The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mimm.jewpanya, 2021-05-27 06:25:10

หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา

ปี2564

๔๘

พ ๕.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓
รวม ๑๘ ตวั ชี้วดั

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐานชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ พ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา เวลาเรยี น ๔๐ ช่วั โมงต่อปี

คำอธิบายรายวชิ า
ศึกษา อธิบาย การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกายและจิตใจตามวัย ความสำคัญ

และวิธีดแู ลรักษากล้ามเนอ้ื กระดกู และขอ้ ของร่างกาย คุณลักษณะของความเปน็ เพือ่ นและสมาชิกท่ี
ดีในครอบครัว แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ และวิธีปฏิเสธการกระทำที่เป็นอันตรายและไม่
เหมาะสมในเรื่องเพศ ทักษะควบคุมตนเองในการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสาน กายบริหารทา่
มือเปล่าประกอบจังหวะ เล่นเกมเลียนแบบ กิจกรรมแบบผลัดและกีฬาพื้นฐาน วิเคราะห์ผลการ
พฒั นาและคณุ ค่าของการออกกำลงั กาย เลน่ เกม กีฬาพื้นฐาน ปฏบิ ัตติ ามกฎ กติกา และข้อตกลงใน
การเล่นเกมและกฬี า อธิบายความสมั พันธ์ระหว่างสิง่ แวดล้อมกับสขุ ภาพ สภาวะอารมณค์ วามรู้สึกท่ีมี
ผลต่อสุขภาพ วเิ คราะห์ข้อมลู บนฉลากอาหารและผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพเพือ่ การเลือกบรโิ ภค ทดสอบและ
ปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกายตามผลการตรวจสอบสมรรถภาพทางกาย อธิบายความสำคญั ของการใช้
ยาและใช้ยาอย่างถกู วิธี แสดงวธิ ปี ฐมพยาบาลเมอ่ื ไดร้ ับอันตรายจากการใช้ยาผิด สารเคมี แมลงสัตว์
กดั ต่อย และการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ผลเสยี ของการสูบบุหร่ีและการดื่มสรุ า ที่มีต่อสุขภาพและ
การป้องกนั

เห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา มที กั ษะในการดำเนินชีวิต รกั การออกกำลังกาย
การเลน่ เกม การเล่นกฬี า ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจำอย่างสม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีน้ำใจเป็น
นักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา เห็นคุณค่าในการสร้าง
เสรมิ สขุ ภาพและการดำรงสขุ ภาพอย่างย่งั ยนื

กีฬาพน้ื บา้ นในทอ้ งถ่ิน และการละเล่นพื้นบา้ น
รหสั ตัวช้ีวดั
พ ๑.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓
พ ๒.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓
พ ๓.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔
พ ๓.๒ ป.๔/๑,ป.๔/๒

๔๙

พ ๔.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔
พ ๕.๑ ป.๔/๑,ป๔./๒,ป.๔/๓
รวม ๑๙ ตัวชี้วดั

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐานชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ พ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมงต่อปี

คำอธบิ ายรายวิชา

ศึกษา อธิบาย ความสำคัญและวิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย การ

เปลี่ยนแปลงทางเพศ การวางตัวที่เหมาะสมกับเพศ ลักษณะของครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรม

ไทย พฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงคแ์ ละไม่พึงประสงค์ในการแกป้ ัญหาความขัดแย้งในครอบครวั ทกั ษะการ

จัดรูปแบบและควบคุมตนเองในการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและแบบผลัดในการเล่มเกมนำไปสู่

กีฬาที่เลือก ออกกำลังกายและเล่นเกมอย่างมีรูปแบบ ใช้ทักษะการคิดและตัดสินใจในการเล่นเกม

กีฬาไทย และกีฬาสากล มีน้ำใจนักกีฬา ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเอง ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น และ

ยอมรับในความแตกตา่ งระหว่างบุคคล แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏบิ ัติตนตามสุข

บัญญัติแห่งชาติ ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริมสุขภาพ วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสินใจ

เลือกซื้ออาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน

ทดสอบและปรับปรงุ สมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ปจั จัยทีม่ อี ิทธิพลต่อ

การใช้สารเสพติด ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด ที่มีผลต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม

และสตปิ ญั ญา ปฏบิ ัติตนเพื่อความปลอดภยั จากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงสารเสพติด วิเคราะห์อิทธิพล

ของสอื่ ที่มตี อ่ พฤติกรรมสุขภาพ ปฏบิ ตั ติ นเพ่ือปอ้ งกันอนั ตรายจากการเลน่ กฬี า

เห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดำเนินชีวิต รักการออกกำลงั

กาย การเล่นเกม การเล่นกีฬา ปฏิบัติเปน็ ประจำอยา่ งสม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา

มีน้ำใจเปน็ นกั กีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสนุ ทรยี ภาพของการกีฬา เห็นคุณค่า

ในการสร้างเสริมสขุ ภาพและการดำรงสุขภาพอยา่ งยัง่ ยืน

กีฬาพื้นบา้ นในท้องถ่ิน และการละเลน่ พนื้ บ้าน

รหสั ตวั ช้ีวัด

พ ๑.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒

พ ๒.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓

พ ๓.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖

พ ๓.๒ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔

๕๐

พ ๔.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕
พ ๕.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕
รวม ๒๕ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐานชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ พ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา

กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมงต่อปี

คำอธบิ ายรายวิชา

ศึกษา อธิบาย ความสำคัญและวิธีดูแลรักษาระบบอวัยวะสืบพันธ์ ระบบไหลเวียนโลหิต

และระบบหายใจ ความสำคัญของการสรา้ งและรกั ษาสมั พนั ธภาพกับผู้อนื่ วเิ คราะห์พฤตกิ รรมเสี่ยงท่ี

อาจนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์และการตัง้ ครรภ์ก่อนวัยอนั ควร การติดเชือ้ เอดส์ ทักษะการเคลื่อนไหว

ร่วมกับผู้อื่นในลักษณะแบบผลัดและผสมผสาน ทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ

และการเคลื่อนไหวประกอบเพลง จำแนกหลักการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใช้แรง ความ

สมดุล และทักษะกลไกในการเล่นเกม กีฬาและนำผลมาปรับปรุง เพิ่มพูนวิธีปฏิบัติ อธิบายประ

ประโยชน์และหลักการออกกำลังกาย เล่นเกมที่ใช้ทักษะการวางแผน ล่นกีฬาประเภทบุคคล

ประเภททีม และปฏิบัติตามกฎ กติกาในการเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลตามชนิดกีฬา และกิจกรรม

นันทนาการที่เล่น แสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ

วิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดจากการระบาดของโรคและเสนอแนวทางการป้องกนั โรคติดต่อสำคัญท่พี บ

ในประเทศไทย แสดงพฤติกรรมท่ีบง่ บอกถงึ ความรับผิดชอบตอ่ สุขภาพของส่วนรวม สร้างเสริมและ

ปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพอย่างต่อเนอ่ื ง ผลกระทบจากความรุนแรงของภยั ธรรมชาติท่ี

มตี อ่ รา่ งกาย จิตใจ และสงั คม ระบวุ ธิ ปี ฏิบตั ิตน เพ่ือความปลอดภยั จากธรรมชาติ สาเหตุของการติด

สารเสพตดิ และชักชวนให้ผูอ้ ่ืนหลีกเลย่ี งสารเสพตดิ

เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา มที ักษะในการดำเนนิ ชีวิต รักการออกกำลังกาย

การเลน่ เกม การเลน่ กีฬา ปฏบิ ัติเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มีน้ำใจเป็น

นักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา เห็นคุณค่าในการสร้าง

เสริมสุขภาพและการดำรงสขุ ภาพอย่างยงั่ ยืน

กีฬาพ้นื บ้านในทอ้ งถ่ิน และการละเลน่ พ้นื บ้าน

รหสั ตวั ช้ีวดั

พ ๑.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒

พ ๒.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒

พ ๓.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕

๕๑

พ ๓.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖
พ ๔.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔
พ ๕.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓
รวม ๒๒ ตัวชี้วดั

บทท่ี ๓

หนว่ ยการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา

สุขศกึ ษา

หนว่ ยการเรยี นรู้ พ.๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ท่ี ชอื่ หนว่ ย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั เวลา/

