The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pitipong.android, 2021-09-21 17:15:45

คู่มือการปฎิบัติงานของผู้พิพากษาสมทบ ในศูนย์ติดตามด้วยความห่วงใย

คำนำ








ตามที่ศาลเยาวชนและครอบครัวกำหนดวิสัยทัศนวา “ศาลเยาวชนและครอบครัวเปนเลิศ

และเปนที่ยอมรับในระดับสากลในการอำนวยความยุติธรรม โดยมุงเนนการปองกัน แกไขบำบัด

ฟนฟู เยียวยาเด็ก เยาวชน ผูเสียหาย และคุมครองสถาบันครอบครัว ดวยความรวดเร็ว เปนธรรม
ภายใตหลักนิติธรรมและประโยชนสูงสุดของเด็ก เพื่อเสริมสรางความสงบสุขของสังคมภายในป

๒๕๖๔” และอธิบดีผูพิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลางกำหนดนโยบายใหศาลเยาวชน
และครอบครัวเปนศูนยรวมการแกไขปญหา เสริมสรางและพัฒนาเด็ก เยาวชน ครอบครัว และสังคม

อยางครบวงจร ตอเนื่อง และเปนรูปธรรม ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางจึงจัดตั้ง “ศูนยติดตาม
ดวยความหวงใย” ขึ้นรองรับการทำงานอยางครบวงจร ตอเนื่อง และเปนรูปธรรมตามนโยบาย

ดังกลาวโดยใหศูนยฯ ติดตามชวยเหลือเด็กและเยาวชนที่ผานกระบวนการยุติธรรมของศาล

ตั้งแตชั้นกอนฟอง ระหวางพิจารณาคดี และหลังมีคำสั่ง/คำพิพากษา ไมวาจะดวยคำพิพากษา
รอการกำหนดโทษ รอการลงโทษ ใหคุมความประพฤติ หรือใชมาตรการพิเศษแทนการดำเนิน
คดีอาญา หรือมาตรการแทนการพิพากษาคดี คดีที่มีการเปลี่ยนแปลง คำพิพากษาใหปลอย

กอนกำหนด หรือศาลมีคำสั่งใหคุมประพฤติเพื่อสวัสดิภาพของเด็กและเยาวชนในกรณีที่ศาล

มีคำพิพากษาใหยกฟอง ทั้งนี้ เพื่อประคับประคองใหเด็กและเยาวชนเหลานี้กลับตนเปนคนดี
และสามารถกลับคืนสูสังคมไดอยางมีคุณภาพโดยไมหวนกลับไปกระทำความผิดซ้ำอีก

ยิ่งไปกวานั้น ขอบเขตการทำงานของศูนยฯ ยังขยายความหวงใยไปยังผูเสียหายที่ไดรับ

ความเสียหายจากการกระทำผิดหรือการกระทำที่มิชอบตาง ๆ อันเปนการยกระดับการคุมครอง
สิทธิแกผูเสียหายใหไมยิ่งหยอนไปกวาการคุมครองเด็กหรือเยาวชนที่ถูกกลาวหาวากระทำความผิด

เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของประธานศาลฎีกา ขอ ๒ ในการสรางดุลยภาพแหงสิทธิ ดวยการ

บริการใหความชวยเหลือผูเสียหายที่สงตอมาจากศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหาย
และครอบครัวของศาลเยาวชนและครอบครัวกลางเพื่อใหผูเสียหายและครอบครัวสามารถกลับไป

ใชชีวิตในสังคมไดตามปกติสุข

การดำเนินการของศูนยฯ นี้ อยูภายใตการกำกับดูแลของนายภัทรศักดิ์ ศิริสินธว

รองอธิบดีผูพิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง โดยมีคณะทำงาน ประกอบดวย นางนิลุบล
ลิ่มพงศพันธุ ผูพิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง เปนประธานคณะทำงานโครงการ

และผูพิพากษาสมทบ เปนผูมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน แบงการทำงานเปน ๔ ขั้นตอน

มีผูพิพากษาสมทบรับผิดชอบทุกขั้นตอน เริ่มตั้งแตการคัดกรองเพื่อวิเคราะหสภาพปญหาความ
ตองการความชวยเหลือ การประสานงานหนวยงานภาคีเครือขายเพื่อขอรับการสนับสนุนความ

ชวยเหลือ การติดตามพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงของเด็ก เยาวชน ครอบครัว ผูเสียหาย และ
การประเมินผลสัมฤทธิ์เปนรายบุคคล ซึ่งจะมีการบันทึกขอมูลและจัดทำเปนระบบสารสนเทศ

เพื่อสงตอขอมูลกันในแตละขั้นตอนอยางเปนระบบ โดยมีศูนยติดตามดวยความหวงใยเปนศูนยกลาง
การบริหารจัดการขอมูลสารสนเทศดังกลาว ทั้งนี้ ศูนยฯ ไดจัดทำคูมือสำหรับใชเปนแนวทางให

ผูพิพากษาสมทบไดมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่และการทำงานในขั้นตอนตาง ๆ เพื่อให
เกิดทักษะเทคนิควิธีในการติดตามความประพฤติและใหความชวยเหลือเด็ก เยาวชน ผูเสียหาย

ตลอดจนครอบครัว เพื่อใหการดำเนินงานของศูนยติดตามดวยความหวงใยบรรลุวัตถุประสงค
สอดคลองกับนโยบายประธานศาลฎีกา และนโยบายของศาลเยาวชนและครอบครัวกลางขางตน

ทั้งนี้ ขอขอบคุณทานภัทรศักดิ์ ศิริสินธว ทานนิลุบล ลิ่มพงศพันธุ และคณะผูพิพากษาสมทบ

เจาหนาที่ในศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง และผูที่มีสวนเกี่ยวของในโครงการนี้ทุกทานที่ให
ความรวมมือดวยความอุตสาหะ ทุมเท จนโครงการมีความคืบหนาไปอยางดี

หวังเปนอยางยิ่งวา ศูนยติดตามดวยความหวงใยจะเปนสวนสำคัญที่ทำใหเด็กและเยาวชน

ที่หลงพลาด หลงผิด มีความประพฤติที่ดีขึ้น ไมกลับไปกระทำความผิดซ้ำ และสามารถกลับตน
เปนคนดี มีความรู มีอาชีพ มีความเปนอยูที่ดีจนสามารถอยูรวมในสังคมไดอยางมีคุณคา ตลอดจน

มีสวนชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัวใหผานพนปญหาที่เกิดขึ้น และไดรับการเยียวยาให

สามารถกลับไปดำรงชีวิตอยางเปนปกติสุขในสังคมไดตอไป



อโนชา ชีวิตโสภณ

อธิบดีผูพิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง
๒๕๖๔

















สารบัญ







หลักการและเหตุผล ๑
กลุมเปาหมายที่เขารวมโครงการ ๓

คำนิยามศัพทและความหมาย ๓
การทำงานของศูนยติดตามดวยความหวงใย ๙

วิธีดำเนินการ ๑๐
ขั้นตอนในการปฏิบัติหนาที่ ๑๑

๑. ผูพิพากษาสมทบฝายคัดกรอง ๑๑

๒. ผูพิพากษาสมทบฝายประสานงาน ๑๔
๓. ผูพิพากษาสมทบฝายติดตาม ๑๕
๔. ผูพิพากษาสมทบฝายประเมินผลและสถิติ ๑๗

สรุปภาพรวมสถิติตาง ๆ ๒๑

แบบสงตอและดูแลชวยเหลือศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือ
ผูเสียหายและครอบครัว ๒๖

หนวยงานและองคกรที่ใหการสนับสนุน ๒๘

๑. กระทรวงแรงงาน ๒๘
- รายชื่อหลักสูตรเตรียมเขาทำงาน ระยะเวลาการฝกอบรม ๒-๔ เดือน ๒๙

- หนวยงานเชี่ยวชาญเฉพาะทางพัฒนาฝมือแรงงาน (Excellenct Training Center) ๓๑
- อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ ๓๒

- โครงการเพิ่มทักษะดานอาชีพแกนักเรียนครอบครัวยากจนที่ไมไดเรียนตอ
หลังจบการศึกษาภาคบังคับ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

เลขที่โครงการ กพร.๐๒๔/๒๕๖๔ ๓๕
๒. กระทรวงสาธารณสุข ๓๕

๓. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ๓๖
๔. กระทรวงศึกษาธิการ ๔๒

๔.๑ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๔๒
ตัวอยางกิจกรรมที่นำมาเทียบโอนเปนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

(กพช.) ของศาลเยาวชนและครอบครัวกลางภายใตโครงการสนับสนุน
แกไขบำบัดฟนฟู เด็กเยาวชนและครอบครัว ๔๓

๔.๒ โรงเรียนทางเลือก ๔๓
- ศูนยการเรียนพัลลัส อธีนา ๔๓

- โรงเรียนจุฑารัตนวิทยา คลอง ๙ ปทุมธานี ๔๔

๕. กระทรวงยุติธรรม ๔๔
๕.๑ กรมพินิจคุมครองเด็กและเยาวชน ๔๔
๕.๒ กรมคุมประพฤติ ๔๕

๕.๓ กรมคุมครองสิทธิเสรีภาพ ๔๗

๕.๔ สำนักงานกองทุนยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ๕๐
๕.๖ ศูนยประสานงานจิตอาสากระทรวงยุติธรรม (ศป.จอส.ยธ.) ๕๑
๕.๗ สถาบันนิติวิทยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม ๕๑

๖. กรุงเทพมหานคร ๕๒

๖.๑ สำนักพัฒนาสังคมกรุงเทพมหานคร ๕๒
๖.๒ สำนักงานการพัฒนาชุมชน สำนักพัฒนาสังคม ๕๗

๖.๓ ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม “การสงเคราะหเด็กตามระเบียบ
กรุงเทพมหานคร วาดวยคาใชจายในการจัดสวัสดิการและสงเคราะห

พ.ศ. ๒๕๕๗” ๕๗
๖.๔ สำนักการแพทย ๖๕

๖.๕ สายดวนที่บริการชวยเหลือกลุมเด็ก เยาวชน และครอบครัวในดานตาง ๆ ๖๖
๖.๖ สถานพยาบาลที่ใหบริการชวยเหลือและใหคำปรึกษาในดานจิตเวชแกเด็กและเยาวชน ๖๖

๖.๗ สำนักงานเขต ๕๐ เขต ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ๖๖
๖.๘ หนวยงานภาครัฐอื่น ๆ ที่สามารถประสานงานขอความอนุเคราะหสนับสนุนได ๖๘

๖.๙ หนวยงานภาคเอกชนที่สามารถประสานงานขอความอนุเคราะห
และขอรับการสนับสนุน ๗๐

๗. มูลนิธิบานพระพร ๗๐

ระเบียบศาลเยาวชนและครอบครัววาดวยกองทุนเงินสนับสนุนโครงการ

ติดตามดวยความหวงใยเพื่อเด็ก เยาวชน และผูเสียหายที่เขาสูกระบวนการของศาล

พ.ศ. ๒๔๖๔ ๗๒

หลักการและเหตุผล



ประเทศไทยไดลงนามเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กเมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ

๒๕๓๕ ซึ่งอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the rights of the Child) เปนอนุสัญญา
ดานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศที่ไดรับการรับรองมากที่สุดในโลกถึง ๑๙๖ ประเทศ อนุสัญญา

วาดวยสิทธิเด็กมีอารัมภบทวาสหประชาชาติไดประกาศในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิเด็กวา เด็ก
มีสิทธิที่จะไดรับการดูแลและการชวยเหลือเปนพิเศษและเชื่อวาครอบครัวในฐานะเปนกลุมพื้นฐาน

ของสังคมและเปนสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติสำหรับการเจริญเติบโตและความอยูดีกินดีของสมาชิก

ทุกคน โดยเฉพาะเด็กควรไดรับความคุมครองและชวยเหลือเทาที่จำเปนเพื่อที่จะสามารถมีความ
รับผิดชอบในชุมชนของตนไดอยางเต็มที่ เพื่อใหเด็กไดพัฒนาบุคลิกภาพไดอยางกลมกลืน เด็ก

ควรเติบโตในสิ่งแวดลอมของครอบครัวในบรรยากาศแหงความผาสุกความรักความเขาใจ โดย
ตองคำนึงตามที่ไดระบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิเด็ก โดยเหตุที่เด็กยังไมเติบโตเต็มที่ทั้งรางกาย

และจิตใจ จึงตองการการพิทักษและการดูแลเปนพิเศษ รวมถึงตองการการคุมครองทางกฎหมาย
ที่เหมาะสมทั้งกอนและหลังการเกิด

สังคมในยุคโลกาภิวัตนที่ทุกสิ่งทุกอยางตองดำเนินไปอยางรวดเร็ว ทำใหเด็กหรือเยาวชน
ขาดความยับยั้งชั่งใจ ขาดความรอบคอบในการตัดสินใจ กอความผิดพลาดตาง ๆ นานา อันเปน

สาเหตุหนึ่งของปญหาของการกระทำความผิดของเด็กหรือเยาวชนจากความผิดเล็กนอยนำไปสู
การกระทำความผิดทางอาญาที่มีความรุนแรงยิ่งขึ้น ตามแนวโนมการพัฒนาตามสถานการณโลก

ไมวาจะเปนทางดานสังคม เศรษฐกิจและการเมือง สงผลใหเด็กหรือเยาวชนกระทำความผิดตาง ๆ

เชน ความผิดเกี่ยวกับทรัพย ชีวิตและรางกาย เพศหรือยาเสพติด ซึ่งสาเหตุสวนใหญของการ
กระทำความผิดมาจากหลายสาเหตุ ทั้งที่อาจจะมิไดเกิดจากตัวเด็กหรือเยาวชนเอง แตเปนปญหา

ที่สืบเนื่องมาจากปญหาครอบครัวและปญหาสิ่งแวดลอมตาง ๆ เปนตน
ศาลเยาวชนและครอบครัวซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว

และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ กำหนดรูปแบบองคกรและวิธีพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบครัวไวเปนพิเศษ เพื่อใหความคุมครองแกเด็กหรือเยาวชนและสถาบันครอบครัว

เปนสำคัญ มีเจตนารมณในการทำหนาที่คุมครองปกปองสิทธิเสรีภาพของเด็กหรือเยาวชนที่กระทำ
ความผิด มุงใหการสงเคราะหและฟนฟูใหกลับตัวเปนพลเมืองดีของสังคม ปองกันมิใหหวนกลับ

มากระทำความผิดซ้ำ
ศาลเยาวชนและครอบครัวจึงมีบทบาทสำคัญอยางยิ่งในการดำเนินการเพื่อแกไขบำบัด

ฟนฟูเด็กหรือเยาวชนใหสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคืนสูสังคมอยางสรางสรรค ตลอดจน

การดำเนินการเพื่อปองกันและแกไขมิใหเด็กหรือเยาวชนกระทำความผิดซ้ำหรือเพิ่มมากขึ้น
ในอนาคต ซึ่งแนวทางในการปฏิบัติตอเด็กหรือเยาวชนที่กระทำผิดคือการใชมาตรา ๕๖









แหงประมวลกฎหมายอาญา การใชมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญา มาตรา ๙๐ และ
มาตรการพิเศษแทนการพิพากษาคดีตามมาตรา ๑๓๒ และมาตรา ๑๓๓ แหงพระราชบัญญัติ

ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ซึ่งมีแนวทางในการแกไขบำบัดฟนฟูเด็กหรือเยาวชนนี้เปนเครื่องมือ

อยางหนึ่งในการปฏิบัติตอเด็กหรือเยาวชนที่กระทำความผิดทางอาญา
หลังจากเด็กหรือเยาวชนเขาสูกระบวนการยุติธรรมโดยผานการประเมินและตองการ
ความชวยเหลือดานตาง ๆ หรือไดรับการแกไขบำบัดฟนฟูและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดวยวิธีการ

ที่หลากหลายและเหมาะสมกับการกระทำความผิดของเด็กหรือเยาวชนจนครบถวนและกลับไป

ใชชีวิตในสังคมหรือชุมชนที่ตนอาศัยอยู หากการที่กระบวนการยุติธรรมมิไดกาวติดตามไปแนะนำ
ชวยเหลือเด็กหรือเยาวชนเหลานี้อีก ถือเปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหมีเด็กหรือเยาวชนหวนกลับมา

