ ๕๒
หนว่ ยการเรียนรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๕๔
หน่วยการเรยี นรู้ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ๕๕
หน่วยการเรยี นรู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๕๖
หน่วยการเรียนรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
หน่วยการเรียนรู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๖๓
หน่วยการเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๖๔
บทท่ี ๔ แนวทางการวัดและประเมนิ ผล ๗๖
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ๗๗
การวัดและประเมินผลกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
แหลง่ การเรยี นรู้
คณะทำงานจัดทำหลักสูตร



บทที่ ๑
ส่วนนำ
ความนำ
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก พทุ ธศักราช ๒๕๖๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นแผนหรือแนวทางหรอื ข้อกำหนด
ของการจัดการศึกษาของโรงเรยี นอนบุ าลตาก ที่จะใช้ในการจดั การเรียนการสอนเพอื่ พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ี
คณุ ภาพตามมาตรฐานทก่ี ำหนดมงุ่ พฒั นาผ้เู รยี นให้เปน็ คนดี มีปญั ญา มคี วามสขุ มีศักยภาพใน
การศกึ ษาต่อ โดยมุ่งหวงั ใหม้ ีความสมบูรณ์ท้ังดา้ นรา่ งกาย จิตใจ และสตปิ ญั ญา อีกทัง้ มีความรู้และ
ทกั ษะทีจ่ ำเป็นสำหรบั การดำรงชวี ติ สอดคลอ้ งกับพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒
ประการ คุณธรรมพ้ืนฐาน ๘ ประการ รวมทง้ั จดุ เน้นและอัตลักษณ์ของโรงเรยี น และมีคุณภาพได้
มาตรฐานสากล ดังนั้นหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนบุ าลตาก พุทธศักราช
๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ประกอบดว้ ยสาระสำคญั ของ
หลักสูตรแกนกลาง และเพ่ิมเติมรายวิชาตามจุดเนน้ ตลอดจนสาระความร้ทู ี่เกี่ยวข้องกับชุมชนทอ้ งถน่ิ
โดยจดั เป็นรายวิชาพน้ื ฐานตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้ีวดั และรายวิชาเพ่มิ เตมิ ภาษาอังกฤษเพื่อ
การสือ่ สาร
สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ได้ดำเนินการตามนโยบาย“ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลา
รู้” ใช้รูปแบบทัง้ กจิ กรรมในและนอกห้องเรียน กิจกรรมการพัฒนาเป็นไปตามความสนใจของผ้เู รยี น
ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม และมคี วามสขุ กับกิจกรรม ตอ่ มาไดม้ ีการปรบั เปา้ หมายของ
กจิ กรรมจาก ๔ หมวด เป็นการพัฒนา ๔H คอื Head (กจิ กรรมพฒั นาสมอง) ,Heart (กิจกรรมพัฒนา
จิตใจ) , Hand (กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะการปฏิบัต)ิ และ Health (กิจกรรมพัฒนาสขุ ภาพ) ซึ่งสอดคล้อง
กับองค์ ๔ ของการจัดการศกึ ษา คอื พุทธิศึกษา จริยศกึ ษา หตั ถศกึ ษาและพลศึกษาท้งั น้ี เพอื่ เปน็ การ
พัฒนาผู้เรียนในทุกด้านให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าถกแถลงเชิงเหตุผลและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใน
ชวี ติ ประจำวัน หรือสถานการณต์ ่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ ได้มีการพฒั นากิจกรรมเพิ่มเวลารู้ให้เชือ่ มโยงกบั หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และยังคงเน้นเป้าหมายการพัฒนา ๔H ทั้งนี้ให้
ความสำคัญทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ โดยมุ่งเนน้ ลดเวลาเรียนในลักษณะ
การรบั การถา่ ยทอดความรู้ด้วยการบรรยาย/สาธิต เพ่มิ เวลาและโอกาสในการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
ผ่านการลงมือปฏิบัติ มีความสุขกับการเรียนรู้ ปรับบทบาทครูจากเป็นผู้สอนมาเป็นผู้ให้คำปรึกษา
ชแ้ี นะ มีการประเมินพัฒนาการของผูเ้ รียนอย่างอยากหลายตามสภาพจรงิ และเชอ่ื มโยงกบั มาตรฐาน
การเรียนรูแ้ ละตวั ช้ีวัด



จากการดำเนนิ งานที่กลา่ วมาขา้ งต้น โรงเรยี นอนบุ าลตาก จงึ ปรบั การดำเนนิ งานบริหาร
จดั การหลักสูตและแนวทางการดำเนนิ งานตามนโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลาร”ู้ ตามนโยบายของ
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
ลักษณะของหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนบุ าลตาก พทุ ธศกั ราช๒๕๖๑
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาโรงเรียน
มาตรฐานสากลได้พัฒนาขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรยี นในระดับประถมศึกษา โดยยึดองค์ประกอบหลกั สำคัญ
๓ ส่วน คือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รายวิชาเพิ่มเติมท่ีเน้นเปน็
สากล และสาระสำคญั ท่ีสถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม เปน็ กรอบในการจดั ทำรายละเอียดเพื่อให้เป็นไป
ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กำหนด เหมาะสมกับสภาพชุมชนและท้องถิ่นและจุดเน้นของ
สถานศึกษา โดยหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช
๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่พัฒนาขึ้นมีลักษณะของ
หลกั สูตรดังน้ี

๑. เป็นหลกั สูตรเฉพาะของสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนุบาลตาก สำหรับ
จัดการศึกษาในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑–
๖)

๒. มีความเป็นเอกภาพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก
พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตร
ของสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลสำหรับให้ครูผู้สอนนำไปจัดการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย
โดยกำหนดให้

๒.๑ มีรายวิชาที่สถานศึกษาใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้ และ
การแก้ปัญหา ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม

๒.๒ มีรายวิชาที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศักยภาพการคิดและการทำงา
ประกอบด้วย สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศลิ ปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ

๒.๓ มีรายวิชาเพ่ิมเติมท่ีเนน้ เป็นสากล ซึ่งจัดทำเป็นรายวิชาเพิ่มเติมตามความเป็น
มาตรฐานสากล ได้แก่ รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและมีความสอดคล้องกับโครงสรา้ งเวลา
เรียน ความต้องการของผู้เรยี น และบริบทของสถานศึกษาที่เกี่ยวกับความเปน็ มาตรฐานสากลต้ังแต่
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑- ๖



๒.๔ มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
อารมณ์ และสังคม เสรมิ สรา้ งการเรยี นรูน้ อกจากรายวิชา ๘ รายวิชา และการพัฒนาตนตามศกั ยภาพ
ที่จัดให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ สอดคล้องกับตามภาพวัย
ของผเู้ รียน

๒.๕ มีการกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่างๆ
เพื่อเป็นเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา จัดทำรายละเอียดรายวิชา และ
จดั กระบวนการเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพในชุมชน สังคม และภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่

๒.๖ มีการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ที่เน้นทักษะทางวิชาการ ดังนี้
ทักษะด้านภาษาองั กฤษ ภาษาจนี ทักษะดา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทักษะดา้ นการคิดวเิ คราะห์
และเขยี น โดยใช้กระบวนการ STEM และการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง (IS)

๓. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานเป็นตัวกำหนด
เกี่ยวกบั คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรียน เพอ่ื เปน็ แนวทางในการประกันคุณภาพการศกึ ษา โดยมี
การกำหนดมาตรฐานไว้ดงั น้ี

๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรียนหรือผลผลิตของหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล อันเกิดจากการได้รับการอบรมสั่งสอนตามโครงสร้างของ
หลักสูตรทั้งหมดใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของการจดั การศึกษาตามหลักสูตร
โรงเรียนมาตรฐานสากลในทุกระดับ และสถานศึกษาต้องใช้สำหรับการประเมินตนเองเพื่อจัดทำ
รายงานประจำปตี ามบทบญั ญตั ใิ นพระราชบญั ญัติการศึกษา นอกจากนย้ี ังเป็นแนวทางในการกำหนด
แนวปฏิบัติในการส่งเสริม กำกับ ติดตาม ดูแล และปรับปรุงคุณภาพ เพื่อให้ได้ตามมาตรฐานท่ี
กำหนด

๓.๒ มีตัวชี้วัดชั้นปีเป็นเป้าหมายระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้ง
คุณลักษณะของผเู้ รยี นในแต่ละระดับชนั้ ซง่ึ สะท้อนถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมี
ความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็น
เกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน
ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ และเป็นหลักในการ
เทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์จากการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย

๓.๓ มีความเป็นสากล ของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล คือมุ่งให้
ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจัดการสิ่งแวดล้อม
ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ มีคุณลกั ษณะที่จำเปน็ ในการอยู่ในสงั คมได้แก่ ความซอื่ สตั ย์ ความรบั ผิดชอบ การ



ตรงต่อเวลา การเสียสละ การเอื้อเฟอื้ โดยอยู่บนพนื้ ฐานของความพอดรี ะหว่างการเป็นผู้นำ และผตู้ าม
การทำงานเปน็ ทีม และการทำงานตามลำพัง การแขง่ ขนั การร้จู กั พอ และการร่วมมือกันเพ่ือสังคม
วิทยาการสมัยใหม่ และภูมิปัญญาท้องถิ่น การรับวัฒนธรรมต่างประเทศและการอนุรกั ษ์วัฒนธรรม
ไทยการฝกึ ฝนทักษะเฉพาะทาง และการบูรณาการในลกั ษณะทเ่ี ปน็ องค์รวม

๔. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียน
อนุบาลตาก เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาจัดทำรายละเอียดต่างๆ ขึ้นเอง โดยยึดโครงสร้างหลักที่
กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นขอบข่ายในการจดั ทำ
จึงทำใหห้ ลักสูตรของสถานศึกษาโรงเรยี นมาตรฐานสากลมีความยดื หยุน่ หลากหลาย สอดคล้องกับ
สภาพปญั หา และความต้องการของทอ้ งถนิ่ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงมคี วามเหมาะสมกับตวั ผเู้ รียน

๕. การวดั และประเมินผลเนน้ หลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพอ่ื พัฒนาผู้เรียน
และเพื่อตดั สินผลการเรียน โดยผู้เรยี นตอ้ งไดร้ บั การพัฒนาและประเมนิ ตามตัวชว้ี ัดเพื่อให้บรรลุตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี นเป็นเป้าหมาย
หลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน และใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า
และความสำเรจ็ ทางการเรยี นของผ้เู รียน ตลอดจนข้อมูลท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ การส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิด
การพัฒนาและเรียนร้อู ย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ
วิสยั ทัศน์ (VISION)

โรงเรยี นระดบั ประถมท่ีมีการสง่ เสริมและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาท่มี ีประสิทธิภาพระดบั
จงั หวัด
พันธกจิ ( MISSION )

๑. พฒั นาคุณภาพผู้เรยี นตามคุณลักษณะโรงเรยี นมาตรฐานสากล
๒. จัดกิจกรรมเสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรมและระเบียบวินยั
๓. เสรมิ สรา้ งเครือข่ายและแหลง่ เรยี นรใู้ นห้องเรยี นและในโรงเรียน
๔. พฒั นาระบบบรหิ ารการจัดการศกึ ษา
๕. ส่งเสรมิ และพฒั นาบุคลากรทางการศกึ ษาให้เป็นครมู อื อาชพี
เปา้ หมาย (Goal)
๑. ผเู้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานโรงเรยี นมาตรฐานสากล
๒. ผูเ้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีระเบยี บวินัยท้ังภายในและภายนอก
๓. มเี ครือขา่ ยการเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย ทง้ั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ



๔. มีแหลง่ เรยี นรภู้ ายในห้องเรยี นและบรเิ วณโรงเรียน ทส่ี อดคลอ้ งกับความต้องการของ
ผูเ้ รียน