ชวั่ โมง

๑ ร่างกายของเรา พ.๑.๑ ป.๑/๑ ๘

-การดแู ลรกั ษาอวัยวะภายนอก พ.๑.๑ ป.๑/๒

-การดูแลรกั ษาฟนั

-การเจรญิ เติบโตของตนเอง

๒ ชวี ิตและครอบครวั พ.๒.๑ ป.๑/๑ ๑๐

-สมาชกิ ในครอบครัวและการปฏิบัตติ ามหนา้ ท่ี พ.๒.๑ ป.๑/๒

-วธิ ีปอ้ งกนั อันตรายจากบคุ คลอน่ื พ.๒.๑ ป.๑/๓

-การดแู ลรกั ษาสุขอนามยั ทางเพศ

-การจำแนกเพศชายและเพศหญงิ

๓ การสร้างเสริมสุขภาพ พ.๔.๑ ป.๑/๑ ๑๒

-วิธีปฏิบตั เิ บ้ืองต้นเมอ่ื มปี ญั หาสุขภาพ พ.๔.๑ ป.๑/๒

-กิจกรรมเพอ่ื เสริมสร้างสขุ ภาพอย่างสม่ำเสมอ พ.๔.๑ ป.๑/๓

-อากาศเจ็บป่วยท่ีเกิดขึ้นกับตนเองใหม้ สี ุขภาพ

ดี

-การเลอื กบริโภคอาหารที่มปี ระโยชน์

๔ ความปลอดภัยในชีวิต พ.๕.๑ ป.๑/๑ ๑๐

พ.๕.๑ ป.๑/๒

พ.๕.๑ ป.๑/๓

๕๒

-การปฏิบตั ติ นในการป้องกันและขอความ
ชว่ ยเหลือเมอ่ื เกิดอุบตั เิ หตุจากการเล่นและ
อัคคภี ัย
-การปฏบิ ตั ิตนในการปอ้ งกันและขอความ
ชว่ ยเหลอื เมอ่ื เกิดอุบตั เิ หตใุ นบ้านและโรงเรียน
-การปฏบิ ัติตนในการปอ้ งกนั และขอความ
ชว่ ยเหลอื เม่อื เกิดอบุ ตั เิ หตจุ ากการเดนิ ทาง
-การหลกี เลี่ยงสารเสพติด
-การปฐมพยาบาลอย่างง่ายๆ

หน่วยการเรียนรู้ พ.๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและพลศึกษา

ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด เวลา/

ชั่วโมง

๑ อวัยวะในร่างกายท่ีสำคัญ พ.๑.๑ ป.๒/๑ ๔

-ลักษณะและหนา้ ท่ีของอวัยวะภายใน พ.๑.๑ ป.๒/๒

-วิธีการดแู ลรักษาอวัยวะภายใน

๒ ธรรมชาติของชวี ติ มนษุ ย์ พ.๑.๑ ป.๒/๓ ๒

๓ ครอบครวั สัมพนั ธ์ พ.๒.๑ ป.๒/๑ ๒

-บทบาทและหนา้ ที่ของสมาชิกในครอบครวั พ.๒.๑ ป.๒/๒

-ความสำคัญของเพอ่ื น

๔ พฤติกรรมท่เี หมาะสมกบั เพศ พ.๒.๑ ป.๒/๓ ๔

-พฤตกิ รรมที่เหมาะสมกับเพศ พ.๒.๑ ป.๒/๔

-ความภาคภูมใิ จในความเป็นเพศหญิงหรอื เพศชาย

๕ การสร้างเสริมสขุ ภาพทด่ี ี พ.๔.๑ ป.๒/๑ ๖

-ลักษณะของการมีสุขภาพท่ีดี พ.๔.๑ ป.๒/๒

-การเลอื กกนิ อาหารท่มี ีประโยชน์ พ.๔.๑ ป.๒/๓

-ของใชแ้ ละของเลน่ ทม่ี ีผลเสียต่อสขุ ภาพ

๖ การดแู ลตนเองเบ้อื ต้นเม่อื เจ็บปว่ ยและบาดเจ็บ พ.๔.๑ ป.๒/๔ ๘

-อาการและวิธีการป้องกนั การเจ็บปว่ ยการบาดเจ็บที่ พ.๔.๑ ป.๒/๕

อาจเกดิ ข้นึ พ.๔.๑ ป.๒/๖

๕๓

-การปฏิบัตติ นเมื่อมอี าการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ พ.๕.๑ ป.๒/๒ ๒
-การปฏิบตั ติ นในการป้องกันอุบตั ิเหตทุ อี่ าจเกดิ ขึ้นทาง พ.๕.๑ ป.๒/๓ ๘
น้ำและทางบก พ.๕.๑ ป.๒/๔
๗ ยาสามัญประจำบา้ น ๔
-ยาสามญั ประจำบ้านและการใช้ยาตามคำแนะนำ พ.๕.๑ ป.๒/๕
๘ สารเสพติดและสารอนั ตรายใกลต้ วั
-โทษของสารอันตราย สารเสพติดใกล้ตวั และวธิ ีการ
ป้องกนั
-การปฏบิ ตั ติ นตามสัญลักษณแ์ ละปา้ ยเตือนของส่ิงของ
หรือสถานทีท่ ่ีเป็นอันตราย
๙ การปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตุและอคั คภี ัย
-สาเหตุ อนั ตราย วธิ ปี อ้ งกันอคั คภี ยั และแสดงการหนไี ฟ

หนว่ ยการเรียนรู้ พ.๑๓๑๐๑ สุขศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐาน/ เวลา/

ตัวช้วี ัด ช่วั โมง

๑ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ พ.๑.๑ ป.๓/๑ ๗

-ลักษณะการเจริญเติบโตของร่างกาย พ.๑.๑ ป.๓/๓

-เกณฑม์ าตรฐานการเจรญิ เติบโตและปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการ

เจริญเติบโต

๒ ครอบครัวและเพือ่ น พ.๒.๑ ป.๓/๑ ๕

-คณุ ค่าของครอบครัว พ.๒.๑ ป.๓/๒

-วธิ กี ารสรา้ งสมั พนั ธภาพในครอบครัวและกลมุ่ เพื่อน

๓ การถูกล่วงละเมิดทางเพศ พ.๒.๑ ป.๓/๓ ๓

-การดูแลปอ้ งกนั อนั ตรายทางเพศ

๔ การป้องกันโรค พ.๔.๑ ป.๓/๑ ๕

-การป้องกันโรคตดิ ต่อ

๕ อาหารหลกั ๕ หมู่และธงโภชนาการ พ.๔.๑ ป.๓/๒ ๕

-อาหารหลัก ๕ หมู่ พ.๔.๑ ป.๓/๓

-การจัดอาหารตามหลักธงโภชนาการ

๕๔

๖ ทันตสขุ ภาพ พ.๔.๑ ป.๓/๑ ๕
-ประเภท หนา้ ที่ และองคป์ ระกอบของฟนั พ.๔.๑ ป.๓/๒
-การดแู ลรักษาฟนั อย่างถูกวธิ ี
พ.๕.๑ ป.๓/๑ ๕
๗ ความปลอดภยั ในชวี ิต พ.๕.๑ ป.๓/๒
-ความปลอดภัยจากอุบัตเิ หตุในบา้ น
-ความปลอดภยั จากอุบัติเหตุในโรงเรยี น พ.๕.๑ ป.๓/๓ ๕
-ความปลอดภยั จากอบุ ัตเิ หตุในการเดินทาง
-การขอความชว่ ยเหลอื เมอื่ เกิดเหตุร้ายหรืออุบัติเหตุ

๘ การปฐมพยาบาล
-การปฐมพยาบาลเมอ่ื ได้รับบาดเจ็บจากการเล่น

๕๕

หนว่ ยการเรียนรู้ พ.๑๔๑๐๑ สุขศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

ท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด เวลา/
ชวั่ โมง
๑ ธรรมชาตขิ องตัวเรา
-ตวั เรา พ ๑.๑ ป.๔/๑ ๔
-รู้จกั ตนเอง พ ๑.๑ ป.๔/๒

๒ ชีวิตและครอบครัว พ ๒.๑ ป.๔/๑ ๙
-ศกึ ษาชวี ติ พ ๒.๑ ป.๔/๒
-ดแู ลรา่ งกาย พ ๒.๑ ป.๔/๓
-อนั ตรายที่ไม่คาดคิด
พ ๔.๑ ป.๔/๑ ๑๕
๓ การเสริมสร้างสขุ ภาพ พ ๔.๑ ป.๔/๒
-จดั ระเบียบสุขภาพ พ ๔.๑ ป.๔/๓
-รูเ้ ร่ืองโรค พ ๔.๑ ป.๔/๔
-คุณค่าของอาหาร
-ขจัดความเครียด พ ๕.๑ ป.๔/๑ ๑๒
-กจิ กรรมพาเพลิน พ ๕.๑ ป.๔/๒
พ ๕.๑ ป.๔/๓
๔ ความปลอดภยั ในชีวิต
-เตรียมความปลอดภยั
-สารเสพติด
-ยานา่ รู้
-รักษาเบอ้ื ตน้

๕๖

หน่วยการเรียนรู้ พ.๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

ท่ี ชือ่ หนว่ ย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด เวลา/
ชวั่ โมง
๑ รา่ งกายของเรา
-ระบบย่อยอาหาร พ ๑.๑ ป.๕/๑ ๑๐
-ระบบขบั ถ่าย พ ๑.๑ ป.๕/๒
-พฒั นาการของเรา
พ ๒.๑ ป.๕/๑ ๑๐
๒ ชวี ิตและครอบครวั พ ๒.๑ ป.๕/๒ ๑๐
-สายสมั พันธ์ พ ๒.๑ ป.๕/๓
-เพศศกึ ษา
-การดูแลตนเอง พ ๔.๑ ป.๕/๑
พ ๔.๑ ป.๕/๒
๓ การเสรมิ สรา้ งสุขภาพและป้องกันโรค พ ๔.๑ ป.๕/๓
-สขุ บญั ญัติแห่งชาติ พ ๔.๑ ป.๕/๔
-อาหารและผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ
-โรคตา่ งๆ พ ๕.๑ ป.๕/๑ ๑๐
-ตวั เรามีสขุ พ ๕.๑ ป.๕/๒
-เสริมสร้างร่างกาย พ ๕.๑ ป.๕/๓

