The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-BOOK เที่ยวทิพย์ 10 ประเทศอาเซียน GEB3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siriwan.phothisansakul, 2021-10-30 04:40:26

E-BOOK เที่ยวทิพย์ 10 ประเทศอาเซียน GEB3

E-BOOK เที่ยวทิพย์ 10 ประเทศอาเซียน GEB3

มสั ยดิ อชั ชาลิฮีน (Ash Shaliheen Mosque)

มัสยิดอัช ชาลิฮีน ตั้งอยู่ที่เขตกัมปุง เมลาบู กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน ใกล้กับที่ทำการแห่งใหม่ของ
สำนกั นายกรฐั มนตรีของบรไู น เปดิ ใชเ้ ป็นศาสนสถานใหส้ าธารณชนอยา่ งเปน็ ทางการเมื่อปีค.ศ.2012 เน้ือท่ี
2,100 ตารางเมตร เอกลักษณส์ ำคัญของมสั ยิด เปน็ การสรา้ งมัสยดิ อิสลามในบรูไนดว้ ยความคิดใหม่ เพราะ
สร้างด้วยรูปแบบของสถาปัตยกรรมอิสลามโมร็อกโก ผสมผสานกับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมไบแซนทีน
และโรมัน บริเวณโดยรอบใช้การออกแบบและศิลปะแบบมัวร์ในโมร็อกโกผสมกับศิลปะอันดาลูซีอา
(Andalusian)ในสเปน มีการประดับกระเบื้องโมเสกเป็นลวดลายเรขาคณิต มีการใช้ลายอักขระอาหรับ
ประกอบการตกแต่งส่วนของผนังและหลังคา รวมทั้งชอ่ งประตูฉลุลายที่เปิดช่องรับแสงจากดวงอาทิตย์ เป็น
วิธีการประยุกต์จากแบบโบราณรวมกับแนวคิดสมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน มัสยิดภายนอกมั่นคงด้วย
โครงสร้างแบบสถาปัตยกรรมสมัยกลา เสาอะซานคู่ทางซ้ายและขวา หลังคาสีเขียวของหออะซานจะ
แตกต่างจากแบบทั่วไปในมลายู เพราะมีรูปทรงคล้ายปราสาทปลายมนประดับยอดพระจันทร์เส้ียว ผนังใช้
โทนสีเหลืองทอง หลังคาโค้ง หลังโดมสีเขียวประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีเป็นช่องตารางสี่เหลี่ยม ประดับ
เสายอดพระจนั ทร์เสีย้ วสีทองด้านบน รอบฐานโดมเจาะเปน็ หน้าต่างฉลุลายในทุกๆส่วน โถงกลางของมัสยิด
กว้างสามารถรองรบั ผู้มาประกอบพิธีละหมาดได้มากถึง 1,000 คน ใต้โดมใหญ่เปน็ ท่ีตัง้ ของนำ้ พุบนฐานรปู
ดาวแปดแฉก ชอ่ งประตดู า้ นในสรา้ งเป็นเสาโคง้ เกอื กม้า ก่อดว้ ยหนิ ทรายสลับสีตามแบบโมร็อกโกคือใช้หินสี
แดงและขาวสลบั กันในขอบประตโู คง้ ฐานสรา้ งดว้ ยไม้และหินประดบั กระเบื้องเคลือบสี

เอกสารอ้างอิง: By colorlib. (2564). มัสยิดอชั ชาลฮิ ีน (Ash Shaliheen Mosque). สบื ค้น 2 ตุลาคม
2564, จาก https://bit.ly/2ZLbTlT
ผู้เรยี บเรียง 83 นางสาวลลติ าภสั ร์ ไชยวัฒน์เธียรกุล

เที่ยวทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

ใส่รูปภาพเต็มหนา้

มัสยดิ ทองคำ มสั ยิดทองคำ (Jame’ Asr Hassanil Bolkiah Mosque)
ท่ีมา: https://bit.ly/3miDJ0x

43

มสั ยิดทองคำ มสั ยดิ ทองคำ (Jame’ Asr Hassanil Bolkiah Mosque)

พระราชวังหลังคาทองคำ อิสตานา่ นูรลู อิมาน ซงึ่ เปน็ ท่ีประทบั ขององคส์ ลุ ตา่ นและพระราชวงศ์
อีกท้ังยังเปน็ ทำเนยี บรฐั บาลด้วยมหี อ้ งต่างๆถึง 1,788 ห้องสร้างอยบู่ นพน้ื ที่ 300 เอเคอร์ โรงรถมที ีจ่ อดรถ
กวา่ 300 เอเคอร์ โรงรถมีทจ่ี อดรถกวา่ 350 คัน มัสยิคเกา่ แก่อนั เป็นทีเ่ คารพสกั การะของชาวบรไู น ตั้งอยู่
ใจกลางกรงุ บันดาร์เสรีเบกาวัน มัสยดิ หลงั นี้ออกแบบและดำเนนิ การสรา้ งโดยสลุ ตา่ นโอมาร์ อาลี ไซฟัดดนิ
ที่ 3 พระราชบดิ าของสุลตา่ นองคป์ ัจจุบัน และสร้างเสรจ็ ในปีค.ศ. 1958 พระองคท์ รงได้รบั การยกย่อง เป็น
สถาปนิกสมยั ใหม่ของบรูไน มัสยิคนี้มีความงดงามจนไดช้ อ่ื ว่า มนิ ิทัชมาฮาล ที่มาของช่อื คือต้ังตามชอ่ื ผูด้ ำริ
การสรา้ งซง่ึ ก็คอื องคส์ ลุ ตา่ น โอมาร์ อาลี ไซฟุดดินท่ี 3 พระราชบิดาของสมเดจ็ พระราชาธิบดีฮจั ญี ฮัสซานลั
โบลเกยี ห์ มูอซิ ซดั ดิน วัดเดาละห์ (สลุ ตา่ นปจั จุบนั องค์ที่ 29) สถาปตั ยกรรมท่ใี ช้ ไดร้ ะบุวา่ เปน็ แบบอสิ ลาม
มิกซ์อารต์ สไตลอ์ ิตาลี โดยสถาปนิกชาวอิตาลี วสั ดุทกุ ชนิ้ เป็นวสั ดุทีค่ ดั สรรมาเป็นอย่างดีไมว่ า่ จะเปน็ หนิ
ออ่ นสีขาวพราวกระจ่างจากอิตาลี หินแกรนติ เน้ือแข็งช้ันเย่ียมจากเซ่ียงไฮ้ โคมระย้าคริสตลั จากองั กฤษ
พรมเสน้ ใยพเิ ศษจากซาอดุ ิอารเบยี และทสี่ ำคัญยอดโดมใช้แผ่นทองคำแท้ถึง 3.3 ล้านแผ่น ความสูงของ
มสั ยิด 52 เมตร มัสยดิ น้ีเปน็ ที่รจู้ กั กนั อีกชื่อหน่ึงวา่ "มสั ยดิ ทองคำ" เนือ่ งจากจุดเดน่ บนโดมที่ใช้ทองคำถงึ
3 ลา้ น 3 แสนแผน่ น่นั เอง ความงามของมัสยดิ นไ้ี ดร้ บั การเปรียบเปรยวา่ เปน็ มนิ ิทชั มาฮาล แตอ่ ย่างไรกต็ าม
วตั ถปุ ระสงค์ของมัสยดิ ก็ยงั คนละเรื่องกบั ทชั มาฮาล เหมือน มัสยดิ ของคเู วต ทไี่ ด้รบั การขนานนามว่า
เป็นทัชมาฮาลจำลอง

เอกสารอา้ งอิง: Sites.(2564).มสั ยดิ ทองคำ. สืบคน้ 1 ตุลาคม 2564, จาก
https://sites.google.com/site/phairotemasyid/masyi-eu/ptithin-hi-cre-aah
ผเู้ รียบเรยี ง 84 นางสาวลักษิกา กนั ดารี

เท่ียวทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

ใสร่ ปู ภาพเตม็ หนา้

อุทยานนันทนาการปา่ ปูเลา เซลิรอง (Pulau Selirong Forest Recreation Park)
ทม่ี า: https://queenscommonwealthcanopy.org/projects/pulau-selirong-forest-reserve/

45

อทุ ยานนันทนาการป่าปูเลาเซลิรอง(Pulau Selirong Forest Recreation Park)

ประเทศบรไู นตั้งอยทู่ างตอนเหนือของเกาะบอรเ์ นียวมีพนื้ ทส่ี ว่ นใหญข่ องประเทศเป็นหมเู กาะที่
อดุ มไปดว้ ยปา่ รอ้ นหลายแห่งท่ัวทงั้ ประเทศทำให้ประเทศบรูไนมรี ายไดห้ ลกั จากการจากทรัพยากรธรรมชาติ
ในประเทศรวมถึงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติอย่าง ที่ตั้งอยู่ในบริเวณอุทยานแห่งชาติป่าปูเลา
เซลิรอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดบันดาร์เสรีเบกาวัน อุทยานแห่งนี้มีลักษณะเป็นหมู่เกาะที่มีพื้นที่
ครอบคลุมถึง 25 ตารางกิโลเมตร มีป่าชายเลนที่กินพื้นที่ไปถึงร้อยละ 95 ของเกาะแห่งนี้ อุดมไปด้วยพืช
พรรณธรรมชาติหลายชนิดอย่างต้นโกงกางขึ้นอยู่หนาแนน่ ทั่วบริเวณป่าชายเลน มีต้นเฟิร์นละต้นปาล์มข้ึน
ปกคลุมทั่วบริเวณเกาะ มีสัตว์ป่าหลายชนิดอาศัยอยู่อย่างสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีนกที่อพยพมาอาศัยอยู่
ชั่วคราวหลายชนดิ ทำให้บรเิ วณน้มี ีพนั ธ์ุนกหลายชนิดเข้ามาอาศยั อยู่เป็นท่ีอย่ขู องสัตวเ์ ลื้อยคลาน และเป็น
แหล่งอนุบาลสัตว์น้ำอย่างลูกกุ้งก้ามกราม ลูกปู นอกจากนี้ยังพบลีเมอร์บินได้เป็นจำนวนมากที่จะพบได้
เพียงบริเวณคาบสมุทรมาลายูถึงตอนเหนือของเกาะเบอร์เนียว ส่วนแหล่งน้ำที่ไหลผ่านบริเวณหมู่เกาะน้ี
เป็นแหลง่ น้ำที่ไหลมาจากแมน่ ้ำบรไู น ความสวยงามเหล่านี้ทำใหน้ ักท่องเที่ยวที่ต้องการชมความงดงามของ
ธรรมชาตินิยมไปท่องเที่ยวกันอย่างมากรวมถึงการไปเก็บภาพทีร่ ะลึกจากบรเิ วณหมู่เกาะแห่งน้ี การเดินทาง
เข้าไปในเกาะป่าชายเลนในช่วงเวลาปกติจะต้องนั่งเรือยนตร์โดยสารเข้าไปเพื่อชมความสวยงามของ
ธรรมชาติ ทัง้ พชื พันธไ์ุ ม้แปลกตาและสตั วน์ านาชนดิ รวมถึงการเดินทางไปเพ่อื ปลูกปา่ ชายเลนจะมีค่าใช้จ่าย
ต่อคนอยู่ที่ประมาณ 100 ดอลล่าร์สิงคโปร์ แต่ถ้าถึงในช่วงน้ำทะเลหนุนจะไม่สามารถไปท่องเที่ยวได้ใน
บริเวณได้ เนอ่ื งจากจะมีนำ้ ท่วมบริเวณท่ีมีการปลูกป่าใช้เลนทำให้การเดินทางไมส่ ะดวกดังนั้นในช่วงน้ีจึงไม่
เปดิ บริการใหน้ ักทอ่ งเท่ียวสามารถเขา้ ไปได้
เอกสารอา้ งอิง: Eddy Swan. (2557). Pulau Selirong Forest Recreation Park. สบื ค้น 5 ตลุ าคม
2564,จาก https://bit.ly/3uHD5gR
ผู้เรียบเรียง 138 นางสาวฟารีดา หมัดนุช