๕. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคคลท่ีมคี ุณภาพ ประสิทธภิ าพตามมาตรฐานวชิ าชีพ
หลักการ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีหลักการที่สำคัญตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ดังน้ี

๑. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลเพอื่ ความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจุดหมาย
และมาตรฐานการเรยี นรู้เปน็ เป้าหมายสำหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนให้มีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และ
คณุ ธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบค่กู ับความเป็นสากล

๒. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับ
การศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคและมคี ุณภาพ

๓. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาโรงเรยี นมาตรฐานสากลท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมีส่วน
รว่ มในการจัดการศึกษาให้สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถน่ิ

๔. เป็นหลกั สตู รการศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลทม่ี โี ครงสร้างยืดหย่นุ ทั้งด้านรายวิชา เวลา
และการจดั การเรียนรู้

๕. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาโรงเรยี นมาตรฐานสากลทีเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลสำหรับการศึกษาในระบบ ครอบคลุมทุก
กล่มุ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรแู้ ละประสบการณ์
จดุ หมาย
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งพฒั นาผเู้ รียนให้เปน็ คนดี มีปัญญา
มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ
ผู้เรยี น เมอื่ จบการศกึ ษาตามหลกั สูตร ดงั นี้
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติ
ตนตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือ ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยแี ละมีทกั ษะ
ชีวติ
๓. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี มีสุขนสิ ยั และรกั การออกกำลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข



๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สง่ิ แวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่ม่งุ ทำประโยชนแ์ ละสร้างสิง่ ท่ดี งี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกันในสังคมอยา่ งมีความสุข
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนบุ าลตาก
พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเนน้ พัฒนา
ผ้เู รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซง่ึ จะชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์ ดงั นี้

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕
ประการ ดังน้ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มวี ัฒนธรรมในการ
ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ต่อรองเพ่ือขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลือกรบั หรอื ไม่รับขอ้ มลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตุผล
และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอ่
ตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การ
คิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์
ความร้หู รือสารสนเทศเพอ่ื การตัดสินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่างๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธแ์ ละการเปล่ยี นแปลงของเหตุการณต์ า่ งๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรมู้ าใช้
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขน้ึ
ตอ่ ตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้
ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงานและการอยู่
ร่วมกันในสงั คมด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขดั แย้ง
ตา่ งๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวให้ทนั กบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อมและการรู้จัก
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ท่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น



๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้าน
ต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การ
สอื่ สาร
การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนบุ าลตาก พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ ตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ พฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณลักษณะ อนั พึง
ประสงค์ เพอื่ ใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ ่นื ในสงั คมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก
ดงั นี้

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซื่อสตั ยส์ ุจรติ
๓. มีวินยั
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุง่ ม่ันในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
ความสำคัญ
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนอนบุ าลตาก พุทธศกั ราช ๒๕๖๑
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มีความสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน
ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้เป็น
แนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และอาจารย์ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา ในการจัดมวลประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้พัฒนาให้บรรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐานใน
การพัฒนาเยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใช้เป็นแนวทาง หรือข้อกำหนดในการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาให้บรรลุตามจุดหมายของการจัดการศึกษาแล้ว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน
มาตรฐานสากลโรงเรยี นอนุบาลตาก พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ทพ่ี ฒั นาขึ้น
ยงั เป็นหลกั สูตรท่ีมีจดุ มุ่งหมายให้ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รในทอ้ งถิน่ ทงั้ ภาครฐั และเอกชนเข้าร่วม จัด
การศกึ ษาของสถานศึกษาโดยมแี นวทางสำคัญท่สี ถานศึกษากำหนดไวใ้ นหลักสตู รสถานศึกษา ดงั นี้
๑. หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนบุ าลตาก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑



ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความ
สนุกสนาน และความเพลิดเพลินในการเรียนรู้เปรียบเสมือนเป็นวิธีสร้างกำลังใจ และเร้าให้เกิด
ความก้าวหน้า แก่ผู้เรียนให้มากที่สุด มีความรู้สูงสุด ผู้เรียนทุกคนมีความเข้มแข็ง ความสนใจ มี
ประสบการณ์ และ ความมั่นใจ เรียนและทำงานอย่างเป็นอิสระและร่วมใจกัน มีทักษะในการอ่าน
การคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน
คิดเลขเป็น รู้ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสาร ส่งเสริมจิตใจที่อยากรู้อยากเห็นและมี
กระบวนการคดิ อย่างมเี หตผุ ล

๒. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๖๑
ส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม พัฒนาหลักการในการจำแนก
ระหว่างถูกและผิด เข้าใจและศรัทธาในความเชื่อของตน ความเชื่อและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
พัฒนาหลกั คุณธรรมและความอิสระของผู้เรียนและช่วยให้เป็นพลเมืองที่มคี วามรับผิดชอบ สามารถ
ช่วยพัฒนาสังคมให้เป็นธรรมขึ้น มีความเสมอภาค พัฒนาความตระหนัก เข้าใจและยอมรับ
สภาพแวดล้อมที่ตนดำรงชีวิตอยู่ ยึดมั่นในข้อตกลงร่วมกันตอ่ การพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับส่วนตน
ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับโลก สร้างให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเป็นผู้บริโภคที่ตัดสินใจ
แบบมขี อ้ มูล เป็นอิสระและมีความรับผดิ ชอบ



กล่มุ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา
ความสำคญั ของสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม
และทางปัญญาหรือจิตวญิ ญาณ สุขภาพหรอื สุขภาวะจึงเป็นเรื่องสำคัญเพราะเกี่ยวโยงกับทุกมติ ิของ
ชีวติ ซึง่ ทุกคนควรจะไดเ้ รียนรเู้ ร่อื งสุขภาพเพือ่ จะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกตอ้ ง มีเจตคติ คุณธรรม
และค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะส่งผลให้สังคม
โดยรวมมีคณุ ภาพ

สาระสำคัญในสุขศึกษาและพลศกึ ษา
สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเป้าหมาย เพื่อการดำรงสุขภาพ การ

สร้างเสรมิ สุขภาพและการพฒั นาคุณภาพชวี ิตของบคุ คล ครอบครวั และชุมชนใหย้ ง่ั ยนื
สุขศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และ

การปฏิบัตเิ กยี่ วกับสุขภาพควบคูไ่ ปดว้ ยกัน
พลศกึ ษา ม่งุ เน้นใหผ้ ู้เรียนใช้กิจกรรมการเคล่ือนไหว การออกกำลงั กาย การเล่นเกมและ

กีฬา เป็นเครื่องมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทั้ง
สมรรถภาพเพ่ือสุขภาพและกีฬา

สาระที่เป็นกรอบเนื้อหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุ ขศึกษาและพล
ศึกษาประกอบดว้ ย

• การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องธรรมชาติของการ
เจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ปัจจัยที่มีผลตอ่ การเจริญเติบโต ความสมั พนั ธ์เช่ือมโยงในการ
ทำงานของระบบต่างๆของรา่ งกาย รวมถงึ วธิ ีปฏิบัตติ นเพอ่ื ใหเ้ จรญิ เติบโตและมีพัฒนาการทสี่ มวยั

• ชีวิตและครอบครัว ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องคุณค่าของตนเองและครอบครัว การ
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกทางเพศ การสร้างและรักษา
สมั พันธภาพกบั ผอู้ นื่ สขุ ปฏบิ ตั ิทางเพศ และทักษะในการดำเนินชีวิต

• การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผู้เรียนได้
เรียนรู้เรื่องการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล

๑๐

และประเภททีมอย่างหลากหลายทัง้ ไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กตกิ า ระเบียบ และข้อตกลงใน
การเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางกาย และกฬี า และความมนี ้ำใจนักกีฬา

• การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
หลักและวิธีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อ
สุขภาพ และการป้องกันโรคท้ังโรคตดิ ตอ่ และโรคไม่ติดต่อ

• ความปลอดภัยในชีวติ ผ้เู รยี นจะได้เรียนร้เู ร่อื งการปอ้ งกันตนเองจากพฤตกิ รรมเสย่ี ง
ต่างๆ ทงั้ ความเสย่ี งต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ ความรนุ แรง อนั ตรายจากการใชย้ าและสารเสพตดิ
รวมถึงแนวทางในการสร้างเสรมิ ความปลอดภัยในชวี ติ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระท่ี ๑ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ ชวี ิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนิน
ชีวิต
สาระท่ี ๓ การเคลือ่ นไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกั ษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจำอย่าง

สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ
แข่งขัน และชืน่ ชมในสนุ ทรียภาพของการกฬี า
สาระท่ี ๔ การสร้างเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสรมิ สุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกัน
โรคและการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพือ่ สขุ ภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปอ้ งกันและหลีกเลย่ี งปัจจัยเสี่ยง พฤตกิ รรมเส่ียงต่อสขุ ภาพ อุบตั เิ หตุ การใช้ยา
สารเสพตดิ และความรนุ แรง

๑๑

คณุ ภาพผเู้ รยี น
จบช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓
• มีความรู้ และเข้าใจในเรื่องการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ปัจจัยที่มีผลต่อ

การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการ วิธีการสร้างสัมพนั ธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพอ่ื น
• มีสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการกิน การพักผ่อนนอนหลับ การรักษาความสะอาดอวัยวะทุก

สว่ นของร่างกาย การเล่นและการออกกำลังกาย
• ป้องกนั ตนเองจากพฤตกิ รรมที่อาจนำไปสกู่ ารใช้สารเสพติด การล่วงละเมิดทางเพศและ

รจู้ กั ปฏิเสธในเร่ืองที่ไม่เหมาะสม
• ควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ตามพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุ มีทักษะ

การเคลื่อนไหวข้ันพื้นฐานและมีส่วนรว่ มในกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
เพอ่ื สขุ ภาพ และเกม ได้อย่างสนกุ สนาน และปลอดภัย

• มที ักษะในการเลอื กบริโภคอาหาร ของเลน่ ของใช้ ท่มี ีผลดีต่อสุขภาพ หลกี เล่ียงและ
ปอ้ งกนั ตนเองจากอบุ ตั ิเหตไุ ด้

• ปฏิบัติตนไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสมเมอ่ื มปี ญั หาทางอารมณ์ และปัญหาสขุ ภาพ
• ปฏบิ ัติตนตามกฎ ระเบยี บขอ้ ตกลง คำแนะนำ และข้นั ตอนต่างๆ และใหค้ วามรว่ มมือ
กบั ผู้อ่ืนด้วยความเต็มใจจนงานประสบความสำเรจ็
• ปฏิบัตติ ามสิทธขิ องตนเองและเคารพสทิ ธิของผอู้ น่ื ในการเล่นเป็นกลมุ่
จบชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
• เขา้ ใจความสัมพนั ธ์เชอ่ื มโยงในการทำงานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย และรู้จักดูแล
อวยั วะท่สี ำคญั ของระบบนั้น ๆ
• เขา้ ใจธรรมชาตกิ ารเปล่ยี นแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณแ์ ละสังคม แรงขบั ทางเพศ
ของชายหญงิ เม่อื ยา่ งเขา้ สู่วัยแรกรุ่นและวยั รุ่น สามารถปรับตวั และจัดการไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
• เข้าใจและเหน็ คุณคา่ ของการมีชวี ติ และครอบครัวท่อี บอนุ่ และเปน็ สุข
• ภมู ิใจและเห็นคุณคา่ ในเพศของตน ปฏิบัติสุขอนามัยทางเพศได้ถกู ต้องเหมาะสม
• ป้องกันและหลีกเลีย่ งปัจจัยเสีย่ ง พฤติกรรมเสีย่ งตอ่ สุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ
ความรนุ แรง สารเสพติดและการล่วงละเมิดทางเพศ
• มีทกั ษะการเคลือ่ นไหวพ้ืนฐานและการควบคมุ ตนเองในการเคล่อื นไหวแบบผสมผสาน