กระทำความผิดซ้ำอีก
ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางจึงจัดทำ “โครงการ

ติดตามดวยความหวงใย” เพื่อติดตามชวยเหลือเด็กหรือเยาวชนที่ผานขั้นตอนของศาล เชน
เด็กหรือเยาวชนที่ศาลมีคำสั่งใหมอบตัวแกผูดูแลหรือปลอยตามมาตรา ๗๓ วรรคทาย เด็กหรือ

เยาวชนที่ศาลพิพากษาไมวาจะเปนคดีคำสั่งวางเงื่อนไขคุมประพฤติ คดีที่ศาลมีคำพิพากษา

รอการกำหนดโทษ รอการลงโทษ และใหคุมประพฤติตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๖
หรือคดีที่ใชมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ

มาตรา ๙๐ และมาตรการพิเศษแทนการพิพากษาคดีตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ
มาตรา ๑๓๒ และมาตรา ๑๓๓ หรือกรณีที่เด็กหรือเยาวชนกระทำความผิดและมีคำสั่งใหปลอยตัว

ขั้นต่ำโดยคุมความประพฤติและไมคุมความประพฤติ หรือมีคำสั่งใหปลอยกอนกำหนดโดยคุม
ความประพฤติหรือไมคุมความประพฤติ หรือกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาใหยกฟองและปลอยตัวไป

ซึ่งจะเปนผลดีกับเด็กหรือเยาวชนนั้นสามารถดำเนินชีวิตตอไปไดอยางปกติสุขหลังจากไดรับการ
ปลอยตัวโดยไมกลับมากระทำผิดซ้ำอันจะกอใหเกิดความเสียหายแกสังคมและประเทศชาติ โดยมี

ตัวชี้วัดโครงการอยางเปนรูปธรรมสอดคลองกับนโยบายของประธานศาลฎีกา ขอที่ ๑ ความ
เสมอภาค ประชาชนตองไดรับความเปนธรรมอยางเสมอภาค ขอ ๒ สมดุลสรางดุลยภาพแหง

สิทธิ ยกระดับการคุมครองสิทธิแกผูเสียหาย เหยื่ออาชญากรรมในคดีอาญา และสอดคลองกับ

ภารกิจตามนโยบายของศาลเยาวชนและครอบครัวที่มุงในการปองกันแกไข การบำบัดฟนฟู
เยียวยาเด็กหรือเยาวชน ผูเสียหาย และคุมครองรักษาสถาบันครอบครัวดวยความรวดเร็วเปนธรรม

และตามภารกิจขอ ๗ คือสรางภาคีเครือขายชุมชนและประสานความรวมมือหนวยงานที่เกี่ยวของ
ในกระบวนการยุติธรรมเด็กหรือเยาวชนและครอบครัว เพื่อปองกันและติดตามผลการแกไขบำบัด

ฟนฟูเด็กและเยาวชนที่ผานกระบวนการของศาลเพื่อคืนเด็กหรือเยาวชนที่มีคุณภาพสูสังคม
ในทำนองเดียวกันผูเสียหายที่ไดรับความเสียหายหรือไดรับผลกระทบจากการกระทำความผิด

ของเด็กหรือเยาวชนก็จะไดรับการคุมครองสิทธิเชนเดียวกัน








กลุมเปาหมายที่เขารวมโครงการ



๑. เด็กหรือเยาวชนที่ศาลมีคำสั่งใหมอบตัวแกผูดูแลหรือปลอยตามมาตรา ๗๓ วรรคทาย
แหงพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ

๒. เด็กหรือเยาวชนที่ศาลมีคำสั่งใหใชมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามมาตรา
๙๐ หรือมาตรการพิเศษแทนคำพิพากษาคดีตามมาตรา ๑๓๒ และมาตรา ๑๓๓ แหงพระราชบัญญัติ

ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ
๓. เด็กหรือเยาวชนที่รอการกำหนดโทษหรือรอการลงโทษและใหคุมความประพฤติไว

ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๖ เด็กหรือเยาวชนที่ศาลกำหนดเงื่อนไขคุมความประพฤติ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๓ (๓) หรือคดีที่มีคำพิพากษาปลอยเด็กหรือเยาวชนแต

ใหคุมประพฤติหรือคดีที่ศาลมีคำสั่งใหปลอยตัวขั้นต่ำและคุมความประพฤติ หรือปลอยกอน
กำหนดตามคำพิพากษาและคุมความประพฤติตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ

มาตรา ๑๓๘ มาตรา ๑๓๙ และมาตรา ๑๔๓ หรือเปลี่ยนโทษปรับเปนคุมความประพฤติตาม

มาตรา ๑๔๒ (๒) รวมทั้งคดีที่ศาลมีคำสั่งปลอยขั้นต่ำโดยไมคุมความประพฤติ หรือคดีที่ศาล
มีคำสั่งปลอยกอนกำหนดตามคำพิพากษาโดยไมคุมความประพฤติตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชน

และครอบครัวฯ มาตรา ๑๔๓
๔ เด็กหรือเยาวชนที่ศาลยุติคดีเด็ดขาดแลว แตเด็กหรือเยาวชนและครอบครัวประสงคไดรับ

การชวยเหลือจากศูนยติดตามดวยความหวงใย
๕. ผูเสียหายที่ไดรับการสงตอจากศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำและชวยเหลือผูเสียหาย

และครอบครัว ซึ่งมีความประสงคขอรับความชวยเหลือตามหลักเกณฑการสงตอเขารับบริการที่

ศูนยติดตามดวยความหวงใย


คำนิยามศัพทและความหมาย



ศาลเยาวชนและครอบครัว หมายถึง ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ศาลเยาวชนและ

ครอบครัวจังหวัด หรือแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัด

ผูพิพากษาสมทบ หมายถึง บุคคลซึ่งเปนผูแทนในสังคมที่ผานการคัดเลือกจากศาลยุติธรรม
ใหมาปฏิบัติหนาที่ในทางตุลาการเพื่อพิจารณาพิพากษาคดีเด็กหรือเยาวชนที่กระทำความผิด

คดีครอบครัวและคดีที่ผูเยาวมีผลประโยชน หรือสวนไดสวนเสีย รวมทั้งใหการอบรม แกไขบำบัด
ฟนฟู และสงเคราะหเด็กหรือเยาวชนใหกลับตนเปนคนดีของสังคม ทั้งนี้ ตำแหนงผูพิพากษาสมทบ

จะไดรับการโปรดเกลาฯ ใหปฏิบัติหนาที่ในพระปรมาภิไธย และเปนเจาพนักงานตุลาการตาม

กฎหมาย (นายภัคพงศ ภัคพงศสิริ รองอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ ประธานคณะทำงานและคณะ : ๓)









คดีอาญา หมายถึง คดีอาญาที่เด็กและเยาวชนกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา เชน
ความผิดตอชีวิต ความผิดเกี่ยวกับทรัพยสิน หรือกระทำความผิดตามกฎหมายอื่น ซึ่งมีโทษทาง

อาญา เชน ความผิดตอพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ เปนตน

คดีครอบครัว หมายถึง คดีแพงที่ฟองหรือรองขอตอศาลหรือกระทำการใด ๆ ในทางศาล
เกี่ยวกับผูเยาวหรือครอบครัว ซึ่งจะตองบังคับตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย กฎหมาย

วาดวยการจดทะเบียนครอบครัว หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับครอบครัว

เด็ก หมายถึง บุคคลซึ่งอายุเกินกวาที่กำหนดไวตามมาตรา ๗๓ แหงประมวลกฎหมายอาญา

แตยังไมเกิน ๑๕ ปบริบูรณ

เยาวชน หมายถึง บุคคลอายุเกิน ๑๕ ปบริบูรณแตยังไมถึง ๑๘ ปบริบูรณ

ผูเยาว หมายถึง บุคคลที่ยังไมบรรลุนิติภาวะหรืออายุไมครบ ๒๐ ปบริบูรณ

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๖ หมายความถึง ผูใดกระทำความผิดซึ่งมีโทษจำคุกหรือปรับ
และในคดีนั้นศาลจะลงโทษจำคุกไมเกินหาปไมวาจะลงโทษปรับดวยหรือไมก็ตามหรือลงโทษปรับ

ถาปรากฏวาผูนั้น

(๑) ไมเคยรับโทษจำคุกมากอน หรือ
(๒) เคยรับโทษจำคุกมากอนแตเปนโทษสำหรับความผิดที่ไดกระทำโดยประมาท หรือ

ความผิดลหุโทษหรือเปนโทษจำคุกไมเกินหกเดือน หรือ
(๓) เคยไดรับโทษจำคุกมากอนแตพนโทษจำคุกมาแลวเกินกวา ๕ ป แลวมากระทำ

ความผิดอีก โดยความผิดในครั้งหลังเปนความผิดที่ไดกระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
วรรคสอง และเมื่อศาลไดคำนึงถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปญญา การศึกษา

อบรมสุขภาพภาวะแหงจิต นิสัย อาชีพ และสิ่งแวดลอมของผูนั้น หรือสภาพความผิดหรือการรูสึกผิด

และพยายามบรรเทาผลรายที่เกิดขึ้นหรือเหตุอื่นอันควรปรานีแลว ศาลจะพิพากษาวา
ผูนั้นมีความผิดแตรอการกำหนดโทษหรือกำหนดโทษแตรอการลงโทษไว ไมวาจะเปนโทษจำคุก

หรือโทษปรับอยางหนึ่งอยางใดหรือทั้งสองอยาง เพื่อใหโอกาสกลับตัวภายในระยะเวลาที่ศาล
จะกำหนดแตตองไมเกินหาปนับแตวันที่ศาลพิพากษา โดยจะกำหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติ

ของผูนั้นหรือไมก็ได
วรรคสาม เงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติของผูกระทำความผิดตามวรรคหนึ่ง ศาลอาจ

กำหนดขอเดียวหรือหลายขอตามควรแกกรณีได ดังตอไปนี้
(๑) ใหไปรายตัวตอเจาพนักงานที่ศาลระบุไวเปนครั้งคราวเพื่อเจาพนักงานจะไดสอบถาม

แนะนำ ชวยเหลือ หรือตักเตือนตามที่เห็นสมควรในเรื่องความประพฤติและการประกอบอาชีพ
หรือจัดใหกระทำกิจกรรมบริการสังคมหรือสาธารณประโยชน









(๒) ใหฝกหัดหรือทำงานอาชีพอันเปนกิจจะลักษณะ
(๓) ใหละเวนการคบหาสมาคมหรือการประพฤติใดอันอาจนำไปสูการกระทำความผิด

ในทำนองเดียวกันอีก
(๔) ใหไปรับการบำบัดรักษาการติดยาเสพติดใหโทษ ความบกพรองทางรางกายหรือ

จิตใจหรือความเจ็บปวยอยางอื่น ณ สถานที่และตามระยะเวลาที่ศาลกำหนด

(๕) ใหรับการฝกอบรม ณ สถานที่และตามระยะเวลาที่ศาลกำหนด
(๖) หามออกนอกสถานที่อยูอาศัยหรือหามเขาในสถานที่ใดในระหวางเวลาที่ศาลกำหนด

ทั้งนี้ จะใชอุปกรณอิเล็กทรอนิกสหรืออุปกรณอื่นใดที่สามารถใชตรวจสอบหรือจำกัดการเดินทาง
ดวยก็ได

(๗) ใหชดใชคาสินไหมทดแทนหรือเยียวยาความเสียหายโดยวิธีอื่นใหแกผูเสียหายตามที่
ผูกระทำความผิดและผูเสียหายตกลงกัน

(๘) ใหแกไขฟนฟูหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดแกทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม

หรือชดใชคาเสียหายเพื่อการดังกลาว
(๙) ใหทำทัณฑบนโดยกำหนดจำนวนเงินตามที่ศาลเห็นสมควรวาจะไมกอเหตุรายหรือ

กอใหเกิดภยันตรายแกบุคคลอื่นหรือทรัพยสิน
(๑๐) เงื่อนไขอื่น ๆ ตามที่ศาลเห็นสมควรกำหนดเพื่อแกไข ฟนฟูหรือปองกันมิใหผูกระทำ

ความผิดกระทำหรือมีโอกาสกระทำความผิดขึ้นอีก หรือเงื่อนไขในการเยียวยาผูเสียหายตาม
ที่เห็นสมควร

วรรคสี่ เงื่อนไขตามที่ศาลไดกำหนดตามความในวรรคสองนั้น ถาภายหลังความปรากฏ
แกศาลตามคำขอของผูกระทำความผิด ผูแทนโดยชอบธรรมของผูนั้น ผูอนุบาลของผูนั้น พนักงาน

อัยการหรือเจาพนักงานวาพฤติการณที่เกี่ยวแกการควบคุมความประพฤติของผูกระทำความผิด
ไดเปลี่ยนแปลงไป เมื่อศาลเห็นสมควรศาลอาจแกไขเพิ่มเติมหรือเพิกถอนขอหนึ่งขอใดตามที่กลาว

ในวรรคสองที่ศาลยังมิไดกำหนดไวเพิ่มเติมขึ้นอีกก็ได หรือถามีการกระทำผิดทัณฑบนใหนำบท

บัญญัติมาตรา ๔๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม

พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว มาตรา ๗๓ เมื่อเด็กหรือเยาวชนมาอยูตอหนาศาล
ใหศาลตรวจสอบวาเปนเด็กหรือเยาวชน ซึ่งตองหาวากระทำความผิดหรือไม การจับและการปฏิบัติ

ตอเด็กหรือเยาวชนเปนไปโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม หากการจับเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย
ก็ใหปลอยตัวเด็กหรือเยาวชนไป ถาเด็กหรือเยาวชนยังไมมีที่ปรึกษากฎหมาย ใหศาลแตงตั้งใหและ

เพื่อเปนการคุมครองสิทธิเด็กหรือเยาวชนศาลอาจมีคำสั่งใหมอบตัวเด็กหรือเยาวชนใหแกบิดา
มารดา ผูปกครอง บุคคลหรือองคการซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยูดวย หรือบุคคลหรือองคการ

ที่ศาลเห็นสมควรเปนผูดูแลเด็กหรือเยาวชนในระหวางการดำเนินคดี โดยกำหนดใหบุคคลดังกลาว
มีหนาที่นำตัวเด็กหรือเยาวชนนั้นไปพบพนักงานสอบสวนหรือพนักงานคุมประพฤติหรือศาล

แลวแตกรณี






วรรคสี่ การมอบตัวเด็กหรือเยาวชนใหแกผูดูแลตามวรรคหนึ่งหรือการปลอยชั่วคราว
หากปรากฏตอศาลวาเด็กหรือเยาวชนมีความจำเปนตองเขารับการบำบัดรักษา หรือรับคำปรึกษา

แนะนำ หรือเขารวมกิจกรรมบำบัดใด ๆ ใหศาลมีอำนาจกำหนดมาตรการเชนวานั้นดวยก็ได

มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญามาตรา ๙๐ เมื่อมีการฟองคดีตอศาลวาเด็กหรือเยาวชน
กระทำความผิดอาญาซึ่งมีอัตราโทษอยางสูงตามที่กฎหมายกำหนดไวใหจำคุกไมเกินยี่สิบป ไมวา

จะมีโทษปรับดวยหรือไมก็ตาม ถาปรากฏวาเด็กหรือเยาวชนไมเคยไดรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา

ถึงที่สุดใหจำคุกมากอน เวนแตเปนความผิดที่ไดกระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ กอนมี
คำพิพากษาหากเด็กหรือเยาวชนสำนึกในการกระทำและผูเสียหายยินยอมและโจทกไมคัดคาน

เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวาพฤติการณแหงคดีไมเปนภัยรายแรงตอสังคมเกินสมควร และศาลเห็นวา
เด็กหรือเยาวชนอาจกลับตนเปนคนดีไดและผูเสียหายอาจไดรับการชดเชยเยียวยาตามสมควร