เที่ยวทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซียน

ใส่รูปภาพเตม็ หนา้

แมน่ ำ้ บรูไน (Brunei River)
ท่ีมา: https://3h854h1ibj2x19g1cg3nclgc-wpengine.netdna-ssl.com/wp-
content/uploads/2012/10/Brunei-131.jpg

47

แม่นำ้ บรูไน (Brunei River)

แม่นำ้ บรูไนเปน็ แมน่ ำ้ ที่ไหลผา่ นบรูไนและไหลลงสู่อ่าวบรูไนไปทางทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนือ Istana
Nurul Iman ซ่ึงเป็นทพี่ ำนักอยา่ งเป็นทางการของสลุ ตา่ นบรูไนต้ังอยรู่ ิมฝัง่ แม่นำ้ แมน่ ้ำบรไู นเปน็ แม่นำ้ สาย
หลักท่ีส้ันท่ีสุดในบรูไน เป็นยา่ นทพี่ กั อาศัยแบบดง้ั เดิมของบรูไน และมกี มั ปงเอเยอร์ (หมู่บ้านน้ำ) ตั้งอยู่ริม
แม่น้ำ บันดาร์เสรีเบกาวันเมืองหลวงของบรูไนตั้งอยู่ริมฝั่ง ต้นน้ำลำธารเป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญสำหรับ
ส่วนตะวันตกของประเทศ บรูไนมีประวัติศาสตร์การเดินเรือที่ยาวนาน สุลต่านแห่งบรูไนเคยครอบครอง
เกาะบอร์เนียวทั้งหมด รวมทั้งบางส่วนของฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ป่าทึบของภูมิภาคนี้หมายถึงวิธี
คมนาคมและการสื่อสารผ่านทางเรือเสมอ สิ่งนี้นำไปสู่การตั้งถิ่นฐานดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ข้างแม่น้ำและทางน้ำ
ทางน้ำเหล่านี้ทำให้การคมนาคมสะดวกผ่านสภาพแวดล้อมที่เป็นป่า และแหล่งอาหาร ในปี พ.ศ. 2549
กรมสิ่งแวดล้อม สวนสาธารณะและนันทนาการของกระทรวงบรูไน (จัสเตร) ได้ริเริ่มการรณรงค์ทำความ
สะอาดแม่น้ำบรูไน มีการจัดสรรเงินจำนวน 3.9 ล้านเหรียญสหรัฐสำหรับโครงการทำความสะอาด
นอกเหนือจาก 90,000 เหรยี ญสหรัฐสำหรบั การจัดเก็บขยะตามบา้ น แมน่ ำ้ บรไู นมีพื้นท่ีเก็บกักน้ำประมาณ
360 ตร.กม. ภายในบริเวณน้มี ีผคู้ นอาศัยอยมู่ ากกว่า 75,000 คน ปากแมน่ ำ้ บรูไนซึ่งไหลลงสู่อ่าวบรูไน ใช้
สำหรบั การขนสง่ การประมงเชงิ พาณิชย์ขนาดเลก็ นนั ทนาการให้แก่นักท่องเทย่ี ว และการกำจัดขยะ

เอกสารอ้างอิง: สมุดโคจร ช่อง 5.(2557). สืบคน้ เมื่อ 5 ตุลาคม 2564,จาก
http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/5/2014-10-26/21/
ผู้เรยี บเรยี ง เลขที่ 142 นางสาวสิริกัญญา โฉมเฉยี งใต้

เท่ียวทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

ใส่รูปภาพเตม็ หนา้

เทราจา (Teraja)
ทม่ี า: https://wwf.panda.org/wwf_news/?201060/Bruneis-Bukit-Teraja--a-forest-area-

49

เทราจา (Teraja)

การสำรวจแสดงให้เห็นว่าพื้นที่นี้มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงเป็นพิเศษพืชและสัตว์ที่มี
เอกลักษณ์เฉพาะ มีศักยภาพในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ดี Teraja เป็นผืนป่าที่ไม่ถูกรบกวน เป็นสถานท่ี
หลบภัยในอดุ มคติ สำหรับนักทอ่ งเท่ียวและนักผจญภัยที่ต้องการปีนเขาและการผจญภัยใหม่ๆ เส้นทางและ
น้ำตก 40 แห่งในบริเวณนี้ แหล่งที่อยู่อาศัยที่หลากหลายของพื้นที่ เช่น ป่าบนเนินเขา ป่าพรุ สันเขา หิน
น้ำตก และลำธาร ทำให้ที่นี่เป็นบ้านในอุดมคติสำหรับพืชและสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์และมีเอกลักษณ์
หลากหลายประเภท และเป็นแหล่งที่มีคุณค่าทางวิทยาศาสตร์อย่างมาก ชาวบ้านยังคงอนุรักษ์ภูมิปัญญา
และตำนานของพื้นที่แห่งนี้ กรมป่าไม้บรูไนและสภาเสนอให้ราชกิจจานุเบกษาที่ป่าอนุรักษ์ ไว้ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ป่าปฐมภูมิและความหลากหลายทางชีวภาพ และเพื่อพัฒนาผลกระทบต่ำ โอกาส
การท่องเท่ียวเชงิ นเิ วศขนาดเลก็ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนท้องถน่ิ ปา่ อนุรกั ษ์ Teraja ทเี่ สนอจะเชื่อมโยงจาก
ป่าคมุ้ ครอง Bukit Teraja ทีม่ อี ยู่กบั ปา่ อนุรักษ์ Ulu Mendaram ซึง่ จะสร้างปา่ ฝนที่บริสุทธิ์เป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกันซึ่งมีความเชื่อมโยงกัน มีความสำคัญต่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ที่นั่น ภายในป่าสงวน Teraja
Conservation Forest ที่เสนอ แอ่ง Sungai Teraja ขนาดเล็กที่อยู่เหนือน้ำจากเรือนยาว Teraja เป็นท่ี
สนใจเป็นพเิ ศษ เพราะมคี วามหลากหลาย เช่น มนี ำ้ ตกอยา่ งน้อย 11 แห่ง และการเดินปา่ มมี ากมาย เหมาะ
สำหรับนักเดินป่าและคนที่รักการผจญภัย ศักยภาพของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศนี้ มีส่วนร่วมของ Teraja
และเชื่อมโยงของป่าโดยรอบมากขึ้น ทำให้พื้นที่นี้เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญในการอนุรักษ์ที่สำคัญ กับการ
ขยายสถานะการคุ้มครองของพื้นที่พร้อมกับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ที่เสนอ ส่วนของป่าปฐมภูมิที่ได้รับการ
คมุ้ ครองของบรไู นจะเพ่มิ ขนึ้ เปน็ 20% ซึ่งทำให้ประเทศเล็ก ๆ นำหนา้ ประเทศเพอื่ นบา้ นทใี่ หญก่ ว่าท้งั หมด
เอกสารอา้ งองิ : panda.org.(2564).Bukit Teraja ของบรูไน – พ้นื ทป่ี า่ ท่คี วรค่าแก่การปกปอ้ ง.สืบคน้ 4
ตลุ าคม 2564, จาก https://bit.ly/3iwgjDM
ผเู้ รียบเรียง 145 นางสาวสุทธดิ า สุธารัตน์

เทย่ี วทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

ใสร่ ปู ภาพประกอบวิดีทศิ น์

14สถานทที่ ่องเทย่ี วมหศั จรรย์ในบรไู น
https://youtu.be/Ec5LmEupdZ8

51

วิดีทศั น์

สถานที่ท่องเท่ยี วประเภทแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางศิลปกรรม

1. มัสยิดสุลต่าน โอมาร์ ไซฟุดดิน เปน็ มัสยดิ เก่าแกท่ ่ีมีผู้คนเข้าไปสักการะ ถือเปน็ สถานทร่ี วมจิตใจของชาว
มุสลมิ ในบรไู น สร้างจากหนิ อ่อนและหนิ แกรนติ มีความมั่นคงแขง็ แรงสวยงามดว้ ยสขี าวบริสุทธิ์
2. พระราชวังอสิ ตานา นูรูล อีมาน เปน็ ธรรมเนยี บของรฐั บาลบรไู น ที่ใชท้ องคำมาสรา้ งโดม มคี วามหรหู รา
ยิง่ ใหญอ่ ลงั การ ภายในตกแต่งดว้ ยทองคำแท้ มีความกว้างมากบรรจุคนได้ถึง 5,000
3. กมั ปงไอเยอร์ เปน็ สถานที่ผลติ งานศิลป์และมบี ้านเรอื นทีเ่ กา่ แก่จำนวนมากทต่ี ้ังอยู่บนน้ำ