๑๒

• รู้หลักการเคลื่อนไหวและสามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย เกม การละเล่น
พื้นเมือง กีฬาไทย กีฬาสากลได้อย่างปลอดภัยและสนุกสนาน มีน้ำใจนักกีฬา โดยปฏิบัติตามกฎ
กติกา สิทธิ และหน้าท่ขี องตนเอง จนงานสำเร็จลลุ ว่ ง

• วางแผนและปฏิบัตกิ ิจกรรมทางกาย กจิ กรรมสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายเพ่อื สขุ ภาพ
ได้ตามความเหมาะสมและความตอ้ งการเป็นประจำ

• จดั การกบั อารมณ์ ความเครียด และปัญหาสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
• มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมลู ขา่ วสารเพ่ือใช้สรา้ งเสรมิ สุขภาพ

๑๓

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง

สาระที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์

มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.๑ ๑. อธบิ ายลักษณะและหนา้ ท่ี  ลกั ษณะและหน้าท่ีของอวยั วะภายนอกทมี่ ี

ของอวัยวะภายนอก การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการไปตามวัย

๒. อธิบายวธิ ดี ูแลรกั ษาอวยั วะ - ตา หู คอ จมกู ผม มือ เทา้ เลบ็ ผิวหนัง

ภายนอก ฯลฯ

- อวัยวะในชอ่ งปาก (ปาก ลิ้น ฟัน เหงอื ก)

 การดูแลรกั ษาอวัยวะภายนอก

- ตา หู คอ จมกู ปาก ล้นิ ฟนั ผม มอื เท้า

เลบ็ ผิวหนงั ฯลฯ

- อวัยวะในชอ่ งปาก (ปาก ล้ิน ฟนั เหงือก)

ป. ๒ ๑. อธบิ ายลกั ษณะ และหน้าทขี่ อง  ลักษณะ และหนา้ ที่ของอวยั วะภายในทีม่ กี าร

อวัยวะภายใน เจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการไปตามวัย (สมอง

๒. อธิบายวธิ ดี แู ลรักษาอวยั วะ หวั ใจ ตบั ไต ปอด กระเพาะอาหาร ลำไส้

ภายใน ฯลฯ)

๓. อธบิ ายธรรมชาตขิ องชวี ติ มนษุ ย์  การดูแลรกั ษาอวัยวะภายใน

- การระมัดระวังการกระแทก

- การออกกำลงั กาย

- การกนิ อาหาร

 ธรรมชาตขิ องชีวิตมนษุ ย์ตง้ั แตเ่ กดิ จนตาย

ป.๓ ๑. อธบิ ายลักษณะและการ  ลกั ษณะการเจริญเตบิ โตของร่างกายมนุษย์

เจรญิ เตบิ โตของรา่ งกายมนุษย์ ทีม่ คี วามแตกต่างกันในแตล่ ะบคุ คล

๒. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของ - ลักษณะรูปรา่ ง

ตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน - น้ำหนัก

๑๔

ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

๓. ระบปุ จั จัยทมี่ ีผลตอ่ การ - สว่ นสูง

เจริญเติบโต  เกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เติบโต ของเด็กไทย

 ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อการเจรญิ เติบโต

- อาหาร

- การออกกำลังกาย

- การพักผ่อน

ป. ๔ ๑. อธบิ ายการเจริญเตบิ โตและ  การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของร่างกาย

พฒั นาการของร่างกายและจิตใจ และจิตใจ ตามวยั (ในช่วงอายุ ๙ – ๑๒ ปี)

ตามวยั  ความสำคญั ของกล้ามเนอื้ กระดูกและขอ้

๒. อธบิ ายความสำคญั ของกล้ามเนื้อ ท่ีมผี ลตอ่ สขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โตและ

กระดกู และข้อท่ีมีผลต่อสขุ ภาพ การ พัฒนาการ

เจริญเติบโตและพัฒนาการ  วิธีดแู ลรักษากลา้ มเนอื้ กระดูกและขอ้ ให้

๓. อธบิ ายวิธดี ูแลกล้ามเนอ้ื กระดกู ทำงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

และข้อ ให้ทำงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ

ป. ๕ ๑. อธิบายความสำคัญของระบบยอ่ ย  ความสำคญั ของระบบยอ่ ยอาหารและระบบ

อาหาร และระบบขบั ถ่ายท่มี ีผลต่อ ขับถ่ายทีม่ ีผลตอ่ สขุ ภาพ การเจริญเตบิ โต และ

สขุ ภาพ การเจริญเติบโต และ พัฒนาการ

พัฒนาการ  วิธีดแู ลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบ

๒. อธบิ ายวิธดี ูแลระบบย่อยอาหาร ขบั ถ่ายให้ทำงานตามปกติ

และระบบขับถ่ายให้ทำงานตามปกติ

ป.๖ ๑. อธบิ ายความสำคัญของระบบ  ความสำคัญของระบบสบื พันธุ์ ระบบ

สืบพันธ์ุ ระบบไหลเวียนโลหิตและ ไหลเวยี นโลหติ และระบบหายใจท่มี ีผลต่อ

ระบบหายใจ ที่มผี ลตอ่ สุขภาพ การ สขุ ภาพ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการ

เจริญเตบิ โตและพฒั นาการ  วิธีดแู ลรกั ษาระบบสืบพนั ธ์ุ ระบบ

๒. อธิบายวธิ กี ารดูแลรักษาระบบ ไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ทำงาน

สืบพันธ์ุ ระบบไหลเวียนโลหติ และ ตามปกติ

ระบบหายใจให้ทำงานตามปกติ

๑๕

สาระท่ี ๒ ชวี ติ และครอบครัว

มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และมที กั ษะในการดำเนินชวี ิต

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. ๑ ๑. ระบสุ มาชิกในครอบครวั และ  สมาชกิ ในครอบครัว

ความรักความผกู พันของสมาชกิ ทมี่ ตี อ่  ความรักความผกู พนั ของสมาชกิ ใน

กัน ครอบครัว

๒. บอกสิง่ ทช่ี ื่นชอบ และภาคภมู ิใจ  สิง่ ที่ชน่ื ชอบและความภาคภูมใิ จ
ในตนเอง ในตนเอง (จุดเด่น จุดดอ้ ยของตนเอง)
๓. บอกลกั ษณะความแตกตา่ ง  ลกั ษณะความแตกต่างของเพศชาย เพศ
ระหวา่ งเพศชาย และเพศหญงิ หญงิ

- รา่ งกาย

- อารมณ์

- ลักษณะนสิ ยั

ป. ๒ ๑. ระบุบทบาทหน้าท่ีของตนเอง  บทบาทหน้าทขี่ องสมาชกิ ในครอบครัว

และสมาชิกในครอบครวั - ตนเอง

๒. บอกความสำคญั ของเพอ่ื น - พอ่ แม่

๓. ระบพุ ฤตกิ รรมท่เี หมาะสมกบั เพศ - พ่ีนอ้ ง

๔. อธบิ ายความภาคภูมใิ จในความ - ญาติ

เป็นเพศหญงิ หรือเพศชาย  ความสำคัญของเพอื่ น (เชน่ พดู คยุ ปรกึ ษา

เลน่ ฯลฯ)

 พฤติกรรมทเี่ หมาะสมกบั เพศ

- ความเป็นสุภาพบุรุษ

๑๖

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

- ความเป็นสุภาพสตรี

 ความภาคภมู ิใจในเพศหญงิ หรือเพศชาย

ป. ๓ ๑. อธิบายความสำคัญ และความ  ความสำคัญของครอบครัว ความแตกต่าง

แตกต่างของครอบครวั ท่ีมตี ่อตนเอง ของแต่ละครอบครวั

๒. อธิบายวธิ สี รา้ งสมั พันธภาพใน - เศรษฐกจิ

ครอบครวั และกลมุ่ เพ่อื น - สังคม

๓. บอกวธิ หี ลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ - การศกึ ษา

นำไปส่กู ารลว่ งละเมดิ ทางเพศ  วิธีการสรา้ งสมั พนั ธภาพในครอบครวั และ

กลุ่มเพอ่ื น

 พฤตกิ รรมที่นำไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ

(การแต่งกาย การเทีย่ วกลางคืน การคบเพือ่ น

การเสพสารเสพติด ฯลฯ)

 วธิ หี ลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมทน่ี ำไปส่กู ารล่วง

ละเมิดทางเพศ (ทกั ษะปฏเิ สธและอน่ื ๆ )

ป. ๔ ๑. อธิบายคุณลักษณะของความเป็น  คุณลกั ษณะของความเป็นเพื่อนและสมาชกิ

เพอ่ื นและสมาชกิ ทีด่ ีของครอบครัว ทีด่ ขี องครอบครวั

๒. แสดงพฤติกรรมทเ่ี หมาะสมกับ  พฤติกรรมท่ีเหมาะสมกับเพศของตนตาม

เพศของตนตามวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมไทย

๓. ยกตัวอยา่ งวิธีการปฏเิ สธการ  วิธกี ารปฏิเสธการกระทำทีเ่ ป็นอันตรายและ
กระทำทเ่ี ป็นอนั ตรายและไมเ่ หมาะสม ไมเ่ หมาะสมในเร่ืองเพศ
ในเรอื่ งเพศ

๑๗

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. ๕ ๑. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเพศ  การเปลีย่ นแปลงทางเพศ การดแู ลตนเอง

และปฏิบัติตนได้เหมาะสม  การวางตัวทีเ่ หมาะสมกับเพศตาม

๒. อธบิ ายความสำคญั ของการมี วัฒนธรรมไทย

ครอบครวั ท่อี บอนุ่ ตามวัฒนธรรมไทย  ลักษณะของครอบครวั ทอ่ี บอุน่ ตาม
๓. ระบพุ ฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค์ และ วฒั นธรรมไทย (ครอบครัวขยาย การนับถอื
ไม่พงึ ประสงคใ์ นการแก้ไขปัญหาความ ญาติ)
ขดั แยง้ ในครอบครัวและกลุม่ เพอื่ น  พฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคแ์ ละไม่พงึ ประสงค์

ในการแก้ไขปญั หาความขัดแยง้ ในครอบครวั

ป. ๖ ๑. อธิบายความสำคญั ของการสรา้ ง  ความสำคญั ของการสร้างและรักษา

และรกั ษาสัมพนั ธภาพกบั ผ้อู นื่ สัมพันธภาพกับผู้อนื่

๒. วิเคราะห์พฤติกรรมเส่ยี งที่อาจ  ปัจจยั ทีช่ ่วยใหก้ ารทำงานกล่มุ ประสบ

นำไปส่กู ารมีเพศสัมพนั ธ์ การตดิ เชือ้ ความสำเร็จ

เอดส์ และการตง้ั ครรภก์ ่อนวัยอนั ควร - ความสามารถสว่ นบคุ คล

- บทบาทหนา้ ที่ของสมาชกิ ในกล่มุ

- การยอมรบั ความคดิ เหน็ และความแตกต่าง

ระหวา่ งบคุ คล

- ความรบั ผดิ ชอบ

 พฤตกิ รรมเส่ียงท่ีนำไปสกู่ ารมีเพศสมั พันธ์

การตดิ เชอ้ื เอดส์ และการต้ังครรภ์กอ่ นวัย

อันควร

๑๘

สาระที่ ๓ การเคล่ือนไหว การออกกำลงั กาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล

มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มที ักษะในการเคล่อื นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา

ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. เคลือ่ นไหวรา่ งกายขณะอย่กู บั ที่  ธรรมชาตขิ องการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายใน

เคลื่อนทแี่ ละใช้อปุ กรณ์ประกอบ ชวี ติ ประจำวนั

๒. เลน่ เกมเบ็ดเตลด็ และเข้ารว่ ม - แบบอยู่กับท่ี เชน่ นง่ั ยนื กม้ เงย เอยี ง

กจิ กรรมทางกายทีใ่ ช้การเคลื่อนไหว ซา้ ย ขวา เคล่ือนไหวขอ้ มอื ขอ้ เท้า แขน ขา

ตามธรรมชาติ - แบบเคลื่อนท่ี เชน่ เดนิ วง่ิ กระโดด กลง้ิ

ตวั

- แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เชน่ จับ โยน เตะ

เคาะ

 กจิ กรรมทางกายทใี่ ช้ในการเคลือ่ นไหวตาม

ธรรมชาติ

- การเลน่ เกมเบด็ เตล็ด

ป. ๒ ๑. ควบคมุ การเคล่ือนไหวรา่ งกาย  ลักษณะและวธิ ีการของการเคลอ่ื นไหว

ขณะอยกู่ ับที่ เคลอื่ นท่ี และใช้อปุ กรณ์ ร่างกาย แบบอยกู่ ับที่ เชน่ กระโดด บดิ ตวั

ประกอบ ดึง ผลัก แบบเคลอื่ นที่ เชน่ กระโดดเขย่ง

๒. เลม่ เกมเบ็ดเตลด็ และเขา้ รว่ ม ก้าวชิดก้าว ว่ิงตามทิศทางทกี่ ำหนด และแบบ

กจิ กรรมทางกายที่วิธเี ลน่ อาศัยการ ใชอ้ ุปกรณป์ ระกอบ เชน่ คบี ขว้าง ตี

เคลื่อนไหวเบ้อื งตน้ ท้งั แบบอยกู่ ับที่  การเลน่ เกมเบ็ดเตล็ด และเขา้ รว่ มกิจกรรม

เคล่ือนทีแ่ ละใชอ้ ปุ กรณ์ประกอบ ทางกายทวี่ ธิ ีเลน่ อาศยั การเคลอ่ื นไหวเบ้อื งต้น

ทั้งแบบอยู่กับท่ี เคลอื่ นที่ และใชอ้ ปุ กรณ์

ประกอบ

ป. ๓ ๑. ควบคมุ การเคลอื่ นไหวร่างกาย  การเคลือ่ นไหวร่างกายแบบอยกู่ ับท่ี

ขณะอยู่กบั ที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ เชน่ ย่อยืด เขย่ง พับตวั เคลื่อนไหวลำตัว

ประกอบอยา่ งมที ศิ ทาง การเคล่ือนไหวแบบเคลอ่ื นที่ เชน่ เดินตอ่ เท้า

๒. เคลอ่ื นไหวรา่ งกายท่ีใชท้ กั ษะการ เดินถอย-หลงั กระโจน และแบบใชอ้ ุปกรณ์

เคลื่อนไหวแบบบังคับทศิ ทาง ใน ประกอบโดยมกี ารบงั คบั ทศิ ทาง เชน่ ดีด

การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ขวา้ ง โยน และรบั

๑๙

ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

 วธิ กี ารควบคุมการเคล่อื นไหวร่างกายแบบ

ต่างๆ อยา่ งมที ศิ ทาง

 กจิ กรรมทางกายทีใ่ ช้ทกั ษะการเคล่อื นไหว

แบบบังคบั ทิศทาง ในการเล่นเกมเบด็ เตล็ด

ป. ๔ ๑. ควบคมุ ตนเองเมื่อใช้ทกั ษะ  การเคลื่อนไหวรา่ งกายแบบผสมผสานทั้ง

การเคล่ือนไหวในลกั ษณะผสมผสานได้ แบบอยูก่ ับท่ี เช่น กระโดดหมุนตัว กระโดด-

ทั้งแบบอยกู่ ับที่ เคลอ่ื นที่ และใช้ เหยียดตัว แบบเคลื่อนที่ เช่น ซกิ แซ็ก วงิ่

อปุ กรณ์ประกอบ เปล่ยี นทศิ ทาง ควบมา้ และแบบใชอ้ ุปกรณ์

๒. ฝกึ กายบรหิ ารท่ามอื เปล่า ประกอบ เช่น บอล เชือก

ประกอบจังหวะ  กายบริหารท่ามอื เปล่าประกอบจงั หวะ

๓. เล่นเกมเลยี นแบบและกจิ กรรม  เกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลดั
แบบผลดั  กีฬาพน้ื ฐาน เชน่ แชรบ์ อล แฮนด์บอล
๔. เลน่ กฬี าพื้นฐานไดอ้ ยา่ งนอ้ ย หว่ งข้ามตาข่าย
๑ ชนิด

๒๐

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป. ๕ ๑. จัดรปู แบบการเคล่ือนไหว  การจัดรปู แบบการเคลอ่ื นไหวร่างกาย แบบ

แบบผสมผสาน และควบคมุ ตนเองเมือ่ ผสมผสาน และการปฏบิ ตั ิกิจกรรมทางกายท้ัง

ใช้ทักษะการเคลอื่ นไหว ตาม แบบอยู่กับท่ี เคล่อื นที่ และใชอ้ ุปกรณป์ ระกอบ

แบบท่กี ำหนด ตามแบบที่กำหนด เช่น การฝึกกายบรหิ าร

๒. เลม่ เกมนำไปส่กู ฬี าท่ีเลือกและ ยดื หยุน่ ขั้นพื้นฐาน เป็นต้น

กิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบผลัด  เกมนำไปสกู่ ีฬาและกจิ กรรมแบบผลดั ที่มีการ

๓. ควบคมุ การเคลอ่ื นไหวในเรื่องการ ตี เขย่ี รบั – ส่งสงิ่ ของ ขว้าง และวิ่ง

รบั แรง การใช้แรงและความสมดุล  การเคลอ่ื นไหวในเรอ่ื งการรับแรง การใชแ้ รง

๔. แสดงทกั ษะกลไกในการปฏบิ ัติ และความสมดุล

กจิ กรรมทางกายและเล่นกฬี า  ทกั ษะกลไกท่ีส่งผลต่อการปฏิบัตกิ ิจกรรมทาง

๕. เลน่ กีฬาไทย และกีฬาสากล กายและเลน่ กีฬา

ประเภทบคุ คลและประเภททีมไดอ้ ย่าง  การเล่นกีฬาไทย เชน่ ตะกร้อวง วิง่ ชักธง
ละ ๑ ชนิด
และกฬี าสากล เชน่ กรีฑาประเภทลู่ แบดมนิ ตัน
๖. อธบิ ายหลกั การ และเข้าร่วม เปตอง ฟุตบอล เทเบิลเทนนิส วา่ ยน้ำ
กิจกรรมนนั ทนาการ อย่างนอ้ ย
 หลักการและกิจกรรมนันทนาการ
๑ กจิ กรรม

๒๑

ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. ๖ ๑. แสดงทักษะการเคลอ่ื นไหว  การเคล่ือนไหวรว่ มกบั ผ้อู ืน่ แบบผลดั ใน

รว่ มกบั ผ้อู ื่นในลกั ษณะแบบผลัดและ ลักษณะผสมผสาน ในการรว่ มกจิ กรรมทางกาย

แบบผสมผสานไดต้ ามลำดับท้ังแบบอยู่ เชน่ กจิ กรรมแบบผลัด กายบริหารประกอบเพลง

กบั ท่ี เคลื่อนที่ และใชอ้ ปุ กรณ์ ยดื หย่นุ ข้นั พ้ืนฐานทใ่ี ช้ท่าต่อเน่อื ง และการต่อตัว

ประกอบ และการเคลอื่ นไหวประกอบ ท่างา่ ย ๆ

เพลง  การเคลือ่ นไหวในเร่ืองการรับแรง การใช้แรง

๒. จำแนกหลักการเคลอื่ นไหวในเรอ่ื ง และความสมดลุ กับการพัฒนาทักษะการเคล่อื นไหว

การรับแรง การใช้แรง และความสมดุล ในการเล่นเกมและกฬี า

ในการเคล่อื นไหวร่างกายในการเล่น  การเล่นกีฬาไทย กฬี าสากล ประเภทบุคคล

เกม เล่นกีฬา และนำผลมาปรบั ปรงุ และประเภททีม เชน่ กรฑี าประเภทลู่ และลาน

เพิ่มพนู วิธปี ฏิบัตขิ องตนและผู้อน่ื เปตอง วา่ ยน้ำ เทเบิลเทนนสิ วอลเลยบ์ อล

๓. เลน่ กฬี าไทย กีฬาสากลประเภท ฟตุ บอล ตะกรอ้ วง

บคุ คลและประเภททมี ได้อยา่ งละ ๑  การใช้ขอ้ มลู ด้านทักษะกลไกเพื่อปรบั ปรงุ

ชนดิ และเพ่มิ พนู ความสามารถในการปฏิบัตกิ ิจกรรมทาง

๔. ใช้ทกั ษะกลไก เพือ่ ปรบั ปรงุ เพิม่ พนู กาย และเลน่ กฬี า

ความสามารถของตนและผอู้ ืน่ ในการ  การนำความรแู้ ละหลักการของกิจกรรม
เลน่ กฬี า
นันทนาการไปใชเ้ ปน็ ฐานการศึกษาหาความรู้
๕. ร่วมกิจกรรมนันทนาการอยา่ งนอ้ ย

๑ กิจกรรม แลว้ นำความรแู้ ละหลักการ

ที่ไดไ้ ปใช้เปน็ ฐานการศกึ ษาหาความรู้

เร่อื งอนื่ ๆ

๒๒

สาระท่ี ๓ การเคล่ือนไหว การออกกำลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล

มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัตเิ ป็นประจำอยา่ ง

สม่ำเสมอ

มวี ินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีนำ้ ใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขง่ ขนั และชืน่ ชม

ในสุนทรยี ภาพของการกฬี า

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.๑ ๑. ออกกำลังกาย และเลน่ เกม  การออกกำลงั กาย และการเลน่ เกม

ตามคำแนะนำ อยา่ งสนุกสนาน เบ็ดเตลด็

๒. ปฏิบัตติ นตามกฎ กตกิ า  กฎ กติกา ขอ้ ตกลงในการเล่นเกม

ขอ้ ตกลงในการเลน่ เกมตามคำแนะนำ เบด็ เตลด็

ป.๒ ๑. ออกกำลังกาย และเลน่ เกม ได้  การออกกำลงั กาย และเล่นเกมเบ็ดเตล็ด

ด้วยตนเองอย่างสนกุ สนาน  ประโยชนข์ องการออกกำลังกายและการ

๒. ปฏบิ ตั ิตามกฎ กติกาและ เลน่ เกม

ขอ้ ตกลงในการเล่นเกมเปน็ กลมุ่  กฎ กตกิ า ข้อตกลงในการเล่นเกมเป็นกล่มุ

ป. ๓ ๑. เลือกออกกำลงั กาย การละเลน่  แนวทางการเลือกออกกำลงั กาย

พน้ื เมอื ง และเลน่ เกม ที่ การละเลน่ พ้นื เมืองและเล่นเกมท่เี หมาะสมกับ

เหมาะสมกับจดุ เด่น จุดด้อย และ จุดเด่น จุดดอ้ ยและข้อจำกดั ของแต่ละบุคคล

ข้อจำกัดของตนเอง  การออกกำลงั กาย เกม และการละเลน่

๒. ปฏบิ ตั ิตามกฎ กติกาและ พ้ืนเมือง

ข้อตกลงของการออกกำลงั กาย การ  กฎ กติกาและข้อตกลงในการออกกำลงั
เลน่ เกม การละเล่นพน้ื เมอื งไดด้ ว้ ย กาย การเลน่ เกม และการละเลน่ พ้นื เมือง
ตนเอง