๔ ความปลอดภัยในชีวติ
-ชีวติ ที่ปลอดภัย
-คดิ กอ่ นใช้
-การปฐมพยาบาล
-สารเสพตดิ

๕๗

หน่วยการเรียนรู้ พ.๑๖๑๐๑ สุขศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด เวลา/
ชัว่ โมง
๑ ธรรมชาติของชวี ติ
-ระบบย่อยอาหาร พ ๑.๑ ป.๖/๑ ๑๐
-ระบบขับถา่ ย พ ๑.๑ ป.๖/๒

๒ ชวี ิตและครอบครัว พ ๒.๑ ป.๖/๑ ๑๐
-การเปลยี่ นแปลงทางเพศ พ ๒.๑ ป.๖/๒
-การดแู ลตนเอง พ ๒.๑ ป.๖/๓
-ครอบครวั ตามวฒั นธรรม
พ ๔.๑ ป.๖/๑ ๑๐
๓ การเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพและการปอ้ งกนั โรค พ ๔.๑ ป.๖/๒
-สุขภาพกับสง่ิ แวดลอ้ ม พ ๔.๑ ป.๖/๓
-อาหารและผลติ ภัณฑ์ พ ๔.๑ ป.๖/๔
-การป้องโรค
-อารมณแ์ ละความเครียด พ ๕.๑ ป.๖/๑ ๑๐
-กจิ กรรมเสรมิ สขุ พ ๕.๑ ป.๖/๒
พ ๕.๑ ป.๖/๓
๔ ความปลอดภัยในชีวติ
-พฤติกรรมเสี่ยงภยั
-ยาและสารเสพติด
-สิทธิของเรา
-ปฐมพยาบาล

๕๘

พลศึกษา

หนว่ ยการเรยี นรู้ พ.๑๑๑๐๑ พลศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด เวลา/

ช่วั โมง

๑ การเคลื่อนไหว พ.๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ๑๔

-การเคลื่อนไหวรา่ งกายท่ีถกู วิธี พ.๓.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒

-การเคลอื่ นไหวร่างกายแบบอยู่กบั ที่

-การเคลอ่ื นไหวร่างกายแบบเคลอ่ื นท่ี

-การเคลื่อนไหวร่างกายให้เข้ากับจังหวะ

-การทรงตวั

๒ กิจกรรมวบิ าก พ.๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ๗

-การหลบหลกี ส่งิ กดี ขวาง พ.๓.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒

-การปนี ป่าย การห้อยโหน การไตร่ าว

๓ การละเลน่ พ.๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ๑๕

-การละเล่นสมมติ พ.๓.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒

-เกม

-การเลน่ แบบผลดั

-การเล่นพื้นบ้าน

-นนั ทนาการ

๔ สรา้ งเสรมิ สุขภาพ พ.๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ๔

-เสริมสรา้ งร่างกาย พ.๓.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒

-ทดสอบความแข็งแรง

๕๙

หน่วยการเรยี นรู้ พ.๑๒๑๐๑ พลศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เวลา/
ช่ัวโมง
๑ การเคลื่อนไหว
-การเคลอื่ นไหวตามจังหวะ พ.๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ๒๐
-การบังคับสงิ่ ของด้วยมือ พ.๓.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒

๒ การออกกำลงั กาย พ.๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ๑๗
-กิจกรรมทางกาย พ.๓.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒
-เกม
-นนั ทนาการ พ.๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ๓
พ.๓.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒
๓ สมรรถภาพทางกาย
-ยืนกระโดดไกล
-การกระโดดข้ามเครอื่ งกดี ขวาง
-การดันพ้ืน

๖๐

หน่วยการเรียนรู้ พ.๑๓๑๐๑ พลศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ุขศึกษาและพลศกึ ษา
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
ท่ี ชื่อหน่วย
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด เวลา/
๑ การเคล่ือนไหว
-มั่นใจในการเคล่อื นไหว ชัว่ โมง
-การเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง
พ.๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ๖
๒ ออกกำลงั กาย
-กจิ กรรมทางกาย พ.๓.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒
-กจิ กรรมหอ้ ยโหน ไต่ราว
-เกม พ.๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ๑๔
พ.๓.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒
๓ กีฬา
-แชรบ์ อล พ.๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ๑๖
-กรฑี า พ.๓.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒
นันทนาการ
พ.๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ๔
๔ สมรรถภาพ พ.๓.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒
-การทดสอบสมรรถภาพ
-การสร้างเสรมิ และปรบั ปรงุ สมรรถภาพ

๖๑

หนว่ ยการเรียนรู้ พ.๑๔๑๐๑ พลศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั เวลา/
ชั่วโมง
๑ การเคลื่อนไหว
-การเคล่ือนไหวตามจังหวะ พ.๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ๑๐
-ความสมดลุ พ.๓.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒

๒ ออกกำลงั กาย พ.๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ๑๐
-กจิ กรรมทางกาย พ.๓.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒
-เกม
พ.๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ๑๖
๓ กีฬา พ.๓.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒
-แฮนดบ์ อล
-กรฑี า พ.๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ๔
นันทนาการ พ.๓.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒

๔ สมรรถภาพทางกาย
-การทดสอบสมรรถภาพ
-การสรา้ งเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพ

๖๒

หน่วยการเรยี นรู้ พ.๑๕๑๐๑ พลศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด เวลา/
ชัว่ โมง
๑ การเคลื่อนไหว
-การเคลอื่ นไหวรา่ งกาย พ.๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ๑๐
-กิจกรรมเข้าจงั หวะ พ.๓.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒

๒ ออกกำลงั กาย พ.๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ๑๐
-กิจกรรมแบบผลัด พ.๓.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
-การละเลน่ พืน้ เมือง
-นันทนาการ พ.๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ๑๖
พ.๓.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
๓ กฬี า
-ยดื หย่นุ พ้นื ฐาน พ.๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ๔
-ฟตุ บอล พ.๓.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
-ตะกรอ้
-นันทนาการ

๔ สมรรถภาพทางกาย
-การทดสอบสมรรถภาพ
-การสร้างเสรมิ และปรบั ปรุงสมรรถภาพ

๖๓

หนว่ ยการเรียนรู้ พ.๑๖๑๐๑ พลศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด เวลา/
ชัว่ โมง
๑ การเคล่อื นไหว
-การเคลอ่ื นไหวร่างกาย พ.๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ๑๔
-ความสมดุล พ.๓.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒

๒ ออกกำลังกาย พ.๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ๖
-กจิ กรรมทางกาย พ.๓.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒
-เกม
พ.๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ๑๖
๓ กีฬา พ.๓.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒
-วอลเล่ยบ์ อล
-กรีฑา พ.๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ๔
-นนั ทนาการ พ.๓.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒

๔ สมรรถภาพทางกาย
-การทดสอบสมรรถภาพ
-การสรา้ งเสริมสมรรถภาพ

๖๔

บทท่ี ๔
แนวทางการวัดและประเมินผล
ความสำคัญ
การวัดและการประเมินผลการเรียนเปน็ ส่วนหน่ึงของการจัดการเรียนรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรยี น ซึ่งต้อง
ดำเนินควบคูก่ นั ไปการบรู ณาการการวัดและการประเมินผลกับการจัดการเรียนรใู้ หแ้ ก่ผเู้ รียนส่งผลต่อ
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนหลายประการ อาทิ ได้ข้อมูลย้อนกลับที่จะช่วยติดตาม กำกับ ดูแล
ความกา้ วหน้าของผู้เรียน นำผลมาปรบั แนวทางการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ช่วยให้
ผู้เรียนตระหนักในความสามารถและพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่องและมีคุณธรรม
สามารถค้นพบความรใู้ หม่ และคดิ แก้ปญั หาด้วยตนเองได้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๒๖ กำหนดชัดเจนให้สถานศึกษา
จัดการประเมินผู้เรียน โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรยี น ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน ตาม
ความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา นั่นหมายถึงผู้สอนจะต้องวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ ของผู้เรยี นด้วยการเกบ็ รวบรวม ข้อมลู เกี่ยวกับผเู้ รียนจากหลายส่วน กอ่ นที่จะตัดสินใจให้
ระดับผลการเรียน
ดังนั้น เพื่อใหก้ ารวัดและประเมินผลการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาสอดคลอ้ ง
กบั พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ และเกดิ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี น ผู้สอนควร
ดำเนินการวัดและประเมินผลโดยคำนึงถงึ หลักการตอ่ ไปนี้
๑.เน้นกระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาการผู้เรียน ( Formative Evaluation ) และประเมินเพื่อ
ตัดสินใจผลการเรียน( Summative Evaluation ) ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ
รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่ีพึงประสงค์ หรือตามปรัชญาของวิชา โดยให้ความสำคัญทัง้
ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และการบูรณาการความรู้ตามความเหมาะสม เน้นการนำผล
การประเมินมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนปรับปรุงกระบวนการสอนของตนและปรับกระบวนการ
เรียนรู้ของผเู้ รียน เพอื่ ความสำเร็จตามจุดหมายของหลกั สตู ร
๒.เนน้ การประเมนิ ดว้ ยวิธที ี่หลากหลาย สอดคล้องกับกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีจัดใหผ้ ู้เรียนตามสภาพจริง
หรือใกล้เคียงสถานการณ์ที่เป็นจริง ( Authentic Learning and Assessment ) สะท้อน
ความสามารถและการแสดงออกของผเู้ รยี น ( Student Performance ) อยา่ งชัดเจน
๓. เน้นการบูรณาการการประเมินผลควบคู่ไปกับการเรียนการสอนและการกระบวนการเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี น โดยประเมินจากคณุ ภาพของงานและกระบวนการทำงานของผเู้ รียน
๔.เน้นการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดเกณฑ์การประเมิน ส่งเสริมให้มีการประเมิ นตนเอง
ประเมนิ โดยเพ่ือนและกลมุ่ เพื่อน และประเมินโดยผมู้ สี ่วนเกีย่ วข้อง

