The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pitipong.android, 2021-09-21 17:15:45

คู่มือการปฎิบัติงานของผู้พิพากษาสมทบ ในศูนย์ติดตามด้วยความห่วงใย

คนพิการ ผูสูงอายุ มีความมั่นคงในการดำรงชีวิต ใหมีการพิทักษและคุมครองสิทธิตามกรอบ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยบูรณาการแนวคิด ทิศทาง และการบริหาร
ใหเปนระบบจากภาคีทุกภาคสวนและทุกระดับ ซึ่งมีวิสัยทัศน “สรางสังคมดี คนมีคุณภาพ”
มีพันธกิจดังนี้

๑. พัฒนาคนและสังคมใหมีคุณภาพเต็มศักยภาพและมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง

๒. สรางเสริมเครือขายจากทุกภาคสวนในการมีสวนรวมพัฒนาสังคม
๓. พัฒนาองคความรู ขีดความสามารถ และระบบการบริหารจัดการดานการพัฒนาสังคม

๔. จัดระบบสวัสดิการที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย เพื่อใหประชาชนมีหลัก
ประกันและมีความมั่นคงในชีวิต

ทั้งนี้ มีหนวยงานที่ทำงานเกี่ยวของกับงานดานเด็กโดยตรงคือ

กรมกิจการเด็กและเยาวชน

วิสัยทัศน

เด็กและเยาวชนมีความเปนพลเมืองเกง ดี มีสุข และสรางสรรค
กรมกิจการเด็กและเยาวชนมีพันธกิจ ดังนี้

๑. พัฒนานโยบายและมาตรการดานเด็กและเยาวชนในเชิงรุก
๒. สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาเสริมสรางทักษะชีวิตเด็กและเยาวชนที่จำเปนในการ

ดำรงชีวิตตามชวงวัย
๓. พัฒนาและเชื่อมโยงระบบคุมครองเด็กและเยาวชนใหครอบคลุมทั่วประเทศ

๔. พัฒนาระบบสวัสดิการเด็กและเยาวชนที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย
๕. การบูรณาการภาคีเครือขายเพื่อแกไขปญหาเชิงประเด็น (Agenda Base)

๖. พัฒนาบุคลากรและระบบบริหารองคกรใหมีสมรรถนะสูง

กลไกการคุมครองเด็กของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
๑. กลไกการประสานงาน

- กรุงเทพมหานคร : กรมกิจการเด็กและเยาวชน กองคุมครองเด็กและเยาวชน
- ระดับจังหวัด : สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ๗๖ จังหวัด

หรือบานพักเด็กและครอบครัว ๗๖ แหง
๒. ศูนยปฏิบัติการเพื่อปองกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัวจังหวัด

๓. ศูนยปฏิบัติการปองกันและปราบปรามการคามนุษย

บริการสงเคราะหและคุมครองเด็ก

๑. บานพักเด็กและครอบครัว ๗๗ แหง
เปนสถานที่แรกรับตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ และเปนสถานแรกรับ

ของผูเสียหายชั่วคราวตามกฎหมาย ๓ ฉบับ ไดแก





๓๗

๑. พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
๒. พระราชบัญญัติผูถูกกระทำความรุนแรงภายในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

๓. พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามปญหาการคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑
นอกจากนี้เปนหนวยงานสวนกลางที่ตั้งในภูมิภาค มีอำนาจหนาที่ในการชวยเหลือ

ผูประสบปญหาทางสังคมตลอด ๒๔ ชั่วโมง โดยการใหคำปรึกษา ประเมินสภาพปญหา และ

ใหการชวยเหลืออื่น ๆ เบื้องตนตามสภาพปญหาและความตองการ โดยจัดเปนที่พักพิงชั่วคราว
เพื่อสงคืนกลับสูครอบครัวและชุมชน หรือประสานสงตอใหผูประสบปญหาอยูในสถานสงเคราะห

สถานคุมครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟนฟูในกรณีที่ไมสามารถสงกลับคืนสูครอบครัว
และชุมชนได

๒. สถานรองรับเด็ก แบงออกเปน ๖ รูปแบบ ดังนี้
๒.๑ สถานแรกรับเด็ก ใหการอุปการะเด็กชาย-หญิง อายุ ๖-๑๘ ป ที่เรรอน ขอทาน

ถูกทำทารุณกรรม มีปญหาพฤติกรรม และเด็กที่ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย เปนตน เปนการ
รับอุปการะชั่วคราวไมเกิน ๓ เดือน โดยใหบริการปจจัยสี่ และรวบรวมขอเท็จจริงที่เกี่ยวกับเด็ก

ครอบครัว และบุคคลแวดลอมเด็ก เพื่อนำมาวิเคราะหและกำหนดวิธีการที่เหมาะสมในดานการ
สงเคราะหหรือคุมครองสวัสดิภาพตอไป หนวยงานใหบริการ ๒ แหง ไดแก

๒.๑.๑ สถานแรกรับเด็กชายปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

๒.๑.๒ สถานแรกรับเด็กหญิงบานบานธัญญพร จังหวัดปทุมธานี
๒.๒ สถานสงเคราะหเด็ก ใหการอุปการะเด็กชาย-หญิง อายุแรกเกิดถึง ๑๘ ป