หากนำวิธีจัดทำแผนแกไขบำบัดฟนฟูซึ่งเปนประโยชนตออนาคตของเด็กหรือเยาวชนและตอ
ผูเสียหายมากกวาการพิจารณาพิพากษา ใหศาลมีคำสั่งใหผูอำนวยการสถานพินิจหรือบุคคลที่

ศาลเห็นสมควรจัดใหมีการดำเนินการเพื่อจัดทำแผนดังกลาว โดยมีเงื่อนไขใหเด็กหรือเยาวชน
บิดา มารดา ผูปกครอง บุคคลหรือองคการซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยูดวยปฏิบัติ แลวเสนอ

ตอศาลเพื่อพิจารณาภายในสามสิบวันนับแตที่ศาลมีคำสั่ง หากศาลเห็นชอบดวยกับแผนแกไข
บำบัดฟนฟูใหดำเนินการตามนั้นและใหมีคำสั่งจำหนายคดีไวชั่วคราว หากศาลไมเห็นชอบให

ดำเนินกระบวนการพิจารณาตอไป

มาตรา ๑๓๒ ในกรณีที่ศาลเห็นวาพฤติการณแหงคดียังไมสมควรจะมีคำพิพากษาหรือบิดา

มารดา ผูปกครอง หรือบุคคลซึ่งจำเลยอาศัยอยูดวยรองขอ เมื่อศาลสอบถามผูเสียหายแลวศาล
อาจมีคำสั่งใหปลอยตัวจำเลยชั่วคราวแลวมอบตัวจำเลยใหบุคคลดังกลาวโดยไมมีประกันหรือ

มีประกันหรือมีหลักประกันดวยก็ได โดยกำหนดเงื่อนไข เชน ใหจำเลยรายงานตัวตอพนักงาน
คุมประพฤติหรือเจาพนักงานอื่นหรือบุคคลอื่นหรือบุคคลใดหรือองคกรดานเด็กเขารับการแกไข

บำบัดฟนฟู รับคำปรึกษาแนะนำเขารวมกิจกรรมบำบัดหรือกิจกรรมทางเลือก หรือใหใชวิธีการ
เพื่อความปลอดภัยภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควร แตตองไมเกินกวาจำเลยนั้นมีอายุยี่สิบสี่ป

บริบูรณ ในการนี้ศาลมีอำนาจสั่งใหบิดา มารดา ผูปกครอง หรือบุคคลซึ่งจำเลยอาศัยอยูดวย
เขารวมกิจกรรมหรือรับคำปรึกษาแนะนำดวยก็ได

วรรคสอง ในกรณีศาลเห็นวาจำเลยไมสมควรใชวิธีการตามวรรคหนึ่ง ศาลจะสงตัวจำเลย

ไปยังสถานพินิจหรือสถานที่อื่นที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายและตามที่ศาลเห็นสมควรที่ยินยอมรับ
ตัวจำเลยไวดูแลชั่วคราวหรือจะใหใชวิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนไปพลางกอนก็ได แตตอง

ไมเกินกวาจำเลยนั้นมีอายุครบยี่สิบสี่ปบริบูรณ










มาตรา ๑๓๓ เมื่อจำเลยไดปฏิบัติตามเงื่อนไขและภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนดตามมาตรา ๑๓๒

แลวใหศาลสั่งยุติคดีโดยไมตองมีคำพิพากษาเกี่ยวกับการกระทำความผิดของจำเลยเวนแตคำสั่ง

เกี่ยวกับของกลาง และใหถือวาสิทธินำคดีอาญามาฟองเปนอันระงับ

มาตรา ๑๓๘ ในกรณีที่ศาลพิพากษาปลอยเด็กหรือเยาวชนไป ถาศาลเห็นวาเด็กหรือเยาวชน
มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการกระทำความผิดหรืออยูในสภาพแวดลอมหรือสถานที่อันอาจชักนำให

กระทำผิดและเพื่อคุมครองสวัสดิภาพของเด็กหรือเยาวชนนั้น ศาลจะวากลาวตักเตือนเด็กหรือ
เยาวชน รวมทั้งบิดา มารดา ผูปกครอง หรือบุคคลซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยูดวยหรือองคการ

ที่รับเลี้ยงดูเด็กหรือเยาวชนก็ได ถาจะกำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับความประพฤติของเด็กหรือเยาวชน

นั้นดวยก็ใหศาลมีอำนาจกำหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติขอเดียวหรือหลายขอไวใน
คำพิพากษาเทาที่จำเปน

มาตรา ๑๓๙ เมื่อศาลกำหนดเงื่อนไขตามมาตรา ๑๓๘ แลวใหเปนหนาที่ของพนักงานคุมประพฤติ

นักสังคมสงเคราะห หรือผูคุมครองสวัสดิภาพเด็กที่จะสอดสองและทำรายงานเสนอตอศาลตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในขอบังคับของประธานศาลฎีกา

ในกรณีที่เด็กหรือเยาวชนไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ศาลกำหนด ศาลอาจมีหมายเรียกเด็ก
หรือเยาวชนนั้น หรือบิดา มารดา ผูปกครอง หรือบุคคลซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยูดวย หรือองคการ

ที่รับเลี้ยงดูเด็กหรือเยาวชนมาตักเตือน แตถาเด็กหรือเยาวชนไมเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสี่ยง
ดังกลาว เมื่อบิดา มารดา ผูปกครอง บุคคล หรือองคการดังกลาวยินยอมหรือศาลเห็นสมควร

ใหศาลมีอำนาจสงตัวเด็กหรือเยาวชนนั้นไปแกไขบำบัดฟนฟูในสถานที่ศาลเห็นสมควรเปนเวลา

ไมเกินหนึ่งปก็ไดแตตองไมเกินกวาเด็กหรือเยาวชนนั้นมีอายุครบยี่สิบสี่ปบริบูรณ

มาตรา ๑๔๒ ศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวมีอำนาจใชวิธีการสำหรับเด็ก
และเยาวชนแทนการลงโทษอาญาหรือวิธีการเพื่อความปลอดภัยได ดังตอไปนี้ (๑) เปลี่ยนโทษ

จำคุกหรือวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามมาตรา ๓๙
(๑) แหงประมวลกฎหมายอาญา เปนการสงตัวเด็กหรือเยาวชนไปควบคุมเพื่อฝกอบรม

ในสถานที่ที่กำหนดไวในหมวด ๔ หรือสถานที่อื่นที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายและศาลเห็นสมควร
ตามเวลาที่ศาลกำหนดแตตองไมเกินกวาเด็กหรือเยาวชนนั้นมีอายุครบยี่สิบสี่ปบริบูรณ

(๒) เปลี่ยนโทษปรับเปนการคุมความประพฤติ โดยจะกำหนดเงื่อนไขขอเดียวหรือหลายขอ
ตามมาตรา ๑๓๘ ดวยหรือไมก็ได ถาไดกำหนดเงื่อนไขไวใหนำบทบัญญัติมาตรา ๑๓๘

วรรคสองและวรรคสาม และมาตรา ๑๓๙ มาใชบังคับโดยอนุโลม ในกรณีที่ศาลไดพิจารณาความ

หนักเบาแหงขอหาและพฤติการณแหงคดีแลวเห็นวาควรจะควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชนตาม (๑)
ตอไปอีกหลังจากที่เด็กหรือเยาวชนนั้นมีอายุครบยี่สิบสี่ปบริบูรณแลวใหศาลระบุในคำพิพากษา

ใหสงตัวไปจำคุกไวในเรือนจำตามเวลาที่ศาลกำหนด








มาตรา ๑๔๓ การสงตัวเด็กหรือเยาวชนไปควบคุมเพื่อฝกอบรมในสถานที่ที่กำหนดไวในหมวด ๔
หรือสถานที่อื่นที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายและศาลเห็นสมควร ถาศาลไดกำหนดระยะเวลาขั้นต่ำ

และขั้นสูงไวศาลจะปลอยตัวเด็กหรือเยาวชนไปในระหวางระยะเวลาขั้นต่ำและขั้นสูงนั้นก็ได
ในกรณีดังกลาวจะกำหนดเงื่อนไขคุมความประพฤติมาตรา ๑๓๘ ดวยหรือไมก็ได ถาไดกำหนด

เงื่อนไขคุมความประพฤติไวใหนำบทบัญญัติมาตรา ๑๓๘ วรรคสองและวรรคสาม และมาตรา
๑๓๙ วรรคหนึ่งมาใชโดยอนุโลม


หนวยงานภาครัฐ หมายถึง หนวยงานทั้งหกหนวยงานที่ใหการสนับสนุนชวยเหลือและสงเคราะห
เด็กหรือเยาวชนและครอบครัวใหไดรับโอกาสในการศึกษาตอการฝกอาชีพ ดานสุขภาพ ดานการ

ไดรับความคุมครองเยียวยาใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถดำรงตนอยูในสังคมไดอยางปกติสุข
ตอไปหลังจากผานกระบวนการครบทุกขั้นตอนจากศาลแลว ไดแก กระทรวงแรงงาน กระทรวง

สาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวง
ยุติธรรม และกรุงเทพมหานคร

มูลนิธิบานพระพร เดิมชื่อวา พันธกิจเรือนจำคริสเตียน ไดกอตั้งเมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยศาสนาจารย

แจค แอล มาติน ซึ่งเปนมิชชันนารีที่มาจากสหรัฐอเมริกา ไดรับอนุญาตจากกรมราชทัณฑ
ในสมัยนั้นใหเขาอบรมและพัฒนาดานการศึกษาแกผูตองขัง นอกจากภารกิจในการเขาอบรม

พัฒนาชีวิตผูตองขังในเรือนจำและสถานพินิจตาง ๆ แลว ทางมูลนิธิไดใหความชวยเหลือผูพนโทษ

ทั้งผูใหญและเด็กหรือเยาวชนเพื่อชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนใหคนเหลานี้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
มีอาชีพการงานที่สุจริต และสามารถดำรงชีวิตในสังคมไดอยางมั่นคง

ศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว หมายถึง ศูนยที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ

ใหบริการใหคำปรึกษาแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัวในเรื่องสิทธิหนาที่และการเยียวยา
ที่ผูเสียหายพึงไดรับตามกฎหมายจากภาครัฐ หนวยงานอื่น และจากผูตองหาหรือจำเลย โดยมี

ผูใหคำปรึกษาที่ผานการฝกอบรมเปนการเฉพาะ และผูเสียหายไมตองเสียคาใชจายใด ๆ

ผูเสียหาย หมายถึง ผูที่ไดรับความเสียหายจากการกระทำผิดคดีอาญาและจากการขมเหงทำราย

รางกายหรือจิตใจตามกฎหมายอื่น เชน พระราชบัญญัติคุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรง
ในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ไมวาจะไดรองทุกข

ตอเจาพนักงานตำรวจแลวหรือไมหรืออยูระหวางการพิจารณาคดี

ครอบครัว หมายถึง บุคคลในครอบครัวของผูเสียหายที่ไดรับผลกระทบจากการกระทำผิดคดีอาญา
และจากการขมเหง ทำรายรางกายหรือจิตใจตามกฎหมายอื่น














การทำงานของศูนยติดตามดวยความหวงใย


แบงคณะผูพิพากษาสมทบออกเปนฝายตาง ๆ ดังนี้


คณะทำงานฝายคัดกรอง คือ ผูพิพากษาสมทบที่ไดรับการแตงตั้งจากอธิบดีผูพิพากษาศาล

เยาวชนและครอบครัวกลางใหทำงานในหนาที่ฝายคัดกรอง มีหนาที่ศึกษาขอมูลเด็กและเยาวชน
จากสำนวนคดีและคนหาความเปนไปไดในการชวยเหลือพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนไมให

หวนกระทำความผิดซ้ำและกลับคืนสูสังคมไดอยางปกติสุขผานการสัมภาษณเพิ่มเติมเพื่อคัดกรอง
แยกแยะปญหาเด็กหรือเยาวชนไดตรงกับความเปนจริง เชน ปญหาสุขภาพของบุคคลในครอบครัว

หรือตนเอง ปญหาติดยาเสพติด ปญหาไมมีงานทำ ปญหาไมไดเรียนหนังสือ เปนตน พรอม
คนหาความสนใจและความสามารถของเด็กและเยาวชนเพื่อสนับสนุนการใหความชวยเหลือแลว

ทำความเห็นสงไปยังคณะทำงานฝายประสานงาน (คณะทำงานชุดที่ ๒) และนำขอมูลเขา

สำนวนไวในสำนวนปกสีมวงตอไป

คณะทำงานฝายประสานงาน คือ ผูพิพากษาสมทบที่ไดรับการแตงตั้งจากอธิบดีผูพิพากษาศาล
เยาวชนและครอบครัวกลางใหทำงานในหนาที่ฝายประสานงาน มีหนาที่ประสานงานกับหนวยงาน

และองคกรทั้งของภาครัฐและเอกชนเพื่อใหความชวยเหลือเด็กหรือเยาวชนในดานตาง ๆ ใหเหมาะสม
กับปญหา ความสนใจ และความสามารถของเด็กหรือเยาวชนเปนรายบุคคล เชน หนวยงาน

ทางการศึกษา สถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาล กรมแรงงาน เปนตน รวมไปถึงประสานงาน
กับครอบครัวและชุมชนเพื่อการติดตามและนำขอมูลการประสานงานตาง ๆ เขาสำนวนปกสีมวง

ตอไป

คณะทำงานฝายติดตาม คือ ผูพิพากษาสมทบที่ไดรับการแตงตั้งจากอธิบดีผูพิพากษาศาล

เยาวชนและครอบครัวกลางใหทำงานในหนาที่ฝายติดตาม มีหนาที่ติดตามดูแลเด็กและเยาวชน
ที่ถูกสงไปยังหนวยงานหรือองคกรทั้งภาครัฐและเอกชนหรือบุคคลซึ่งกำกับดูแลแกไขเด็กหรือ

เยาวชนอยูวาเด็กหรือเยาวชนไดปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือไมอยางไร มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ไปในทางที่ดีขึ้นหรือไม หวนกลับไปกระทำผิดซ้ำอีกหรือไม โดยติดตามจากสำนักคุมประพฤติ

หรือจากองคกรหรือหนวยงานที่กำกับดูแลอยูดวย ถาพบวามีปญหาไมปฏิบัติตามเงื่อนไข
คณะกรรมการจะไดหาทางชวยเหลือแกไขหรือประเมินผล และเก็บขอมูลดังกลาวไวในสำนวน

เดียวกันในสำนวนปกสีมวงตอไป

คณะทำงานฝายประเมินผล คือ ผูพิพากษาสมทบที่ไดรับการแตงตั้งจากอธิบดีผูพิพากษาศาล
เยาวชนและครอบครัวกลางใหทำงานในหนาที่ฝายประเมินผล มีหนาที่ประเมินผลการใหความ

ชวยเหลือเด็กหรือเยาวชนวาสัมฤทธิผลหรือไม หากเด็กหรือเยาวชนสามารถกลับไปใชชีวิตในสังคม

อยางปกติสุขและไมหวนกลับไปกระทำผิดซ้ำ ใหจัดทำรายงานรวบรวมไวพรอมจัดทำสถิติ









ความสำเร็จ หากเด็กหรือเยาวชนยังมีพฤติกรรมเกี่ยวของกับการกระทำความผิดอีก ใหสำนัก
คุมประพฤติรายงานมายังผูพิพากษาประจำศูนย หากเด็กหรือเยาวชนยังอยูในระยะคุมประพฤติ

ใหสำนักคุมประพฤติทำรายงานสงผูพิพากษาเจาของสำนวนตอไป และประเมินในสวนของเด็ก
หรือเยาวชนที่ประสบความสำเร็จตรงตามตัวชี้วัดที่วางไว และจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน

ตออธิบดีผูพิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง



ลำดับ ฝายของผูพิพากษาสมทบ
งาน ประจำศูนยติดตามดวยความหวงใย หนาที่หลัก

สำรวจสภาพปญหาของผูรับบริการวาตองการความ
1. ฝายคัดกรองและสอบถามขอมูล
ชวยเหลือดานใด
ติดตอประสานความชวยเหลือกับหนวยงานภายนอก
2. ผูพิพากษาสมทบฝายประสานงาน
ที่เกี่ยวของ