๖๕

๕.เน้นการประเมินผู้เรียนที่ต้องเน้นการพิจารณาอย่างครอบคลุมจากพัฒนาการของผู้เรียน
ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบตามความเหมาะสม
ในแตล่ ะกลุ่มสาระและระดับชั้น
การวดั และประเมนิ ผลกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

จากปรัชญาและวิสัยทัศน์การเรียนรู้กลุ่มศึกษาและพลศึกษา คุณภาพของผู้เรียน รวมถึง
มาตรฐานและสาระการเรียนรู้ตามช่วงชั้นที่กำหนดไว้ข้างตน้ ผู้สอนจะต้องวิเคราะหส์ ิ่งทีต่ ้องการวัด
และประเมินผลให้ละเอียด ครอบคลุม และชัดเจน เพื่อความเที่ยงตรงในการดำเนินงานและอธิบาย
ผลการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานท่ีคาดหวังของผเู้ รียนแตล่ ะระดบั ชั้นได้

ผลการเรยี นรทู้ ่ผี ู้เรียนพงึ ได้รับจากกลุ่มสขุ ศึกษาและพละศึกษาต้องครอบคลุมทั้งด้านความรู้
เจตคติ คุณธรรม คา่ นยิ ม และการปฏบิ ัตเิ กยี่ งกับสุขภาพและสมรรถภาพดังตวั อยา่ ง เชน่
ก. ดา้ นความรู้ สามารถแบง่ ออกเปน็ ความรเู้ ชิงเนือ้ หา ความรูเ้ ชิงกระบวนการ ความรู้เชิงบริบท
- ความรู้เชิงเน้ือหา เช่น ลักษณะของโรคชนิดต่างๆ พัฒนาการตามวัยของมนุษย์ ความสำคัญของ
การพักผ่อนและนันทนาการ กติกาการเล่นกีฬาชนิดต่างๆ รูปแบบการออกกำลังกาย หลักการสร้าง
เสรมิ สมรรถภาพทางการ ชนิดของกีฬา หลกั การดแู ลสขุ ภาพ หลักวิทยาศาสตรก์ ารเคลื่อนไหวเป็นตน้
- ความรู้เชงิ กระบวนการ เชน่ ระบบการทำงานของอวยั วะภายในร่างกายมนุษย์ การเคลอ่ื นไหวใน
ชีวติ ประจำวัน การออกกำลังกายและเล่นกีฬาอย่างถูกตอ้ งตามหลกั วทิ ยาศาสตร์ วธิ ีทดสอบและสร้าง
เสริมสมรรถภาพทางกาย วิธีจัดการกับอารมณแ์ ละความเครยี ด วธิ ดี ำรงชีวิตเพ่ือการมสี ุขภาพทด่ี ี เป็น
ต้น
- ความรู้เชิงบริบท เช่น การมีสติการรู้จักและเข้าใจตนเอง การสื่อสารเกี่ยวกับสุขภาพ ข้อมูล
สารสนเทศด้านสขุ ภาพ ความปลอดภยั การออกกำลงั กายและการเล่นกฬี าเปน็ ต้น
ข. ด้านทกั ษะ เนอ่ื งจากหลกั สูตรเน้นใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นร้จู ากการปฏิบตั ิจรงิ วธิ ีการวัดและประเมิน จึง
ควรวัดความสามารถในการทำงาน และการแสดงออกของผู้เรียนภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไขท่ี
สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด โดยวัดทั้งกระบวนการ ( Process ) และผลงาน (
Product ) ที่ผู้เรียนกระทำและแสดงออก เช่น การเลือกบริโภคอาหาร และการดูแลสุขภาพ การ
จัดการกับอารมณ์และความเครียด การฝึกจิต การออกกำลังกาย การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสุขภาพ
การเลน่ เกม การเล่นกีฬาชนดิ ต่างๆ เปน็ ตน้
ค. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ การวัดและประเมินผลการเรียนด้าน
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมของผู้เรียนต้องกระทำอย่างต่อเน่ืองตลอดภาคเรียน เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ี
สอดคล้องกบั ความเป็นจริงของผู้เรียน จงึ ควรใช้วิธกี ารวดั และประเมนิ ที่หลากหลาย เน้นให้ผู้เรียนได้
ตรวจสอบและประเมินตนเองเป็นสำคัญ ร่วมกับเพื่อน ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง เช่น สุขนิสัยในการ
รับประทานอาหาร การควบคมุ อารมณ์ การปรับตัวเขา้ กบั ผูอ้ ื่น ความเชือ่ มนั่ ในตนเอง การมีวินยั การ

๖๖

ปฏิบัติตามกฎระเบียบ กติกา รักการออกกำลังกาย มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน มีน้ำใจนักกีฬา มี
มนุษยสัมพนั ธ์ทด่ี ี มีบคุ ลกิ ภาพและสุขภาพทดี่ ี มีภาวะการเปน็ ผู้นำและผตู้ ามทดี่ ี
วธิ ีวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
ผู้สอนสามารถเลอื กวิธีวดั และประเมนิ ผลการเรียนรไู้ ด้หลายวธิ ี ดงั นี้
๑.การสังเกตพฤติกรรมและความสามารถในการปฏิบัติ ใช้การสังเกตผลการเรียนรู้ที่กำหนดออกมา
เปน็ จุดมุ่งหมายเชงิ พฤตกิ รรมแลว้ บนั ทึกไวเ้ ป็นลายลักษณ์อกั ษร ( Record )
๒.การทดสอบ เช่น การทดสอบความสามารถในการปฏบิ ัติด้วยแบบทดสอบทกั ษะต่างๆ การทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย ทางจิต การทดสอบความรคู้ วามเขา้ ใจ
๓.การวัด เชน่ การวดั เจตคติ คุณธรรม/จริยธรรม ค่านิยม บุคลิกภาพ การปรับตวั ด้วยแบบวัดตา่ งๆ
๔.การสมั ภาษณ์ เชน่ การสัมภาษณ์อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการเพอ่ื ทราบข้อมูลท่ัวไป การสัมภาษณ์อยา่ งเป็น
ทางการเพื่อทดสอบความรู้ความเขา้ ใจ ( Inventory )
๕.การสำรวจ เชน่ แบบสอบถามข้อมูลต่างๆ อาจเปน็ ดา้ นความรู้ เจตคติ และด้านอน่ื ๆรวมท้ังความรู้
หรือความคิดเหน็ ความประทับใจ
๖. แฟ้มผลงาน ( Portfolio ) เป็นแหล่งรวบรวมความร้ดู ว้ ยการใชว้ ธิ ีการวดั ทีห่ ลากหลายต้งั แตข่ ้อ ๑-
๕ ในลักษณะแสดงความสามารถของผู้เรียนโดยรวม

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนุบาลตาก พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ จัดทำ
ขึ้นภายใต้กรอบของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ บริบทของสภาพ
ชมุ ชนและสงั คม ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินของสถานศกึ ษา เพือ่ ใชจ้ ัดในการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพื่อพัฒนา
ให้ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และพลเมืองของโลก จากความ
มูลเหตุดังกล่าว การวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนอนุบาลตาก พุทธศักราช ๒๕๖๐ จึงต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดการประเมินตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปน็ หลัก ซ่งึ ดำเนนิ การในการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลได้กำหนดแนวทางในการดำเนินการ
ดงั ต่อไปนี้
๑.ผู้เรียน เรียนตามโครงสร้างรายวิชาพื้นฐานจำนวน ๘๔๐ ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรม
เพ่ิมเตมิ ๑๒๐ ชว่ั โมงต่อปีการศึกษา
๒.ผเู้ รยี นตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมินรายวิชาพน้ื ฐานทกุ รายวิชาตามท่สี ถานศึกษากำหนด
๓.ผเู้ รยี นตอ้ งมีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ระดับ “ผ่าน”ข้ึนไป
๔.ผ้เู รยี นต้องมกี ารประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พง่ึ ประสงค์ ระดับ “ผ่าน”ขน้ึ ไป
๕.ผเู้ รยี นต้องเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน และได้รับการตัดสนิ ผลการเรียน “ผา่ น” ทุกกจิ กรรม