ที่กำพรา ถูกทอดทิ้ง ครอบครัวแตกแยก ติดเชื้อเอดสหรือไดรับผลกระทบจากโรคเอดส หรือ
บิดามารดาหรือผูปกครองไมสามารถใหการอุปการะไดอยางเหมาะสม เปนตน โดยใหบริการ

ดานปจจัยสี่ การดูแลรักษาพยาบาล พัฒนาการทางดานรางกาย จิตใจ การศึกษา การฝกอาชีพ
นันทนาการ การติดตามสืบหาครอบครัว ตลอดจนการอบรมขัดเกลาดานจริยธรรม เพื่อเตรียม

ความพรอมของเด็กในการกลับคืนสูครอบครัวและสังคม มีหนวยงานใหการบริการ แบงเปน

๒.๒.๑ สถานสงเคราะหเด็กออนจำนวน ๔ แหง ไดแก
(๑) สถานสงเคราะหเด็กออนพญาไท กรุงเทพมหานคร

(๒) สถานสงเคราะหเด็กออนปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
(๓) สถานสงเคราะหเด็กออนรังสิต จังหวัดปทุมธานึ

(๔) สถานสงเคราะหเด็กบานแคนทอง จังหวัดขอนแกน
๒.๒.๒ สถานสงเคราะหเด็กออนที่มีเด็กโตรวมดวย จำนวน ๔ แหง

(๑) สถานสงเคราะหเด็กบานสงขลา จังหวัดสงขลา
(๒) สถานสงเคราะหเด็กหญิงอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี

(๓) สถานสงเคราะหเด็กบานเวียงพิงค จังหวัดเชียงใหม
(๔) สถานสงเคราะหเด็กชายบานศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช





๓๘

๒.๒.๓ สถานสงเคราะหเด็กชาย จำนวน ๙ แหง
(๑) สถานสงเคราะหเด็กชายบานราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา

(๒) สถานสงเคราะหเด็กชายบานปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
(๓) สถานสงเคราะหเด็กชายบานมหาเมฆ กรุงเทพมหานคร

(๔) สถานสงเคราะหเด็กชายบานบางละมุง จังหวัดชลบุรี

(๕) สถานสงเคราะหเด็กชายบานหนองคาย จังหวัดหนองคาย
(๖) สถานสงเคราะหเด็กชายบานเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม
(๗) สถานสงเคราะหเด็กชายบานนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

(๘) สถานสงเคราะหเด็กชายจังหวัดยะลา จังหวัดยะลา

(๙) สถานสงเคราะหเยาวชนมูลนิธิมหาราช จังหวัดปทุมธานี
๒.๒.๔ สถานสงเคราะหเด็กหญิง จำนวน ๓ แหง ไดแก

(๑) สถานสงเคราะหเด็กหญิงบานราชวิถี กรุงเทพมหานคร
(๒) สถานสงเคราะหเด็กหญิงจังหวัดสระบุรี จังหวัดสระบุรี

(๓) สถานสงเคราะหเด็กปตตานี จังหวัดปตตานี
๒.๓ สถานคุมครองสวัสดิภาพเด็ก ใหการอุปการะเด็กชาย-หญิง อายุ ๖-๑๘ ป

ที่มีปญหาความประพฤติ เด็กที่ประพฤติตนไมเหมาะสม และเด็กที่ไดรับการเลี้ยงดูไมเหมาะสม

โดยใหบริการปจจัยสี่ในการอุปการะเลี้ยงดู การศึกษา อบรมและฝกอาชีพเพื่อแกไขความประพฤติ
บำบัด รักษา และฟนฟูสมรรถภาพทั้งทางสังคมและจิตใจ มีหนวยงานใหบริการ ๒ แหง ไดแก

๒.๓.๑ สถานคุมครองสวัสดิภาพเด็กระยอง จังหวัดระยอง
๒.๓.๒ สถานคุมครองสวัสดิภาพเด็กภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน

๒.๔ สถานพัฒนาและฟนฟูเด็ก เปนสถานแรกรับเด็กชาย-หญิง อายุ ๖-๑๘ ป
ที่จำเปนตองไดรับการสงเคราะหหรือคุมครองสวัสดิภาพเปนกรณีพิเศษที่เกิดจากการเลี้ยงดูที่

ไมเหมาะสม ถูกกระทำรุนแรงในครอบครัวหรือถูกกระทำทารุณทั้งทางดานรางกายและจิตใจ
เพศ การปลอยปละละเลย และการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ จำเปนตองไดรับการบำบัด

รักษา ฟนฟูสมรรถภาพดานรางกายและจิตใจ ตลอดจนการศึกษา แนะแนวและการฝกอาชีพ
ตามความเห็นของแพทยและทีมสหวิชาชีพ มีหนวยงานใหบริการ ๔ แหง แบงเปน

๒.๔.๑ สถานพัฒนาและฟนฟูเด็กชายจำนวน ๒ แหง

(๑) สถานพัฒนาและฟนฟูเด็กจังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองคาย
(๒) สถานพัฒนาและฟนฟูเด็กจังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง

๒.๔.๒ สถานพัฒนาและฟนฟูเด็กหญิงจำนวน ๒ แหง
(๑) สถานพัฒนาและฟนฟูเด็กจังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง

(๒) สถานพัฒนาและฟนฟูเด็กจังหวัดสุราษฎรธานี
จังหวัดสุราษฎรธานี





๓๙

๒.๕ ศูนยสงเคราะหและฝกอาชีพเยาวชนจังหวัดศรีสะเกษ เปนการฝกอาชีพเด็กชาย
อายุ ๑๘ ป ที่ครอบครัวมีฐานะยากจน ผูปกครองไมสามารถใหการอุปการะไดอยางเหมาะสม

โดยใหบริการปจจัยสี่ การศึกษา นันทนาการ และการจัดหางานเพื่อใหเด็กสามารถนำความรู
ไปประกอบอาชีพเลี้ยงดูตนเองได มีหนวยบริการ ๑ แหงคือ ศูนยสงเคราะหและฝกอาชีพเยาวชน

จังหวัดศรีสะเกษ
๒.๖ สถาบันเพาะกลาคุณธรรม รับเด็กและเยาวชนทั่วประเทศที่มีความประสงคเขารับ

การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปที่ ๑-๖ (อายุระหวาง ๑๓-๑๘ ป) โดยมีเกณฑในการพิจารณาคือ
เด็กและเยาวชนที่ครอบครัวไมสามารถเลี้ยงดูได ยากจน ประสบปญหาทางสังคม ประสบปญหา

ครอบครัว พอแมหยาราง ขาดโอกาสทางการศึกษา เปนตน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาเด็ก
และเยาวชนที่ดอยโอกาสหรืออยูในครอบครัวที่ขาดความอบอุนและความมั่นคงในชีวิตในมิติดาน

คุณธรรมและอบรมใหความรูในการประกอบอาชีพไปพรอม ๆ กัน เพื่อเปนตนกลาคุณธรรม

ในสังคมไทยในอนาคต ที่รับการพัฒนาทั้งทางดานกาย จิตใจ สังคม และสติปญญา เปนเครือขาย
คุณธรรมครอบคลุมทั่วประเทศ เตรียมความพรอมใหกับครอบครัว ชุมชน สังคม เพื่อรวมกัน

พัฒนาสังคมไทยใหมีความสุขตอไป
๓. ศูนยชวยเหลือสังคม สายดวน ๑๓๐๐ เปนศูนยกลางใหคำปรึกษาแนะนำทาง

โทรศัพท ปญหาสังคมทุกประเภท ใหบริการทั่วประเทศ รับแจงและชวยเหลือผูประสบปญหาสังคม
เบื้องตน ประสานสงตอ ขอความชวยเหลือไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ เอกชน และ

องคกรปกครองสวนทองถิ่น

๔. กองทุนที่เกี่ยวกับเด็กและระเบียบที่เกี่ยวของ
๔.๑ กองทุนคุมครองเด็ก จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยมี

วัตถุประสงคเพื่อเปนทุนใชจายในการสงเคราะหคุมครองสวัสดิภาพและสงเสริมความประพฤติ
รวมทั้งครอบครัวและครอบครัวอุปถัมภของเด็ก โดยการใหการสนับสนุนแบงเปน

๔.๑.๑ รายบุคคล คือครอบครัว ครอบครัวอุปถัมภ หรือบุคคลที่อุปการะเลี้ยงดูเด็ก
โดยตองเปนผูประสบปญหาความเดือดรอนและไมไดรับความชวยเหลือจากแหลงทุนอื่นหรือ

ไดรับแตไมเพียงพอ
๔.๑.๒ รายโครงการ คือหนวยงานภาครัฐและองคกรเอกชนที่ดำเนินการดานเด็ก

โดยกำหนดเงื่อนไข ดังนี้
- หนวยงานภาครัฐ เปนองคกรที่ดำเนินการตามวัตถุประสงคและกิจการ

เพื่อการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็กรวมทั้งครอบครัว และ

ครอบครัวอุปถัมภ และโครงการที่ขอรับการสนับสนุนตองเปนโครงการริเริ่มใหมหรือเปน
โครงการที่ไมสามารถขอรับการสนับสนุนจากงบประมาณปกติไดหรือไดรับแตไมเพียงพอ









๔๐

- องคกรภาคเอกชน เปนองคกรที่บุคคลรวมกันขึ้นเพื่อดำเนินการตาม

วัตถุประสงคและกิจการในการสงเคราะห การคุมครองสวัสดิภาพ และการสงเสริมความประพฤติเด็ก
รวมทั้งครอบครัวและครอบครัวอุปถัมภ และตองเปนโครงการที่ไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณ

จากสวนราชการและแหลงเงินทุนอื่น ๆ ตามประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนคุมครองเด็ก
เรื่องหลักเกณฑการกำหนดวงเงินและรายการที่ใหการสนับสนุนจากกองทุนคุมครองเด็ก เมื่อวันที่

๖ กรกฎาคม ๒๕๕๐
๔.๒ เงินสงเคราะหเด็กในครอบครัวยากจน การสงเคราะหเด็กในครอบครัวยากจน

เปนการชวยเหลือเด็กและครอบครัวที่ประสบปญหาความเดือดรอน โดยมุงใหครอบครัวสามารถ
เลี้ยงเด็กไวไดเองตามควรแกอัตภาพ ไมตองแยกเด็กออจากครอบครัวโดยไมจำเปน โดยจะใหการ