สถานทท่ี ่องเท่ียวประเภทแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติ

1. อูลู เทมบุรง เปน็ อุทยานเเห่งชาติเเห่งแรกที่กอ่ ตั้งขน้ึ ในประเทศบรู ไน ได้ฉายาว่าเปน็ มงกฎุ สีเขยี วแหง่ บรูไน
เปน็ แหล่งท่องเทย่ี วเชงิ อนรุ ักษ์อนั ดบั หน่ึงท่เี ต็มไปด้วยตน้ ไม้นานาชนิด สามารถมองเห็นป่าบนสะพานไม้มมุ สงู
และได้รับอากาศที่บรสิ ุทธิ์
2. ตาเสก เมริมบรรณ ธรรมชาตมิ คี วามสวยงาม เเละยังเป็นทศี่ ึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพท่ีสำคญั มาก
3. หาดมัวรา เปน็ หาดทรายขาว น้ำทะเลสีเขยี วมรกต หาดมีความสะอาดและลมเยน็ สบาย เหมาะสำหรับไป
ปิคนคิ

สถานที่ท่องเทย่ี วประเภทแหล่งทอ่ งเที่ยวทางพิพิธภณั ฑ์และหอศิลป์

1. พพิ ธิ ภัณฑ์การเดนิ เรอื บรไู นดารุสซาลาม แสดงให้เหน็ ถึงบทบาทของสลุ ต่านในฐานะศนู ย์กลางการค้าท่ีเฟื่อง
ฟใู นสมยั โบราณ พพิ ธิ ภัณฑ์การเดนิ เรือฉวนโจวของจนี มีการแสดงแบบจาํ ลองของเรอื ต่างประเทศท่เี ดนิ ทาง

เที่ยวทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซียน

มายงั บรไู นเพ่อื มาทำการค้า
2. พิพธิ ภัณฑ์พระบรมราชกกุธภัณฑ์ ท่ีมีการจดั แสดงส่ิงของต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็น ขบวนพาเหรดของสลุ ต่านใน
โอกาสเฉลมิ ฉลองกาญจนาภเิ ษกปี 2535 รถมา้ ซึง่ ทำด้วยทองทงั้ หมด

สถานท่ีท่องเที่ยวประเภทแหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์

1. อนสุ าวรีย์น้ำมันหนง่ึ ล้านบารเ์ รล เป็นสญั ลกั ษณ์แหง่ ความมั่นคงของประเทศบรไู น และเป็นสถานท่ีทาง
ประวัตศิ าสตรท์ ีส่ ำคัญมากจงึ มีทหารอารักขาตลอด
2. มสั ยิดอัช ชาลฮิ นี เปน็ การสรา้ งมัสยดิ อิสลามด้วยความคิดใหม่ สร้างด้วยรูปแบบของสถาปัตยกรรมอสิ ลาม
โมรอ็ กโก ผสมผสานกบั อทิ ธิพลจากสถาปัตยกรรมไบแซนทีนประดบั กระเบื้องโมเสกเปน็ ลวดลายเรขาคณติ
เปน็ วธิ ีการประยกุ ตจ์ ากแบบโบราณกับแนวคิดสมยั ใหม่ได้อย่างกลมกลนื
3. มสั ยดิ ทองคํา เป็นท่ปี ระทับขององค์สุลตา่ นและพระราชวงศ์ จุดเด่นของมสั ยดิ น้ี คือ บนโดมใช้ทองคํา
จำนวนมากความงามของมสั ยิดนไ้ี ด้รบั การเปรียบวา่ เปน็ มินิทัชมาฮา

สถานท่ที ่องเท่ียวประเภทแหลง่ ท่องเทย่ี วเชิงนเิ วศ

1. อุทยานนันทนาการปา่ ปเู ลา เซลริ อง อุดมไปด้วยพรรณไมห้ ลายชนิด และสตั ว์ป่า เพราะเป็นท่ีอดุ มสมบรู ณ์
2. แมน่ ้ำบรไู น เป็นแม่นำ้ สายหลักทส่ี ้ันทสี่ ุดในบรไู น แหลง่ นำ้ เหลา่ นท้ี ําใหก้ ารคมนาคมสะดวกสําหรับการ
ขนส่ง การประมงเชงิ พาณิชย์ขนาดเลก็
3. เทราจา พนื้ ที่น้มี ีความหลากหลายทางชีวภาพเปน็ พิเศษ มีพชื และสัตวท์ ่ีมเี อกลักษณ์เฉพาะ เป็นสถานที่
หลบภยั ในอดุ มคตสิ ําหรบั นักท่องเท่ียวและนักผจญภัยทตี่ ้องการปีนเขาและการผจญภัยใหม่ๆ เป็นแหล่งทม่ี ี
คณุ คา่ ทางวทิ ยาศาสตร์อยา่ งมาก และชาวบา้ นยงั คงอนรุ ักษภ์ ูมปิ ัญญาและตํานานของพ้ืนทแ่ี หง่ นี้

53

สรุป

ประเทศบรูไร หรือ เนการาบรูไนดารุสซาลาม ในอดีตตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ และได้ทำ
สนธสิ ญั ญาใหอ้ ังกฤษเข้ามาดแู ลประเทศอย่างเตม็ รปู แบบเปน็ เวลา 95 ปี จงึ ทำใหไ้ ดส้ ำรวจพบแหลง่ น้ำมนั และ
แก๊สธรรมชาติส่งผลให้ในสมยั นั้นบรูไนร่ำรวยเป็นอย่างมากมีชื่อเสียงทางการค้าและยงั มีสินค้าส่งออกที่สำคญั
ในสมัยนนั้ ไดแ้ ก่ การบูร พริกไทย และทองคำ และวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2527 ประเทศบรไู นประกาศตัวเป็น
เอกราช บรูไนมีพ้นื ทป่ี ระกอบด้วย 2 สว่ นท่ีไมต่ ิดกนั คือด้านตะวันตกและตะวนั ออก ซงึ่ มภี ูเขาเป็นจำนวนมาก
ทางด้านตะวันออก และเป็นที่ตั้งของเขตเตมบูรง เมืองหลัก ๆ ของบรูไนคือเมืองหลวงบันดาร์เสรีเบกาวัน
เมืองท่ามูอารา และเซรอี า ท่เี ปน็ แหลง่ ธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์ ทางดา้ นตะวันออกของบรูไนจึงมีสถานท่ี
ท่องเทย่ี งเชิงธรรมชาติและระบบนิเวศเยอะ และยงั ติดกับทะเลจีนใต้ทำให้มหี าดสวยงามอยู่หลายแห่ง บรูไนมี
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซียมากจึง มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการแต่งกาย ที่
คล้ายคลึงกัน แต่บรูไนก็มีภาษาเป็นของตนเองในโลกวัฒนธรรมบรูไนก็มีเอกลักษณ์เฉพาะเรียกว่า โลกมลายู
เป็นอุดมคติของชาวบรูไนตั้งแต่อตีตมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งคุณค่าของวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี
เปน็ ตวั กำหนดวิถีชวี ติ ของชาวบรูไนว่าเป็นสิ่งประเสริฐ อาหารของชาวบรูไนจะชอบประเภททอดและใช้อาหาร
ที่ประกอบไปด้วยกะทิและอาหารที่ขึ้นชื่อในบรูไนเช่น อัมบูยัต ซึ่งเป็นอาหารประจำชาติจะลักษณะคล้าย
ข้าวต้มกุ๊ยที่ต้องมีเครื่องเคียงรับประทานพร้อมไปด้วย แต่อัมบูยัตจะใช้แป้งสาคูแทนข้าว อุดัง ซามบาล ซีไร
เบอซานตาน และเรินดงั เน้ือที่คล้ายกบั พะแนงของไทย ประเทศบรูไนถือวา่ เป็นประเทศทคี่ รบทุกองค์ประกอบ
มาก ๆ ทั้งเร่ือง อาหาร แหล่งท่องเท่ียว มีความน่าสนใจและโดดเด่นมเี อกลักษณ์เปน็ อย่างมาก

เท่ียวทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

55

บทท่ี 2
เทีย่ วทพิ ย์ประเทศไทย

57

สว่ นนำ

ประเภทของแหลง่ สถานท่ีทอ่ งเท่ียว แบง่ ได้ 12 ประเภทดงั นี้
1. แหล่งทอ่ งเทย่ี วเชิงนเิ วศ หมายถึง แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทีม่ ลี ักษณะทางธรรมชาติทเ่ี ปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะท้องถ่ิน
2.แหล่งทอ่ งเท่ยี วทางศิลปะวทิ ยาการ หมายถงึ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วตอบสนองความสนใจพเิ ศษของนกั ท่องเทย่ี ว
3. แหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ หมายถึง แหล่งทอ่ งเที่ยวท่มี คี วามสำคัญและคุณค่าทางประวตั ิศาสตร์
4. แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ หมายถึง สถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยวทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งดึงดดู
5. แหล่งทอ่ งเทย่ี วเพื่อนันทนาการ หมายถึง แหลง่ ท่องเที่ยวทมี่ นษุ ยส์ ร้างขน้ึ เพื่อการพกั ผ่อน
6. แหล่งทอ่ งเที่ยวทางวฒั นธรรม หมายถึง แหลง่ ท่องเท่ยี วท่มี ีคุณคา่ ทาง ศลิ ปะและขนบธรรมเนยี มประเพณีที่
บรรพบุรุษได้สร้างสมและถ่ายทอดเป็นมรดกสืบทอดกันมา เกี่ยวกับ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน การแสดง
ศิลปวัฒนธรรม สนิ ค้าพ้นื เมือง การแตง่ กาย ภาษา ชนเผา่
7. แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพน้ำพุร้อนธรรมชาติ หมายถึง เป็นการท่องเที่ยวแบบธรรมชาติการท่องเที่ยว
ประเภทน้จี ะต้องคำนึงถึงด้านความปลอดภยั ของนักท่อง เที่ยวเปน็ สำคัญ
8. แหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาด หมายถึง สถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว โดยมีชายหาดเป็น
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีดึงดูดใจ
9. แหล่งท่องเที่ยวประเภทน้ำตก หมายถึง สถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว โดยมีน้ำตกเป็น
ทรพั ยากรธรรมชาติ
10.แหล่งท่องเที่ยวประเภทถ้ำ หมายถึง สถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว โดยมีถ้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ี
ดงึ ดดู ใจ
11.แหล่งท่องเที่ยวประเภทเกาะ หมายถึง เป็นหนึ่งในเกาะที่นา่ ดึงดูดทีส่ ุดในนกั ทอ่ งเทีย่ ว

เทยี่ วทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซยี น

12.แหลง่ ท่องเท่ียวประเภทแก่ง หมายถงึ สถานท่ีที่เปดิ ใช้เพ่ือการท่องเท่ียว โดยมแี ก่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติ
ท่ดี ึงดูดใจ