๒๓

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. ๔ ๑. ออกกำลังกาย เลน่ เกม และ  การออกกำลังกาย เล่นเกม ตาม

กีฬาทต่ี นเองชอบและมคี วามสามารถ ความชอบของตนเองและเลน่ กีฬาพ้นื ฐาน

ในการวเิ คราะหผ์ ลพัฒนาการของ ร่วมกับผู้อื่น

ตนเองตามตวั อย่างและแบบปฏิบัตขิ อง  การวิเคราะห์ผลพฒั นาการของตนเองใน

ผู้อ่ืน การออกกำลังกาย เลน่ เกมและเลน่ กีฬา ตาม

๒. ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กตกิ าการเล่น ตัวอยา่ งและแบบปฏบิ ตั ิของผอู้ ื่น

กีฬาพ้นื ฐาน ตามชนิดกฬี าท่ีเล่น  คุณคา่ ของการออกกำลังกาย เล่นเกม

และเล่นกีฬา ท่ีมตี อ่ สขุ ภาพ

- การปฏบิ ัตติ ามกฎ กติกา การเล่นกีฬา

พ้ืนฐาน ตามชนิดกีฬาท่ีเลน่

ป. ๕ ๑. ออกกำลังกายอยา่ งมีรปู แบบ  หลักการและรปู แบบการออกกำลังกาย

เลน่ เกมทใ่ี ช้ทกั ษะการคดิ และตัดสนิ ใจ  การออกกำลังกาย และการเล่นเกม เช่น

๒. เลน่ กฬี าทตี่ นเองชอบอย่าง เกมเบ็ดเตลด็ เกมเลยี นแบบ เกมนำ และ

สม่ำเสมอ โดยสรา้ งทางเลอื กในวิธี การละเลน่ พืน้ เมือง

ปฏบิ ตั ิของตนเองอย่างหลากหลาย  การเลน่ กีฬาไทย และกฬี าสากลประเภท

และมีนำ้ ใจนกั กีฬา บุคคลและทมี ทเี่ หมาะสมกบั วยั อยา่ งสม่ำเสมอ

๓. ปฏบิ ตั ติ ามกฎกติกา การเลน่ เกม  การสรา้ งทางเลือกในวิธีปฏบิ ัติในการเลน่

กีฬาไทย และกีฬาสากล ตามชนิด กีฬาอย่างหลากหลาย และมนี ำ้ ใจนกั กีฬา

กฬี าทเ่ี ลน่  กฎ กตกิ าในการเล่นเกม กีฬาไทยและกฬี า

๔. ปฏิบัตติ นตามสทิ ธิของตนเอง ไม่ สากลตามชนิดกีฬาท่เี ลน่
ละเมดิ สทิ ธิผู้อน่ื และยอมรับในความ  วธิ กี ารรุกและวิธปี ้องกันในการเลน่ กีฬา
แตกต่างระหวา่ งบุคคลในการเล่นเกม ไทยและกีฬาสากลทีเ่ ลน่
และกีฬาไทย กฬี าสากล
 สิทธขิ องตนเองและผอู้ นื่ ในการเลน่ เกมและ

กฬี า

 ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลในการเล่นเกม

และกฬี า

๒๔

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. ๖ ๑. อธิบายประโยชนแ์ ละหลักการ  ประโยชน์และหลักการออกกำลังกายเพือ่

ออกกำลงั กายเพื่อสขุ ภาพ สมรรถภาพ สขุ ภาพ สมรรถภาพทางกายและการสร้างเสรมิ

ทางกายและการสร้างเสริมบุคลกิ ภาพ บุคลิกภาพ

๒. เลน่ เกมทใ่ี ช้ทกั ษะการวางแผน  การเล่นเกมที่ใช้ทักษะการวางแผน

และสามารถเพมิ่ พนู ทกั ษะการออก  การเพมิ่ พูนทกั ษะการออกกำลังกายและ

กำลงั กายและเคลือ่ นไหวอยา่ งเปน็ การเคลอ่ื นไหวอยา่ งเปน็ ระบบ

ระบบ  การเล่นกฬี าประเภทบุคคลและประเภท

๓. เล่นกีฬาท่ีตนเองช่ืนชอบและ ทมี ทช่ี นื่ ชอบ

สามารถประเมนิ ทกั ษะการเลน่ ของตน  การประเมินทกั ษะการเล่นกฬี าของตน
เป็นประจำ
 กฎ กตกิ าในการเลน่ กีฬาไทย กฬี าสากล
๔. ปฏิบัติตามกฎ กตกิ า ตามชนิด ตามชนิดกฬี าทเ่ี ลน่
กีฬาทเี่ ล่น โดยคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั  กลวธิ ีการรกุ การป้องกนั ในการเลน่ กฬี า
ของตนเองและผ้อู ่นื
 การสร้างความสามัคคีและความมนี ำ้ ใจ
๕. จำแนกกลวธิ กี ารรกุ การปอ้ งกนั นกั กีฬาในการเลน่ เกมและกฬี า
และนำไปใช้ในการเลน่ กีฬา

๖. เล่นเกมและกฬี า ด้วยความ

สามคั คแี ละมีน้ำใจนกั กฬี า

๒๕

สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค

มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณค่าและมที ักษะในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การปอ้ งกันโรค

และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. ปฏิบตั ติ นตามหลกั สุขบัญญตั ิ  การปฏบิ ตั ิตนตามหลกั สุขบัญญัติแห่งชาติ

แห่งชาติตามคำแนะนำ  ลักษณะอาการเจ็บปว่ ยท่เี กดิ ข้นึ กับตนเอง

๒. บอกอาการเจบ็ ป่วยท่เี กดิ ขึ้นกับ - ปวดศีรษะ

ตนเอง - ตัวรอ้ น

๓. ปฏิบตั ติ นตามคำแนะนำเม่อื มี - มนี ำ้ มกู

อาการเจ็บป่วย - ปวดทอ้ ง

- ผน่ื คนั (หนังศรี ษะ ผวิ หนงั )

- ฟกชำ้ ฯลฯ

 วิธีปฏบิ ัตติ นเม่ือมีอาการเจ็บป่วยท่ีเกดิ

ข้ึนกบั ตนเอง

ป. ๒ ๑. บอกลกั ษณะของการมีสุขภาพดี  ลักษณะของการมสี ขุ ภาพดี

๒. เลือกกินอาหารทม่ี ีประโยชน์ - รา่ งกายแขง็ แรง

๓. ระบขุ องใช้และของเล่นท่ีมผี ลเสยี - จิตใจ ร่าเรงิ แจ่มใส

ต่อสุขภาพ - มีความสุข

๔. อธิบายอาการและวิธปี อ้ งกันการ - มีความปลอดภัย

เจบ็ ป่วย การบาดเจ็บทอ่ี าจเกิดข้ึน  อาหารทีม่ ีประโยชน์และไมม่ ปี ระโยชน์

๕. ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำเม่อื มอี าการ  ของใช้และของเลน่ ที่มีผลเสยี ตอ่ สุขภาพ

เจ็บป่วยและบาดเจ็บ  อาการและวิธปี อ้ งกนั การเจบ็ ปว่ ย

- ตาแดง ทอ้ งเสีย ฯลฯ

 อาการและวิธีป้องกนั การบาดเจบ็

- ถกู ของมีคม แมลงสัตว์กดั ตอ่ ย หกล้ม ฯลฯ

 วธิ ปี ฏบิ ัติตนเมอ่ื เจ็บปว่ ยและบาดเจ็บ

๒๖

ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป. ๓ ๑. อธิบายการตดิ ตอ่ และวิธกี าร  การติดต่อและวธิ ีการป้องกันการ

ป้องกนั การแพร่กระจายของโรค แพร่กระจายของโรค

๒. จำแนกอาหารหลัก ๕ หมู่  อาหารหลัก ๕ หมู่

๓. เลอื กกนิ อาหารที่หลากหลายครบ  การเลอื กกนิ อาหารทเี่ หมาะสม

๕ หมู่ ในสัดส่วนทีเ่ หมาะสม - ความหลากหลายของชนิดอาหารในแตล่ ะหมู่

๔. แสดงการแปรงฟันใหส้ ะอาดอย่าง - สัดสว่ นและปริมาณของอาหาร (ตามธง

ถูกวธิ ี โภชนาการ)

๕. สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้  การแปรงฟันใหส้ ะอาดอยา่ งถูกวธิ ี

ตามคำแนะนำ (ครอบคลุมบริเวณขอบเหงอื กและคอฟนั )

 การสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายเพือ่

สขุ ภาพ

- วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

- วธิ ีการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพอ่ื สขุ ภาพ

โดยการออกกำลังกาย การพกั ผ่อน และ

กิจกรรมนนั ทนาการ

ป. ๔ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ ง  ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสงิ่ แวดล้อมกับสุขภาพ

ส่ิงแวดล้อมกับสุขภาพ  การจัดสง่ิ แวดล้อมท่ถี กู สขุ ลักษณะและ

๒. อธิบายสภาวะอารมณ์ ความร้สู ึก เออ้ื ตอ่ สุขภาพ

ทม่ี ผี ลต่อสขุ ภาพ  สภาวะอารมณแ์ ละความรู้สกึ เช่นโกรธ

๓. วเิ คราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหารและ หงดุ หงดิ เครียด เกลยี ด เสยี ใจ เศรา้ ใจ

ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพ่อื การเลือกบริโภค วิตกกังวล กลัว กา้ วร้าว อิจฉา ริษยา เบ่ือ

๔. ทดสอบและปรับปรงุ สมรรถภาพ หนา่ ย ท้อแท้ ดใี จ ชอบใจ รกั ช่ืนชม สนุก

ทางกายตามผลการตรวจสอบ สุขสบาย

สมรรถภาพทางกาย  ผลทม่ี ตี อ่ สขุ ภาพ

ทางบวก : สดช่นื ยมิ้ แย้ม แจ่มใส ร่าเริง

ฯลฯ

ทางลบ : ปวดศีรษะ ปวดท้อง

เบอื่ อาหาร อ่อนเพลีย ฯลฯ

๒๗

ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

 การวเิ คราะห์ข้อมลู บนฉลากอาหารและ

ผลติ ภัณฑ์สุขภาพ

 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการ

ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

ป. ๕ ๑. แสดงพฤตกิ รรมทเ่ี ห็นความสำคัญ  ความสำคญั ของการปฏบิ ตั ิตนตามสขุ บญั ญัติ

ของการปฏบิ ัตติ นตามสุขบญั ญัติ แหง่ ชาติ

แห่งชาติ  แหลง่ และวธิ คี น้ หาข้อมูลขา่ วสารทาง

๒. ค้นหาขอ้ มลู ข่าวสารเพอ่ื ใชส้ ร้าง สุขภาพ

เสริมสขุ ภาพ  การใชข้ อ้ มูลขา่ วสารในการสรา้ งเสรมิ

๓. วเิ คราะห์สอ่ื โฆษณาในการ สขุ ภาพ

ตดั สนิ ใจเลอื กซอ้ื อาหาร และผลิตภัณฑ์  การตดั สนิ ใจเลอื กซ้อื อาหารและผลิตภณั ฑ์

สุขภาพอยา่ งมีเหตุผล สขุ ภาพ (อาหาร เคร่อื งสำอาง ผลติ ภัณฑด์ แู ล

๔. ปฏบิ ตั ิตนในการปอ้ งกันโรคทีพ่ บ สุขภาพในช่องปาก ฯลฯ)