ชวยเหลือเปนเงินหรือสิ่งของ ๑,๐๐๐ บาท/ครั้ง ในครอบครัวที่มีเด็ก ๑ คน และไมเกิน
๓,๐๐๐ บาท/ครั้ง ในกรณีครอบครัวมีเด็กมากกวา ๑ คน ตามระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคม

และความมั่นคงของมนุษยวาดวยวิธีการใหการสงเคราะหเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๗
๔.๓ เงินชวยเหลือคาเลี้ยงดูแกครอบครัวอุปถัมภ ครอบครัวอุปถัมภนั้นจะไดรับการ

ชวยเหลือเงินชวยเหลือคาเลี้ยงดูเด็กในอัตราเดือนละไมเกิน ๒,๐๐๐ บาทตอการเลี้ยงดูเด็ก
ในครอบครัว จำนวน ๑ คน หากอุปการะเลี้ยงดูเด็กมากกวา ๑ คนในครอบครัว สามารถ

ชวยเหลือเงินคาเลี้ยงดูเด็กไดเดือนละไมเกิน ๔,๐๐๐ บาท ตามระเบียบกรมประชาสงเคราะห
วาดวยการสงเคราะหเด็กแบบครอบครัวอุปถัมภ พ.ศ. ๒๕๔๔

๔.๔ เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด เปนการสรางระบบคุมครองทางสังคม
โดยการจัดสวัสดิการเงินอุดหนุนใหแกเด็กแรกเกิดในครัวเรือนยากจนหรือครัวเรือนที่เสี่ยงตอ

ความยากจน เปนมาตรการใหบิดา มารดา หรือผูปกครองนำเด็กเขาสูระบบบริการของรัฐ เพื่อให
เด็กไดรับการดูแลใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ตั้งแตแรกเกิดจนถึง

อายุ ๓ ป และเพิ่มวงเงินเปน ๖๐๐ บาทตอคนตอเดือน ตามระเบียบกรมกิจการเด็กและเยาวชน
วาดวยการจายเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.๕ จายเงินอุดหนุนเพื่อชวยเหลือผูประสบปญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน ผูที่ประสบ
ปญหาความเดือดรอนที่เกิดขึ้นโดยปจจุบันทันดวนหรือเปนที่คาดหมายวาจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล

และจะตองไดรับการแกไขโดยฉับพลันทันทวงที เพื่อปองกันไมใหเกิดปญหาสังคมดานอื่นตามมา
เปนการชวยเหลือเบื้องตนกอนใหการสงเคราะห พัฒนา และฟนฟูเพื่อชวยเหลือตนเองได ตาม

ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยวาดวยการจายเงินอุดหนุนเพื่อชวยเหลือ
ผูประสบปญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๗

๔.๖ เบี้ยสำหรับเด็กพิการ เบี้ยความพิการสำหรับคนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการ
จะไดรับเบี้ย ๘๐๐ บาท/เดือน ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ และเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๓ คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบการ
ปรับเพิ่มเบี้ยความพิการจาก ๘๐๐ บาทเปน ๑,๐๐๐ บาท ใหกับเด็กพิการทั่วประเทศที่มีอายุ

ต่ำกวา ๑๘ ป โดยมีผลตั้งแตวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๓




๔๑

๔.๗ การใหความชวยเหลือเยียวยาผูไดรับผลกระทบสืบเนื่องจากสถานการณความ

ไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต เปนเงินชวยเหลือสำหรับประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากกลุม

ผูกอการรายและครอบครัวผูตองคดีความมั่นคง ตามหลักเกณฑการใหความชวยเหลือเยียวยา
ผูไดรับผลกระทบสืบเนื่องจากสถานการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต โดยมีหลักเกณฑ

การใหความชวยเหลือเยียวยาผูไดรับผลกระทบสืบเนื่องจากสถานการณความไมสงบในจังหวัด
ชายแดนภาคใตตามมติคณะรัฐมนตรี

๕. ระบบคุมครองเด็กในระดับตำบล พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนด
ผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ ปลัดกระทรวง ผูวาราชการจังหวัด นายอำเภอ

หรือผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น มีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพเด็กที่อยูในเขตพื้นที่ที่
รับผิดชอบ ไมวาเด็กจะมีผูปกครองหรือไมก็ตาม มีอำนาจตรวจสอบ ควบคุมใหพนักงานเจาหนาที่

และผูปกครองสวัสดิภาพตองปฏิบัติตามเงื่อนไขตาง ๆ ที่กฎหมายกำหนด โดยเฉพาะการแทรกแซง
ครอบครัว มีอำนาจและหนาที่ดูแลและตรวจสอบสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห

สถานคุมครองสวัสดิภาพ สถานพัฒนาและฟนฟูและสถานพินิจที่ตั้งอยูในเขตอำนาจใหอุปการะ

เลี้ยงดูเด็กเปนไปตามที่มาตรา ๒๓ โดยมีองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีการดำเนินงานขยายผล
ระบบคุมครองเด็กในระดับตำบล จำนวน ๑,๐๑๘ แหง