ลกั ษณะภมู ิประเทศของประเทศไทย
ภาคเหนือ ภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญเ่ ปน็ ทวิ เขาสลับกับท่รี าบหุบเขา เพชรบรู ณย์ อดเขาท่ีสูงที่สุด ในภาคเหนือและ
สูงทส่ี ดุ ของประเทศ คอื ดอยอินทนนท์ จังหวดั เชียงใหมเ่ ป็นแหลง่ กำเนดิ ของแม่นำ้ ปงิ วัง ยม นา่ น
ภาคกลาง เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ แบ่งเป็นภาคกลางตอนบนและ ภาคกลางตอนล่างภาคกลางตอนบนมีลักษณะ
ภมู ิประเทศสงู ๆตำ่ ๆแบบลกู ฟูกมีแม่น้ำปิง, แมน่ ำ้ นา่ น ไหลมาบรรจบทต่ี ำบลปากน้ำโพเป็นตน้ กำเนดิ ของแม่น้ำ
เจา้ พระยา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง และทิวเขา คือทิวเขาดงพญาเย็น, ทิวเขา
เพชรบรู ณ์,ทิวเขาพนมดงรัก, ทิวเขาสนั กำแพง แมน่ ้ำชีและแมน่ ้ำมูลเป็นแมน่ ้ำสาย สำคญั จะไหลลงสแู่ ม่นำ้ โขง
ภาคตะวันออก ภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ราบชายฝั่งทะเล มีสภาพ เป็นเกาะเรียงราย เช่น
เกาะช้าง เกาะกูด เกาะสีชัง เกาะล้าน บริเวณจังหวัดปราจีนบุรี และสระแก้วไม่มีอาณาเขตจดทะเล
ส่วนจงั หวดั อนื่ ๆของภาคมีทางออกทะเลทั้งหมด
ภาคตะวันตก ภูมปิ ระเทศเปน็ ทวิ เขาสลับท่ีราบหุบเขาคล้ายกับภาคเหนือ บรเิ วณที่ติดต่อกับชายฝั่ง ทะเล คือ
เพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ทิวเขาถนนธงชัยและทิวเขาตะนาวศรี เป็นต้นกำเนิด ของแม่น้ำแควน้อย
(ไทรโยค) แม่น้ำแควใหญ่ (ศรสี วสั ดิ)์ ไหลมาบรรจบกนั เป็นแมน่ ้ำแม่กลอง จงั หวดั กาญจนบรุ กี ่อนไหลลงส่ทู ะเล
ภาคใต้ ภูมิประเทศเป็นทิวเขาสูง แนวยาวตามคาบสมุทร ทิวเขาสันกาลาคีรีเป็นเส้นพรมแดนธรรมชาติก้ัน
ระหว่าง ไทยกับมาเลเซีย แม่น้ำส่วนใหญ่เป็นสายสั้นๆ สายยาวที่สุด คือแม่น้ำตาปีจุดเด่นของภูมิประเทศ
ในภาคใต้ มที ะเลสาบเปดิ (Lagoon) ทใ่ี หญ่แหง่ หน่งึ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ คอื ทะเลสาบสงขล

59

เนื้อหาในบทที่ 2 จะกล่าวถึงสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นมรดกโลกแต่ละประเภท ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยว
ทางศิลปกรรม แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวทางพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ แหล่งท่องเที่ยวทาง
ประวัติศาสตร์ และแหล่งทอ่ งเทยี่ วเชงิ นิเวศ

จากทก่ี ลา่ วมาข้างตน้ ประเภทแหล่งท่องเทยี่ วทางศลิ ปกรรม ไดแ้ ก่ วดั พระธาตุดอยสเุ ทพราชวรวิหาร
, วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม, วดั รอ่ งขนุ ประเภทแหล่งทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ เขตรกั ษาพนั ธุ์สตั ว์ป่าห้วย
ขาแขง้ , อทุ ยานแห่งชาติแก่งกระจาน, อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ ประเภทแหลง่ ท่องเท่ียวทางพิพิธภัณฑ์และหอ
ศิลป์ ได้แก่ มิวเซียมสยาม, หอศิลป์ริมน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ประเภทแหล่งท่องเที่ยวทาง
ประวตั ศิ าสตร์ ได้แก่ อุทยานประวตั ิศาสตร์พระนครศรีอยธุ ยา, อทุ ยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย, แหล่งโบราณคดี
บ้านเชียง ประเภทแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศ ได้แก่ เกาะชา้ ง, อทุ ยานแห่งชาตแิ ม่จรมิ , อุทยานแหง่ ชาติภูกระดงึ
ดังตอ่ ไปนี้

เทยี่ วทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซียน

วัดพระธาตุดอยสเุ ทพราชวรวหิ าร
ทีม่ า: https://www.emagtravel.com/archive/pratat-doisuthep.html

61

วดั พระธาตดุ อยสเุ ทพราชวรวหิ าร

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร เป็นวัดที่มีความสำคัญมากที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่บน
ดอยสุเทพ ใกล้กับตัวเมืองเชียงใหม่ นักท่องเที่ยวที่มาเชียงใหม่ครั้งแรกมักจะมาเที่ยวชม และไหว้พระเพ่ือ
เป็นสิริมงคลภายในวัดมีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้นอายุ
มากกว่า 500 ปี ทางขึ้นไปยังวัดต้องเดินผ่านบันไดนาคกว่า 300 ขึ้นหรือจะขึ้นไปโดยรถรางไฟฟ้าก็ได้เมื่อ
ขนึ้ ไปถึงวดั แลว้ จะต้องถอดรองเท้าไว้จากนน้ั ถงึ เข้าไปยังตัววัดด้านในไดด้ ้านในของวดั มีเจดีย์ตั้งอยู่ตรงกลาง
เดินได้โดยรอบนักท่องเที่ยวมักจะไหว้พระและถ่ายรูปเป็นที่ระลึกที่บริเวณลานวัด เป็นจุดชมวิวมองเห็น
เมืองเชยี งใหม่และสนามบินเชียงใหม่ชดั เจนวดั พระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหารสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1929 ใน
สมัยพญากือนากษัตริย์องค์ที่6แห่งอาณาจักรล้านนาราชวงศ์มังรายพระองค์ทรงได้อัญเชิญพระบรม
สารรี ิกธาตุองค์ใหญ่ทไ่ี ด้ทรงเก็บไว้สกั การบูชาสว่ นพระองค์ถงึ 13 ปมี าบรรจไุ วท้ น่ี ด่ี ้วยการทรงอธิษฐานเสี่ยง
ช้างมงคลเพ่ือเสี่ยงทายสถานทป่ี ระดิษฐานพอช้างมงคลเดินมาถงึ ยอดดอยสุเทพ มนั ก็ร้องสามคร้งั พร้อมกับ
ทำทักษิณาวัตรสามรอบ แล้วล้มลงพระองค์จึงโปรดเกล้าฯให้ขุดดินลึก 8 ศอกกว้าง 6 วา 3 ศอก หาแท่น
หนิ ใหญ่ 6 แทน่ มาวางเปน็ รูปหีบใหญ่ในหลุม แล้วอญั เชญิ พระบรมสารรี ิกธาตุลงประดิษฐานไว้ จากน้ันถม
ดว้ ยหิน แลว้ กอ่ พระเจดียส์ ูง 5 วา ครอบด้านบน

เอกสารอา้ งองิ : วดั พระธาตดุ อยสุเทพราชวรวิหาร สืบค้นเมื่อ 5 ตลุ าคม 2564, จาก
https://www.emagtravel.com/archive/pratat-doisuthep.html
ผูเ้ รยี บเรียง 92 นายวิชญ์พล สอนวิชัย

เทย่ี วทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซียน

วัดพระแกว้ วัดพระศรัตนศาสดาราม
ที่มา: https://travel.trueid.net/detail/gpKn8l8oRrob

63

วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือ วัดพระแก้ว พระอารามหลวงชั้นพิเศษ ที่ตั้งอยู่ตรงมุมด้าน
ตะวันออกเฉียงเหนือของพระบรมมหาราชวัง อีกทั้งยังเป็นที่ประดิษฐาน พระมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ
พระแกว้ มรกต รวมถึงใชเ้ ปน็ ทีป่ ระกอบพระราชพิธที างศาสนาที่สำคญั ประวตั วิ ัดพระแกว้
เมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ี 1 เสรจ็ ขนึ้ ครองราชสมบตั ิ ในปี พ.ศ. 2325
ได้ทรงสถาปนาพระบรมมหาราชวงั ขึน้ เม่อื วันท่ี 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2325 โดยมที ี่ตั้งอยู่บนฝง่ั ตะวันออก
ของแม่นำ้ เจา้ พระยา ตรงข้ามกับพระราชวังเดมิ ของกรงุ ธนบุรี พระบรมมหาราชวังนมี้ เี น้ือที่ 152 ไร่ 2 งาน
รวมความยาวโดยรอบส่ีด้านกำแพง ไดท้ ั้งหมด 1,910 เมตร ประกอบไปด้วยป้อมปราการกบั ประตู
พระราชวงั โดยรอบ ภายในของพระบรมมหาราชวงั แบ่งเป็นส่สี ว่ น คอื พระราชฐานช้นั นอก พระราชฐานชน้ั
กลาง พระราชฐานชัน้ ใน ลกั ษณะแบบแผนการก่อสรา้ งคล้ายคลงึ กับพระบรมมหาราชวงั เก่าในสมัยกรงุ ศรี
อยุธยา คือ มวี ดั พระศรรี ัตนศาสดารามอยู่ในบริเวณพระราชวังเหมอื นกบั วดั พระศรสี รรเพชญใ์ นสมยั กรงุ ศรี
อยธุ ยา ทเ่ี ป็นพระอารามหลวงในเขตวงั นบั เปน็ แบบธรรมเนียมปฏิบตั ิที่มมี าแตโ่ บราณ สำหรับ
วดั พระศรีรัตนศาสดาราม หรือ วดั พระแกว้ เปน็ วัดที่พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช
โปรดเกล้าฯ ใหส้ รา้ งขึ้นใน พ.ศ. 2325 เป็นวดั ในพระบรมมหาราชวงั เชน่ เดียวกบั วดั พระศรีสรรเพชญ์ ซึ่ง
เป็นวัดในพระราชวังหลวงในสมยั อยุธยา และมีพระราชประสงคใ์ หเ้ ปน็ ท่ีประดิษฐาน พระแก้วมรกต รวมถึง
เปน็ สถานทีท่ รงบำเพ็ญพระราชกุศล
เอกสารอ้างอิง: วดั พระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) สบื คน้ เมอื่ 5 ตุลาคม 2564, จาก
https://travel.trueid.net/detail/gpKn8l8oRrob
ผูเ้ รยี บเรียง 91 นางสาววาสนา เตะ๊ นิเยาะ