บอ่ ยในชวี ติ ประจำวัน การปฏิบตั ติ นในการป้องกันโรคที่พบบอ่ ยใน

๕. ทดสอบและปรบั ปรุงสมรรถภาพ ชีวติ ประจำวัน
ทางกายตามผลการทดสอบ
- ไข้หวัด
สมรรถภาพทางกาย
- ไขเ้ ลอื ดออก

- โรคผวิ หนงั

- ฟันผุและโรคปรทิ นั ต์

ฯลฯ

 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

 การปรบั ปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการ

ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

ป. ๖ ๑. แสดงพฤตกิ รรมในการปอ้ งกัน  ความสำคญั ของสิ่งแวดล้อมทีม่ ีผลตอ่

และแกไ้ ขปัญหาสิง่ แวดล้อมท่ีมีผลต่อ สขุ ภาพ

สขุ ภาพ  ปัญหาของสงิ่ แวดลอ้ มที่มีผลต่อสขุ ภาพ

๒. วิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดจากการ  การปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาสิง่ แวดล้อมทม่ี ี
ระบาดของโรคและเสนอแนวทางการ ผลตอ่ สขุ ภาพ

๒๘

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป้องกันโรคตดิ ต่อสำคญั ทีพ่ บใน  โรคตดิ ต่อสำคญั ท่รี ะบาดในปัจจุบัน

ประเทศไทย  ผลกระทบที่เกิดจากการระบาดของโรค

๓. แสดงพฤติกรรมท่บี ่งบอกถึง  การป้องกันการระบาดของโรค
ความรับผดิ ชอบต่อสขุ ภาพของสว่ นรวม  พฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความรบั ผดิ ชอบตอ่
๔. สรา้ งเสริมและปรบั ปรงุ สขุ ภาพของสว่ นรวม
สมรรถภาพทางกายเพือ่ สขุ ภาพอยา่ ง  วธิ ที ดสอบสมรรถภาพทางกาย
ต่อเน่อื ง  การสรา้ งเสรมิ และปรบั ปรงุ สมรรถภาพทาง

กายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

สาระท่ี ๕ ความปลอดภัยในชีวติ

มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกนั และหลีกเลี่ยงปัจจยั เสีย่ ง พฤตกิ รรมเส่ียงตอ่ สุขภาพ อุบตั เิ หตุ การใชย้ า สาร

เสพตดิ และความรุนแรง

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป. ๑ ๑. ระบุส่งิ ทีท่ ำให้เกิดอนั ตราย  ส่งิ ท่ีทำให้เกิดอนั ตรายภายในบา้ นและ

ทบี่ า้ น โรงเรียน และการปอ้ งกนั โรงเรียน

๒. บอกสาเหตแุ ละการปอ้ งกัน  การปอ้ งกันอันตรายภายในบ้านและ

อนั ตรายทเ่ี กดิ จากการเล่น โรงเรยี น

๓. แสดงคำพดู หรือท่าทางขอความ  อนั ตรายจากการเลน่
ชว่ ยเหลอื จากผู้อืน่ เม่อื เกดิ เหตรุ ้ายท่ี - สาเหตุทท่ี ำให้เกิดอันตรายจากการเลน่
บ้านและโรงเรียน - การป้องกนั อันตรายจากการเล่น

 การขอความช่วยเหลือเมอ่ื เกดิ เหตุรา้ ยทีบ่ า้ น

และโรงเรียน

- บุคคลทคี่ วรขอความชว่ ยเหลอื

- คำพดู และท่าทางการขอความช่วยเหลือ

๒๙

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป. ๒ ๑. ปฏิบัติตนในการป้องกนั อบุ ัติเหตุ  อุบัตเิ หตุทางนำ้ และทางบก
ท่ีอาจเกดิ ข้นึ ทางนำ้ และทางบก - สาเหตุของอุบตั ิเหตุทางน้ำและทางบก
ป. ๓ ๒. บอกชอื่ ยาสามัญประจำบ้าน - วธิ กี ารปอ้ งกนั อบุ ัตเิ หตทุ างน้ำและทางบก
ป. ๔ และใชย้ าตามคำแนะนำ  ยาสามญั ประจำบ้าน
๓. ระบุโทษของสารเสพติด สาร - ชื่อยาสามัญประจำบ้าน
อนั ตรายใกล้ตัวและวธิ ีการป้องกนั - การใชย้ าตามความจำเป็นและลกั ษณะอาการ
๔. ปฏบิ ตั ิตนตามสัญลกั ษณแ์ ละปา้ ย  สารเสพติดและสารอันตรายใกลต้ วั
เตือนของสง่ิ ของหรอื สถานทท่ี เี่ ป็น - โทษของสารเสพติด และสารอันตรายใกล้ตัว
อนั ตราย - วิธีป้องกนั
๕. อธบิ ายสาเหตุ อนั ตราย วธิ ี  สญั ลกั ษณ์และปา้ ยเตือนของสิง่ ของหรือ
ป้องกนั อคั คภี ัยและแสดงการหนีไฟ สถานทีท่ ี่เปน็ อนั ตราย
- ความหมายของสญั ลกั ษณ์และป้ายเตอื น
๑. ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจาก  อคั คีภัย
อุบตั เิ หตุในบ้าน โรงเรียน และการ - สาเหตุของการเกิดอัคคภี ยั
เดินทาง - อนั ตรายซ่ึงไดร้ ับจากการเกิดอัคคีภยั
๒. แสดงวธิ ขี อความชว่ ยเหลือจาก - การป้องกันอัคคภี ัย และการหนีไฟ
บคุ คลและแหลง่ ตา่ ง ๆ เม่ือเกิด  วิธีปฏิบัติตนเพอ่ื ความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุ
เหตรุ ้าย หรอื อุบัตเิ หตุ ในบา้ น โรงเรยี นและการเดินทาง
๓. แสดงวธิ ปี ฐมพยาบาล เมอ่ื  การขอความช่วยเหลือจากบคุ คลและแหลง่
บาดเจ็บจากการเล่น ตา่ งๆ เมอื่ เกดิ เหตุร้ายหรืออบุ ัติเหตุ
๑. อธบิ ายความสำคญั ของการใชย้ า  การบาดเจ็บจากการเล่น
และใชย้ าอยา่ งถกู วธิ ี - ลกั ษณะของการบาดเจ็บ
๒. แสดงวิธปี ฐมพยาบาลเม่ือได้รบั - วิธปี ฐมพยาบาล (บาดเจบ็ ห้ามเลือด ฯลฯ)
อนั ตรายจากการใชย้ าผดิ สารเคมี
แมลงสัตวก์ ัดตอ่ ย และการบาดเจ็บ  ความสำคัญของการใชย้ า
จากการเล่นกีฬา  หลกั การใชย้ า
 วิธีปฐมพยาบาล
- การใช้ยาผิด
- สารเคมี
- แมลงสัตว์กดั ตอ่ ย

๓๐

ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

๓. วิเคราะหผ์ ลเสยี ของการสบู บุหร่ี - การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา

และการดื่มสรุ า ทม่ี ตี อ่ สุขภาพและการ  ผลเสยี ของการสูบบุหรี่ การด่มื สุรา และ

ป้องกนั การปอ้ งกนั

ป. ๕ ๑. วิเคราะหป์ จั จยั ทีม่ ีอิทธพิ ลต่อการ  ปจั จัยที่มอี ทิ ธิพลต่อการใช้สารเสพตดิ (สุรา

ใช้สารเสพติด บหุ รี่ ยาบา้ สารระเหย ฯลฯ)

๒. วิเคราะหผ์ ลกระทบของการใชย้ า - ครอบครวั สังคม เพ่ือน

และสารเสพติด ที่มีผลตอ่ ร่างกาย - ค่านิยม ความเช่ือ

จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา - ปัญหาสขุ ภาพ

๓. ปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื ความปลอดภยั จาก - สอ่ื ฯลฯ

การใช้ยาและหลีกเลยี่ งสารเสพติด  ผลกระทบของการใชย้ า และสารเสพติดทม่ี ี

๔. วิเคราะห์อิทธิพลของส่อื ทม่ี ีตอ่ ตอ่ รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ

พฤตกิ รรมสขุ ภาพ สตปิ ัญญา

๕. ปฏิบัตติ นเพอื่ ป้องกันอันตราย  การปฏบิ ัตติ นเพอ่ื ความปลอดภยั จาก

จากการเลน่ กฬี า การใช้ยา

 การหลีกเลย่ี งสารเสพตดิ

 อิทธพิ ลของส่ือท่ีมีต่อพฤติกรรม สุขภาพ

(อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ)

 การปฏบิ ัติเพ่ือป้องกนั อนั ตรายจากการ

เล่นกีฬา

ป. ๖ ๑. วเิ คราะหผ์ ลกระทบจากความ  ภยั ธรรมชาติ

รนุ แรงของภยั ธรรมชาติทีม่ ตี ่อร่างกาย - ลักษณะของภยั ธรรมชาติ

จติ ใจ และสังคม - ผลกระทบจากความรนุ แรงของภยั ธรรมชาติ

๒. ระบุวิธปี ฏบิ ตั ติ น เพื่อความ ที่มตี ่อร่างกาย จิตใจ และสังคม

ปลอดภัยจากธรรมชาติ  การปฏบิ ตั ติ นเพื่อความปลอดภัยจากภยั

๓. วิเคราะห์สาเหตุของการตดิ สารเสพตดิ ธรรมชาติ

และชักชวนให้ผู้อนื่ หลีกเลี่ยงสารเสพตดิ  สาเหตขุ องการตดิ สารเสพติด

 ทักษะการสอื่ สารให้ผูอ้ ื่นหลกี เลี่ยงสารเสพติด

๓๑

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๖๓ได้

กำหนดโครงสรา้ งของหลกั สูตรสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกบั นโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา กิจกรรมการ
เรียนรู้ กิจกรรมในนอกห้องเรียน กิจกรรมนอกห้องเรียน และกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อให้
ผสู้ อน และผ้ทู ีเ่ กี่ยวขอ้ งในการจดั การเรยี นร้ตู ามหลกั สตู รของสถานศึกษามแี นวปฏบิ ตั ิ ดังนี้

๑. ระดับการศึกษากำหนดหลักสูตรเป็น ๑ ระดับ ตามโครงสร้างของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามภารกิจหลักของการจัดการเรียนการสอน ใน
ระดับประถมศกึ ษาของสถานศกึ ษา คอื

๑.๑ ระดับประถมศึกษา ( ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ) การศึกษาระดับนี้เป็น
ช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ จึงมุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ
ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์
การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ
วฒั นธรรม โดยเน้นจัดการเรียนร้แู บบบรู ณาการ

๒. รายวิชารายวิชาในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนอนุบาลตาก
พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ได้กำหนดไว้ในหลกั สูตร ประกอบดว้ ยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้
และคณุ ลกั ษณะหรือคา่ นยิ ม คุณธรรม จริยธรรมของผเู้ รียน ๘ กล่มุ คือ

๒.๑ ภาษาไทย
๒.๒ คณติ ศาสตร์
๒.๓ วทิ ยาศาสตร์
๒.๔ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๒.๕ สขุ ศึกษาและพลศึกษา
๒.๖ ศิลปะ
๒.๗ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๒.๘ ภาษาตา่ งประเทศ
รายวชิ าเพิม่ เติม (จดุ เน้น) คอื
- คอมพิวเตอร์
- หน้าท่พี ลเมอื ง
- ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร
- ปอ้ งกนั การทจุ ริต
- IS

๓๒

๓. กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาได้ให้ผู้เรียนในทุก
ระดับชั้นการศึกษาได้พัฒนาความสามารถของตนเองตามความถนัดและความสนใจให้เต็มศักยภาพ
โดยมุ่งเน้นการพฒั นาองค์รวมของความเป็นมนุษย์ทั้งด้านรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม
การจัดกิจกรรมพัฒนา“ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้”โดยรวมของสถานศึกษา มีการดำเนินการอย่างมี
เปา้ หมายชดั เจน มีรูปแบบ และวิธกี ารท่ีครูท่ีปรกึ ษากจิ กรรมและผเู้ รยี นร่วมกนั กำหนด ผ้เู รียนต้อง
ผ่านเกณฑก์ ารประเมินกิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้”ตามที่สถานศกึ ษากำหนด จงึ จะผ่านเกณฑ์
การประเมินระดับช้ัน