๖. ระบบสารสนเทศเพื่อการคุมครองเด็ก (Child Protection Information
System : CPIS) เปนระบบบูรณาการกระบวนการคุมครองเด็กโดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลเขามา

สนับสนุน ทำใหเด็กในทุกพื้นที่ไดรับการคุมครองชวยเหลือไดอยางรวดเร็ว
ขอมูลการติดตอ โทร. ๐ ๒๒๕๕ ๕๘๕๐-๗, ๐ ๒๒๕๓ ๙๑๑๖-๗ htt://www.dcy.go.th/

๔. กระทรวงศึกษาธิการ

๔.๑ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ชื่อยอวา กศน.
(Office of the Non-Formaland Informal Education : NEF) เปนหนวยงานในสังกัด

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัยในประเทศไทย
การจัดการศึกษานอกระบบ (Non-Formal Education) หรือการศึกษานอกระบบ

โรงเรียนเปนการศึกษาที่มีการจัดหลักสูตรระยะเวลาในการเรียนและการวัดและการประเมินผล
ยืดหยุนสอดคลองกับสภาพและความตองการของผูเรียน โดยไมเปนการจำกัดอายุ รูปแบบ

การเรียนการสอนหรือสถานที่ สำหรับประเทศไทยมีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบการศึกษา
นอกโรงเรียนอยูเปนจำนวนมาก โดยนิยมจัดตั้งศูนยการเรียนรูชุมชนหรือศูนยการเรียนรูนอก

ระบบโรงเรียนเพื่อใหประชาชนเขามาเรียนรูได โดยภายในศูนยจะมีอาจารยประจำและอาจารย

อาสาสมัครเปนผูจัดการเรียนการสอน สำหรับการศึกษารูปแบบนี้เปนหนึ่งในรูปแบบการศึกษา
หนึ่งในสามรูปแบบหลักตามการจัดขององคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา
ซึ่งแบงการศึกษาออกเปนการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย





๔๒

สถานศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในสังกัดกรุงเทพมหานคร


สถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีดังนี้
กศน. เขตพระนคร กศน. เขตดุสิต กศน. เขตปอมปราบศัตรูพาย กศน. เขตสัมพันธวงศ

กศน. เขตดินแดง กศน. เขตหวยขวาง กศน. เขตพญาไท กศน. เขตราชเทวี
กศน. เขตวังทองหลาง กศน. เขตปทุมวัน กศน. เขตบางรัก กศน. เขตสาทร

กศน. เขตบางคอแหลม กศน. เขตยานนาวา กศน. เขตคลองเตย กศน. เขตวัฒนา
กศน. เขตพระโขนง กศน. เขตสวนหลวง กศน. เขตจตุจักร กศน. เขตบางซื่อ
กศน. เขตลาดพราว กศน. เขตหลักสี่ กศน. เขตดอนเมือง กศน. เขตสายไหม

กศน. เขตบางเขน กศน. เขตบางกะป กศน. เขตสะพานสูง กศน. เขตบึงกุม
กศน. เขตคันนายาว กศน. เขตลาดกระบัง กศน. เขตมีนบุรี กศน. เขตหนองจอก

กศน. เขตคลองสามวา กศน. เขตประเวศ กศน. เขตธนบุรี กศน. เขตคลองสาน
กศน. เขตจอมทอง กศน. เขตบางกอกใหญ กศน. เขตบางกอกนอย กศน. เขตบางพลัด
กศน. เขตตลิ่งชัน กศน. เขตทวีวัฒนา กศน. เขตภาษีเจริญ กศน. เขตบางแค

กศน. เขตหนองแขม กศน. เขตบางขุนเทียน กศน. เขตบางบอน กศน. เขตราษฎรบูรณะ
กศน. เขตทุงครุ

ตัวอยางกิจกรรมที่นำมาเทียบโอนเปนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ของ

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ภายใตโครงการสนับสนุนแกไขบำบัดฟนฟู เด็ก เยาวชน
และครอบครัว

๑. โครงการครอบครัวสัมพันธ
๒. โครงการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ

๓. โครงการครอบครัวอุนใจไดลูกหลานคืน
๔. โครงการคายคุณธรรมจริยธรรม

๕. โครงการคุณธรรมนำชีวิต

๖. โครงการพัฒนาทักษะ/วิชาชีพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
๗. โครงการเพิ่มองคความรูวิชาชีพศิลปะประดิษฐดวยมือ (Decoupage)
๘. โครงการตัดเย็บเสื้อผาบุรุษสตรีและสิ่งประดิษฐที่ทำดวยผาและหนัง

๙. โครงการบวชชีพราหมณ

๑๐. โครงการคายอบรมเยาวชน ฝกระเบียบวินัยในชีวิต
๑๑. โครงการบรรพชาสามเณร

๔.๒ โรงเรียนทางเลือก

• ศูนยการเรียนพัลลัส อธีนา
เจตนารมณของการศึกษาทางเลือกนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมสิทธิและโอกาส

ทางการศึกษาใหแกเยาวชนหรือบุคคลทั่วไป ผูเรียนกลุมเปาหมายเฉพาะที่ไมสามารถเรียนใน




๔๓

ระบบปกติได หรือผูเรียนที่ออกกลางคัน เคยเรียนไมจบ สามารถนำวุฒิการศึกษาเดิมมา

เทียบโอนเพื่อเรียนตอใหจบ ม. ๓ หรือ ม. ๖ ก็ได เพื่อใหเยาวชนและประชากรวัยทำงานไดรับ
โอกาสทางการศึกษาอีกครั้ง และมีวุฒิการศึกษาไปสมัครเรียนตอ หรือประกอบอาชีพ

รับสมัครนักเรียนสำหรับผูดอยโอกาสทางการศึกษา ไดแก นักเรียนที่หลุดออกนอกระบบ
การศึกษาปกติดวยสาเหตุตาง ๆ

- ออกกลางคันจากโรงเรียน
- ผูที่ทำงานแลวไมมีเวลาเรียนตอ

- อยากมีวุฒิไวสมัครเรียน สมัครงาน พบกลุมเรียนวันธรรมดาและวันอาทิตย

เรียน ๖-๘ เดือน เรียน ม. ๑-ม. ๓ ไมจำกัดอายุ

สอบถามรายละเอียด ๓๓๓/๔๗ เอ.ซี ถนนสายไหม แขวงสายไหม เขตสายไหม
กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร. ๐ ๒๑๕๐ ๑๔๐๘, ๐๙ ๕๑๑๒ ๒๑๒๖, ๐๙ ๒๔๗๘ ๔๙๙๙

• โรงเรียนจุฑารัตนวิทยา คลอง ๙ ปทุมธานี

โครงการจุฑารัตนวิทยาพาขึ้นฝง เปนโครงการที่ใหนักเรียนที่ลาออกกลางคัน ถูกไลออก
หรือเรียนไมจบการศึกษาเนื่องจากมีผลการเรียนติด ๐/ร/มส./มผ. จากสถานศึกษาแหงเดิม

ยายมาเรียนโดยการเทียบโอนหนวยกิตและมาสอบเพื่อประเมินผลการเรียนตามมาตรา ๒๖ แหง
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ที่กำหนดใหสถานศึกษากำหนดเครื่องมือการวัดผลประเมินผล

ไดยืดหยุนตามบริบทของผูเรียน นอกจากนี้นักเรียนรายใดที่มีประสบการณทำงานฝกอาชีพ

ในสถานประกอบการ ก็ยังสามารถเอาประสบการณตรงนั้นมาเทียบโอนเปนหนวยกิตการศึกษา
ขั้นพื้นฐานในระบบไดตามแนวทางที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ออกคูมือแนวทางการเทียบโอนไว รวมถึงยังสอดคลองกับมาตรา ๑๕ แหงพระราชบัญญัติการ
ศึกษาแหงชาติ ที่กำหนดใหมีการเทียบโอนผลการเรียนระหวางในระบบและตามอัธยาศัยไดอีกดวย

สอบถามรายละเอียด ๘๔ ซอย ๑ หมู ๒ ตำบลบึงบอน อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
โทร. ๐ ๒๕๕๘ ๖๘๘๘, ๐๘ ๑๙๑๓ ๐๔๘๓, ๐๖ ๑๖๓๘ ๕๕๐๐


๕. กระทรวงยุติธรรม


๕.๑ กรมพินิจคุมครองเด็กและเยาวชน มีภารกิจในการดำเนินการพิทักษและคุมครองเด็ก
และเยาวชนที่กระทำความผิด สงเสริมความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและชุมชนโดยใช

กระบวนการทางเลือกยุติธรรมเชิงสมานฉันท การหันเหคดีออกจากกระบวนการยุติธรรมและ
มาตรการอื่น ๆ ดำเนินการดานคดีอาญา คดีครอบครัว กำกับการปกครองและการปกครอง

และการบำบัด แกไข ฟนฟู ปองกัน พัฒนาและสงเคราะห ตลอดจนติดตามประเมินผลเด็ก
และเยาวชน







๔๔

๕.๒ กรมคุมประพฤติ เปนหนวยงานของกระทรวงยุติธรรม มีหนาที่ในการสืบเสาะและ

พินิจควบคุมและสอดสอง พัฒนาทรัพยากรบุคคลกลับคืนสูสังคม เชน การสงเคราะห การฝก
อาชีพแกผูกระทำผิดที่เปนผูใหญ เด็กและเยาวชนและผูที่ไดรับการพักการลงโทษและลดวันตองโทษ

จำคุกทั้งประเทศ

- โครงการเครือขายยุติธรรมชุมชน ไดดำเนินงานมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ จนถึงปจจุบัน

โดยเปดโอกาสใหประชาชนในชุมชนไดเขามามีสวนรวมกับกระทรวงยุติธรรมในฐานะเปนหุนสวน
และมีบทบาทในการดำเนินงาน เชน การปองกันแกไขอาชญากรรม การแกไขและฟนฟูและ

ชวยเหลือสงเคราะหผูกระทำผิด การลดขอพิพาท ความขัดแยงในชุมชน เปนตน และไดอบรม
พัฒนาใหความรูความเขาใจแกสมาชิกเครือขายยุติธรรมชุมชนเกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกระทรวง

ยุติธรรมอยางตอเนื่องเพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานรวมกับภาครัฐไดอยางมีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ไดมีการรวมตัวของสมาชิกเครือขายยุติธรรมชุมชนในการจัดตั้งศูนยยุติธรรม