๖๗

โรงเรยี นอนบุ าลตากกำหนดคะแนนเป็นรายปี (ห้องเรียนปกต)ิ
ตามหลักสตู รแกนกลางขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑

โดยมีคะแนนระหวา่ งเรยี นและคะแนนปลายภาคเรียน(ตามขอ้ ๑.๒ และ ๑.๓) ดังตอ่ ไปน้ี

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คะแนน คะแนนเต็ม

ระหว่างเรยี น ปลายภาคเรียน

ภาษาไทย ๗๐ ๓๐ ๑๐๐
คณิตศาสตร์ ๗๐ ๓๐ ๑๐๐

วิทยาศาสตร์ ๗๐ ๓๐ ๑๐๐

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ ๗๐ ๓๐ ๑๐๐
วฒั นธรรม

ประวัตศิ าสตร์ ๗๐ ๓๐ ๑๐๐

สุขศึกษาละพลศกึ ษา ๘๐ ๒๐ ๑๐๐
ศลิ ปะ ๘๐ ๒๐ ๑๐๐
๘๐ ๒๐ ๑๐๐
การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ภาษาต่างประเทศ ๗๐ ๓๐ ๑๐๐

ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอื่ สาร ๗๐ ๓๐ ๑๐๐

คอมพวิ เตอร์ ๘๐ ๒๐ ๑๐๐

รายวชิ าเพ่ิมเติม

คะแนนปลายปใี ห้ครูผ้สู อนผลการเรียนมาเทียบเป็นระดับ ซง่ึ โรงเรยี นกำหนดไว้ ๘ ระดบั

คะแนน ระดับผลการเรยี น ความหมาย

๘๐-๑๐๐ ๔ ดีเยยี่ ม

๗๕-๗๙ ๓.๕ ดมี าก

๗๐-๗๔ ๓ ดี

๖๕-๖๙ ๒.๕ เกือบดี

๖๐-๖๔ ๒ พอใช้

๕๕-๕๙ ๑.๕ เกือบพอใช้

๕๐-๕๔ ๑ ผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่ำ

๔๙ ลงไป ๐ ต่ำกวา่ เกณฑ์ทกี่ ำหนด

๖๘

อภิธานศพั ท์
กลไกของรา่ งกายที่ใช้ในการเคลือ่ นไหว (Body Mechanism)

กระบวนการตามธรรมชาติในการเคล่ือนไหวสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายตามลักษณะโครงสร้าง
หน้าที่ และการทำงานร่วมกันของข้อต่อ กล้ามเนื้อ กระดูกและระบบประสาทที่เกี่ยวข้องภายใต้
ขอบข่าย เงอื่ นไข หลกั การ และปจั จัยด้านชีวกลศาสตร์ทม่ี ีผลต่อการเคลื่อนไหว เช่นความมั่นคง
(Stability) ระบบคาน (Leverage) การเคลอ่ื น (Motion) และแรง (Force)
การเคลื่อนไหวเฉพาะอย่าง (Specialized Movement)

การผสมผสานกันระหว่างทักษะย่อยของทักษะการเคลื่อนไหวพ้ืนฐานต่าง ๆ การออกกำลังกาย
การเลน่ เกม และการเลน่ กฬี าตา่ ง ๆ ซง่ึ มีความจำเปน็ สำหรบั กจิ กรรมทางกาย เชน่ การขวา้ งลกู ซอฟท์
บอล ต้องอาศัยการผสมผสานของทักษะการสไลด์ (การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่) การขว้าง (การ
เคลื่อนไหวแบบประกอบอุปกรณ)์ การบิดตวั (การเคลอ่ื นไหวแบบไมเ่ คลื่อนท่ี) ทกั ษะท่ีทำบางอย่าง
ย่ิงมคี วามซับซอ้ นและตอ้ งใชก้ ารผสมผสานของทกั ษะการเคลือ่ นไหวพืน้ ฐานหลาย ๆ ทกั ษะรวมกัน
การเคล่อื นไหวในชีวติ ประจำวัน (Daily Movement)

รูปแบบหรือทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายในอิริยาบถต่าง ๆ ที่บุคคลทั่วไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตไม่ว่าเพื่อการประกอบกิจวัตรประจำวันการทำงาน การเดินทางหรือกิจกรรมอื่นๆ เช่น การยืน
กม้ นง่ั เดิน วิ่ง โหนรถเมล์ ยกของหนกั ปนี ปา่ ย กระโดดลงจากทส่ี ูง ฯลฯ
การเคล่ือนไหวพน้ื ฐาน (Fundamental Movements)

ทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายที่จำเป็นสำหรับชีวิตและการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ในการ
ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นทักษะที่มีการพัฒนาในช่วงวัยเด็ก และจะเป็น
พื้นฐานสำหรับการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ เมื่อเจริญวัยสูงขึ้น ตลอดจนเป็นพื้นฐานของการ มี
ความสามารถในการเคลื่อนไหว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเล่นกีฬาการออกกำลังกายและการ
ประกอบกจิ กรรมนันทนาการการเคลื่อนไหวพืน้ ฐาน สามารถแบง่ ออกได้เป็น ๓ ประเภท คอื

๑. การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ (Locomotor Movement) หมายถึงทักษะการ
เคลื่อนไหว ที่ใช้ในการเคลื่อนร่างกายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ได้แก่ การเดิน การวิ่ง การกระโดด
สลบั เทา้ การกระโจน การสไลด์ และการว่งิ ควบมา้ ฯลฯ หรอื การเคล่ือนท่ใี นแนวดิ่ง เชน่ การกระโดด
ทักษะการเคลอื่ นไหวเหลา่ นี้เปน็ พ้ืนฐานของการทำงานประสานสัมพนั ธ์ทางกลไกแบบไม่ซับซ้อนและ
เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายทใ่ี ช้กลา้ มเนื้อมดั ใหญ่

๒. การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ (Nonlocomotor Movement) หมายถึง ทักษะการ
เคล่อื นไหวท่ปี ฏิบตั ิโดยร่างกายไมม่ กี ารเคลอ่ื นที่ของรา่ งกาย ตวั อยา่ งเชน่ การก้ม การเหยียดการผลัก
และดัน การบิดตัว การโยกตัว การไกวตัว และการทรงตัว เป็นต้น

๖๙

๓. การเคลื่อนไหวแบบประกอบอุปกรณ์ (Manipulative Movement) เป็นทักษะการ
เคลอื่ นไหวทม่ี ีการบงั คับหรือควบคุมวัตถุ ซงึ่ สว่ นใหญจ่ ะเก่ยี วขอ้ งกับการใช้มอื และเท้า แต่ส่วนอื่นๆ
ของรา่ งกายก็สามารถใชไ้ ด้ เชน่ การขว้าง การตี การเตะ การรบั เปน็ ตน้
การจัดการกบั อารมณแ์ ละความเครยี ด (Emotion and Stress Management)

วธิ ีควบคุมอารมณค์ วามเครยี ดและความคบั ข้องใจ ที่ไม่เป็นอนั ตรายตอ่ ตนเองและผอู้ นื่ แล้ว
ลงมือปฏบิ ัตอิ ย่างเหมาะสม เช่น ทำสมาธิ เล่นกฬี า การร่วมกจิ กรรม นนั ทนาการ การคลายกล้ามเน้ือ
(muscle relaxation)
การช่วยฟื้นคืนชีพ (Cardiopulmonary Resuscitation = CPR)

การช่วยชีวิตเบื้องต้นกอ่ นสง่ ต่อใหแ้ พทยใ์ นกรณีผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น โดยการนวดหวั ใจและ
ผายปอดไปพรอ้ ม ๆ กนั
การดแู ลเบื้องตน้ (First Care)

การใหก้ ารดูแลสุขภาพผูป้ ่วยในระยะพักฟ้นื และ / หรอื การปฐมพยาบาล
การพฒั นาทยี่ ั่งยืน (Sustainable Development)

การพัฒนาที่เป็นองค์รวมของความเป็นมนุษย์ตามแนวทางของพระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุต
โต) เป็นการพฒั นาทเ่ี ป็นบูรณาการ คอื ทำให้เกิดเป็นองคร์ วมหมายความว่าองค์ประกอบทัง้ หลาย ที่
เกี่ยวข้อง จะต้องประสานกนั ครบทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ และมีดุลยภาพ
สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ
การละเล่นพนื้ เมือง(Folk Plays)