๓.๑ กจิ กรรมแนะแนว เป็นกจิ กรรมท่สี ่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียน
ให้เหมาะสมตามความแตกตา่ งระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตนเสริมสรา้ ง
ทักษะชีวิต วุฒภิ าวะทางอารมณ์ การเรยี นรู้ในเชงิ พหุปัญญา และการสรา้ งสัมพนั ธภาพที่ดี ซ่ึงครู
ทุกคนต้องทำหน้าที่แนะแนวให้คำปรึกษาด้านชีวิต การศึกษาต่อและการพัฒนาตนเองสู่โลกอาชพี
และการมีงานทำ

๓.๒ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น เปน็ กิจกรรมที่ผเู้ รยี นเป็นผ้ปู ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองอย่างครบ
วงจรตั้งแต่ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทำงาน โดยเน้น
การทำงานร่วมกนั อยา่ งเป็นกลุ่ม ไดแ้ ก่ โครงงาน กิจกรรมตามความสนใจชุมนมุ วิชาการ กิจกรรม
พฒั นานิสัยรักการอา่ น การคิด วิเคราะห์ และเขียน กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ลกู เสอื -ยวุ กาชาด
และผู้บำเพ็ญประโยชน์ และกจิ กรรมพฒั นาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้เู รียน

๓.๓ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชนต์ ่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพอื่
แสดงถึงความรับผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสา
พัฒนาตา่ งๆ กจิ กรรมสร้างสรรคส์ ังคม

๓.๔ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้เป็นกิจกรรมพัฒนาความสามารถ
ด้านการส่ือสารพัฒนาความสามารถด้านการคดิ และการพัฒนากรอบความคดิ แบบเปิดกว้าง (Growth
Mindset) พัฒนาความสามารถด้านการแก้ปัญหาพัฒนาความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยีและ
พฒั นาทักษะการเรยี นรูท้ ส่ี ่งเสริมการเรียนรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ ชน่ กจิ กรรมเสรมิ สร้างทักษะด้าน
การสอื่ สารภาษาองั กฤษ ภาษาจีน ทกั ษะดา้ นการใช้เทคโนโลยี ทักษะดา้ นการคดิ วิเคราะห์และเขียน
โดยใช้กระบวน STEM และการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (IS) เปน็ ตน้

๓.๕ กจิ กรรมสร้างเสรมิ คณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมเป็นกจิ กรรมีท่ีปลกู ฝังคา่ นิยมและ
จิตสานึกการทำประโยชน์ต่อสังคมมีจิตสาธารณะและการให้บริการด้านต่างๆทัง้ ทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อ
ตนเองและต่อส่วนรวมปลูกฝังความรักชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
(มีวินัยซื่อสัตย์สุจริตเสียสละอดทนมุ่งมั่นในการทางานกตัญญู) ปลูกฝังความรักความภาคภูมิใจใน

๓๓

ความเป็นไทยและหวงแหนสมบัติของชาติเช่น กิจกรรมเข้าแถมตอนเช้า กิจกรรมปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรม กิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมหนูน้อยตามรอยวิถีพุทธ กิจกรรมทำบุญตักบาตรวันพระ
เป็นตน้

๓.๖ กจิ กรรมสร้างเสริมทกั ษะการทำงานการดำรงชีพและทักษะชวี ติ เป็นกิจกรรมท่ี
ตอบสนองความสนใจความถนดั และความตอ้ งการของผู้เรียนตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคลฝึกการ
ทางานทักษะทางอาชีพทรัพย์สินทางปัญญาอยู่อย่างพอเพียงและมีวินัยทางการเงินพัฒนา
ความสามารถด้านการใชท้ ักษะชีวิตและการสร้างเสริมสมรรถนะทางกาย เชน่ ชมรมห้องเรียนสีเขียว
ชมรมดนตรไี ทย ดนตรีสากล ชมรมนาฏศิลป์ เปน็ ต้น

๔. เวลาเรียน หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนุบาลตาก พทุ ธศกั ราช
๒๕๖๐ ได้กำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรียนข้นั ตำ่ สำหรับกลุม่ รายวิชา ๘ กลมุ่ และกจิ กรรม “ลดเวลา
เรยี น เพมิ่ เวลารู้” ซ่ึงผสู้ อนสามารถเพม่ิ เติมไดต้ ามความพร้อมและจุดเน้นของสถานศกึ ษา โดยสามารถ
ปรับใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสภาพของผเู้ รยี น ดังน้ี

๓๔

โครงสรา้ งเวลาเรยี น
โครงสรา้ งเวลาเรียนหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

๓๕

๓๖

๓๗

โครงสร้างรายวชิ า

พ.๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๑ รายวิชาพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั

(ชั่วโมง) คะแนน

๑.เรยี นรตู้ วั เรา พ.๑.๑ ป.๑/๑ ,ป.๑/๒ ๑.อวัยวะภายนอก ๑๑ ๑๔
๙ ๑๒
๒.ชีวิตและ พ.๒.๑ ป.๑/๑- ป.๑/๓ ๑.ครอบครัว
ครอบครวั ๒.การเขา้ ใจตนเอง
๓.เพศชาย เพศหญงิ

๓.เพิม่ พนู ทักษะ พ.๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒ ๑.ธรรมชาตขิ องการเคลือ่ นไหว ๓๐ ๔๐
การเคล่อื นไหว พ.๓.๒ ป.๑/๑,ป๑/๒ รา่ งกาย

๒.กิจกรรมทางกายและเกม

๔..ใส่ใจสขุ ภาพ พ.๔.๑ ป.๑/๑-ป.๑/๓ ๑.สุขบัญญตั ิแห่งชาติ ๑๔ ๑๘
๒.การดูแลรักษาความสะอาด
ร่างกายและของใช้
๓.การเจบ็ ปว่ ย

๕.ชวี ิตปลอดภัย พ.๕/๑ ป.๑/๑- ป.๑/๓ ๑.อันตรายภายในบา้ นและ ๑๒ ๑๖

โรงเรยี น

๒.อันตรายที่เกิดจากการเล่น

๓.การขอความช่วยเหลือเมือ่

ได้รบั อันตราย

๓๘

โครงสรา้ งรายวิชา

พ.๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๒ รายวชิ าพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั

(ชัว่ โมง) คะแนน

๑.เรียนร้ตู วั เรา พ.๑.๑ ป.๒/๑ -ป.๒/๓ ๑.อวยั วะภายใน ๑๑ ๑๔
พ.๒.๑ ป.๒/๑- ป.๒/๔ ๒.ธรรมชาติของชวี ติ มนษุ ย์ ๑๑ ๑๔
๒.ชีวติ และ ๑.ครอบครวั ของเรา
ครอบครัว พ.๓.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒ ๒.เพอื่ น ๓๐ ๔๐
พ.๓.๒ ป.๒/๑,ป๒/๒ ๓.พฤติกรรมทเี่ หมาะสมกบั เพศ
๓.เพม่ิ พนู ทกั ษะ ๔.ความภาคภมู ใิ จในเพศของตน
การเคลือ่ นไหว ๑.การเคล่อื นไหวรา่ งกาย
๒.กิจกรรมทางกายและเกม
๓.การออกกำลังกาย

๔..ใสใ่ จสุขภาพ พ.๔.๑ ป.๒/๑-ป.๒/๕ ๑.สขุ ภาพดี ๑๒ ๑๖
๒.อาหารทมี่ ีประโยชน์
๓.ของเลน่ และของใช้
๔.การป้องกนั การเจบ็ ปว่ ย

๕.ชวี ติ ปลอดภยั พ.๕/๑ ป.๒/๑- ป.๒/๕ ๑.อุบตั ิภยั ทางบอกและทางน้ำ ๑๒ ๑๖
๒.ยาสามญั ประจำบา้ น
๓.สารเสพตดิ และสารอนั ตราย
๔.เคร่ืองหมายเตือนอันตราย
๕.การป้องกันอคั คภี ยั

๓๙

โครงสร้างรายวิชา

พ.๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๓ รายวิชาพ้ืนฐาน กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก
(ชัว่ โมง) คะแนน

๑.เรยี นรตู้ วั เรา พ.๑.๑ ป.๔/๑ -ป.๔/๓ ๑.การเจรญิ เตบิ โต ๔๔

๒.ชวี ติ และ พ.๒.๑ ป.๔/๑- ป.๔/๓ ๑.ลักษณะและความแตกต่าง ๑๐ ๑๔
ครอบครัว ของครอบครวั ไทย
๒.การสร้างสัมพันธภาพ
๓.การป้องกันการถกู ลว่ งละเมดิ
ทางเพศ

๓.เพ่มิ พนู ทักษะ พ.๓.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๔ ๑.ควบคมุ การเคลื่อนไหวรา่ งกาย ๓๐ ๔๐
การเคลอ่ื นไหว พ.๓.๒ ป.๔/๑,ป๔/๒ ๒.การเล่นเกม ๒๖

๓.การละเล่นพื้นเมอื ง ๑๖

๔..ใสใ่ จสขุ ภาพ พ.๔.๑ ป.๔/๑-ป.๔/๔ ๑.การปอ้ งกนั โรค ๑๙
๕.ชวี ิตปลอดภยั ๒.อาหารหลกั ๕หมู่ ๑๓
๓.การกนิ อาหารตามธง
โภชนาการ
๔.การแปรงฟนั อย่างถกู วธิ ี
๕.การสรา้ งเสริมสมรรถภาพทาง
กาย

พ.๕/๑ ป.๔/๑- ป.๔/๓ ๑.อุบัติเหตุในบ้าน โรงเรยี น และ
การเดนิ ทาง
๒.การขอความชว่ ยเหลือเมื่อเกิด
อุบตั เิ หตุ
๓.การปฐมพยาบาล

๔๐

โครงสร้างรายวิชา

พ.๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔ รายวชิ าพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั
คะแนน
ตวั ชว้ี ัด (ชั่วโมง)
๑๔
๑.เรยี นรู้ตวั เรา พ.๑.๑ ป.๔/ ๑.การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการตาม ๑๐ ๑๔

๑ -ป.๔/๓ วยั ๔๐

๒.กลา้ มเนอ้ื ๑๘

๓.กระดกู และข้อ ๑๔

๒.ชีวิตและ พ.๒.๑ ป.๔/ ๑.การเป็นเพือ่ นและสมาชิกท่ีดีของ ๑๐

ครอบครัว ๑- ป.๔/๓ ครอบครัว

๒.พฤตกิ รรมทางเพศท่เี หมาะสมตาม

วัฒนธรรมไทย

๓.การปฏเิ สธการกระทำทเี่ ป็น

อนั ตรายและไมเ่ หมาะสมในเร่อื งเพศ

๓.เพิม่ พนู ทกั ษะ พ.๓.๑ ป.๔/ ๑.การเคลือ่ นไหวรา่ งกายแบบ ๓๐

การเคลอื่ นไหว ๑,ป.๔/๔ ผสมผสาน

พ.๓.๒ ป.๔/ ๒.การบริหารประกอบดนตรี

๑,ป๔/๒ ๓.เกมเลยี นแบบและกิจกรรมแบบ

ผลดั

๔.กจิ กรรมยดื หยุ่น

๕.กฬี าแฮนด์บอล

๔..ใสใ่ จสขุ ภาพ พ.๔.๑ ป.๔/ ๑.สง่ิ แวดล้อมกับสุขภาพ ๑๔

๑-ป.๔/๔ ๒.อารมณ์กับสขุ ภาพ

๓.ฉลากอาหารและผลิตภณั ฑส์ ุขภาพ

๔.การทดสอบ ปรับปรุงและสร้าง

เสรมิ สมรรถภาพทางกาย

๕.ชีวติ ปลอดภยั พ.๕/๑ ป.๔/ ๑.ยา ๑๒

๑- ป.๔/๓ ๒.การปฐมพยาบาล

๓.บหุ รแ่ี ละสุรา

๔๑

โครงสรา้ งรายวชิ า
พ.๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๕ รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนกั
คะแนน
ตัวชี้วัด (ช่วั โมง)