เทย่ี วทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

วดั รอ่ งข่นุ ศลิ ปะและศรทั ธาเชียงราย
ทีม่ า: https://www.visitrollingridge.com

65

วัดรอ่ งขุน่

วดั รอ่ งข่นุ ตงั้ อยทู่ ่ีจังหวดั เชยี งราย เปน็ อีกหนึ่งสถาปัตยกรรมทงี่ านศิลปะได้ส่ืออกมาในรูปแบบของ
พุทธศาสนา เมื่อพุทธศักราช 2540 อาจารย์เฉลิม ชัยโฆษิตพิพัฒ ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ ได้เกิด
แรงดลใจในการสรา้ งวัดร่องขนุ่ ดว้ ยศิลปะสมยั ใหม่ เหมาะกับประเทศไทย ภายใต้ร่มโพธิสมภารของในหลวง
รัชกาลที่ 9 รวมถึงอยากจะสร้างงานศิลปะให้ยิ่งใหญ่ฝากไว้ให้เป็นสมบัติของแผ่นดิน จึงได้บูรณะวัดที่ภาพ
เสื่อมโทรมและขยายพื้นที่วัด จนกลายเป็นศาสนสถานที่สวยงามด้วยสถาปัตยกรรมและงานศิลปะ
ในอุโบสถประดับด้วยกระจกสีน้ำเงิน ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนัง โดยเฉพาะภาพพระพุทธองค์หลัง
พระประธานที่เป็นภาพใหญ่และมีความงดงาม วัดร่องขุ่นเป็นวัดที่มีลวดลายอ่อนช้อยและมีความประณีต
จึงเป็นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวตา่ งชาติจะเรียกว่าวัดขาว เพราะวัดร่องขุ่นเป็นวันสีขาว
กลายเอกลักษณ์ที่จดจำ จุดมุ่งหมายของผู้สร้างต้องการสื่อสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในพุทธศาสนาโดยสีขาว
หมายถึงพระบริสุทธิคุณ ส่วนกระจกหมายถึงพระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้าที่ส่องแสงโชติช่วงชัชวาล
นอกจากนี้ตัวพระอุโบสถยังสร้างอยู่บนเนินที่มที ะเลสาบใสสะอาดสะท้อนเงาอาคารและทางเดินเข้าอุโบสถ
เป็นสะพานทอดยาวหมายถึง การเดินข้ามวัฏสงสารมุ่งสู่พุทธภูมิ ส่วนบนของหลังคาได้นำหลักธรรมอัน
สำคญั ย่งิ คอื ศลี สมาธิปญั ญามาแสดงออกในรปู ของสตั ว์ในช่อฟ้าชนั้ ต่าง ๆ และภายในอโุ บสถมีภาพจิตกรรม
ฝาผนังรวมทั้งอาคารแสดงภาพวาดต่าง ๆ ให้เข้าชม “วัดร่องขุ่น” จึงเป็นหนึ่งในคุณค่าแห่งศิลปะไทย
สมยั ใหม่ มรดกแห่งแผน่ ดินซง่ึ ฝากคณุ คา่ ชวี ติ ทดแทนคณุ แผ่นดนิ เพือ่ สรา้ งสรรคว์ ดั แห่งนใ้ี ห้กลายเป็นศิลปะ
ทีย่ ่ิงใหญ่ระดบั นานาชาติ
เอกสารอา้ งองิ : Tourismthailand วดั ร่องขนุ่ . สืบคน้ เม่ือ 5 ตุลาคม 2564, จาก
https://thai.tourismthailand.org/Attraction
ผู้เรียบเรียง 146 นางสาวสุพนดิ า ตงิ่ ทอง

เท่ียวทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซียน

เขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้ง
ท่มี า: https://travel.trueid.net/detail/91RlaLaZVpn

67

เขตรักษาพนั ธส์ุ ตั ว์ป่าหว้ ยขาแขง้

เขตรักษาพันธสุ์ ัตว์ปา่ ห้วยขาแข้ง หรอื ท่ีเรียกกันย่อๆ วา่ หว้ ยขาแข้ง มพี นื้ ท่ีครอบคลุม 6 อำเภอ 3
จังหวัดด้วยกัน คือ อำเภอบ้านไร่ อำเภอลานสัก อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี อำเภอสังขละบุรี อำเภอ
ทองผาภูมิ จงั หวดั กาญจนบรุ ี และอำเภออุม้ ผาง จังหวัดตาก ซ่งึ มีการรวมพนื้ ที่ของเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าทุ่ง
ใหญ่นเรศวรดว้ ย ทำใหท้ ี่นี่เป็นผนื ป่าอนุรกั ษ์ ท่ีมีขนาดใหญท่ ่ีสดุ ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ สภาพป่า
ในเขตห้วยขาแข้งนั้นเต็มไปดว้ ยความหลากหลายทางธรรมชาติ โดยประกอบด้วยปา่ ถึง 5 ใน 7 ชนิด ที่พบ
ในเขตร้อนชื้น ไดแ้ ก่ ปา่ ดบิ แลง้ ปา่ ดบิ เขา ปา่ ทุ่งหญ้า ป่าเบญจพรรณ ปา่ เต็งรงั กอ่ ให้เกิดความหลากหลาย
ของ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ต่างๆ และยังมีแมลงต่างๆ อีกมากมาย ภายหลัง ห้วยขาแข้ง ได้รับการขึ้นทะเบียน
เป็น มรดกโลกทางธรรมชาติ จากองค์การยูเนสโก (UNESCO) ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ของ
ยูเนสโก ระหว่างวันที่ 9-13 ธันวาคม 2534 (ค.ศ.1991) ณ เมืองคาร์เทจ ประเทศตูนีเซีย ภายใต้ชื่อ เขต
รกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ ท่งุ ใหญ่-ห้วยขาแขง้ (Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries) ซึ่งนับเปน็
แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งแรกและใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีพื้นที่ถึง 622,200 เฮกตาร์ พื้นที่
อนรุ ักษ์ที่ใหญ่ท่ีสุดในคาบสมุทรอนิ โดจนี อีกดว้ ย เป็นท่ีอยอู่ าศยั ของสัตว์กว่า 750 ชนดิ รวมถึงสัตว์ป่าสงวน
ทส่ี ำคัญและเส่ียงต่อการสูญพันธุ์ อย่างควายปา่ สมเสรจ็ เลียงผา เสือโคร่ง เสอื ดำ ไก่ฟา้ เป็นต้น สืบ นาคะ
เสถียร หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหว้ ยขาแข้ง ในปี พ.ศ.2532 เป็นบุคคลสำคัญในการผลักดันป่าหว้ ยขา
แข้ง ให้เป็นมรดกโลก โดยได้มีการทุ่มเทเขียนรายงานนำเสนอ ยูเนสโก (UNESCO) เพื่อให้พื้นที่ป่าแห่งนี้
ไดร้ บั การคุ้มครองเตม็ ที่ เพ่ือลดปัญหาการตัดไมท้ ำลายปา่ การลา่ สัตวข์ องบคุ คลที่มอี ิทธิพล
เอกสารอา้ งอิง: เขตรกั ษาพนั ธุส์ ัตว์ปา่ ห้วยขาแข้ง, สบื คน้ 5 ตุลาคม 2564, จาก
https://travel.trueid.net/detail/91RlaLaZVpn
ผู้เรียบเรียง 89 นางสาววรรณา ช้อยสูงเนิน

เที่ยวทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ที่มา: https://images.app.goo.gl/v5DMCbonexUKZUxq5

69

อทุ ยานแห่งชาตแิ ก่งกระจาน

ปี ๒๕๐๔ กรมชลประทาน ได้ทำการสำรวจพบว่าพื้นที่แก่งกระจานสามารถกั้นเขื่อนขนาดใหญ่
สำหรับ กักเก็บน้ำไว้ใช้ในการเกษตรได้ จึงได้ของบประมาณสร้างเขื่อนดินแห่งแรกของประเทศไทย
ดำเนินการก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๔ โดยมีนายช่างประสาท โพธิปิติ เป็นผู้ควบคุม สร้างแล้วเสร็จเมื่อปี
พ.ศ.๒๕๐๙ ตง้ั ชื่อวา่ “เขือ่ นแก่งกระจาน” เปน็ เขอ่ื นอเนกประสงค์กน้ั แม่นำ้ เพชรบุรีท่ีบรเิ วณเขาไม้รวก มา
บรรจบกันทต่ี ำบลสองพี่น้อง อำเภอแก่งกระจาน

เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จแปรพระราชฐานที่พระราชวังไกลกังวล อำเภอหัว
หนิ จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ และเสด็จทเี่ ขื่อนแก่งกระจาน ไดร้ ับส่งั ให้นายถนอม เปรมรศั มี อธิบดีกรมป่าไม้
เข้าเฝ้าเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2522 ได้มีกระแสพระราชดำรัสว่า เรื่องป่าต้นน้ำ ลำธารของแม่น้ำเพชรบุรี
ขอให้เจา้ หน้าท่ดี ูแลรักษาอย่าใหม้ ีการลักลอบตัดไม้ ถางป่า ทำไรใ่ นป่าตน้ น้ำของแม่น้ำเพชรบุรี เพราะจะทำ
ใหเ้ กดิ ความแห้งแล้ง แมจ้ ะไดม้ ีการใหส้ ัมปทานป่าแปลงน้ีไปบ้างแลว้ ก็ขอให้ เจ้าหนา้ ท่ีตรวจดูแลการทำไม้
อย่าให้เป็นการทำลายป่าเกิดขึ้น จากพระราชดำรัสดังกล่าวประกอบกับนโยบายของรัฐบาลตามมติ
คณะรฐั มนตรี เมื่อวนั ที่ 9 มกราคม 2522 ทใ่ี ห้รักษาปา่ ไวโ้ ดยการประกาศให้เป็นเขตอทุ ยานแห่งชาติ

เอกสารอ้างอิง: แก่งกระจาน, สืบค้น 5 ตุลาคม2564, จาก
http://park.dnp.go.th/visitor/nationparkshow.php?PTA_CODE=1028
ผูเ้ รียบเรียง 87 นางสาววรดา งามประยูร

เที่ยวทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซยี น

อุทยานแหง่ ชาติเขาใหญ่
ทม่ี า: https://www.cffthailand.com/cff-main/index.php/trips/item/1326-2013-11-12-02-49-53