กจิ กรรมเลน่ ดงั้ เดมิ ของคนในชุมชนแต่ละท้องถนิ่ ซง่ึ เป็นส่วนหนงึ่ ของการดำเนินชีวิตหรือวิถี
ชีวิต เพื่อเป็นการผอ่ นคลายอารมณ์ ความเครียด และสร้างเสริมให้มีกำลังกายแข็งแรง สติปัญญาดี
จิตใจเบิกบานสนุกสนาน อันก่อให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน และเป็นสว่ นหนึ่งของวัฒนธรรม เช่น
กิจกรรมการเล่นของชุมชนท้องถิ่น วิ่งเปี้ยว ชักเย่อ ขี่ม้าส่งเมือง ตีจับ มอญซ่อนผ้า รีๆข้าวสาร ว่ิง
กระสอบ สะบ้า กระบีก่ ระบอง มวยไทย ตะกร้อวง ตะกรอ้ ลอดบว่ ง
กิจกรรมเข้าจงั หวะ(Rhythmic Activities)

การแสดงออกของร่างกาย โดยการเคลอ่ื นไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายให้เข้ากับอัตราความช้า
– เรว็ ของตวั โน้ต
กิจกรรมนันทนาการ (Recreation Activities)

กิจกรรมที่บุคคลได้เลือกทำหรือเข้าร่วมด้วยความสมัครใจในเวลาว่าง และผลที่ได้รับเป็น
ความพึงพอใจ ไมเ่ ปน็ ภยั ตอ่ สงั คม
กิจกรรมรบั นำ้ หนักตนเอง(Weight Bearing Activities)

๗๐

กิจกรรมการออกกำลังกายที่มกี ารเคลื่อนไหวบนพื้น เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดดเชอื ก
ยิมนาสติก การเต้นรำหรือการเต้นแอโรบิก โดยกล้ามเนื้อส่วนที่รับน้ำหนักต้องออกแรงกระทำกับ
นำ้ หนักของตนเองในขณะปฏิบตั กิ จิ กรรม
กีฬาไทย(Thai Sports)

กีฬาที่มีพื้นฐานเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของท้องถิ่นและสังคมไทย เช่น กระบี่
กระบอง มวยไทย ตะกรอ้
กีฬาสากล(International Sports)

กีฬาที่เป็นที่ยอมรับจากมวลสมาชิกขององค์กรกีฬาระดับนานาชาตใิ ห้เป็นชนิดกีฬาที่บรรจุ
อยใู่ นเกมการแข่งขนั เช่น ฟุตบอล วอลเลย์บอล เทนนสิ แบดมนิ ตัน
เกณฑส์ มรรถภาพทางกาย(Physical Fitness Reference)

ค่ามาตรฐานท่ีไดก้ ำหนดขนึ้ (จากการศึกษาวจิ ยั และกระบวนการสถติ ิ) เพ่ือเป็นดัชนีสำหรับ
ประเมินเปรียบเทยี บวา่ บคุ คลท่ีไดร้ ับคะแนน หรือคา่ ตัวเลข(เวลา จำนวน คร้ัง นำ้ หนักฯลฯ) จากการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายแต่ละรายการทดสอบนัน้ มสี มรรถภาพทางกายตามองคป์ ระกอบดังกล่าว
อยใู่ นระดบั คณุ ภาพใด โดยท่ัวไปแล้วนยิ มจดั ทำเกณฑใ์ น ๒ ลกั ษณะ คอื
๑. เกณฑ์ปกติ (Norm Reference) เป็นเกณฑท์ ี่จัดทำจากการศึกษากลุ่มประชากร ที่จำแนกตาม
กลมุ่ เพศและวยั เป็นหลัก ส่วนใหญ่แล้วจะจัดทำในลักษณะของเปอร์เซ็นไทล์
๒. เกณฑ์มาตรฐาน (Criterion Reference) เป็นระดับคะแนนหรือค่ามาตรฐานที่กำหนดไว้
ล่วงหน้า สำหรับแต่ละราย การทดสอบเพื่อเป็นเกณฑ์การตัดสินว่าบุคคลที่รับการทดสอบ มี
สมรรถภาพหรือความสามารถผ่านตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ มิได้เป็นการเปรียบเทียบกับ
บุคคลอ่ืน ๆ
ความคดิ รวบยอดเกย่ี วกับการเคล่ือนไหว (Movement Concepts)

ความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาด จงั หวะ เวลา พนื้ ท่ี และทศิ ทางในการเคลอ่ื นไหวร่างกาย
ความเข้าใจถึงความเกีย่ วข้องเชื่อมโยง และความพอเหมาะพอดีระหว่างขนาดของแรงที่ใช้
ในการเคล่ือนไหวร่างกายหรือวัตถุ ด้วยห้วงเวลา จงั หวะและทศิ ทางท่ีเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดของ
พื้นที่ที่มีอยู่ และสามารถแปรความเข้าใจดังกล่าวทั้งหมดไปสู่การปฏิบัติการเคลื่อนไหวในการเล่น
หรอื แขง่ ขันกีฬา
ความเสย่ี งตอ่ สขุ ภาพ (Health Risk)
การประพฤติปฏิบัติที่อาจนำไปสู่การเกิดอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพของตนเองและผู้อ่ืน
เช่น การขับรถเร็ว การกนิ อาหารสุกๆ ดิบๆความสำส่อนทางเพศ การมีน้ำหนักตวั เกิน การขาด การ
ออกกำลังกาย การสบู บหุ รี่ การดมื่ สรุ า การใชย้ าและสารเสพตดิ

๗๑

ค่านยิ มทางสงั คม (Health Value)
คุณสมบัติของสิ่งใดก็ตาม ซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นประโยชน์น่าสนใจ สิ่งที่บุคคลยึดถือในการ

ตัดสินใจและกำหนดการกระทำของตนเองเกยี่ วกับพฤติกรรมสขุ ภาพ
คุณภาพชีวิต (Quality of Life)

ความรับรู้หรือเขา้ ใจของปัจเจกบุคคลท่มี ีต่อสถานภาพชวี ิตของตนเองภายใต้บริบทของระบบ
วัฒนธรรมและค่านิยมที่เขาใช้ชีวิตอยู่ และมีความเชื่อมโยงกับจุดมุ่งหมายความคาดหวัง มาตรฐาน
รวมท้งั ความกงั วลสนใจทเ่ี ขามีต่อสิ่งต่าง ๆ คุณภาพชวี ติ เปน็ มโนคติทีม่ ีขอบเขตกวา้ งขวาง ครอบคลุม
เรื่องต่าง ๆ ที่สลับซับซ้อน ได้แก่ สุขภาพทางกาย สภาวะทางจิต ระดับความเป็นตัวของตัวเอง
ความสัมพนั ธ์ต่างๆ ทางสงั คม ความเชือ่ สว่ นบคุ คลและสัมพนั ธภาพทดี่ ีตอ่ ส่ิงแวดล้อม
จติ วิญญาณในการแขง่ ขัน (Competitive Spiritual)

ความมุ่งมั่น การทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจ ความรู้ ความสามารถในการแข่งขัน และร่วมมือ
อย่างสนั ตเิ ตม็ ความสามารถ เพ่ือให้ได้มาซง่ึ ผลท่ตี นเองตอ้ งการ
ทักษะชวี ิต (Life Skills)

เป็นคุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา (Psychosocial Competence)
และเปน็ ความสามารถทางสติปัญญา ทที่ ุกคนจำเปน็ ตอ้ งใช้ในการเผชญิ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาขึ้นได้ด้วยการฝึกและกระทำซ้ำ ๆ ให้เกิด
ความคล่องแคล่ว เคยชิน จนเป็นลักษณะนิสัย ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังนี้ คือ การรู้จัก
ตนเอง เข้าใจตนเองและเห็นคุณค่าของตนเอง การรู้จักคิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดสร้างสรรค์
การรู้จักคิดตัดสินใจและแก้ปัญหา การรู้จักแสวงหาและใช้ข้อมูลความรู้ การสื่อสารและการสร้าง
สัมพันธภาพกับผู้อื่นการจัดการกับอารมณ์และความเครียด การปรับตัวท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง
การต้ังเปา้ หมาย การวางแผนและดำเนินการตามแผน ความเหน็ ใจผ้อู ื่น ความรับผิดชอบต่อสังคม
และซาบซึ้งในสิ่งทีด่ งี ามรอบตัว
ธงโภชนาการ (Nutrition Flag)

เปน็ เครอื่ งมือที่ชว่ ยอธิบายและทำความเขา้ ใจโภชนบญั ญัติ ๙ ประการ เพอ่ื นำไปสูก่ ารปฏิบัติ
โดยกำหนดเป็นภาพ “ธงปลายแหลม” แสดงกลมุ่ อาหารและสดั สว่ นการกินอาหารในแต่ละกลมุ่ มาก
น้อยตามพืน้ ท่ี สงั เกตได้ชดั เจนวา่ ฐานใหญด่ า้ นบนเน้นใหก้ ินมากและปลายธงข้างล่างบอกให้กินน้อย
ๆ เท่าที่จำเป็นโดยมีฐานมาจากข้อปฏิบัติการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย หรือ โภชนา
บญั ญตั ิ ๙ ประการ คือ