๑.เรยี นรู้ตัวเรา พ.๑.๑ ป.๕/ ๑.ระบบต่างๆของร่างกาย ๔ ๘
๔๐
๑ -ป.๕/๒
๓๖
๒.ชวี ติ และ พ.๒.๑ ป.๕/ ๑.การพัฒนาการทางเพศ ๖

ครอบครวั ๑- ป.๕/๓ ๒.ครอบครัวอบอนุ่

๓.การปัญหาความขดั แย้ง

๓.เพ่ิมพูนทกั ษะ พ.๓.๑ ป.๕/ ๑.การเคลื่อนไหวรา่ งกายกับ ๓๐

การเคลื่อนไหว ๑-ป.๕/๖ วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า

พ.๓.๒ ป.๕/ ๒.เกมนำไปสู่กีฬาและกจิ กรรมแบบ

๑,ป๕/๔ ผลดั

๓.กีฬา

-กรีฑาประเภทลู่

-ฟุตบอล

-มวยไทย

-ตะกรอ้ วง

๔.กิจกรรมนนั ทนาการ

๔..ใสใ่ จสุขภาพ พ.๔.๑ ป.๕/ ๑.การปฏิบตั ติ ามสุขบญั ญัติแหง่ ชาติ ๒๗

๑-ป.๕/๕ ๒.ข้อมูลขา่ วสารสขุ ภาพ

๓.สอ่ื โฆษณากบั อาหารและผลิตภณั ฑ์

สุขภาพ

๔.การดแู ลตนเองเบื้องตน้ เมือ่ เจ็บปว่ ย

๕.การสรา้ งเสรมิ และปรับปรงุ

สมรรถภาพทางกาย

๔๒

๕.ชีวติ ปลอดภยั พ.๕/๑ ป.๕/ ๑.ยาและสารเสพติด ๙ ๑๒
๑- ป.๕/๕ ๒.อิทธิพลของสือ่ ท่ีมตี ่อพฤตกิ รรม เวลา ๘๐ ชัว่ โมง
สุขภาพ
๓.การปอ้ งกนั อันตรายจากการเลน่
กฬี า

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕

๔๓

โครงสรา้ งรายวิชา
พ.๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๕ รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้สู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก
ตวั ชวี้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน

๔๔

๑.เรียนร้ตู วั เรา พ.๑.๑ ป.๖/๑ - ๑.ระบบตา่ งๆของรา่ งกาย ๑๑ ๑๔
ป.๖/๒ ๑๑ ๑๔
๒.ชวี ติ และ ๔๐
ครอบครวั พ.๒.๑ ป.๖/๑- ๑.การสรา้ งความสัมพันธก์ บั ผูอ้ น่ื
ป.๖/๒ ๒.พฤตกิ รรมเสี่ยงทางเพศ ๒๖

๓.เพ่ิมพนู ทกั ษะ พ.๓.๑ ป.๖/๑- ๑.กจิ กรรมเข้าจงั หวะ ๓๐
การเคลือ่ นไหว ป.๖/๕ ๒.กีฬา
๑๙
๔..ใสใ่ จสุขภาพ พ.๓.๒ ป.๖/ -กระโดดสูง ๕
๕.ชวี ติ ปลอดภยั ๑,ป.๖/๖ -เซปกั ตะกร้อ

-วอลเลย่ บ์ อล
-กระบี่
๓.การสรา้ งเสรมิ และปรบั ปรุง
สมรรถภาพทางกลไก
๔.กจิ กรรมนันทนาการ
พ.๔.๑ ป.๖/๑- ๑.สง่ิ แวดล้อมกับสุขภาพ
ป.๖/๔ ๒.โรคตดิ ตอ่ สำคญั ทพี่ บในประเทศ
ไทย
๓.ความรับผิดชอบในสุขภาพของ
ตนและสว่ นรวม
พ.๕/๑ ป.๖/๑- ๑.ภัยธรรมชาติ
ป.๖/๓ ๒.การป้องกันสารเสพตดิ

ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๘๐ ช่วั โมง

๔๕

บทที่ ๒

คำอธิบายรายวชิ า

กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐานชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ พ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา

กล่มุ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา เวลาเรียน ๔๐ ช่วั โมงตอ่ ปี

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษา อธิบาย ลักษณะ หน้าที่ และวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอก ระบุสมาชิกในครอบครัว

และความรักความผูกพันที่มีต่อกัน บอกสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในตนเอง ลักษณะความแตกต่าง
ระหว่างเพศชายและเพศหญิง ทักษะในการเคลือ่ นไหวร่างกายขณะอยูก่ บั ที่ เคลื่อนที่และใชอ้ ุปกรณ์
ประกอบ เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย ออกกำลังกาย เล่นเกมและปฏิบัติตามกฎ
กตกิ า และข้อตกลงในการเลน่ ไดอ้ ยา่ งสนกุ สนาน ปฏิบัตติ นตามหลกั สขุ บญั ญัตแิ หง่ ชาติ บอกลักษณะ
และวิธปี ฏิบตั ิตนเม่อื มีอาการเจ็บป่วยกบั ตนเอง ระบสุ ่งิ ทท่ี ำใหเ้ กิดอันตรายและการป้องกันอุบัติเหตุ
ภายในบา้ นและโรงเรยี น อันตรายจากการเล่นและการขอความช่วยเหลอื เม่อื เกดิ เหตรุ า้ ย

เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา มีทกั ษะในการดำเนินชวี ิต รักการออกกำลังกาย
การเล่นเกม กีฬา ปฏิบัติเปน็ ประจำอย่างสม่ำเสมอ มีวินยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ำใจเป็นนักกีฬา
มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน ชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา และการสร้างเสริมสุขภาพและการ
ดำรงสุขภาพอยา่ งย่ังยืน

การละเลน่ ในทอ้ งถิน่ พระพุทธบาท และกีฬาพ้นื บ้าน

รหสั ตวั ช้ีวดั
พ ๑.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒
พ ๒.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓
พ ๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒
พ ๓.๒ ป.๑/๑,ป.๑/๒
พ ๔.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓
พ ๕.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓
รวม ๑๕ ตัวชี้วดั

๔๖

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐานชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ พ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
กล่มุ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมงต่อปี

คำอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษา อธิบาย ลกั ษณะ หนา้ ท่ี และวิธดี แู ลรกั ษาอวัยวะภายใน ธรรมชาติของชวี ิตมนุษย์ ระ

บุบบทบาทหน้าที่ของตนเองและสมาชิกในครอบครัว บอกความสำคัญของเพื่อน พฤติกรรมท่ี
เหมาะสมกับเพศ ความภาคภูมิใจในความเป็นเพศหญิงหรือเพศชาย ทักษะในการควบคุมการ
เคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วม
กิจกรรมทางกายที่วิธีเลน่ อาศัยการเคล่ือนไหวรา่ งกายแบบต่าง ๆ ออกกำลังกาย เล่นเกมและปฏบิ ัติ
ตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่นเป็นกลุ่มได้อย่างสนุกสนาน บอกลักษณะของการมีสุขภาพดี
เลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ ของใช้และของเล่นที่มีผลเสียต่อสุขภาพ อาการและวิธีป้องกันและ
ปฏิบัตติ ามคำแนะนำเม่ือมีอาการเจ็บปว่ ยและการบาดเจ็บ ปฏบิ ัตติ นในการป้องกัน อุบัติเหตุทางน้ำ
และทางบก บอกช่ือยาสามญั ประจำบ้านและใช้ยาตามคำแนะนำ ระบโุ ทษและวิธีป้องกันสารเสพติด
สารอันตรายใกล้ตัว ปฏิบัตติ นตามสญั ลักษณ์ ปา้ ยเตือนของส่งิ ของหรอื สถานที่ท่เี ปน็ อนั ตราย อธิบาย
สาเหตุ อนั ตราย วิธีปอ้ งกนั อคั คีภัยและแสดงการหนีไฟ

เหน็ คุณคา่ ของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทกั ษะในการดำเนนิ ชีวิต รักการออกกำลังกาย
การเล่นเกม การเลน่ กีฬา ปฏิบัตเิ ป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ มวี ินยั เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มีน้ำใจเป็น
นักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา เห็นคุณค่าในการสร้าง
เสริมสขุ ภาพและการดำรงสุขภาพอยา่ งยงั่ ยนื

การละเลน่ ในทอ้ งถ่นิ พระพทุ ธบาท และกีฬาพื้นบ้าน
รหัสตัวช้ีวดั
พ ๑.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓
พ ๒.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔
พ ๓.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒
พ ๓.๒ ป.๒/๑,ป.๒/๒
พ ๔.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕

๔๗

พ ๕.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕
รวม ๒๑ ตวั ชีวดั

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐานชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ พ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา
กลุม่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา เวลาเรยี น ๔๐ ชัว่ โมงต่อปี

คำอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษา อธิบาย เปรียบเทียบ ระบุ ลักษณะและการเจริญเติบโตของร่างกาย การเจริญเติบโต

ของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ความสำคัญและความแตกต่างของ
ครอบครัว วิธสี รา้ งสัมพนั ธภาพในครอบครัวและกลมุ่ เพื่อน วิธีหลกี เล่ียงพฤตกิ รรมทีน่ ำไปสูก่ ารถกู ลว่ ง
ละเมิดทางเพศ ทักษะควบคุมการเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะอยกู่ บั ที่ เคล่อื นท่แี ละใช้อปุ กรณ์ประกอบ
อยา่ งมีทศิ ทางและแบบบงั คบั ทิศทางในการเล่นเกมเบ็ดเตลด็ เลือกออกกำลังกายการละเล่นพ้ืนเมือง
เล่นเกม และปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลงได้เหมาะสมกับตนเอง อธิบายการติดตอ่ และวิธีการ
ป้องกันการแพร่กระจายของโรค อาหารหลัก ๕ หมู่ เลือกกินอาหารที่หลากหลายครบ ๕ หมู่ ใน
สัดส่วนท่เี หมาะสม การแปรงฟันใหส้ ะอาดอย่างถูกวธิ ี สรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายได้ตามคำแนะนำ
ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัย จากอุบัติเหตุในบ้าน โรงเรียน และการเดินทาง แสดงวิธีขอความ
ช่วยเหลือจากบุคคลและแหล่งต่างๆ เมื่อเกิดเหตุร้าย หรืออุบัติเหตุ แสดงวิธีการปฐมพยาบาล เม่ือ
บาดเจบ็ จากการเลน่

เห็นคณุ ค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มที กั ษะในการดำเนินชีวิต รักการออกกำลังกาย
การเล่นเกม การเล่นกีฬา ปฏบิ ตั เิ ป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ำใจเป็น
นักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา เห็นคุณค่าในการสร้าง
เสริมสขุ ภาพและการดำรงสขุ ภาพอยา่ งย่งั ยนื

การละเลน่ ในท้องถ่ินพระพุทธบาท และกฬี าพืน้ บ้าน
รหสั ตวั ชี้วดั
พ ๑.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓
พ ๒.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓
พ ๓.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒
พ ๓.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒
พ ๔.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕


Click to View FlipBook Version