ชุมชนเพื่อเปนการบูรณาการการทำงานรวมกันระหวางภาครัฐกับเอกชนในการสรางความเขมแข็ง
เปนธรรมและความสงบสุขแกชุมชนและสังคมตอไป

จากผลการปฏิบัติงาน ประสบการณ ความรู และบทเรียนตาง ๆ ที่กรมคุมประพฤติ

ไดเขาไปทำงานรวมกับชุมชน กระทรวงยุติธรรมจึงไดมอบหมายใหกรมคุมประพฤติดำเนินงาน

ตามโครงการเครือขายยุติธรรมชุมชนภายใตยุทธศาสตร “ยุติธรรมกาวหนา ประชามีสวนรวม”
(Justice for All, All for Justice) เพื่อใหประชาชนในทองถิ่นไดเขามามีสวนรวมกับกระทรวง

ยุติธรรมในฐานะเปนหุนสวนและเปนสมาชิกเครือขายยุติธรรมชุมชน และพัฒนาขึ้นเปนผูประสานงาน
ยุติธรรมชุมชน โดยมีบทบาทหนาที่ในดานตาง ๆ เชน การปองกันปญหาอาชญากรรม การแกไข

ฟนฟูผูกระทำผิดในชุมชน การระงับขอพิพาทในชุมชน เปนตน มีการดำเนินงานดวยการอบรม
ใหประชาชนที่เปนสมาชิกเครือขายยุติธรรมชุมชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายและ

สิทธิเสรีภาพ บทบาทภารกิจตาง ๆ ของหนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ทั้งนี้ เพื่อสงเสริม

ใหประชาชนเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายที่ประชาชนควรรู การคุมครองสิทธิเสรีภาพ
ตามรัฐธรรมนูญ มาตรการและกลไกการคุมครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ มาตรการและ
กลไกการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม การอยูรวมกันอยาง

สันติสุขและสมานฉันทในชุมชนภายใตวัฒนธรรมและวิถีชุมชนที่หลากหลาย ตลอดจนสงเสริม

ใหเกิดกระบวนการคิด เกิดการรวมตัวกันในบรรดาสมาชิก จัดตั้ง “ศูนยยุติธรรมชุมชน”
ของตนเองขึ้น เพื่อเปนกลไกในการรวมกันสรรหาแนวทางที่จะทำใหภาครัฐและภาคประชาสังคม

รวมกันสราง “สังคมยุติธรรม” กลาวคือ เปนสังคมที่ประชาชนไดรับความเปนธรรมอยางเสมอภาค
ภายใตกฎหมายอยางถวนทั่ว และเปนสังคมที่มีความสงบสุขปราศจากอาชญากรรม อันจะเปน

รากฐานสำคัญของการพัฒนาทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคมอยางยั่งยืนตอไป







๔๕

ทั้งนี้ การติดตอประสานงานเพื่อขอใชอาสาสมัครคุมประพฤติใหติดตอผานสำนักงาน

หรือเจาหนาที่ ดังนี้
๑. สำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร ๑๑ โทร. ๐ ๒๕๘๗ ๕๑๙๒-๔

๒. นางสาวจิราพร บุญชูวงศ ผูอำนวยการสำนักคุมประพฤติ โทร. ๐๙ ๒๒๔๘ ๐๔๙๔

๓. นางสาวศิริพร พูลสวัสดิ์ หัวหนางานควบคุมและสอดสอง โทร. ๐๘ ๙๖๗๐ ๕๖๙๐

ศูนยขอมูลขาวสารกรมคุมประพฤติ
• สามารถติดตอไดที่สำนักงานคุมประพฤติทั่วประเทศ

• กลุมงานประชาสัมพันธ กรมคุมประพฤติ เลขที่ ๑๒๐ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ชั้น ๔
ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทร./โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๘๘๒๗,

๐ ๒๑๔๑ ๔๗๔๙ ตู ปณ. ๒๙ ปณฝ. ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กทม. ๑๐๒๑๕
เว็บไซต : www.probation.go.th

• สายดวน รองเรียน รองทุกข โทร. ๑๑๑๑ กด ๗๘

หลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขในการยื่นคำขอการสงเคราะหผูกระทำผิด

การสงเคราะหผูกระทำความผิด หมายถึง การชวยเหลือ แนะนำ แกไข ฟนฟู พัฒนา
หรือการดำเนินการใด ๆ แกผูกระทำผิดที่สมควรไดรับการสงเคราะห เพี่อใหผูกระทำผิดสามารถ

ดำรงชีวิตอยูในสังคมได โดยทั้งนี้ใหคำนึงถึงความจำเปนและความตองการของบุคคลนั้น

เงื่อนไข
๑. เปนผูกระทำผิดที่อยูในความดูแลของกรมคุมประพฤติ

๒. มีฐานะยากจนหรือมีความขัดสน

๓. มีความประสงคที่จะไดรับการชวยเหลือสงเคราะห
๔. ตองยื่นคำรองขอรับการสงเคราะหตามแบบที่กรมคุมประพฤติกำหนด

๕. แสดงหลักฐานประจำตัว หรือบัตรกำหนดนัดรายงานตัว หรือใบบริสุทธิ์จากเรือนจำ
หรือหลักฐานการปลอยตัวจากสถานพินิจทุกครั้งที่มาติดตอ