3. ผูพิพากษาสมทบฝายติดตาม ติดตามพฤติกรรมของผูรับริการ รายงานความคืบหนา


4. ผูพิพากษาสมทบฝายประเมินผลและสถิติ ประเมินวาเห็นควรเสนอผูพิพากษาเพื่อยุติการบริการ
หรือไม
5. ผูพิพากษาสมทบฝายประชาสัมพันธ เผยแพรใหความรูแกชุมชน หนวยงานราชการ และเอกชน




วิธีดำเนินการ



๑. เมื่อเด็กหรือเยาวชนไดรับการปลอยตัว เจาหนาที่ประจำศูนยฯ จะลงทะเบียนในสารบบ

จัดใหเด็กหรือเยาวชนใหความยินยอมในการไดรับความชวยเหลือจากศูนยฯ โดยกรอกรายละเอียด
ในแบบฟอรม พรอมทั้งแจงใหผูพิพากษาสมทบที่ทำหนาที่คัดกรองที่เปนเวรปฏิบัติงานตามคำสั่ง

ศาล และเชิญผูพิพากษาสมทบที่ไดรับแตงตั้งเปนเวรประจำวันฝายคัดกรองมาทำการสัมภาษณ
พูดคุยกับเด็กหรือเยาวชนใหทราบถึงสภาพปญหาและความตองการความชวยเหลือของเด็กหรือ

เยาวชน และบันทึกการสัมภาษณในแบบฟอรมการคัดกรอง และมอบใหเจาหนาที่จัดเก็บรวบรวม
เขาสำนวนในปกสีมวงเปนรายบุคคล

๒. เจาหนาที่ประจำศูนยฯ จะรวบรวมแบบการคัดกรองเขาสำนวนเปนรายบุคคล และแจง

ใหผูพิพากษาสมทบฝายประสานงานหนวยงานมาอานสำนวนเพื่อประสานงานหนวยงาน
เพื่อขอความอนุเคราะหชวยเหลือเด็กหรือเยาวชนใหตรงตามวัตถุประสงคตอไปภายในระยะเวลา

๑ เดือน โดยประสานไปยังหนวยงานที่มีการบริการไดตรงตามความประสงคของเด็กหรือเยาวชน
มากที่สุด อาทิ ความตองการฝกอาชีพ ความตองการการศึกษาเพิ่มเติม ความตองการการ

รักษาพยาบาล ความตองการในการบำบัดรักษายาเสพติด หรือบำบัดจิตเวช เปนตน และแจง







๑๐

ใหเด็กหรือเยาวชนทราบถึงขั้นตอนในการสงตัวไปขอรับความชวยเหลือ โดยมีแบบบันทึกการ
สงตัวเด็กหรือเยาวชนจากศาลฯ ไปยังหนวยงานนั้น ๆ และมีแบบบันทึกการรายงานความประพฤติ

ของเด็กหรือเยาวชนแนบสงไปดวย เพื่อใหหนวยงานนั้น ๆ ไดรายงานความประพฤติกลับมา
ยังศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

๓. เจาหนาที่ประจำศูนยฯ จะรวบรวมสำนวนของเด็กหรือเยาวชนที่ไดรับการประสานงาน
จากหนวยงานที่ใหความชวยเหลือเรียบรอยแลวจัดเขาสำนวนเปนรายบุคคล เพื่อประสานงาน

กับฝายติดตาม ดำเนินการติดตามหลังจากเด็กหรือเยาวชนไดรับการดูแลชวยเหลือจากหนวยงาน
แลวตั้งแตเดือนที่ ๒ เปนตนไป

๔. เจาหนาที่ประจำศูนยฯ ประสานงานกับผูพิพากษาสมทบซึ่งเปนคณะทำงานฝายติดตาม

หลังจากที่เด็กหรือเยาวชนไดรับการประสานงานหนวยงานเพื่อดูแลชวยเหลือแลว ๒ เดือน
จนถึงเดือนที่ ๖ เพื่อติดตามความเปนอยู การพัฒนาดานตาง ๆ ความกาวหนาของการศึกษา

หรือการฝกอบรมวิชาชีพ ฯลฯ โดยติดตามจากหนวยงานที่ใหความดูแลชวยเหลือ ติดตามจาก
ตัวเด็กหรือเยาวชน จากครอบครัว หรือจากผูที่เด็กหรือเยาวชนอาศัยอยูดวย จากชุมชน จาก

เครือขายชุมชน เปนตน และบันทึกรายงานการติดตามลงในแบบบันทึกการติดตาม การติดตาม
เด็กหรือเยาวชนใหติดตามเปนระยะอยางสม่ำเสมอ อาจจะสามครั้งภายใน ๑ ปหรือมากกวานั้น

แลวแตกรณี
๕. หลังจากเดือนที่ ๖ ถึงเดือนที่ ๙ ผูพิพากษาสมทบซึ่งเปนคณะทำงานฝายประเมินผล

จะดำเนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ของเด็กหรือเยาวชนแตละรายจากแบบบันทึกการติดตาม
๖. เด็กหรือเยาวชนที่สามารถดูแลชวยเหลือตนเองไดแลว เชน มีงานทำเปนหลักฐาน

มั่นคง หรือกำลังศึกษาในระบบหรือนอกระบบที่มีแนวโนมที่จะจบการศึกษาในเร็ววัน หรือ

สามารถดำรงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข และไมประสงคจะใหศูนยฯ ไดดูแลชวยเหลือแต
อยางใด ยังคงตองติดตามพฤติกรรมตอไปเชนเดียวกัน

เด็กหรือเยาวชนมีความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นก็จะทำรายงานรวบรวมไว พรอมทั้ง
จัดทำสถิติความสำเร็จการใหความชวยเหลือเด็กหรือเยาวชน หากเด็กหรือเยาวชนรายใด

มีพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับการกระทำความผิดอีก หากเด็กหรือเยาวชนยังอยูในระยะเวลาคุม
ประพฤติ สำนักคุมประพฤติจะมีหนังสือรายงานมายังผูพิพากษาประจำศูนยฯ เพื่อใหผูพิพากษา

พิจารณาการผิดเงื่อนไขคุมประพฤติตอไป


ขั้นตอนในการปฎิบัติหนาที่


๑. ผูพิพากษาสมทบฝายคัดกรอง
ผูพิพากษาสมทบฝายคัดกรองมีขั้นตอนในการปฎิบัติหนาที่ ดังนี้

๑.๑ ศึกษาขอมูลเด็กหรือเยาวชนและผูปกครองที่เขารับบริการจากสำนวนคดีอยางละเอียด
และสอบถามขอมูลเพิ่มเติมเทาที่จำเปนเพื่อคนหาความเปนไปไดในการชวยเหลือใหเด็กหรือเยาวชน





๑๑

มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไมหวนกลับไปกระทำผิดซ้ำ และกลับคืนสูสังคมโดยปกติสุข โดยคัดกรอง
แยกแยะประเด็นปญหา เชน ปญหาดานสุขภาพ ปญหายาเสพติด ปญหาไมมีงานทำ ปญหาไมได

เรียนหนังสือ พรอมทั้งความสนใจ งานอดิเรก ความสามารถพิเศษอันจะตอยอดการพัฒนาตนเอง
ของเด็กหรือเยาวชนใหสามารถกลับไปใชชีวิตในสังคมได

๑.๒ จัดทำแบบบันทึกสรุปการชวยเหลือ โดยกรอกรายละเอียดลงในแบบบันทึกการ
คัดกรอง (ตามแบบ ศตย.๑) พรอมแนวทางที่เหมาะสมในการใหความชวยเหลือการศึกษาขอมูล

เด็กหรือเยาวชนและผูปกครองอยางละเอียดนั้นสามารถศึกษาไดจากขอมูลในสำนวนคดีที่เจาหนาที่จัด
เตรียมไวในสำนวน ศตย. เพื่อทำความเขาใจเบื้องตน เชน ใบประเมินนักจิตวิทยา หนังสือความเห็น

ของผูอำนวยการสถานพินิจ ขอมูลการประเมินจากการใหคำปรึกษาในชวงตาง ๆ เปนตน

ในกรณีที่ขอมูลไมเพียงพอหรือจำตองสอบทานขอมูลใหเปนปจจุบันสามารถสอบถามเพิ่มเติม
จากเด็กหรือเยาวชนและครอบครัวได โดยเนนทักษะการถามและฟงที่ใหเด็กหรือเยาวชนและ

ผูปกครองคนหาความตองการ ความเปนไปได ความสนใจ เปาหมายของตนเอง โดยสราง
สัมพันธภาพที่ดีกับผูเขารับบริการซึ่งมีหลักการในสวนการสนทนาดังนี้


การเตรียมตัวกอนการสัมภาษณคัดกรอง

อานขอมูลประวัติสวนตัวของผูเขารับบริการและขอมูลเกี่ยวกับคดีที่เจาหนาที่จัดเตรียมไวใน

สำนวน ศตย. เพื่อทำความเขาใจเบื้องตน

สรางสัมพันธภาพที่ดีกับผูเขารับบริการโดยจำเปนจะตองมีหลักในการสนทนาดังนี้
- การใหเกียรติ มองในแงดี คนหาศักยภาพดานดีของผูเขารับบริการ

- การเขาใจเนื้อหาและความรูสึกของผูเขารับบริการจากการศึกษาขอมูลในสำนวน
อยางละเอียดและรับฟงผูเขารับบริการอยางใสใจ ไมตัดสิน พรอมจะชวยเหลือ

- มีความจริงใจและตั้งใจจริงที่จะชวยเหลือผูเขารับบริการ
- ใชการสื่อความหมายอยางเดนชัด ตรงประเด็น

- คำถามใดที่ขอมูลปรากฏอยูแลวในสำนวนคดี อาจถามเพื่อยืนยันใหขอมูลเปนปจจุบัน
เพื่อใหผูเขารับบริการทราบวาศาลมีการทำงานอยางเปนระบบและไดมีการใสใจใน

รายละเอียดตั้งแตเริ่มตนคดีแลว
- ทำความเขาใจปญหาและแนวทางการแกไขของผูเขารับบริการ

- เนนการถามที่ใหผูเขารับบริการอยูกับปจจุบัน

- เวนระยะเวลาหลังจากการถามเพื่อใหผูเขาบริการไดคิดหรือวิเคราะห
- เนนการถามไมใชการสอบสวน โดยหลีกเลี่ยงคำวา “ทำไม” (คำวา “ทำไม” ใชได ขึ้นอยู

กับบริบทที่ใชเพื่อตองการใหความชวยเหลือ ทำความเขาใจ แตควรใหหลีกเลี่ยงการใชในชวงเริ่มตน
การสนทนาเพื่อสรางสัมพันธภาพ

- จับประเด็นและทวนกลับเพื่อตรวจสอบความถูกตอง





๑๒

ขั้นตอนในการสัมภาษณคัดกรองเพื่อสำรวจปญหาที่ผูรับบริการตองการ

ความชวยเหลือ
๑. แนะนำตัว ขอตกลงกอนเริ่มการใหบริการ เชน การบอกแกผูรับบริการวาจะเก็บขอมูล

เปนความลับเฉพาะผูเกี่ยวของภายในศูนยฯ และบอกใหผูเขารับบริการเปดใจพูดคุยดวยความ
เปนกันเอง สรางบรรยากาศที่รูสึกผอนคลาย ไมตึงเครียด

๒. ระบุปญหาซึ่งเกิดจากการเนนซักถามดวยขอคำถามปลายเปด

๓. ระบุวัตถุประสงคของการสนทนา

ตัวอยางขอคำถามสำหรับการสัมภาษณเพื่อคัดกรอง
• สามารถซักถามตามแบบบันทึก (ศตย. ๑) ที่ไดรับและถามนอกเหนือจากที่ระบุไวใน

แบบบันทึก เชน
- พอจะเลาใหฟงคราว ๆ ไดไหมวาเกิดอะไรขึ้นกอนที่....จะมีคดีและมาที่ศาล

- รูเกี่ยวกับกระบวนการขั้นตอนของตนเองวาตอนนี้อยูในขั้นตอนใด
- สิ่งที่ศาลมีคำสั่ง/คำพิพากษาทำให....รูสึกอยางไร แลวคิดวาตัวเองทำไดมากนอย

แคไหน อะไรคืออุปสรรคที่อาจทำตามเงื่อนไขที่ศาลกำหนดไมได
- ตอนนี้สภาพความเปนอยูของตัวเอง ของคนในครอบครัวเปนอยางไรบาง ฯลฯ


ขอสังเกต

๑. หากผูรับบริการมีทาทีถามคำตอบคำ อาจแสดงถึงขอขัดของบางประการ เชน
ผูคัดกรองยังสรางสัมพันธภาพใหผูเขารับบริการไมรูสึกอยากเปดใจพูดคุยมากพอหรือปจจัยอื่น ๆ

เชน สถานที่ขาดความเปนสวนตัว

๒. การใชสรรพนามแทนตัวเองวาแมหรือแมศาล อาจทำใหเด็กหรือเยาวชนบางคน
ตอตานวาตนเองมีแมเพียงคนเดียวคือแมที่ใหกำเนิด แตจำตองใชสรรพนามนี้เพราะเกรงใจ

ผูพิพากษาสมทบ เชนเดียวกับการใชสรรพนามแทนตัวเองวาศาล อาจสงผลใหเด็กหรือเยาวชน
บางคนไมกลาแสดงออกอยางเปดเผยเพราะกลัวมีผลตอคดี หรือหากใชคำวาครู อาจารยจะ

มีผลในดานที่ทำใหผูรับบริการรูสึกถูกอบรมสั่งสอนจากผูมีอำนาจเหนือกวา ควรใชสรรพนามแทน

ตัวเองวา ผูใหคำปรึกษา จึงจะเปนกลางและเหมาะสม

๓. การเรียกชื่อเลนของเด็กหรือเยาวชนในขณะสนทนามีสวนชวยทำใหเด็กหรือเยาวชน
รูสึกดีที่ผูใหบริการจดจำชื่อของเขาได เขาจะรูสึกวาไดรับความสำคัญ

๔. ฝายคัดกรองจะไมมีการคัดกรองกรณีเปนผูเสียหาย เนื่องจากกรณีผูเสียหายจะมี

ศูนยใหคำปรึกษาแนะนำผูเสียหายและครอบครัวดำเนินการคัดกรองโดยนักจิตวิทยา ผูพิพากษา

และนิติกรอยูแลว







๑๓

ขอขัดของที่เด็กหรือเยาวชนและครอบครัวมักตัดสินใจไมเขารวมโครงการ
๑. เด็กหรือเยาวชนมีความประสงคที่จะกลับไปอยูตางจังหวัดกับผูปกครองและศึกษาตอ

๒. เด็กหรือเยาวชนมีความประสงคจะกลับเขารับการศึกษาในระบบยังสถานศึกษาเดิม
ซึ่งในขณะนี้สถานการณโรคระบาดทำใหสถานศึกษายังไมสามารถเปดทำการสอนได

๓. เด็กหรือเยาวชนรับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษานอกโรงเรียนอยูแลว และอาชีพ

เสริมคือการขายเครื่องดื่ม มีรายไดเสริม
๔. เยาวชนมีงานทำประจำเดิมอยูแลว เชน เปนเด็กติดรถสง เยาวชนมีความพึงพอใจ

ในรายไดที่ไดรับ ๓๕๐ บาทตอวัน





แผนภาพแสดงประเภทปญหาของผูเขารับบริการ
ที่ตองการความชวยเหลือในดานตาง ๆ









อาชีพ




การศึกษา สาธารณสุข



การใหความชวยเหลือ ๖ ดาน







การดำรงชีวิต ดานอื่น ๆ ประสานกับองคกร
ที่ไมใชของรัฐ



๒. ผูพิพากษาสมทบฝายประสานงาน
ผูพิพากษาสมทบฝายประสานงานมีหนาที่ประสานงานกับหนวยงานที่จะใหความชวยเหลือ