๑. กนิ อาหารครบ ๕ หมู่ แตล่ ะหมู่ใหห้ ลากหลายและหม่ันดแู ลนำ้ หนักตวั
๒. กินข้าวเปน็ อาหารหลักสลบั กบั อาหารประเภทแปง้ เป็นบางมอื้
๓. กนิ พืชผักให้มากและกินผลไม้เปน็ ประจำ

๗๒

๔. กนิ ปลา เนอ้ื สัตวไ์ ม่ติดมนั ไข่ และถว่ั เมลด็ แหง้ เปน็ ประจำ
๕. ดมื่ นมใหเ้ หมาะสมตามวยั
๖. กนิ อาหารที่มีไขมันแต่พอควร
๗. หลกี เล่ยี งการกินอาหารรสหวานจัด และเคม็ จดั
๘. กินอาหารทีส่ ะอาด ปราศจากการปนเปือ้ น
๙. งดหรอื ลดเครื่องด่ืมท่ีมแี อลกอฮอล์
น้ำใจนกั กีฬา (Spirit)
เป็นคุณธรรมประจำใจของการเล่นร่วมกัน อยู่ร่วมกัน และมีชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม ได้
อย่างปกตสิ ขุ และมปี ระสิทธภิ าพ พฤตกิ รรมทีแ่ สดงถงึ ความมีนำ้ ใจนักกีฬา เชน่ การมีวินัย เคารพกฎ
กตกิ า รูแ้ พ้ รู้ชนะ ร้อู ภยั
บริการสุขภาพ (Health Service)
บรกิ ารทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ทัง้ ของรฐั และเอกชน
ประชาสงั คม (Civil Society)
เครือข่าย กลุ่ม ชมรม สมาคม มลู นธิ ิ สถาบัน องคก์ ร หรอื ชมุ ชนทีม่ ีกิจกรรมการเคล่ือนไหว
ทางสังคม เพอ่ื ประโยชนร์ ว่ มกนั ของกล่มุ
ผลิตภัณฑส์ ุขภาพ (Health Products)
ยา เคร่อื งสำอาง อาหารสำเรจ็ รูป เคร่ืองปรงุ รสอาหาร อาหารเสริม วิตามนิ
พฤติกรรมเบ่ียงเบนทางเพศ (Sex Abuse)
การประพฤติปฏิบัติใดๆที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติทางเพศตนเองเช่น มีจิตใจรักชอบในเพศ
เดียวกัน การแตง่ ตัวหรอื แสดงกิรยิ าเปน็ เพศตรงข้าม
พฤตกิ รรมสขุ ภาพ (Health Behaviour)
การปฏบิ ตั หิ รอื กจิ กรรมใดๆในด้านการปอ้ งกนั การสร้างเสริมการรกั ษาและการฟื้นฟูสุขภาพ
อนั มีผลตอ่ สภาวะทางสขุ ภาพของบุคคล
พฤติกรรมเสย่ี ง (Risk Behaviour)
รูปแบบจำเพาะของพฤติกรรม ซ่งึ ได้รับการพิสูจน์แลว้ ว่า มคี วามสมั พันธ์กับการเพ่ิมโอกาส
ที่จะป่วยจากโรคบางชนิดหรือการเสื่อมสุขภาพมากข้ึน
พลังปญั ญา (Empowerment)
กระบวนการสร้างเสริมศกั ยภาพแกบ่ ุคคลและชมุ ชนให้เปน็ ผู้สนใจใฝร่ ู้ และมอี ำนาจ ในการ
คิด การตัดสินใจ การแก้ปัญหาด้วยชุมชนเองได้เป็นส่วนใหญ่ นอกจากนั้นบุคคลและชุมชน ยัง
สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมทีม่ ผี ลกระทบต่อปัญหาสุขภาพให้อยู่ในสภาพทีเ่ อ้ือต่อการสร้างเสรมิ
และพัฒนาสุขภาพ

๗๓

ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)
การขาดสารอาหารที่จำเป็นตอ่ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ทำใหม้ ีผลกระทบต่อ

สุขภาพ
ภาวะผู้นำ (Leadership)

การมีคุณลักษณะในการเป็นหัวหน้า สามารถชักชวนและชี้นำสมาชิกในกลุ่มร่วมมือร่วมใจ
กันปฏิบัตงิ านใหส้ ำเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี
ภูมปิ ัญญาไทย (Thai Wisdom)

สติปัญญา องค์ความรู้และค่านิยมที่นำมาใช้ในการดำเนินชวี ิตได้อย่างเหมาะสม เป็นมรดก
ทางวัฒนธรรมที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ ความรู้แขนงต่าง ๆของบรรพชนไทยนับแต่อดีต
สอดคล้องกับวิถีชีวิต ภูมิปัญญาไทย จึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย
ทง้ั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม
ลักษณะของภมู ิปัญญาไทย มีองคป์ ระกอบต่อไปนี้

๑. คติ ความเชื่อ ความคิด หลักการที่เปน็ พ้ืนฐานขององคค์ วามรู้ที่เกดิ จากสั่งสมถ่ายทอด
กันมา

๒. ศลิ ปะ วฒั นธรรม และขนบธรรมเนยี มประเพณี
๓. การประกอบอาชพี ในแต่ละทอ้ งถน่ิ ที่ไดร้ ับการพฒั นาให้เหมาะสมกบั สมยั
๔. แนวคิด หลักปฏิบัติ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นำมาใช้ในชุมชน ซึ่งเป็นอิทธิพลของ
ความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตวั อยา่ งภมู ิปัญญาไทยท่ีเก่ียวขอ้ งกับสขุ ภาพ เช่น การแพทยแ์ ผนไทย สมุนไพร อาหารไทย
ยาไทย ฯลฯ
แรงขบั ทางเพศ (Sex Drive)
แรงขบั ทเ่ี กดิ จากสัญชาตญาณทางเพศ
ลว่ งละเมดิ ทางเพศ (Sexual Abuse)
การใช้คำพดู การจับ จูบ ลูบ คลำ และ / หรือรว่ มเพศ โดยไมไ่ ด้รบั การยินยอมจาก ฝา่ ยตรง
ข้าม โดยเฉพาะกับผเู้ ยาว์
สติ (Conscious)
ความร้สู กึ ตวั อย่เู สมอในการรับรู้ส่งิ ต่าง ๆ การให้หลกั การและเหตผุ ลในการป้องกนั ยับย้ังช่ัง
ใจ และควบคุมตนเองเพื่อไม่ให้คิดผิดทาง ไม่หลงลืม ไม่เครียด ไม่ผิดพลาด ก่อให้เกิดพฤติกรรมท่ี
ถกู ตอ้ งดงี าม

๗๔

สมรรถภาพกลไก (Motor Fitness) หรือสมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (Skill - Related Physical
Fitness)

ความสามารถของร่างกายท่ชี ว่ ยใหบ้ ุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งการเลน่ กีฬาไดด้ ี มอี งคป์ ระกอบ ๖ ดา้ น ดงั นี้

๑. ความคล่อง (Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลย่ี นทิศทางการเคลือ่ นท่ีได้อย่าง
รวดเร็วและสามารถควบคุมได้

๒. การทรงตัว (Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาดุลของร่างกายเอาไว้ได้
ทง้ั ในขณะอยูก่ ับทีแ่ ละเคล่ือนท่ี

๓. การประสานสัมพนั ธ์ (Co – ordination) หมายถึง ความสามารถในการเคลือ่ นไหวได้
อย่างราบรื่น กลมกลืน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นการทำงานประสานสอดคล้องกันระหว่างตา-มือ-
เทา้

๔. พลังกล้ามเนื้อ (Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อส่วนหนึ่งส่วนใดหรือ
หลาย ๆ ส่วนของร่างกายในการหดตวั เพ่ือทำงานด้วยความเรว็ สงู แรงหรอื งานที่ได้เปน็ ผลรวมของ
ความแข็งแรงและความเร็วที่ใช้ในช่วงระยะเวลานั้น ๆ เช่น การยืนอยู่กับที่ กระโดด การทุ่มน้ำหนัก
เป็นต้น

๕. เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction time) หมายถึง ระยะเวลาที่ร่างกายใช้ในการ
ตอบสนองตอ่ สิ่งเร้าตา่ ง ๆ เชน่ แสง เสียง สัมผสั

๖. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกหนึ่งได้
อยา่ งรวดเร็
สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness)

ความสามารถของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธิผล บุคคลท่มี สี มรรถภาพทางกายดนี ้นั จะสามารถประกอบกจิ กรรมในชีวิตประจำวนั ได้อย่าง
กระฉับกระเฉง โดยไม่เหนื่อยล้าจนเกินไปและยังมีพลังงานสำรองมากพอ สำหรับกิจกรรม
นันทนาการหรือกรณีฉุกเฉิน ในปัจจุบันนักวิชาชีพด้านสุขศึกษาและพลศึกษาได้เห็นพ้องต้องกนั วา่
สมรรถภาพทางกายสามารถจัดกลุ่มได้เป็นสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (Health – Related
Physical Fitness) และหรือสมรรถภาพกลไก (Motor Fitness) สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ
(Skill – Related Physical Fitness)