71

อุทยานแหง่ ชาติเขาใหญ่

อุทยานแหง่ ชาติเขาใหญ่เปน็ ผนื ป่าใหญต่ น้ กำเนิดของตน้ น้ำลำธารท่ีสำคัญ อดุ มสมบูรณไ์ ปดว้ ยพันธ์ุ
ไมแ้ ละสัตวป์ ่านานาชนดิ ตลอดจนมีเอกลักษณท์ างธรรมชาตทิ ่สี วยงาม

อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทยประกาศจัดตั้งเม่ือวนั ที่18
กนั ยายน 2505 ตง้ั อย่บู รเิ วณเทอื กเขาพนมดงรักหรอื บริเวณขอบทางด้านทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ของท่รี าบสงู
โคราช มีเนอื้ ท่ปี ระมาณ 2,168 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,396 ไร่ มีอาณาเขตตดิ ต่อกันถึง 11 อำเภอ 4
จังหวดั ได้แก่ จังหวดั ปราจนี บุรี นครนายก นครราชสีมา และสระบรุ ี ไดร้ ับสมญานามว่าเป็น “ อทุ ยาน
มรดกของอาเซียน”

อทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่ มอี ากาศเยน็ ตลอดทัง้ ปเี ฉลี่ยประมาณ 23 องศาเซลเซยี ส เน่ืองดว้ ยสภาพ
ภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมสง่ ผลให้อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่เป็นตน้ กำเนดิ ของผืนป่าใหญ่ซึง่ อุดม
สมบูรณ์ เป็นศูนย์รวมของปา่ หลากหลายชนดิ ได้แก่ ปา่ ดบิ แล้ง ป่าดิบช้นื ปา่ ดบิ เขา ปา่ เบญจพรรณและท่งุ
หญา้ ปจั จุบนั อทุ ยานแห่งชาติเขาใหญจ่ ดั บริการท่ีพักแรมในรปู แบบกิจกรรมศึกษาธรรมชาติคือ ศนู ย์บรกิ าร
นักท่องเท่ียว เป็นแหล่งข้อมลู ของอทุ ยานแหง่ ชาติเขาใหญ่ อยู่ใกล้กบั ที่ทำการอุทยานฯภายในมกี ารจดั
นิทรรศการ บรรยายให้ความรกู้ ับนักท่องเท่ียว และนอกจากนนั้ ยังมกี ิจกรรมการท่องเทยี่ วทนี่ ยิ ม เชน่ การ
สอ่ งสตั ว์ การเดนิ ทางศึกษาธรรมชาติ ดนู ก ขจี่ ักรยาน ล่องแกง่

เอกสารอา้ งอิง: ศริ ิพร เมฆอิ่ม. (2561). ประวัตเิ ขาใหญ.่ สืบคน้ 5 ตุลาคม 2564, จาก
https://sites.google.com/site/muakleksiriporn2018/prawati-khea-hiy
ผู้เรียบเรียง 93 นางสาววิภาดา วโิ รทศ

เทยี่ วทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซียน

ชื่อ มิวเซียมสยาม
ที่มา: https://www.siameagle.com/01340/museum-siam-03/

73

มวิ เซยี มสยาม

มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้นี้ ถือเป็นแหล่งการเรียนรู้หนึ่งที่เน้นจุดมุ่งหมายในการแสดง
ตัวตนของชนในชาติ ซึ่งจะทำให้ผู้เข้าชม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เข้าชมที่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชน ได้เรียนรู้
รากเหง้าของชาวไทย สิ่งที่จัดแสดงในตู้ เน้นการนำเสนอความเป็นไทย ในมิติที่ร่วมสมัยมากขึ้น ตั้งแต่อดีต
ถึงปัจจุบัน ผ่านการนำเสนอด้วยสื่อผสมหลายรูปแบบ ทำให้มีความน่าสนใจ และดึงดูดใจผู้เข้าชมได้เป็น
อย่างยิ่ง ทั้งยังตั้งอยู่ในสถานที่สวยงาม อาคารนิทรรศการชั่วคราวและกิจกรรมพิเศษ เป็นพื้นที่จัดแสดง
นิทรรศการหมุนเวียนซึ่งจะมีการปรับเปลี่ยนหัวข้อการจัดแสดงให้ผู้ชมได้ตื่นตาตื่นใจ อาคารโรงปฏิบัติ
นิทรรศการและหลุมขุดค้นทางโบราณคดี อาคารสำนักงานพิพิธภัณฑ์ และอาคารนิทรรศการหรืออาคาร
พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ ซึ่งเป็นอาคารที่จัดแสดงนิทรรศการเรียงความประเทศไทย ไฮไลว์และจุดที่น่าสนใจ
ของที่นี่ เนื้อหาในห้องจัดแสดงนิทรรศการถาวร “เรียงความประเทศไทย” ที่ชวนกระตุกต่อมความคิดและ
จุดประกายความอยากรู้ จนทำให้ทุกท่านต้องเกิดคำถาม และตั้งคำถามจากสิ่งที่เห็น ทุกห้องจะมี
เทคโนโลยที ีท่ ันสมยั สามารถจบั ต้องได้ เลน่ ไดด้ ว้ ยประสาทสัมผัสท้ัง 6 คอื หู ตา จมูก ล้ิน กาย (วัตถุ) และ
ใจ (จิต) สร้างการเรียนรู้ที่สนุกบนพื้นฐานความเข้าใจได้เป็นอย่างดี เรียกได้ว่า ระหว่างนิทรรศการกับผู้ชม
สามารถมปี ฏิสัมพนั ธร์ ว่ มกันไดท้ ุกขณะช่วงเวลาทเี่ ย่ยี มชม

เอกสารอ้างอิง: มวิ เซยี มสยาม สบื ค้นเมือ่ 5 ตลุ าคม 2564, จาก
http://thebestmuseum.blogspot.com/2012/05/blog-post_26.html?m=1
ผู้เรียบเรียง 90 นางสาววรชั ยา ขอเจริญ

เที่ยวทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซยี น

หอศิลปร์ ิมน่าน
ท่ีมา: http://www.hiclasssociety.com/?p=66111

75

หอศิลป์ริมน่าน

หอศิลป์ริมน่าน ตั้งอยู่ ริมแม่น้ำน่าน ตำบลบ่อ อำเภอเมือง จังหวัดน่าน เป็นหอแสดงงานศิลปะ
ขนาดใหญบ่ นพื้นที่กวา่ 13 ไร่ ตัง้ อยู่ริมแมน่ ้ำนา่ น เปน็ แหล่งรวมศิลปะและวฒั นธรรมของจังหวัดนา่ น ก่อตั้ง
และดำเนนิ การโดยศลิ ปินชาวนา่ น วนิ ัย ปราบรปิ ู ศลิ ปนิ ชาวนา่ นชือ่ ดังท่ีรักใน ศลิ ปะท่ตี อ้ งการสร้างหอศิลป์
เพื่อรวบรวมงานศิลปะจากมันสมองของศิลปินไทยร่วมสมัยที่มีผลงานการสร้างสรรค์และมีเอกลักษณ์โดด
เด่นเป็นที่ยอมรบั โดยท่ัวไป อีกทั้งยังมีการแสดงผลงานจิตรกรรมและประติมากรรมของคุณวินัย ในรูปแบบ
กึ่งนิทรรศการถาวรให้ได้ชมเกือบตลอดปีขึ้นในสภาพภูมิประเทศที่เป็นธรรมชาติ เพื่อให้คนที่มาเสพศิลปะ
นั้นได้ความรู้สึกสบายใจและพักผ่อนไปด้วยโดยใช้เวลาในการปรับปรุงพื้นที่และออกแบบก่อสร้างกว่า 7 ปี
จงึ เปดิ อย่างเปน็ ทางการเม่ือปี พ.ศ.2547 แบง่ ส่วนจดั แสดงเป็นอาคารหลงั ใหญ่ ชน้ั บน จดั แสดงภาพเขียนฝี
พระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งเคยเสด็จพระราชดำเนินมาหอศิลป์ฯ ถึง 3
ครั้ง และการจัดแสดงผลงานศิลปะของเจ้าของ ชั้นล่างจัดแสดงผลงานของศิลปินมืออาชีพและนิทรรศการ
สำคัญๆที่สัญจรมาจัดแสดง เฮือนหนานบัวผัน เป็นพื้นที่เชิดชูเกียรติศิลปินผู้ฝากผลงานไว้ท่ี วัดภูมินทร์
อำเภอเมือง และ วัดหนองบัว อำเภอท่าวังผา และจัดแสดงภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนังที่สำคัญในเมืองน่าน
และที่เกี่ยวข้องกับสกุลช่างจิตรกรรมฝาผนังเมืองน่านนอกจากนี้ยังมีพื้นที่สำหรับให้ศิลปินรุ่นใหม่ที่มีงาน
ศิลปะขนาดไม่ใหญ่มากและไม่มากชิ้นนำงานมาจัดแสดง และส่วนบริการอื่นๆ อาทิ ร้านจำหน่ายของที่
ระลึก ร้านกาแฟ ลานแสดงผลงานประตมิ ากรรม การแสดงดนตรแี ละเขียนภาพสดในช่วงเทศกาลสำคญั
เอกสารอา้ งองิ : หอศลิ ปร์ ิมน่าน สบื คน้ เมอื่ 5 ตุลาคม 2564, จาก
https://www.museumthailand.com/th/museum/Nan-Riverside-Art-Gallery
ผู้เรียบเรยี ง 86 นางสาววทันญา ปานเพ็ง

เทยี่ วทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซียน

พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
ที่มา: http://finearts.go.th/

77

พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร เปน็ พิพิธภณั ฑสถานสำหรบั ประชาชนแห่งแรกของประเทศไทย
ซึ่งตั้งขี้นเมื่อ พ.ศ. 2402 เดิมเป็น "พระราชวังบวรสถานมงคล" หรือวังหน้าซึ่งประกอบด้วยพระที่นั่งและ
พระตำหนักอันนบั เป็นสถาปัตยกรรมไทยทีง่ ดงามอีกแห่งหนึ่ง

ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้ทรงจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ส่วนพระองค์ขึ้นที่ พระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ ซึ่งทรง
โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพื่อเก็บรักษาโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ที่ใช้เป็นเครื่องราช
บรรณาการ

ในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "มิวเซียม" ณ ศาลาสหทัยสมาคม หรือหอคองคอเดียใน
พระบรมมหาราชวัง เปิดให้ประชาชนเข้าชมเป็นครั้งแรก เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมายุครบ 21 พรรษา
เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2417 เมื่อ พ.ศ. 2430 กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ทิวงคต จึงได้มีประกาศ
ยกเลิกตำแหน่งพระอุปราชแล้ว ทำให้สถานที่ในพระราชวังบวรสถานมงคลว่างลง พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั จงึ โปรดเกลา้ ฯ ให้ย้ายพิพธิ ภณั ฑสถานจากหอคองคอเดยี ไปตงั้ จัดแสดงทีพ่ ระราชวัง
บวรสถานมงคลเฉพาะด้านหนา้ 3 องค์ โดยใชพ้ ระท่ี นัง่ ดา้ นหน้าคอื พระท่ีน่ังศวิ โมกขพมิ าน พระทน่ี ่ังพุทไธ
สวรรย์ พระที่น่ังพุทไธ พระที่น่ังอศิ เรศราชานสุ รณ์ และพระทน่ี ่ังอศิ ราวินิจฉยั เรียกวา่ "พพิ ิธภณั ฑว์ งั หนา้ "

ในสมัยรัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชมณเฑียรสถานในพระราชวังสถานมงคล
ทง้ั หมดจัดต้ังเป็น “พพิ ิธภณั ฑสถานสำหรับพระนคร” และประกาศตง้ั เป็น “พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระ
นคร” เมื่อปี พ.ศ.2477 การจัดแสดงแบ่งเป็นเรื่อง ประวัติศาสตร์แห่งแผ่นดิน ประณีตศิลป์สืบสมัย
ประวัติศาสตรศ์ ลิ ปไ์ ทยสบื สาน และโบราณสถานวงั หน้า
เอกสารอา้ งอิง: พธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร สบื ค้นเม่ือ 5 ตลุ าคม 2564, จาก
https://www.finearts.go.th/main/view/7345-พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติเสมอื นจรงิ -พระนคร
ผเู้ รียบเรยี ง 136 นางสาวตฤณมาศ อนุ่ จติ

เทีย่ วทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

นครประวัตศิ าสตร์พระนครศรีอยุธยา
ทีม่ า: https://th.wikipedia.org/wiki/อุทยานประวัตศิ าสตรพ์ ระนครศรีอยธุ ยา

79

อุทยานประวตั ิศาสตรพ์ ระนครศรีอยธุ ยา

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา อดีตเคยเป็นราชธานีของไทย แต่ถูกทำลายลงจากภัย
สงคราม แต่ยังเหลือโบราณสถานและโบราณวัตถุที่เป็นหลักฐานแสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง อุทยาน
ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาได้รับการพิจารณาให้จดทะเบียนเป็นมรดกโลกจากองค์กรยูเนสโกภายใต้
ชื่อ “นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาและเมืองบริวาร” ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัย
สามัญครั้งที่ 15 วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ที่เมืองคาร์เทจ ประเทศตูนิเซีย ด้วยข้อกำหนดและ
หลักเกณฑ์พิจารณา ว่า “ เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ใน
ปัจจุบันหรือว่าท่ีสาบสญู ไปแล้ว ” มีขอบเขตพื้นที่ตามประกาศกรมศิลปากร รวมพื้นที่ทั้งสิน้ ราว 3,000 ไร่
มีการกำหนดเขตที่ดินโบราณสถานครั้งแรกในปีพ.ศ. 2519 รวมพื้นที่ประมาณ 1,810 ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ.
2540 กรมศิลปากรได้ประกาศกำหนดเขตที่ดินโบราณสถานพระนครศรีอยุธยาเพิ่มครอบคลุมเกาะเมือง
อยุธยาและพื้นที่รอบนอกเกาะเมืองทกุ ด้านที่ปรากฏหลักฐานทางด้านประวัติศาสตรโ์ บราณคดี เพื่อทำการ
อนุรักษ์และพัฒนาโดยมีอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานหลักในการ
ดูแลรักษาพน้ื ท่ี โบราณสถานทีส่ ำคัญ เช่น วดั ไชยวฒั นาราม พระราชวงั จันทรเกษม แตพ่ น้ื ทท่ี ีเ่ ปน็ มรดกโลก
นั้นมีเพียงแค่ 1,810 ไร่ เพราะพื้นที่ที่ประกาศเพิ่มเติมนั้นไม่ได้ขอขึ้นทะเบียนมรดกโลก อุทยาน
ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ภายในเกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา

เอกสารอ้างองิ : อุทยานประวตั ิศาสตรพ์ ระนครศรีอยธุ ยา จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ประเทศไทย สืบคน้
เม่อื 5 ตลุ าคม 2564, จาก https://palanla.com/index.php?op=domesticLocation-detail&id=88
ผู้เรยี บเรยี ง 149 นางสาวแสงดาว วรสาร

เท่ียวทิพย์ 10 ประเทศอาเซียน

เมืองประวัติศาสตรส์ ุโขทยั และเมืองบริวาร
ที่มา: http://www.remotelands.com/blog/index.php/the-ancient-echoes-of-sukhothai/
http://www.dasta.or.th/th/article/1657-1657.html

81

อุทยานประวตั ศิ าสตรส์ ุโขทยั

เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร ประกอบไปด้วยอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อุทยาน
ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ทั้ง 3 เมืองที่เคยมีความรุ่งเรืองในอดีต
ช่วงใกล้เคียงกัน โดยอาณาจักรสโุ ขทัยนั้นถือเปน็ ราชธานีแหง่ แรกของไทย เป็นศูนย์กลางความเจริญในช่วง
พุทธศตวรรษที่ 18-19

เมืองสุโขทัยเคยเป็นราชธานีของไทยมีความเจริญรุ่งเรือง เป็นศูนย์กลางการปกครอง ศาสนา และ
เศรษฐกิจ ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ มีสถานท่ีสำคัญท่ีเป็นพระราชวัง ศาสนสถาน โบราณสถาน โดยมีคู
เมอื ง กำแพงเมอื ง และประตูเมืองโบราณล้อมรอบอยู่ในรปู ส่ีเหล่ยี ม มีความยาวประมาณ 2 กโิ ลเมตร กว้าง
ประมาณ 1.6 กโิ ลเมตรครอบคลุมพ้ืนท่ีกว่า 70 ตารางกิโลเมตร มปี ระตเู มอื งอยู่ตรงกลางกำแพงเมืองแต่ละ
ด้าน ภายในยังเหลือร่องรอยพระราชวังและวัด และมีโบราณสถานสำคัญที่จำนวนมากกว่า 30 แห่ง วัดท่ี
ใหญ่ที่สุดคือวัดมหาธาตุ องค์การยูเนสโกได้ประกาศให้อุทยานแห่งนี้เป็นแหล่งมรดกโลกร่วมกับอุทยาน
ประวัติศาสตร์ที่กำแพงเพชรและศรีสัชนาลัย ปัจจุบันอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มี
ชอื่ เสียงของไทย มีผเู้ ย่ยี มชมหลายแสนคนต่อปี ซง่ึ สามารถเดินเทา้ หรอื ขี่จกั รยานเทยี่ วชมได้

อุทยานประวัติศาสตรส์ โุ ขทัย ศรสี ชั นาลยั และกำแพงเพชร ในปัจจบุ ันได้รบั การอนุรักษ์และพัฒนา
ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ มีลักษณะการใช้พื้นที่ทั้งส่วนที่เป็นโบราณ
สถานท่ไี ด้รบั การดแู ลโดยกรมศลิ ปากร

เอกสารอา้ งองิ : กรรณกิ าร์ ยศต้อื (2014).มรดกโลกในไทย 3.สบื คน้ 5 ตุลาคม 2564, จาก
http://aseannotes.blogspot.com/2014/07/3_21.html?m=1
ผเู้ รียบเรียง 88 นางสาววรรณภา คงสวัสดิ์

เท่ียวทิพย์ 10 ประเทศอาเซียน

รอ่ งรอยอารยธรรมบา้ นเชยี ง
ทม่ี า: https://www.finearts.go.th/banchiangmuseum/categorie/history

83

แหลง่ โบราณคดบี ้านเชยี ง

เเหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ตั้งอยู่ที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี เป็นเเหล่งทรัพย์สินทาง
วัฒนธรรมที่สำคัญของประเทศไทย เเสดงถึงหลักฐาน ร่องรอยการดำรงชีวิตของมนุษย์ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์ทำให้เห็นถึงวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม สังคม เเละวิชาการของมนุษย์เมื่อ 5,000 ปีที่ผ่านมา
มีการเเบ่งพื้นที่จัดแสดงวัตถุที่ได้จากการขุดค้นเเหล่งโบราณคดีบ้านเชียงถึงเเหล่งโบราณคดีในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือออกอีกร้อยกว่าเเห่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือพิพิธภัณฑสถานกลางเเจ้งในเขตวัดโพธ์ิ
ศรใี น เปน็ นิทรรศการถาวร จดั เเสดงถึงขัน้ ตอนการขุดค้นหลักฐานทางโบราณวัตถุ และโบราณคดี ซ่ึงส่วน
ใหญ่จะเป็นภาชนะประเภทดินเผาที่ถูกฝังรวมกับศพที่กลายเป็นโครงกระดูกในยุคปัจจุบัน ส่วนที่ 2 คือ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง จัดแสดงเรื่องราว วัฒนธรรมของบ้านเชียงในช่วงยุคก่อน
ประวัติศาสตร์ รวมถึงเครื่องมือ เครื่องใช้ ภาชนะดินเผา เเละอื่น ๆ ที่แสดงให้เราเห็นถึงเทคโนโลยีของ
มนุษย์ในยคุ นนั้

การจัดตั้งพพิ ิธภัณฑสถานเเหง่ ชาติบา้ นเชียงเรมิ่ จากเม่ือปีพ.ศ. 2503 มีชาวบา้ นเชียงพบภาชนะ
ลายเขยี นสี ต่อมา ปีพ.ศ. 2509 ชาวอเมริกันก็พบภาชนะดินเผา เเละแจง้ ท่ีกรมศลิ ปากร ปพี .ศ. 2510 เร่ิม
มกี ารขดุ ค้นอย่างจริงจังเป็นคร้ังแรก ปี พ.ศ.2515 มีการขดุ คน้ เป็นครัง้ ที่ 2 โดยคร้ังน้ีพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถไดเ้ สด็จทอดพระเนตรแหล่งขุดค้นท่ีวัดโพธิ์ศรีในพร้อม
กบั แหลง่ อื่นในบา้ นเชยี ง และครั้งสุดทา้ ยใน ปีพ.ศ. 2517-2518 กรมศลิ ปากรกบั มหาวิทยาลัยเพนซลิ เวเนยี
ได้จดั ตงั้ โครงการโบราณคดภี าคตะวนั ออกเฉียงเหนือ รว่ มมอื ขุดค้น และหาข้อมลู ใหมเ่ พ่มิ เตมิ ทำใหป้ ีพ.ศ.
2518 ได้มกี ารเริ่มจัดตง้ั พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาตบิ ้านเชยี งข้ึน
เอกสารอา้ งองิ : แหล่งโบราณคดบี ้านเชยี ง สืบค้นเมื่อ 5 ตลุ าคม 2564, จาก
http://164.115.22.96/heritage_culture3.aspx
ผูเ้ รยี บเรยี ง 96 นางสาวศริ ดา ตนั เส็ง