เด็กและเยาวชนในดานตาง ๆ

๒.๑ รับสำนวน (ปกสีมวง) แบบประเมินของเด็กและเยาวชนจากฝายคัดกรอง แลว
พิจารณาขอมูลของเด็กและเยาวชนจากฝายคัดกรอง เชน สภาพธรรมชาติเบื้องตนของปญหา

ประเมินความสามารถของเด็กและเยาวชน ความพรอมและความเหมาะสมของการใหความ






๑๔

ชวยเหลือของหนวยงานภาครัฐวาตรงกับเด็กและเยาวชนรายใด ประสานหาสถานศึกษาตาม
ขอมูลที่มี ประสานหาชองทางการฝกอาชีพจากหนวยงานภาคีเครือขายโดยกรอกรายละเอียดลง

ในแบบประเมินเด็กและเยาวชน (ตามแบบ ศตย.๒)
๒.๒ กำหนดแนวทางการใหความชวยเหลือเด็กและเยาวชนตามความสนใจ ความสามารถ

และความเหมาะสมเปนรายบุคคล

การสงตอผูเสียหายจากศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำผูเสียหายและครอบครัว

เจาหนาที่หรือนิติกรประจำศูนยใหคำปรึกษาผูเสียหายทำหนาที่รับเรื่องและคัดกรอง
ผูเสียหายที่เขามารับบริการขอความชวยเหลือและพบกับนักจิตวิทยาสอบถามพูดคุยคนหา

สาเหตุความชวยเหลือที่ผูเสียหายตองการ และทำหนังสือสงตอไปยังศูนยติดตามดวยความหวงใย
(สำหรับผูเสียหาย) เพื่อใหคณะทำงานฝายประสานงานติดตอประสานงานหนวยงาน เพื่อดูแล

ชวยเหลือผูเสียหายใหเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของผูเสียหายตอไป

การใหความชวยเหลือของศูนยติดตามดวยความหวงใย
๑. ถาผูเขารับบริการประสงคเรียกรองคาเสียหายหรือคาอุปการะเลี้ยงดู ควรสงตอ

ใหนิติกรประจำศาลชวยเหลืออธิบายขอกฎหมาย หรืออนุเคราะหจัดทำคำรองใหแกผูเสียหาย

๒. ถาตองการความชวยเหลือทางดานการรักษาพยาบาลเกี่ยวกับสุขภาพจิตควรแจงให
เจาหนาที่สงตอโรงพยาบาลหรือหนวยงานดานสาธารณสุขตามที่ไดทำความรวมมือไว

๓. ดานการสงตอดานอาชีพตามความถนัดความสนใจของเยาวชน
๔. ดานสงเสริมการศึกษาตอ เชน แจงใหเจาหนาที่มีหนังสือสงตอเด็กหรือเยาวชนสมัคร

เรียนตอ กศน. หรือหาทุนการศึกษาตอระดับมหาวิทยาลัย สนับสนุนทุนตาง ๆ
๕. ดานการดำรงชีพ เชน กรณีกายพิการก็ประสานจัดหารถเข็น ไมพยุง หรืออุปกรณ

ใหแกผูเสียหาย
๖. อื่น ๆ สามารถแจงเจาหนาที่เพื่อสงตอหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน บานพักเด็กฯ

หนวยงานในกระทรวงพัฒนาความมั่นคงของมนุษย หรือ NGOs ชวยดูแลตอไป




สิ่งที่ไมควรปฏิบัติ
ไมควรชวยเหลือผูเสียหายถึงขนาดใหเงินสวนตัวหรือใหกูยืมเงิน




๓. ผูพิพากษาสมทบฝายติดตาม

ผูพิพากษาสมทบฝายติดตามมีหนาที่ติดตามความประพฤติของเด็กหรือเยาวชน ครอบครัว
และผูเสียหายที่แสดงความยินยอมเขารับการบริการจากศูนยติดตามดวยความหวงใย และมี








๑๕

หนาที่รายงานขอมูลติดตามวาผลการใหความชวยเหลือเปนไปตามแผนที่กำหนดไวหรือไม
มีปญหาหรืออุปสรรคหรือไม เพื่อใหสามารถปรับเปลี่ยนแผนและแกไขตามสถานการณที่เกิดขึ้น

ไดอยางถูกตองและเหมาะสม (ตามแบบ ศตย.๓)
ซึ่งการติดตามสามารถกำหนดระยะเวลาในการติดตามเด็กและเยาวชนแตละรายบุคคล

ตามความชวยเหลือ เชน ติดตามทุก ๑ เดือนหรือ ๓ เดือน

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

๑. เมื่อฝายประสานงานไดกำหนดแนวทางการใหความชวยเหลือเด็กและเยาวชนตาม

ความสนใจ ความสามารถ และความเหมาะสมเปนรายบุคคลแลว ฝายติดตามจะนำขอมูล
ดังกลาวมาติดตามวาผลการใหความชวยเหลือเปนไปตามแผนที่กำหนดไวหรือไม มีปญหาหรือ

อุปสรรคหรือไม เพื่อใหสามารถปรับเปลี่ยนแผนและแกไขตามสถานการณที่เกิดขึ้นไดอยางถูกตอง
และเหมาะสม ซึ่งการติดตามสามารถกำหนดระยะเวลาในการติดตามเด็กและเยาวชนแตละราย

บุคคลตามความชวยเหลือ เชน ติดตามทุก ๑ หรือ ๓ เดือน

๒. การติดตามความชวยเหลือของศูนยติดตามจะพิจารณาวาเด็กและเยาวชน ผูปกครอง
หรือผูเสียหายที่ไดรับความชวยเหลือจากหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนมีการเปลี่ยนแปลง

ไปในทิศทางใด มีความกาวหนาและมีประสบการณอยางไรบางจากผลของการประสานความ
ชวยเหลือของผูพิพากษาสมทบฝายประสานงาน


๓. การติดตามนอกจากนัดติดตามที่ศาลแลวยังสามารถนัดติดตามไดทางสื่ออิเล็กทรอนิกส
เชน Line Facebook E-mail โทรศัพท หรือทางไปรษณีย เปนตน

ขั้นตอนการติดตามพฤติกรรม

กระบวนการติดตามผลสัมฤทธิ์ของเด็กและเยาวชนที่ไดรับความชวยเหลือจากองคกร
ทั้งภาครัฐและเอกชน

คณะทำงานฝายติดตามไดติดตามพฤติกรรมเด็กและเยาวชนจากสำนักงานคุมประพฤติ

และติดตามพูดคุยกับทางครอบครัวของเด็กและเยาวชน สรุปผลการดำเนินงานการติดตามเด็ก
และเยาวชนทั้งที่ประสงคเขารวมโครงการและไมประสงคเขารวมโครงการ มีดังนี้

๑. กลุมเยาวชนที่ประสงคจะกลับเขาศึกษาตอในระบบ ณ สถานศึกษาเดิมและนอกระบบ

หรือ กศน. ในขณะนี้สถานศึกษาทั้งสองระบบยังไมสามารถเปดทำการสอนไดเนื่องจากสถานการณ
โรคระบาด แตเยาวชนกลุมนี้มิไดมีการกระทำความผิดซ้ำในระยะเวลาที่ผานมา

๒. เด็กและเยาวชนที่กำลังศึกษาอยูแลวในระบบอยูกับบานเรียนออนไลน (online) มิได

ประพฤติตัวเกเรหรือกระทำความผิดซ้ำในระยะเวลาที่ผานมา









๑๖

๓. เด็กและเยาวชนที่พึงพอใจกับงานที่ทำและรายไดที่ไดรับยังคงทำงานอยางเดิม
เนื่องจากไมสามารถหางานใหมไดดีกวานี้ได และอาจจะขาดรายไดไปบางเนื่องจากสถานการณ

โรคระบาดแตก็มิไดมีการกระทำความผิดซ้ำในระยะเวลาที่ผานมา
๔. กลุมเยาวชนที่ยังไมมีงานทำยังคงไมมีงานทำอยู เนื่องจากยังหางานทำไมไดใน

สถานการณเชนนี้แตก็มิไดมีการกระทำความผิดช้ำในระยะเวลาที่ผานมา

๕. เยาวชนที่ประสงคเขารวมกิจกรรมฝกอาชีพชางตัดผม เนื่องจากทางโครงการไดสง
เยาวชนเขารวมกิจกรรมฝกอาชีพชางตัดผมกับศาลเยาวชนและครอบครัวสาขามีนบุรี ๑ ราย

เยาวชนสามารถเรียนจนจบหลักสูตรชางตัดผมและไดรับประกาศนียบัตร แตขณะนี้เยาวชนยัง
ไมสามารถเปดรานตัดผมไดเนื่องจากติดมาตรการการปดสถานบริการเสริมความงามของทาง

ราชการ
๖. เยาวชนที่ประสงคจะเปนนักฟุตบอลของโรงเรียนฐานปญญา โรงเรียนไดรับตัวไวแลว

แตขณะนี้โรงเรียนยังไมเปดทำการเรียนการสอน
๗. เยาวชนที่สงไปฝกทักษะฟุตบอลในโครงการสานฝนทักษะฟุตบอลเพื่อพัฒนาเปนอาชีพ

ปรากฏวาทางโครงการไดปดตัวลงแลวเนื่องจากจบโครงการ

รายงานการติดตามผูเสียหายที่ไดรับการสงตอจากศูนยใหคำปรึกษาฯ

จากขอมูลที่สงตอมาจากศูนยใหคำปรึกษาฯ มีจำนวน ๑๔ ราย มีความประสงคจะให
เรงรัดคดีและติดตามคดี และอยากจะใหดำเนินคดีจนถึงที่สุด รวมทั้งการเยียวยา คณะทำงาน

ศูนยติดตามดวยความหวงใยมีความเห็นวา ความตองการของผูเสียหายเปนเรื่องเกี่ยวของกับคดี
ซึ่งเปนไปตามระบบและขั้นตอนของกฎหมายอยูแลว

๔. ผูพิพากษาสมทบฝายประเมินผลและสถิติ

ผูพิพากษาสมทบฝายประเมินผลและสถิติมีหนาที่ประเมินวาเด็กหรือเยาวชนและครอบครัว

ไดรับการแกไขหรือชวยเหลือ และสามารถอยูรวมกับชุมชนและไมกลับไปกระทำความผิดอีกหรือไม
๔.๑ หากเด็กหรือเยาวชนมีความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น เห็นควรยุติการติดตาม

ใหกรอกรายละเอียดลงในแบบประเมินเด็กและเยาวชนเปนบุคคล (ตามแบบ ศตย.๔) เสนอ
ผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรประจำศูนยฯ หากประเมินแลวเห็นควรติดตามใหความชวยเหลือตอ

ก็ใหมีความเห็นแจงใหผูพิพากษาสมทบฝายติดตามทราบและติดตามตอจนกวาการชวยเหลือ
จะสัมฤทธิผล จึงจะเสนอรายงานยุติการติดตามตอผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรประจำศูนยฯ

๔.๒ หากเด็กหรือเยาวชนรายใดที่อยูระหวางคุมประพฤติมีพฤติกรรมเสี่ยงหรือเกี่ยวของกับ
การกระทำความผิดซ้ำอีก ใหพนักงานคุมประพฤติรายงานมายังผูพิพากษาสมทบประจำศูนยฯ

หากเด็กหรือเยาวชนยังอยูในระยะคุมประพฤติ ใหพนักงานคุมประพฤติทำรายงานเสนอผูพิพากษา
เจาของสำนวนเพื่อมีดุลพินิจตอไป







๑๗

๔.๓ ฝายประเมินผลจัดทำการประเมินผลการใหความชวยเหลือและความประพฤติ
ของเด็กหรือเยาวชนสัมฤทธิผลหรือไมเสนอตอผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรประจำศูนยฯ

วิธีเก็บรวบรวมขอมูล

วิธีเก็บรวบรวมขอมูลของฝายประเมิน จะเก็บรวบรวมขอมูลเปนรายเดือนทุกเดือน และ

จัดทำบันทึก จำแนกประเภทของปญหา หนวยงานที่ใหความชวยเหลือ สรุปในแตละเดือน
๑. ฝายประเมินผลจะเริ่มบันทึกการติดตามผลของการเปลี่ยนแปลงเปนรายบุคคล

ตั้งแตเดือนที่ ๖ ของเด็กหรือเยาวชนเปนรายบุคคล
๒. ฝายประเมินผลจะบันทึกการติดตามผลของการเปลี่ยนแปลงเปนรายบุคคลจนครบ ๑ ป

และสรุปผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
๓. ฝายประเมินผลจะบันทึกการติดตามผูเสียหายและครอบครัวที่เขารวมโครงการ

๔. ฝายประเมินผลจะสรุปผลสัมฤทธิผลของโครงการ ดังนี้
๔.๑ เด็กหรือเยาวชนที่สัมฤทธิ์ตรงตามตัวชี้วัดของโครงการและปลอยตัวไป

๔.๒ เด็กหรือเยาวชนที่ยังเสี่ยงและยังมีความเกี่ยวของกับการกระทำความผิดอยู
ใหสำนักคุมประพฤติรายงานเสนอตอผูพิพากษาประจำศูนยฯ เพื่อดำเนินการตอไป

๔.๓ ผูเสียหายและครอบครัวไดรับการบรรเทาทุกขและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข




ตัวอยางตารางแสดงจำนวนเด็กเยาวชนที่เขารวมโครงการติดตามดวยความหวงใย
สำหรับผูกระทำความผิด (จำเลย)


ลำดับ สภาพปญหา ความตองการความชวยเหลือ
ที่ เลขคดีดำ เลขคดีแดง (ฐานความผิด) จากศูนยฯ

๑ ยชอ.๔๐๙/๖๓ ยชอ.๕๒๖/๖๔ -เสพยาเสพติดใหโทษประเภท ๑ ฝกอาชีพระยะสั้น
(เมทแอมเฟตตามีน) (ชางซอมจักรยานยนต)
โดยผิดกฏหมาย
-เปนผูขับขี่ยานพาหนะ
เสพยาเสพติดใหโทษประเภท ๑
(เมทแอมเฟตตามีน) โดยฝาฝน
ตอกฎหมาย
-มียาเสพติดใหโทษประเภท ๑
(เมทแอมเฟตตามีน) ไวใน
ครอบครองโดยไมไดรับ
อนุญาต











๑๘

ลำดับ สภาพปญหา ความตองการความชวยเหลือ
ที่ เลขคดีดำ เลขคดีแดง (ฐานความผิด) จากศูนยฯ

๒ ยชอ.๔๒๒/๖๓ ยชอ.๕๑๑/ตภ มีวัตถุระเบิด (ประกอบแบบ - เลนฟุตบอล
ขวาง) ไวในครอบครอง - เรียนตอที่โรงเรียนฐานปญญา
โดยไมไดรับอนุญาต - เลิกสูบบุหรี่


๓ ยชอ.๔๑๗/๖๓ ยชอ.๔๖๑/๖๓ - รวมกันผลิตยาเสพติดใหโทษ เขารวมการคัดเลือกในโครงการสานฝน
ประเภท ๕ (พืชกระทอม) ทักษะฟุตบอลเพื่อพัฒนาเปนอาชีพ
โดยไมไดรับอนุญาต (อยากเขารวมหรือไดรับการคัดเลือก)
- รวมกันชุมนุมมั่วสุมโดย
ฝาฝนขอกำหนดตามพระราช-
บัญญัติการบริหารราชการ
ในสถานการณฉุกเฉิน
พ.ศ. ๒๕๔๘

๔ ยชอ.๔๐๘/๖๓ ยชอ.๔๕๗/๖๓ รวมกันมีไวครอบครอง เยาวชนไมขอรับความชวยเหลือ

ซึ่งยาเสพติดใหโทษประเภท ๕ ขณะนี้เยาวชนกำลังศึกษาการศึกษา
(พืชกระทอม) โดยไมได นอกระบบ (กศน.) จะจบชั้นมัธยมศึกษา
รับอนุญาต ปทื่ ๖ ในเดือนเมษายนนี้ และเตรียมตัว
สอบเรียนตอโรงเรียนนายสิบ กำลัง
เตรียมตัวอานหนังสือสอบอยู