๗๕

สมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพ (Health – Related Physical Fitness)
ความสามารถของระบบต่าง ๆ ในร่างกายประกอบด้วย ความสามารถเชงิ สรรี วิทยาด้านต่าง

ๆ ท่ีช่วยปอ้ งกันบุคคลจากโรคท่ีมีสาเหตุจากภาวะการขาดการออกกำลงั กาย นับเปน็ ปัจจุบันหรือตัว
บง่ ช้ีสำคัญของการมีสุขภาพดี ความสามารถหรือสมรรถนะเหล่านี้สามารถปรับปรุงพัฒนาและคงสภาพได้
โดยการออกกำลังกายอยา่ งสม่ำเสมอ สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพมอี งค์ประกอบดังน้ี

๑. องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition) ตามปกติแล้วในร่างกายมนุษย์
ประกอบด้วย กล้ามเนื้อ กระดูก ไขมัน และส่วนอื่น ๆ แต่ในส่วนของสมรรถภาพทางกายนั้น
หมายถึง สัดส่วนปริมาณไขมันในร่างกายกับมวลร่างกายที่ปราศจากไขมัน โดยการวัดออกมาเป็น
เปอร์เซ็นต์ไขมัน (% fat) ดว้ ยเครอ่ื ง

๒. ความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiorespiratory Endurance) หมายถึง
สมรรถนะเชิงปฏบิ ัติของระบบไหลเวียนโลหิต (หัวใจ หลอดเลือด) และระบบหายใจในการลำเลยี ง
ออกซิเจนไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ ทำให้ร่างกายสามารถยืนหยัดที่จะทำงานหรือออกกำลังกายที่ใช้
กลา้ มเนื้อมดั ใหญเ่ ปน็ ระยะเวลายาวนานได้

๓. ความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง พิสัยของการเคลื่อนไหวสูงสุด
เท่าทีจ่ ะทำได้ของขอ้ ต่อหรือกลมุ่ ข้อตอ่

๔. ความทนทานหรือความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึง
ความสามารถของกล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเนื้อ ในการหดตัวซ้ำ ๆ เพื่อต้านแรงหรือ
ความสามารถในการคงสภาพการหดตัวครั้งเดยี วไดเ้ ปน็ ระยะเวลายาวนาน

๕. ความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ (Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรง
ทกี่ ล้ามเน้อื มดั ใดมัดหน่ึงหรือกลุ่มกลา้ มเน้อื สามารถออกแรงตา้ นทานได้ ในชว่ งการหดตวั ๑ ครั้ง
สขุ บญั ญตั ิแหง่ ชาติ (National Health Disciplines)

ข้อกำหนดทีเ่ ด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนทั่วไป พึงปฏิบตั ิอยา่ งสม่ำเสมอ จนเป็นสขุ
นสิ ัย เพื่อให้มสี ุขภาพดที งั้ ร่างกาย จติ ใจ และสังคม ซึ่งกำหนดไว้ ๑๐ ประการ ดงั นี้

๑. ดูแลรกั ษาร่างกายและของใชใ้ หส้ ะอาด
๒. รักษาฟันใหแ้ ขง็ แรงและแปรงฟนั ทกุ วันอยา่ งถูกต้อง
๓. ลา้ งมอื ให้สะอาดกอ่ นกนิ อาหารและหลังการขบั ถา่ ย
๔. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สี

ฉูดฉาด
๕. งดบหุ ร่ี สุรา สารเสพตดิ การพนนั และการสำสอ่ นทางเพศ
๖. สรา้ งความสัมพันธใ์ นครอบครัวให้อบอุ่น
๗. ปอ้ งกันอุบตั ภิ ยั ดว้ ยการไมป่ ระมาท

๗๖

๘. ออกกำลงั กายสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี
๙. ทำจิตใจใหร้ ่าเริงแจม่ ใสอยู่เสมอ
๑๐.มสี ำนึกต่อสว่ นรวม รว่ มสรา้ งสรรคส์ ังคม
สุขภาพ (Health)
สุขภาวะ (Well – Being หรือ Wellness) ที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่าง
สมดุลทั้งมิติทางจิตวิญญาณ (มโนธรรม) ทางสังคม ทางกาย และทางจิต ซึ่งมิได้หมายถึงเฉพาะ
ความ ไม่พกิ ารและความไมม่ โี รคเท่าน้นั
สุนทรียภาพของการเคล่ือนไหว (Movement Aesthetic)
ศิลปะและความงดงามของทว่ งท่าในการเคลื่อนไหวร่างกายในอริ ิยาบถต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลมา
จากความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบท่าทางการเคลื่อนไหวและการฝึกฝนจนเกิดความชำนาญ
สามารถแสดงออกมาเป็นความกลมกลืนและต่อเน่อื ง
แอโรบกิ (Aerobic)
กระบวนการสร้างพลังงานแบบต้องใช้อากาศ ซึ่งในที่นี้ หมายถึง ออกซิเจน (Aerobic -
energe delivery) ในการสร้างพลงั งานของกล้ามเนื้อ เพื่อทำงานหรือเคลื่อนไหว นั้น กล้ามเน้ือ
จะมีวิธีการ ๓ แบบท่จี ะได้พลังงานมา
แบบท่ี ๑ เป็นการใช้พลงั งานทมี่ สี ำรองอย่ใู นกลา้ มเน้ือซึ่งจะใช้ได้ในเวลาไมเ่ กิน ๓ วินาที
แบบที่ ๒ การสังเคราะห์พลังงานโดยไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic energy delivery) ซ่ึง
ใชไ้ ด้ไมเ่ กนิ ๑๐ วินาที
แบบที่ ๓ การสงั เคราะห์สารพลงั งาน โดยใชอ้ อกซเิ จน ซงึ่ จะใชพ้ ลังงานได้ระยะเวลานาน

๗๗

แหล่งการเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย

ตนเอง เรียนรู้อย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ิต และใชเ้ วลาว่างอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งมีความยืดหยุ่น สนอง
ความต้องการของผเู้ รยี น ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ไดท้ กุ เวลา ทุกสถานท่ี
และเรยี นรู้ได้จากสื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรยี นรูท้ กุ ประเภทรวมทั้งจากเครือขา่ ยการเรียนรู้ต่างๆ
ท่ีมีอยู่ในท้องถิน่ ชุมชนและอื่นๆ รูปแบบของสอื่ การเรียนรู้ จำเปน็ ต้องได้รบั การพัฒนาให้เอ้ือต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนอย่างแท้จริง โดยจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่
กำหนดไวใ้ นหลกั สูตร

สาระการเรียนรู้กลุ่มสุขศึกษาและพลศึกษามุ้งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ในเรื่องการ
เจริญเติบโตและพัฒนาการ ชีวิตและครอบครัว การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม
การเล่นกีฬา การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ การป้องกันโรคและความปลอดภัยในชวี ิต เน้นการ
ฝึกฝนผู้เรียนจนเกิดทักษะที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตและสุขภาพ เช่น ทักษะการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ การตดั สนิ ใจและแก้ปญั หา การส่อื สารและการสรา้ งสมั พนั ธภาพระหว่าง
บุคคล การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและจิต การจัดการ เป็นต้น รวมทั้งมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมี
คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ถูกต้องในด้านสุขภาพ ดังนั้น สื่อการเรียนรู้กลุ่มสุขศึกษาและพล
ศึกษาจะต้องได้รับการพัฒนา ให้สามารถนำมาใช้เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดการเรียน รู้ และมี
คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนร้ทู ่ีกำหนดไว้ในหลักสูตร

๗๘

คณะทำงานจัดทำหลกั สตู ร
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา พลศึกษา โรงเรียนอนบุ าลตาก

๑. นายเสวก บญุ ประสพ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานท่ปี รกึ ษา
๒. นางสาวจตรุ พร มหาภาส รองผูอ้ ำนวยการ รองผอู้ ำนวยการ
๓. นางเสาวรส จว๋ิ กาวี รองผู้อำนวยการ
๔. นางสาวลักขณา จิว๋ ปัญญา รองผู้อำนวยการ ทปี่ รึกษา
๔. นางวาสนา บัวงาม ผชู้ ่วยผ้อู ำนวยการ ท่ปี รึกษา
๕. นายปรัชญ์ สายสด ครู ท่ีปรกึ ษา
๖. นายต่อพงษ์ มาพงษ์ ครู หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
๗. นายวีรภทั ร อาชาคีรี ครู กรรมการ
๑๑.นางรงุ่ นภา จินดาสุทธ์ิ ครู กรรมการ
กรรมการเลขานกุ าร

2


Click to View FlipBook Version