เทยี่ วทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซียน

เกาะช้าง
ที่มา: https://thai.tourismthailand.org/Attraction/
https://www.atsiamtour.com/koh-chang

85

เกาะช้าง

เกาะชา้ ง เปน็ เกาะท่ีใหญท่ ี่สุดในทะเลอ่าวไทย และใหญ่เปน็ อนั ดบั 2 ของประเทศไทยรองจากเกาะ
ภูเก็ตเกาะช้างเป็นเกาะหนึ่งในอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง ที่มีเกาะเล็ก เกาะน้อยรวมกันกว่า 40 เกาะ มี
เนื้อที่ประมาณ 429ตารางกิโลเมตร มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ พื้นที่กลางเกาะเป็นภูเขาสลบั ซับซอ้ นและปา่
ดิบชื้น มีที่ราบอยู่ตามขอบเกาะก่อนถึงชายหาดของอ่าวต่างๆ ที่ราบเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นสวนมะพร้าว สวน
ยางพารา และสวนผลไม้อื่นๆ ส่วนยอดเขาที่สูงที่สุดบนเกาะช้าง ยอดเขาสลักเพชร มีความสูง 744 เมตร
อันเป็นแหล่งกำเนิดน้ำตกและธารน้ำหลายสายที่หล่อเลี้ยงวิถีชีวิตของผู้คนบนเกาะเกาะช้างมีสถานที่
ท่องเที่ยวมากมายหลายแห่ง มีน้ำตกที่ขึ้นชื่อ และมีหาดทรายที่สวยงาม อีกทั้งยังมีประวัติศาสตร์และการ
ตามรอยเสด็จประพาสของ ร.5 ทเ่ี สดจ็ มาท่ีนถี่ งึ 12 คร้งั รวมทั้งความสมบูรณข์ องปา่ ชายเลน และเสน่ห์ของ
วิถีชีวติ แบบชาวเกาะ อีกหน่งึ จดุ ทเ่ี ด่นกค็ ือ เวลานอนเลน่ ที่ชายหาดของเกาะชา้ งจะไม่รู้สึกเหนียวตัวเหมือน
ทะเลที่อื่น เกาะช้างถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง ซึ่งมีธรรมชาตแิ ละความสวยงามที่ไม่แพ้กัน ยังมีความสำคัญทาง
ประวัติศาสตรใ์ หไ้ ด้ค้นหามากมาย

เอกสารอา้ งองิ : เกาะช้าง สบื คน้ เมือ่ 5 ตุลาคม 2564, จาก
https://kohchang.guru/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%
E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%8A
%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87/
ผ้เู รียบเรยี ง 85 นายวงศธร สงั ข์ครุฑ

เทย่ี วทิพย์ 10 ประเทศอาเซียน

อุทยานแห่งชาติแมจ่ ริม
ทีม่ า : https://siamrath.co.th/n/86938

87

อุทยานแหง่ ชาติแม่จรมิ

อุทยานแห่งชาติแม่จริม ตั้งอยู่ในท้องที่ของอำเภอแม่จริมและอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ประกาศ
เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 106 ของประเทศไทย มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่โดดเด่น คือ การล่องแก่งลำ
น้ำว้าโดยใช้แพยาง อุทยานแห่งชาติแม่จริม ชวนล่องแก่งน้ำว้าตอนล่าง กิจกรรมครอบครัว ส่องนก ชม
ความงามธรรมชาติ ลำน้ำว้า หรือ แม่น้ำว้า ที่ไหลลงมาสูท่ างทิศตะวันออกเฉียงใต้ บรรจบกับแม่น้ำน่าน ที่
อำเภอเวยี งสา จงั หวัดนา่ น ผ่านพื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาตดิ อยภูคา อทุ ยานแห่งชาติแม่จริม กจิ กรรมล่องแก่งลำ
น้ำว้า เป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สร้างความตื่นตา และต่ืนเต้น ท้าทาย รวมทั้งประทับใจกับ
ธรรมชาติ ธารน้ำ ป่าเขา สัตว์ป่าอย่างแท้จริง โดยใช้เรือยางเป็นพาหนะในการเดินทาง ล่องไปตามลำน้ำ
ผ่านเกาะแก่งน้อยใหญ่ต่างๆ มากมายหลายร้อยแก่ง ที่ถูกรังสรรค์โดยธรรมชาติ ขณะที่สองฟากฝั่งร่มรื่น
ดว้ ยป่าเตง็ รังและปา่ เบญจพรรณ ตน้ ไม้นอ้ ยใหญ่ปก ประดับประดาด้วยหมู่มวลผีเสื้อหลากสีท่ีลงมาเกาะหา
กนิ แร่ธาตุรมิ นำ้ ขณะแวว่ เสยี งนกร้องก้องทว่ั ป่า โดยลำนำ้ วา้ มีความยาวประมาณ 125 กม. ถูกแบง่ ออกเป็น
3 ช่วง คือ นำ้ วา้ ตอนบน ตอนกลาง และตอนลา่ ง

เอกสารอ้างอิง: อุทยานแห่งชาตแิ มจ่ รมิ สืบคน้ เมือ่ 5 ตุลาคม 2564, จาก
https://siamrath.co.th/n/86938
ผ้เู รียบเรยี ง 95 นางสาวศรารัตน์ โมกขะสมิต

เทีย่ วทิพย์ 10 ประเทศอาเซยี น

อุทยานแห่งชาติภกู ระดงึ
ที่มา: https://sites.google.com/a/acc.msu.ac.th/paijid-tasaree-kradung/prawati-phukradung

89

อุทยานแห่งชาตภิ กู ระดึง

อุทยานแหง่ ชาตภิ ูกระดึง ตง้ั อยู่ที่อำเภอภูกระดึงในจังหวดั เลย เปน็ หนงึ่ ในแหล่งทอ่ งเทย่ี วทม่ี ี
ช่อื เสียงมากท่สี ุดของประเทศไทย เนอื่ งจากมีธรรมชาติทส่ี วยงาม ในแตล่ ะปีจึงมีคนมาเท่ียวเฉล่ยี หลายหมนื่
คน โดยเฉพาะในช่วงวนั หยุดยาวมักมนี กั ทอ่ งเทยี่ วข้นึ ไปพักผ่อนบนภกู ระดึงจำนวนมาก ภกู ระดึงไดร้ ับการ
จัดตง้ั เป็นปา่ สงวนแหง่ ชาติในปี พ.ศ. 2486และเป็นอุทยานแหง่ ชาตเิ ม่อื วนั ท่ี 7 ตลุ าคมพ.ศ.2502 โดยเป็น
อุทยานแหง่ ชาตลิ ำดบั ท่สี องถัดจากอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ตามตำนานกลา่ วไวว้ ่ามพี รานปา่ ผหู้ นึ่งได้
พยายามลา่ กระทิงซง่ึ หลบหนีไปยงั ยอดเขาลกู หนึ่งในตำบลศรีฐานปัจจุบนั อย่ใู นอำเภอภูกระดึงซงึ่ เป็นภูเขา
ท่ไี ม่เคยมใี ครข้นึ มาก่อนเมื่อนายพรานได้ตามกระทิงข้นึ ไปบนยอดเขาแห่งน้นั ก็ได้พบวา่ พ้ืนที่บนภเู ขาลูกน้ัน
เตม็ ไปด้วยพ้นื ท่รี าบกว้างใหญ่สวยงามเต็มไปดว้ ยปา่ สนพรรณไม้และสัตว์ป่านานาชนดิ มนษุ ยจ์ ึงรู้จกั ภู
กระดงึ แต่นั้นเป็นต้นมาเมื่อวันท่ี 7 ตุลาคม พ.ศ. 2502 คณะรัฐมนตรีไดม้ มี ติใหก้ ำหนดปา่ ในทอ้ งที่จงั หวดั
ตา่ งๆรวม 14 แห่งเป็นอุทยานแห่งชาตเิ พื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเอาไวเ้ ป็นการถาวรเพ่ือประโยชน์
ส่วนรวม กรมป่าไม้จงึ ไดเ้ สนอจัดต้งั ป่าภกู ระดึงให้เปน็ อุทยานแหง่ ชาติตามความในมาตรา 6 แหง่
พระราชบัญญตั ิอทุ ยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดปา่ ภูกระดึงในท้องที่ตำบลศรี
ฐาน กิ่งอำเภอภูกระดึง อำเภอวงั สะพุง จังหวัดเลย เป็นอุทยานแห่งชาติ มีเนื้อทท่ี งั้ สิ้น 217,581 ไร่ นับเปน็
อุทยานแห่งชาติแห่งที่ 2 ของประเทศ ในวนั ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 คณะรฐั มนตรีได้มีมตใิ หด้ ำเนนิ การ
เพิกถอนเขตอุทยานแหง่ ชาตใิ นบริเวณที่กองทัพอากาศขอใชป้ ระโยชน์ตง้ั เป็นสถานีถา่ ยทอดโทรคมนาคม
เพ่อื ประโยชน์ในราชการทหารมีเนื้อทีป่ ระมาณ 5 ไร่ ทางกรมปา่ ไมจ้ งึ ได้ดำเนนิ การขอเพิกถอนพื้นท่ีดิน
ดงั กล่าวในปี พ.ศ. 2521 ปจั จบุ นั อทุ ยานแห่งชาติภูกระดึงมีเนือ้ ท่ีอยู่ประมาณ 217,576.25 ไร่
เอกสารอา้ งอิง: ภกู ระดึง สืบค้นเมื่อ 5 ตลุ าคม 2564, จาก https://th.m.wikipedia.org/wiki/อทุ ยาน
แห่งชาติภกู ระดึง
ผ้เู รียบเรียง 94 นางสาวศรณั ญา สาะสิทธ์ิ

เทยี่ วทพิ ย์ 10 ประเทศอาเซยี น

เทยี่ วทพิ ย์ประเทศไทย

91


Click to View FlipBook Version