ตัวอยางตารางแสดงผูเสียหายที่ไดรับการสงตอมาจากศูนยใหคำปรึกษาผูเสียหาย


ลำดับ วัน/เดือน/ป เลขที่คดี สภาพปญหา การตองการความชวยเหลือ
ที่ (พฤติการณแหงคดี)

๑ ๒๕ ม.ค. ๖๔ หย.๑/๖๔ ถูกทำรายรางกาย ติดตามความคืบหนาของคดี/
ขอคุมครองสวัสดิภาพ

๒ ๔ ก.พ. ๖๔ หย.๒/๖๔ ถูกทำรายรางกายจนเปนเหตุ ติดตามความคืบหนาของคดี
ใหเกิดอันตรายแกรางกาย
และจิตใจ

๓ ๙ ก.พ. ๖๔ หย.๓/๖๔ ถูกทำรายรางกายจนเปนเหตุ ติดตามความคืบหนาของคดี
ใหเกิดอันตรายแกรางกาย
และจิตใจ














๑๙

ลำดับ วัน/เดือน/ป เลขที่คดี สภาพปญหา การตองการความชวยเหลือ
ที่ (พฤติการณแหงคดี)

๔ ๑๙ ก.พ. ๖๔ หย.๔/๖๔ ถูกผูขับรถยนตดวยความ ติดตามความคืบหนาของคดี
ประมาทเฉี่ยวชนกัน มีผูถึง
แกความตาย และมีผูไดรับ
อันตรายแกรางกายและจิตใจ
และมีทรัพยสินผูอื่นไดรับ

ความเสียหาย

๕ ๒๕ ก.พ. ๖๔ หย./๖๔ - ปราศจากเหตุอันสมควร - ดำเนินคดีใหถึงที่สุด
พรากเด็กอายุไมเกิน ๑๕ ป - เรียนหนังสือตอ
ไปเสียจากบิดา มารดา - เงินเยียวยา
ผูปกครอง หรือผูดูแลเพื่อ - ติดตามเรื่องเงินที่จะไดรับในกรณีบุตร
อนาจารแมผูนั้นจะยินยอม แรกเกิด ซึ่งทางผูเสียหายไดไปยื่น
ก็ตาม เอกสารเพื่อขอรับเงินไวที่สำนักงาน
- กระทำชำเราเด็กอายุ เขตพญาไทตั้งแตบุตรสาวคลอดจนถึง
ไมเกิน ๑๕ ป ซึ่งมิใช ปจจุบันลวงเลยมา ๘ เดือนแลว
ภรรยาหรือสามีของตน โดย ผูเสียหายยังไมไดรับเงินแตอยางใด
เด็กนั้นจะยินยอมหรือไมก็ตาม
- กระทำอนาจารเด็กอายุ

ไมเกิน ๑๕ ป โดยเด็กนั้นจะ
ยินยอมหรือไมก็ตาม
๖ ๒๕ ก.พ. ๖๔ หย./๖๔ - ขับรถโดยประมาทเปนเหตุ ดำเนินคดีใหถึงที่สุด
ใหเฉี่ยวชนรถผูอื่นไดรับความ

เสียหาย มีบุคคลถึงแกความตาย
- ขับรถในทางกอใหเกิด
ความเสียหายแกบุคคล
หรือทรัพยสิน
- ไมหยุดรถใหความชวยเหลือ
ตามสมควรหรือแจงเหตุให
เจาพนักงานใกลเคียงทราบ

๗ ๒๕ ก.พ. ๖๔ หย./๖๔ ทำรายรางกายผูอื่นจนเปน ใหคูกรณีรับโทษ
เหตุใหไดรับอันตรายแก
รางกายและจิตใจของผูอื่น
โดยใชอาวุธ (มีด) ไปในเมือง
หมูบาน หรือทางสาธารณะ
โดยไมมีเหตุอันควร










๒๐

ลำดับ สภาพปญหา

ที่ วัน/เดือน/ป เลขที่คดี (พฤติการณแหงคดี) การตองการความชวยเหลือ
๘ ๑ มี.ค. ๖๔ หย.๕/๖๔ ถูกทำรายรางกายจนเปน คุมครองสวัสดิภาพ

เหตุใหเกิดอันตราย
แกรางกายและจิตใจ

๙ ๒ มี.ค. ๖๔ หย.๖/๖๔ ถูกทำรายรางกายจน ยายการรักษาตัวไปโรงพยาบาลจุฬาฯ

เปนเหตุใหผูถูกทำราย
ไดรับอันตรายสาหัส





สรุปผลภาพรวมสถิติตาง ๆ





สรุปรวมคดีเด็กและเยาวชนกระทำความผิด
ตั้งแตเดือนกุมภาพันธถึงเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๔




๒๐ ราย ๑ ราย ๒ ราย ๔ ราย
คดียาเสพติด คดีเกี่ยวกับวัตถุระเบิด คดีฝาฝนพระราชบัญญัติ คดีอาวุธปนและมีด
บริหารราชการ
ในสถานการณฉุกเฉิน


๕ ราย ๔ ราย ๑ ราย ๒ ราย
คดีที่เกี่ยวกับเพศ คดีลักทรัพย คดีรวมกันทำรายรางกาย คดีกระทำ
ดวยความประมาท






คดียาเสพติด
คดีเกี่ยวกับวัตถุระเบิด
คดีฝาฝน พ.ร.บ.บริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน
คดีอาวุธปนและมีด
คดีที่เกี่ยวกับเพศ
คดีลักทรัพย
คดีรวมกันทำรายรางกาย
คดีกระทำดวยความประมาท รวมจำนวน
๓๙ ราย
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๒๐










๒๑

ผูเสียหายที่สงตอมาจากศูนยใหคำปรึกษา
เพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัวที่ขอรับความชวยเหลือ

รวมผูเสียหายที่ประสงคขอรับความชวยเหลือ จำนวน ๑๓ ราย



คดี
เกี่ยวกับเพศ
จำนวน
๑ ราย










คดี คดีเกี่ยวกับ
ถูกทำรายรางกาย ความประมาท
จำนวน จำนวน

๑๐ ราย ๒ ราย







การจำแนกเด็กและเยาวชนที่เขารับการคัดกรอง

จำนวนทั้งหมด ๓๙ ราย

จำแนกไดเปน ๒ ประเภท
๑. มีความประสงคที่ขอรับความชวยเหลือจากโครงการ
๒. ไมประสงคขอรับความชวยเหลือจากโครงการ

ผูประสงค
ขอรับความชวยเหลือ
จำนวน
๒๒ ราย






ผูไมประสงค
ขอรับความชวยเหลือ
จำนวน

๑๗ ราย









๒๒

ความตองการขอรับความชวยเหลือจากโครงการฯ
ของเด็กและเยาวชนแยกออกตามความสนใจของเยาวชน ดังตอไปนี้


• ฝกทักษะการเปนชางซอมรถยนต จำนวน ๖ ราย
• ฝกทักษะการเปนเชฟทำอาหาร จำนวน ๑ ราย
๖๐ เปอรเซ็นต • ฝกทักษะเปนชางตัดผม จำนวน ๓ ราย
ประกอบอาชีพ • เปดรานขายกาแฟ จำนวน ๑ ราย

• ฝกทักษะเปนชางทาสี จำนวน ๑ ราย
• ขับมอเตอรไซครับจาง จำนวน ๑ ราย



๒๐ เปอรเซ็นต • ฝกฝนทักษะทางดานกีฬาฟุตบอล จำนวน ๓ ราย
ฝกฝนทักษะตาง ๆ • ฝกฝนทักษะทางดนตรี (กีตาร/กลอง) จำนวน ๑ ราย



๒๐ เปอรเซ็นต • กลับไปศึกษาตอในระบบโรงเรียน จำนวน ๔ ราย
ความตองการอื่น ๆ • อยากไดบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน ๑ ราย

รวมจำนวน ๒๒ ราย




ความตองการขอรับความชวยเหลือจากโครงการฯ ของผูเสียหายที่สงตอมาจาก
ศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว

๑. ติดตามความคืบหนาของคดี
จำนวน ๔ ราย

๒. ขอใหศาลคุมครองสวัสดิภาพ
จำนวน ๒ ราย

๓. ดำเนินคดีใหถึงที่สุด
จำนวน ๑ ราย

๔. การเยียวยา
จำนวน ๒ ราย

๕. ใหคูกรณีรับโทษใหถึงที่สุด
จำนวน ๑ ราย

๖. ยายโรงพยาบาลรักษาตัว
จำนวน ๑ ราย

รวมจำนวน ๑๓ ราย ๗. ขอคาอุปการะเลี้ยงดู
จำนวน ๒ ราย


๕. ผูพิพากษาสมทบฝายประชาสัมพันธ
มีหนาที่เผยแพรและใหความรูกิจกรรมของศูนยติดตามดวยความหวงใยกับชุมชน

หนวยงานราชการอื่น หรือสวนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ




๒๓

ขั้นตอนการปฏิบัติงานของศูนยติดตามดวยความหวงใย

แผนภูมิขั้นตอนการปฏิบัติงานของศูนยติดตามดวยความหวงใยกรณีเด็ก เยาวชน และครอบครัว






ศูนยติดตามดวยความหวงใย
กรณีเด็ก เยาวชน และครอบครัว


ม.๓๗ ม.๙๐, ๑๓๒ ปอ ม.๕๖, ศาลยุติเด็ดขาดแลว
จากศูนยใหคำปรึกษาฯ แผนแกไขบำบัดฟนฟู ปอ ม.๗๔ (๓), แตจำเลยและ
สวนมาตรการพิเศษและ สวนมาตรการพิเศษและ ม.๑๔๒ (๒), ม.๑๔๓ ผูปกครองประสงค
คุมครองสวัสดิภาพ คุมครองสวัสดิภาพ ศาลสั่งคุมความประพฤติไว ขอความชวยเหลือ

เจาหนาที่ประจำศูนยฯ สอบถาม รวบรวมขอมูล นัดหมายวัน เวลา
ใหกรอกหนังสือยินยอมเขารับบริการ และใบประเมินความพึงพอใจ

ประสงคเขารวมโครงการ ไมประสงคเขารวมโครงการ
พ.
สมทบฝายคัดกรองประเมินสภาพปญหาสำรวจความตองการชวยเหลือ ประเมินความถนัด
ความสนใจของผูเขารับบริการแลวสงตอประธาน พ. สมทบฝายประสานงานฯ

ประธาน พ. สมทบฝายประสานงานฯ คัดเลือก พ. สมทบตามคุณสมบัติอันเหมาะสม
กับประสบการณและความเชี่ยวชาญแตละทานเพื่อรับผิดชอบประสานความรวมมือ
กับหนวยงานตาง ๆ ชวยเหลือผูเขารับบริการใหตรงกับสภาพปญหาแลวจัดทำรายงาน
เสนอผูพิพากษาประจำศูนยฯ/งานประจำศูนยฯ
ผูพิพากษา
เจาหนาที่ประจำศูนยฯ จัดเตรียมเอกสาร จัดทำสำนวน ศตย.

หากจำเปนตองมีหนังสือติดตอประสานงานกับหนวยงานภายนอก
เจาหนาที่ประจำศูนยฯ จะเสนอรายงานเจาหนาที่พรอมหนังสือประสานความรวมมือ
ตอผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรประจำศูนยฯ เพื่อใหมีดุลพินิจสั่ง
พ. สมทบฝายติดตามจะดูแลสอดสองพฤติกรรมของผูเขารับบริการในความรับผิดชอบ
ของตนตามวามีความเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด หากมีการนัดหมายติดตามครั้งตอไป
ตองแจงใหผูเขารับบริการและเจาหนาที่ประจำศูนยฯ ทราบเพื่อลงวัน เวลานัด
และจัดทำรายงานการติดตามแตละครั้งเสนอผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรประจำศูนยฯ

เจาหนาที่ประจำศูนยฯ เสนอรายงานประจำวันใหผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรประจำศูนยฯ
มีดุลพินิจในการติดตามแตละครั้ง ลงทะเบียนคุมวันนัด กรอกขอมูลบัตรนัดพรอมชี้แจงรายละเอียด
เกี่ยวกับการนัดติดตามในครั้งตอไปใหผูเขารับบริการทราบ

เมื่อผูพิพากษาสมทบฝายติดตามเสนอความเห็นยุติ ตองจัดทำรายงานเสนอ
ประธานฝายติดตามเพื่อจัดสรรผูพิพาษาสมทบฝายประเมินผลและสถิติตอไป

เห็นควรยุติ ฝายประเมินผลและสถิติ ไมเห็นควรยุติ

เจาหนาที่ประจำศูนยฯ ทำรายงานเจาหนาที่เสนอผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรประจำศูนยฯ

เจาหนาที่สงตอขอมูลไปยังผูพิพากษาสมทบฝายประชาสัมพันธเพื่อจัดรวบรวมขอมูล สถิติ และสรุปผลภาพรวม






๒๔

แผนภูมิการสงตอเพื่อเขารับบริการที่ศูนยติดตาม

ดวยความหวงใยกรณีผูเสียหายและครอบครัว






ศูนยใหคำปรึกษา
เพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว


ผูเสียหายและครอบครัว ผูเสียหายและครอบครัว
ที่มารับคำปรึกษาที่ศาล ที่รับคำปรึกษาทางสื่ออิเล็กทรอนิกส

เจาหนาที่ประจำศูนย ศผ. สอบถามและรวบรวมขอมูลของผูเสียหายเบื้องตนเพื่อจัดทำสำนวน


ประสานผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรฯ เพื่อนัดหมายวัน เวลา กับทุกฝาย


นักจิตวิทยาประจำศูนยสอบถาม คัดกรอง และสรุปแนวทางใหความชวยเหลือที่เหมาะสม


ผูพิพากษาประจำศูนยใหความรูสิทธิ หนาที่ ขอดี ขอเสีย ขั้นตอนและแนวทาง ผูพิพากษา
การดำเนินคดีและพิจารณาใหดำเนินการใด ๆ ตามสรุปแนวทางของนักจิตวิทยา

ไมมีความจำเปน มีความจำเปนตองไดรับความชวยเหลือนอกเหนือจากดานกฎหมาย
ตองไดรับความชวยเหลือ ดานการรับคำปรึกษา และรักษาดานจิตเวชจากกระทรวงสาธารณสุข


สงขอมูลใหกับเจาหนาที่ศูนยติดตามดวยความหวงใย


เจาหนาที่ศูนยติดตามดวยความหวงใยสงตอขอมูลใหจาก ศผ.
ใหกับ พ. สมทบเวรฝายประสานงาน
พ.
สมทบฝายประสานงานสงตอขอมูลใหฝายติดตามเพื่อดูแลสอดสองและติดตาม
ความเปลี่ยนแปลงหลังจากไดรับการชวยเหลือ และจัดทำรายงานเสนอผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรฯ

เมื่อ พ. สมทบฝายติดตามเห็นควรยุติ
การติดตามจึงทำรายงานสง พ. สมทบฝาย
เจาหนาที่ประจำศูนยฯ ทำรายงานเจาหนาที่
เสนอผูพิพากษาประจำศูนยฯ/เวรประจำศูนย ศลย. ฝายประเมินผลและสถิติ


เห็นควรยุติการใหคำปรึกษาแลวเก็บรวบรวมสถิติไว เห็นควรยุติ ไมเห็นควรยุติ

ติดตามและประเมินผล เจาหนาที่ประจำศูนยฯ ทำรายงานเจาหนาที่
การชวยเหลือผูเสียหาย เสนอผูพิพากษาประจำูศนยฯ/เวรประจำศูนย ศน.


เจาหนาที่สงตอขอมูลไปยังผูพิพากษาสมทบฝายประชาสัมพันธ
เพื่อจัดรวมรวมขอมูล สถิติ และสรุปผล







๒๕

ตัวอยางที่ ๑


แบบสงตอและดูแลชวยเหลือ
ศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว


ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

วันที่....................................................................


เรื่อง สงตอผูรับบริการ

เรียน หัวหนาศูนยติดตามดวยความหวงใย
สิ่งที่สงมาดวย ๑. สำเนารายงานประจำวันเกี่ยวกับคดี จำนวน ......... ฉบับ
๒. ขอมูลการใหคำปรึกษา จำนวน ......... ฉบับ

๓. แบบรายงานการใหคำปรึกษา จำนวน ......... ฉบับ
ดวย .......................................................................................................(ผูรับบริการ) อายุ............... ป

มีความประสงคขอรับการชวยเหลือ ดังนี้
๑. ดานการประกอบอาชีพ ประสานกระทรวงแรงงาน เพื่อฝกอาชีพและแนะนำ
ชองทางอาชีพที่เหมาะสม

๒. ดานสาธารณสุข ประสานกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรักษาพยาบาลและรับ
คำแนะนำในการรักษา......................................................................................................................................................

๓. ดานการใชชีวิตประจำวัน ประสานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษยใหไดรับการสงเคราะหในเรื่อง.............................................................................................................
๔. ดานการศึกษา

ประสานสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
สำนักงานสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)

๕. ดานการประสานกับหนวยงานภาคเอกชน องคกรที่ไมใชองคกรของรัฐ (NGOs)
๖. ดานอื่น ๆ …ความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงทางเพศ………………



ศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว ไดดำเนินการชวยเหลือ
ในดานสิทธิทางกฎหมายเบื้องตน และเยียวยาทางดานจิตใจครบถวนแลว แตเนื่องจากผูรับบริการ

มีความประสงคขอรับการชวยเหลือดานการยื่นคำรองขอคุมครองสวัสดิภาพ จึงขอสงตอผูรับ
บริการรายดังกลาวเพื่อใหศูนยติดตามดวยความหวงใยดำเนินการดูแลและชวยเหลือตอไป





ลงชื่อ............................................................................................
( )
หัวหนาศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว





๒๖

ตัวอยางที่ ๒


แบบสงตอและดูแลชวยเหลือ
ศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว


ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

วันที่....................................................................


เรื่อง สงตอผูรับบริการ

เรียน หัวหนาศูนยติดตามดวยความหวงใย
สิ่งที่สงมาดวย ๑. สำเนารายงานประจำวันเกี่ยวกับคดี จำนวน ......... ฉบับ
๒. ขอมูลการใหคำปรึกษา จำนวน ......... ฉบับ

๓. แบบรายงานการใหคำปรึกษา จำนวน ......... ฉบับ
ดวย .......................................................................................................(ผูรับบริการ) อายุ............... ป

มีความประสงคขอรับการชวยเหลือ ดังนี้
๑. ดานการประกอบอาชีพ ประสานกระทรวงแรงงาน เพื่อฝกอาชีพและแนะนำ
ชองทางอาชีพที่เหมาะสม

๒. ดานสาธารณสุข ประสานกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรักษาพยาบาลและรับ
คำแนะนำในการรักษา......................................................................................................................................................

๓. ดานการใชชีวิตประจำวัน ประสานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษยใหไดรับการสงเคราะหในเรื่อง.............................................................................................................
๔. ดานการศึกษา

ประสานสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
สำนักงานสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)

๕. ดานการประสานกับหนวยงานภาคเอกชน องคกรที่ไมใชองคกรของรัฐ (NGOs)
๖. ดานอื่น ๆ …การติดตามผลคดีทางกฎหมาย………………



ศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว ไดดำเนินการชวยเหลือ
ในดานสิทธิทางกฎหมายเบื้องตน และเยียวยาทางดานจิตใจครบถวนแลว แตเนื่องจากผูรับ

บริการมีความประสงคขอรับการชวยเหลือดานการยื่นคำรองขอคุมครองสวัสดิภาพ จึงขอสงตอ
ผูรับบริการรายดังกลาวเพื่อใหศูนยติดตามดวยความหวงใยดำเนินการดูแลและชวยเหลือตอไป





ลงชื่อ............................................................................................
( )
หัวหนาศูนยใหคำปรึกษาเพื่อแนะนำชวยเหลือผูเสียหายและครอบครัว





๒๗

หนวยงานและองคกรที่ใหการสนับสนุน



ในการดำเนินการโครงการติดตามดวยความหวงใย หากปรากฏวาเด็กหรือเยาวชนและ
ครอบครัวหรือผูเสียหายประสบปญหาดานใด เด็ก เยาวชน ครอบครัว และผูเสียหายนั้นจะไดรับ

การดูแลชวยเหลือแกไขจากหนวยงานของภาครัฐ หรือจากบุคคล หรือคณะบุคคล ใหตรงกับ

สภาพปญหาเหมาะกับสภาพรางกาย จิตใจ สติปญญา เพศ และจะมีการติดตามความเปลี่ยนแปลง
และประเมินผลสัมฤทธิ์ของเด็ก เยาวชน ครอบครัว และผูเสียหายเปนรายบุคคล ซึ่งหนวยงาน

หรือองคกรที่ใหการสนับสนุนโครงการติดตามดวยความหวงใย ปจจุบันมี ๖ องคกรหลักภาครัฐ
และ ๑ องคกรภาคเอกชน ดังตอไปนี้

๑. กระทรวงแรงงาน
๒. กระทรวงสาธารณสุข

๓. กระทรวงศึกษาธิการ

๔. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
๕. กระทรวงยุติธรรม

๖. กรุงเทพมหานคร
๗. มูลนิธิบานพระพร

๑. กระทรวงแรงงาน

มีหนวยงานที่ใหการสนับสนุนโครงการฯ ตามภารกิจของหนวยงานดังนี้

๑.๑ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน (Department of Skill Decelopment)
กรมพัฒนาฝมือแรงงานมีโครงการฝกอบรมแรงงานกลุมเปาหมายเฉพาะเพื่อเพิ่มโอกาส

ในการประกอบอาชีพเพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงานของคนทุกกลุมใหมีทักษะในการทำงานหรือการ

ประกอบอาชีพอิสระ โดยกรมพัฒนาฝมือแรงงานมีหนวยงานปฏิบัติในพื้นที่ ไดแก สถาบัน
พัฒนาฝมือแรงงาน สำนักงานพัฒนาฝมือแรงงานทั่วประเทศ ดำเนินการสนับสนุนสงเสริม

ทั้งเปดโอกาสใหกลุมเปาหมายเขารับการฝกอาชีพสาขาตาง ๆ เชน สาขาชางอุตสาหกรรม
การประกอบอาชีพอิสระ และกลุมอาชีพธุรกิจทองเที่ยวและบริการ โดยมีกลุมเปาหมายประกอบ

ดวยผูผานการบำบัดยาเสพติด ผูตองขัง เยาวชนสถานพินิจ คนพิการ ผูดูแลคนพิการ แรงงาน
นอกระบบ ทหารเกณฑกอนปลดประจำการ และแรงงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

รายละเอียดความชวยเหลือ

• หลักสูตรการฝกอบรม
ใชเวลาในการฝกอบรม ๑๘-๓๐ ชั่วโมง จัดฝกอบรมตามหลักสูตรกลางของกรม
พัฒนาฝมือแรงงาน หลักสูตรที่หนวยงานกำหนดสอดคลองตามความตองการของตลาดแรงงาน

ในแตละพื้นที่ โดยเนนความตองการแรงงานของผูประกอบการเปนสำคัญ เชน การใชสื่อมัลติมิเดีย






๒๘

และสื่อออนไลน ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ชางไฟฟาภายในอาคาร

การติดตั้งโซลารเซลลและวางระบบน้ำเพื่อการเกษตรอัตโนมัติ การบริการและการทำความสะอาด
เครื่องปรับอากาศ เปนตน โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน/สำนักงานพัฒนาฝมือแรงงาน

ดำเนินการฝกอบรมฝมือแรงงานกลุมเปาหมายเฉพาะใหเปนไปตามเปาหมาย จำนวน ๒๐ คน

ตอรุน และควบคุมคุณภาพการฝกอบรมเปนสำคัญ


รายชื่อหลักสูตรเตรียมเขาทำงาน ระยะเวลาการฝกอบรม ๒-๔ เดือน

ลำดับ หลักสูตร ชั่วโมงฝก

๑ ชางซอมเครื่องยนต ๕๖๐
๒ ชางซอมรถจักรยานยนต ๕๖๐

๓ ชางซอมเครื่องยนตเล็กเพื่อการเกษตร ๔๒๐
๔ ชางพนสีรถยนต ๔๒๐
๕ ชางซอมและดึงตัวถังรถยนต ๔๒๐
๖ ชางตรวจเช็กระยะรถยนต ๒๘๐

๗ ชางสีรถยนต ๒๘๐
๘ ชางซอมตัวถังรถยนต ๒๘๐
๙ ชางติดตั้งกระจกรถยนต ๒๘๐
๑๐ ชางติดฟลมกรองแสงรถยนต ๒๘๐

๑๑ ชางควบคุมเครื่องกัดและเครื่องกลึง CNC ๒๘๐
๑๒ เทคโนโลยีการควบคุมระบบอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรม ๒๘๐
๑๓ ชางเขียนแบบกอสรางดวยคอมพิวเตอร ๕๖๐
๑๔ ชางประกอบโครงอะลูมิเนียม ๕๖๐

๑๕ ชางเขียนลายเครื่องปนดินเผา ๕๖๐
๑๖ ชางกออิฐฉาบปูน ๔๒๐
๑๗ ชางประกอบโครงอะลูมิเนียม ๒๘๐
๑๘ ชางปูกระเบื้อง ๒๘๐

๑๙ ชางทอและสุขภัณฑ ๒๘๐
๒๐ ชางติดตั้งผนังฝาเพดานยิปซัม ๒๘๐
๒๑ ชางเครื่องทำความเย็นและเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ๕๖๐
๒๒ ชางเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก ๒๘๐

๒๓ ชางเครื่องทำความเย็นในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ๒๘๐
๒๔ ชางตัดเย็บเสื้อผาระดับกลาง ๕๖๐
๒๕ ชางตัดเย็บเสื้อผาสตรีระดับตน ๕๖๐
๒๖ ชางเย็บจักรอุตสาหกรรม ๕๖๐






๒๙

ลำดับ หลักสูตร ชั่วโมงฝก
๒๗ ชางตัดเย็บเสื้อผาชาย ๕๖๐
๒๘ ชางไมเครื่องเรือน ๕๖๐

๒๙ ชางทำมุงลวดประตู-หนาตางอะลูมิเนียม ๔๒๐
๓๐ ชางตัดเย็บเสื้อผาเด็ก ๒๘๐
๓๑ ชางเย็บจักรอุตสาหกรรม (ผา) ๒๘๐

๓๒ พนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ๕๖๐
๓๓ ชางซอมบำรุงรักษาเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ๔๒๐
๓๔ พนักงานบันทึกขอมูลคอมพิวเตอร ๒๘๐
๓๕ พนักงานเบเกอรี่ ๕๖๐
๓๖ นวดไทยและนวดเทาเพื่อสุขภาพ ๔๔๙

๓๗ ผูดูแลผูสูงอายุ ๔๒๐
๓๘ นักสงเสริมสุขภาพในองครวม สปาตะวันตก (หัตถบำบัด) ๒๘๐
๓๙ สาขาพนักงานแมบานของโรงแรม ๒๘๐

๔๐ พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม ๒๘๐
๔๑ พนักงานผสมเครื่องดื่ม ๒๘๐
๔๒ ผูประกอบอาหารไทย ๒๘๐
๔๓ ชางแตงผมสตรี ๒๘๐
๔๔ ชางแตงผมบุรุษ (ระดับตน) ๒๘๐

๔๕ ชางเชื่อมอารกโลหะดวยมือ ๕๖๐
๔๖ ชางเชื่อมแกส ๕๖๐
๔๗ ชางเชื่อมแม็ก ๕๖๐

๔๘ ชางเชื่อมอารกโลหะดวยมือ ๒๘๐
๔๙ ชางควบคุมหุนยนตเชื่อมอุตสาหกรรม ๒๘๐




ผานกลไกของคณะกรรมการพัฒนาฝมือแรงงาน และประสานการฝกอาชีพแหงชาติ
(กพร.ปช.) ระดับจังหวัด

ผานกลไกของคณะอนุกรรมการพัฒนาฝมือแรงงานและประสานการฝกอาชีพจังหวัด
(กพร.ปจ.)














๓๐

หนวยงานเชี่ยวชาญเฉพาะทางพัฒนาฝมือแรงงาน (Excellenct Training Center)
๑. สถาบันพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนอะไหลรถยนต

(Automotive Human Resource Development Academy : AHRDA) สถาบันพัฒนาฝมือ
แรงงาน ๑ สมุทรปราการ

ศูนยยกระดับการเรียนรูและพัฒนาทรัพยากรมนุษยในระดับสากลเพื่อใหยานยนต/ชิ้นสวน
และกลุมอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องมีความสามารถในการแขงขัน


๒. สถาบันพัฒนาบุคลากร สาขาเทคโนโลยีการผลิตอัตโนมัติและหุนยนต
(Manufacturing Automation and Robotics Academy : MARA) ณ สถาบันพัฒนาฝมือ
แรงงาน ๓ ชลบุรี

จัดตั้งขึ้นเพื่อรองรับนโยบายรัฐบาลใน ๑๐ อุตสาหกรรมเปาหมายและพัฒนาเศรษฐกิจ

พิเศษ EEC (Eastern Economic Corridor) เพื่อรองรับเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหมในการ
เพิ่มปริมาณการผลิตชิ้นงานที่มีคุณภาพ ลดการสูญเสีย ลดระยะเวลาในการผลิต และเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการแขงขัน

๓. ศูนยฝกอบรมงานเชื่อมมาตรฐานสากล (Training Center for International
Welding : TCIW) สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน ๑ สมุทรปราการ

ไดรับอนุญาต (Approed Training Body : ATB) จากสถาบันการเชื่อมสากล (The

International Institute of Welling : IIW) ดำเนินการฝกอบรมและทดสอบรับรองฝมือชางเชื่อม
ระดับสากล ในฐานะ ATB ลำดับที่ ๒ ของไทย สรางเสริมสภาวะการแขงขันดานเศรษฐกิจ

ยกระดับฐานะทางสังคม ปรับปรุงวิทยฐานะ และพัฒนาคุณภาพชางเชื่อมไทยในดานทักษะความรู
ความสามารถ และความปลอดภัยในการทำงานที่จำเปนตองใชในการทำงานระดับนานาชาติ

๔. สถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย สำหรับอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ (Institute

of Human Resources Development for Wellness Industry) ภายในศูนยราชการเฉลิม
พระเกียรติ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม

พัฒนาทักษะฝมือผูใหบริการสุขภาพใหมีมาตรฐานเปนหนวยงานตนแบบบริหารการ
จัดการศูนยสุขภาพ (Health Management Model) ที่ถูกตอง มีมาตรฐานการใหบริการ และ

มุงสรางตนแบบ Thai Wellness Center ที่ใหบริการสุขภาพครบวงจรสำหรับธุรกิจภาค

บริการในอนาคต ยกระดับอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ Wellness Service ใหมีมาตรฐานการ
บริการในระดับสากล ใหบริการดานฝกอบรม การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน และการให

คำปรึกษา












๓๑

อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ


ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
สาขาอาชีพ
(บาท) (บาท) (บาท)

สาขาอาชีพชางเครื่องกล ๑. ชางสีรถยนต ๔๔๐ ๕๑๕ ๕๘๐

๒. ชางเคาะตัวถังรถยนต ๔๖๐ ๕๖๐ ๖๕๐
๓. ชางซอมรถยนต ๔๐๐ ๔๙๐ ๕๘๕
๔. ชางบำรุงรักษารถยนต ๓๗๕ ๔๔๐ ไมมี
๕. ชางซอมเครื่องยนตดีเซล ๔๐๐ ๔๙๐ ๕๘๕

๖. ชางเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก ๔๐๐ ๔๙๐ ๕๘๕
สาขาอาชีพภาคบริการ ๗. ผูประกอบอาหารไทย ๔๐๐ ๕๑๐ ไมมี
๘. พนักงานนวดไทย ๔๔๐ ๕๘๐ ๗๒๐
๙. นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวมสปา

ตะวันตก (หัตถบำบัด) ๔๙๐ ๖๕๐ ไมมี
๑๐. นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม
สปาตะวันตก (สุคนธบำบัด) ๕๔๐ ๗๑๕ ไมมี
๑๑. นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม

สปาตะวันตก (วารีบำบัด) ๕๖๕ ๗๕๐ ไมมี
๑๒. นักสงเสริมสุขภาพแบบแบบองครวม
สปาตะวันตก (โภชนบำบัด) ๖๑๕ ๘๑๕ ไมมี
สาขาอาชีพชางไฟฟา ๑๓. ชางซอมไมโครคอมพิวเตอร ๔๐๐ ๕๐๐ ๖๐๐

อิเล็กทรอนิกสและ ๑๔. ชางไฟฟาภายในอาคาร ๔๐๐ ๕๐๐ ๖๐๐
คอมพิวเตอร ๑๕. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ๔๐๐ ๕๐๐ ๖๐๐
๑๖. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและ
การพาณิชยขนาดเล็ก ๔๐๐ ๕๐๐ ๖๐๐

๑๗. ชางอิเล็กทรอนิกส (โทรทัศน) ๔๐๐ ๕๐๐ ไมมี
สาขาอาชีพชางอุตสาหการ ๑๘. ชางเขียนแบบชางกลดวยคอมพิวเตอร ๔๖๐ ๕๓๐ ๖๗๐
๑๙. ชางเชื่อมแม็ก ๔๐๐ ๕๐๐ ๖๐๐
๒๐. ชางเชื่อมทิก ๔๕๕ ๖๑๕ ๗๗๕

๒๑. ชางเชื่อมทอพอลิเอทิลีนความหนาแนนสูง ๔๖๐ ไมมี ไมมี
๒๒. ชางประกอบทอ ๔๐๐ ไมมี ไมมี
๒๓. ชางทำแมพิมพฉีดโลหะ ๔๘๐ ไมมี ไมมี
สาขาอาชีพชางกอสราง ๒๔. ชางไมกอสราง ๓๘๕ ๔๖๙ ๖๐๕

๒๕. ชางกออิฐ ๓๔๕ ๔๖๕ ๕๘๕
๒๖. ชางฉาบปูน ๓๘๕ ๔๙๕ ๖๐๕
๒๗. ชางอะลูมิเนียมกอสราง ๓๖๕ ๔๗๔ ๕๘๕







๓๒

ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
สาขาอาชีพ
(บาท) (บาท) (บาท)

สาขาอาชีพชางกอสราง ๒๘. ชางหินขัด ๔๐๐ ไมมี ไมมี

๒๙. ชางฉาบยิปซัม ๔๐๐ ไมมี ไมมี
๓๐. ชางมุงหลังคากระเบื้องคอนกรีต ๔๐๐ ๕๑๐ ๖๒๐

สาขาอาชีพ ๓๑. ชางเย็บ ๓๔๐ ๔๑๐ ๕๕๐

ชางอุตสาหกรรมศิลป ๓๒. ชางเครื่องประดับ (ประดับอัญมณี) ๔๔๐ ๖๕๐ ๘๒๕
๓๓. ชางเครื่องเรือนไม ๓๗๐ ๔๒๕ ๔๘๐
๓๔. ชางบุครุภัณฑ ๓๕๕ ๔๑๐ ๔๖๕
๓๕. ชางสีเครื่องเรือน ๓๘๕ ๔๘๕ ไมมี

กลุมอุตสาหกรรมไฟฟา ๓๖. พนักงานประกอบอุปกรณไฟฟาและ

และอิเล็กทรอนิกส แสงสวาง ๓๖๐ ๔๓๐ ไมมี
๓๗. พนักงานประกอบมอเตอรสำหรับ
เครื่องใชไฟฟา ๓๗๐ ๔๔๕ ไมมี
๓๘. ชางเทคนิคบำรุงรักษาเครื่องจักรกล
สำหรับอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ๔๑๐ ๔๙๐ ไมมี

๓๙. ชางเทคนิคระบบรักษาความปลอดภัย ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี

กลุมอุตสาหกรรมชิ้นสวน ๔๐. ชางกลึงสำหรับอุตสาหกรรม
อะไหลรถยนต ผลิตชิ้นสวนยานยนต ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี
๔๑. ชางเชื่อมมิก–แม็กสำหรับอุตสาหกรรม
ผลิตชิ้นสวนยานยนต ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี

๔๒. ชางเทคนิคบำรุงรักษาเครื่องจักรกล
สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี
๔๓. ชางเทคนิคเครื่องกลึงอัตโนมัติสำหรับ

อุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี

กลุมอุตสาหกรรมยานยนต ๔๔. ชางเทคนิคพนสีตัวถังสำหรับ
อุตสาหกรรมผลิตรถยนต ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี
๔๕. ชางเทคนิคพนซีลเลอรตัวถังสำหรับ
อุตสาหกรรมผลิตรถยนต ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี

๔๖. พนักงานประกันคุณภาพผลิตภัณฑ
ยานยนต (ขั้นสุดทาย) ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี
๔๗. ชางเทคนิคเชื่อมสปอตตัวถังสำหรับ
อุตสาหกรรมผลิตรถยนต ๔๐๐ ๔๘๐ ไมมี









๓๓

ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
สาขาอาชีพ
(บาท) (บาท) (บาท)

กลุมอุตสาหกรรมอัญมณี ๔๘. ชางเจียระไนพลอย ๔๒๐ ๕๕๐ ไมมี

๔๙. ชางหลอเครื่องประดับ ๔๒๐ ๕๕๐ ไมมี
๕๐. ชางตกแตงเครื่องประดับ ๔๒๐ ๕๕๐ ไมมี
๕๑. ชางฝงอัญมณีบนเครื่องประดับ ๔๒๐ ๕๕๐ ไมมี

กลุมอุตสาหกรรมโลจิสติกส ๕๒. นักบริหารขนสงสินคาบนถนน ๔๖๐ ๕๕๐ ไมมี
๕๓. ผูควบคุมรถยกสินคาขนาดไมเกิน
๑๐ ตัน ๓๖๐ ๔๓๐ ไมมี

๕๔. ผูควบคุมสินคาคงคลัง ๓๘๕ ๔๖๕ ไมมี
๕๕. ผูปฎิบัติการคลังสินคา ๓๗๕ ๔๕๕ ไมมี
กลุมอุตสาหกรรมจักรกล ๕๖. ชางเทคนิคเขียนแบบเครื่องกล ๔๖๐ ๕๕๐ ไมมี

และโลหะการ ๕๗. ชางเชื่อมทิกสำหรับอุตสาหกรรม
จักรกลและโลหะการ ๕๐๐ ๖๐๐ ไมมี
๕๘. ชางเทคนิคระบบสงกำลัง ๔๕๐ ๕๔๐ ไมมี
๕๙. ชางเทคนิคระบบไฮโดรลิก ๔๖๐ ๕๕๐ ไมมี

กลุมอุตสาหกรรม ๖๐. ชางเชื่อมระบบทอในอุตสาหกรรม
เครื่องปรับอากาศและ เครื่องปรับอากาศและเครื่องทำความเย็น ๔๐๐ ๔๘๕ ไมมี
เครื่องทำความเย็น ๖๑. ชางเทคนิคเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ ๓๘๕ ๔๗๐ ไมมี

๖๒. ชางเทคนิคหองเย็นขนาดเล็ก ๓๘๕ ๔๗๐ ไมมี
๖๓. พนักงานประกอบเครื่องปรับอากาศ ๓๗๐ ๔๕๕ ไมมี

กลุมอุตสาหกรรมแมพิมพ ๖๔. ชางเทคนิคเครื่องกัดอัตโนมัติ ๔๕๐ ๕๔๐ ไมมี
๖๕. ชางเทคนิคเครื่องอีดีเอ็ม ๔๓๐ ๕๑๕ ไมมี
๖๖. ชางเทคนิคเครื่องไวรคัทอีดีเอ็ม ๔๓๐ ๕๑๕ ไมมี
๖๗. ชางขัดเงาแมพิมพ ๓๘๐ ๔๕๕ ไมมี

กลุมอุตสาหกรรมเหล็ก ๖๘. พนักงานหลอมเหล็กเตาอารกไฟฟา ๔๘๐ ๕๘๐ ไมมี
๖๙. พนักงานปรุงแตงน้ำเหล็กในเตา

ปรุงน้ำเหล็ก (Ladle fumace) ๕๐๐ ๖๐๐ ไมมี
๗๐. พนักงานหลอเหล็ก ๔๖๐ ๕๖๐ ไมมี
๗๑. พนักงานควบคุมการอบเหล็ก ๔๔๐ ๕๔๐ ไมมี

กลุมอุตสาหกรรมพลาสติก ๗๒. ชางเทคนิคเครื่องฉีดพลาสติก ๓๘๐ ๔๕๐ ไมมี
๗๓. ชางเทคนิคเครื่องเปาถุงพลาสติก ๓๘๐ ๔๕๐ ไมมี
๗๔. ชางเทคนิคเครื่องเปาภาชนะกลวง ๓๘๐ ๔๕๐ ไมมี
๗๕. ชางเทคนิคการซอมเครื่องเปา

ถุงพลาสติก ๔๑๐ ๔๘๐ ไมมี





๓๔

ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
สาขาอาชีพ
(บาท) (บาท) (บาท)


กลุมอุตสาหกรรม ๗๖. พนักงานเตรียมวัตถุดิบสำหรับ
เฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไมจริง ๓๕๐ ๓๘๐ ไมมี
๗๗. พนักงานชิ้นสวนเฟอรนิเจอรไมจริง
ดวยเครื่องจักรอัตโนมัติ ๓๙๕ ๔๕๕ ไมมี
๗๘. พนักงานประกอบเฟอรนิเจอรไมจริง ๓๖๕ ๔๕๕ ไมมี

๗๙. ชางทำสีเฟอรนิเจอรไมจริง ๓๗๕ ๔๑๕ ไมมี
กลุมอุตสาหกรรมรองเทา ๘๐. พนักงานตัดวางรองเทา ๓๗๐ ๔๐๕ ไมมี

๘๑. พนักงานอัดพื้นรองเทา ๓๘๐ ๔๒๐ ไมมี
๘๒. ชางเย็บรองเทา ๓๘๐ ๔๒๐ ไมมี
๘๓. พนักงานประกอบรองเทา (เย็น) ๓๔๐ ๔๑๐ ไมมี



อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ หมายถึง อัตราคาจางที่คณะกรรมการคาจางกำหนด

ขึ้นในแตละสาขาอาชีพตามมาตรฐานฝมือ ตามมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑


๑.๒ โครงการเพิ่มทักษะดานอาชีพแกนักเรียนครอบครัวยากจนที่ไมไดเรียนตอหลังจบ
การศึกษาภาคบังคับ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เลขที่โครงการ กพร.๐๒๔/๒๕๖๔

กลุมเปาหมาย
นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ (ม. ๓) ที่ไมไดศึกษาตอ และอายุไมเกิน ๒๕ ป เพื่อเขา

ระบบการเพิ่มทักษะดานอาชีพ จำนวน ๓,๐๐๐ คน

พื้นที่ดำเนินการ

ดำเนินการในเขตพื้นที่จังหวัดทั่วประเทศ ๗๖ จังหวัด ยกเวนกรุงเทพมหานคร

หลักสูตรการฝกอบรม
หลักสูตรการฝกเตรียมเขาทำงานของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ระยะเวลาในการฝก

อบรม ๒ เดือน

๒. กระทรวงสาธารณสุข

สาเหตุของการกอคดีของเด็กและเยาวชน นอกจากจะเกิดจากความรูเทาไมถึงการณ
เครียด วิตก กังวล ดื้อ วูวาม ฮึกเหิม ชอบความตื่นเตนทาทายและตองการการยอมรับวาเปน

สวนหนึ่งของกลุมเพื่อนแลว โรคทางจิตเวชก็เปนแรงขับเคลื่อนสำคัญที่ทำใหเด็กกอคดีในรูป
แบบหลากหลาย มีความรุนแรงระดับแตกตางกันไป กลุมโรคที่สำคัญที่สุดคือ Substance use

disorder (Amphetamine) ซึ่งการเริ่มใชสารเสพติดของเด็กและเยาวชนมีโอกาสเสพติดสูงและ





๓๕

ยังสามารถกอใหเกิดความเจ็บปวยทางจิตเวชที่ตองบำบัดรักษาที่ยุงยากซับซอนขึ้น รองลงมา
คือ Disruptive behavioral disorder (conduct disorder) หากไมไดรับการดูแลที่เหมาะสม

เมื่อโตขึ้นจะมีบุคลิกตอตานสังคม (Antisocial personality disorder) และทายที่สุดอาจกลาย
เปนอาชญากรผูใหญได นอกจากนี้โรคทางจิตเวชอื่น ๆ ที่พบบอยคือ Generalized anxiety disorder,

Attention deficit hyperactivity disorder, Oppositional defiant disorder และ Dysthymic
disorder (ศุภรัตน เอกอัศวิน และคณะ, ๒๕๕๙.)

โดยที่ภารกิจและการใชอำนาจตามกฎหมายของศาลยุติธรรมหลายประการมีความ
เกี่ยวของกับการดำเนินการทางสาธารณสุข เชน การสงตัวจำเลยในคดีอาญาไปใหแพทยตรวจ

หรือรักษา รวมทั้งกรณีเหตุอันควรสงสัยวาจำเลยวิกลจริตและไมอาจตอสูคดีได หรือการ
กำหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติจำเลยโดยใหไปรับการบำบัดรักษาการติดยาเสพติดใหโทษ

ความบกพรองทางรางกายหรือจิตใจ หรือความเจ็บปวยอยางอื่น ณ สถานที่และตามระยะเวลา

ที่ศาลกำหนด โดยเฉพาะอยางยิ่ง โรคที่เด็กและเยาวชนที่ศาลอาจใชมาตรการแทนการพิพากษา
คดีเพื่อแกไขบำบัดฟนฟูเด็กหรือเยาวชนใหกลับคืนสูสังคมไดอยางปกติสุข และในคดีครอบครัว

ที่มีการแยงอำนาจปกครองบุตร ที่ศาลอาจมีคำสั่งใหตรวจจิตบุคคลที่เกี่ยวของในคดีครอบครัว
เพื่อใหทราบวาผูใดเปนผูเหมาะสมที่จะใชอำนาจปกครอง เปนตน

สำนักงานศาลยุติธรรมและกระทรวงสาธารณสุขไดลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือ
เรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินกระบวนการยุติธรรมดานคดีเด็กเยาวชนและครอบครัว

ที่เกี่ยวของกับการสาธารณสุข เมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ เพื่อใหกระบวนการยุติธรรม

ดานคดีเด็กเยาวชนและครอบครัว ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณา
คดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ และที่แกไขเพิ่มเติม ดำเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ

อยางยิ่งเพื่อใหบุคคลที่เกี่ยวของในคดีที่อาจมีปญหาดานสุขภาพจิต จิตเวช บุคลิกภาพ และ
สารเสพติด ซึ่งจำเปนตองไดรับการตรวจประเมิน บำบัดรักษา และฟนฟู ไดรับความคุมครอง

เพื่อใหการวินิจฉัยชี้ขาดคดีของศาลเปนไปโดยเที่ยงธรรมยิ่งขึ้น และเพื่อใหเกิดความรวมมืออันดี
ในการสนับสนุน รวมทั้งสงเสริมในการปฏิบัติตามพันธกิจของสำนักงานศาลยุติธรรมและกระทรวง

สาธารณสุขในทุกระดับ ทั้งการสนับสนุนดานบุคลากร ทรัพยากร หรือทางวิชาการ และการที่จะ
ขับเคลื่อนบันทึกขอตกลงความรวมมือลงไปสูการปฏิบัติจึงจำเปนที่จะตองชี้แจงทำความเขาใจ

ในหนวยงานในสวนของกระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานศาลยุติธรรม จึงไดมีการจัดทำ
แนวทางการดำเนินงานรวมกันเพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติงาน (เลมเหลือง)


๓. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเปนกระทรวงที่จัดตั้งขึ้นตามพระราช-

บัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อเปนองคการและกลไกดานสังคมในการ

บรรลุนโยบายรัฐบาลที่ใหประชาชนทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน สตรี ผูดอยโอกาส





๓๖


Click to View FlipBook Version