ผูที่สามารถขอรับการสงเคราะห ไดแก

๑. จำเลยที่ศาลมีคำสั่งใหสืบเสาะและพินิจ
๒. ผูถูกคุมประพฤติหรือผูพนจากการคุมความประพฤติ

๓. ผูอยูระหวางการตรวจพิสูจนและการฟนฟูสมรรถภาพ ผูติดยาเสพติดหรือผูผาน
การฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด

๔. ผูอยูระหวางการทำงานบริการสังคมหรือสาธารณประโยชนแทนคาปรับ










๔๖

๕. ผูไดรับการปลอยตัวเมื่อพนโทษหรือไดรับอภัยโทษ
๖. เด็กหรือเยาวชนที่ไดรับการปลอยตัวพนจากการฝกอบรมครบตามคำพิพากษาแลว

๗. ผูพนจากการถูกกักขังแทนคาปรับหรือผูพนจากการทำงานบริการสังคมหรือสาธารณ-
ประโยชนแทนคาปรับ

ทั้งนี้ ภายในระยะเวลา ๑ ป นับแตวันที่ผูขอรับการสงเคราะหพนจากการคุมความ

ประพฤติ หรือผานการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด หรือพนจากการถูกกักขังแทนคาปรับ

หรือพนจากการทำงานบริการสังคมแทนคาปรับ หรือสาธารณประโยชนแทนคาปรับ หรือพนโทษ
ตามคำพิพากษา หรือพนจากการไดรับพระราชทานอภัยโทษปลอยตัว หรือพนจากการฝกอบรม
ครบตามคำพิพากษาแลวแตกรณี


ชองทางการขอรับบริการ
สำนักงานคุมประพฤติ กทม./จังหวัด สาขาทั่วประเทศ หรือสอบถามรายละเอียด

เพิ่มเติมที่สำนักพัฒนาการคุมประพฤติ กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม ศูนยเฉลิมพระเกียรติ
๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคาราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ชั้น ๖ เลขที่ ๑๒๐ ถนนแจงวัฒนะ

แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๔๘๘๑, ๐ ๒๑๔๓ ๐๖๘๒

ระยะเวลาเปดใหบริการ

วันจันทร-วันศุกร (ยกเวนวันหยุดที่ทางราชการกำหนด) ตั้งแตเวลา ๐๘.๓๐-๑๒.๐๐ น.
และ ๑๓.๐๐-๑๖.๓๐ น.

๕.๓ กรมคุมครองสิทธิเสรีภาพ เปนหนวยงานของรัฐบาล จัดตั้งขึ้นภายใตสังกัด

กระทรวงยุติธรรมเมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ มีภารกิจหนาที่สงเสริมคุมครองสิทธิเสรีภาพ
ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและหลักการมนุษยชน โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

เพื่อใหประชาชนมีความสมานฉันท ไดรับการคุมครอง และมีหลักประกันดานสิทธิและเสรีภาพ
ในระดับสากล


กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพกับการบริการประชาชน
สิทธิของผูเสียหายและจำเลยในคดีอาญาตามพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย

และคาทดแทนและคาใชจายแกจำเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙


ผูเสียหายในคดีอาญา
ผูเสียหายในคดีอาญาที่มีสิทธิรับเงินเยียวยาจะตองเปนบุคคลซึ่งไดรับความเสียหาย

ถึงแกชีวิต หรือรางกาย หรือจิตใจ เนื่องจากการกระทำความผิดอาญาของผูอื่นโดยตนมิไดมี
สวนเกี่ยวของกับการกระทำความผิดนั้น โดยสามารถยื่นคำขอรับเงินคาตอบแทนภายใน ๑ ป

นับแตวันที่ผูเสียหายไดรูถึงการกระทำความผิด





๔๗

ประกอบการงานไดตามปกติเปนระยะเวลาไมเกิน ๑ ป










สิทธิการไดรับเงินชวยเหลือของผูเสียหายในคดีอาญา


กรณีทั่วไป กรณีเสียชีวิต

๑. คาใชจายที่จำเปนในการรักษาพยาบาล ๑. คาตอบแทนตั้งแต ๓๐,๐๐๐ บาท
ไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท แตไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

๒. คาฟนฟูสมรรถภาพทางรางกายและจิตใจ ๒. คาจัดการศพเปนเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท
ไมเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท

๓. คาขาดประโยชนทำมาหาได ตามคาจาง ๓. คาขาดอุปการะเลี้ยงดูไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท
ขั้นต่ำในทองที่จังหวัดที่ประกอบการงาน

ณ วันที่ไมสามารถประกอบการงานไดตามปกติ
เปนระยะเวลาไมเกิน 1 ป

๔. คาตอบแทนเสียหายอื่นไมเกิน ๕๐,๐๐๐ บาท ๔. คาเสียหายอื่นไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท
๕. คาใชจายเกี่ยวกับหองและคาอาหาร

วันละไมเกิน ๑,๐๐๐ บาท



หลักฐานการยื่นขอรับความชวยเหลือผูเสียหายในคดีอาญา

๑. แบบรับคำขอ (สชง. ๑/๐๑ หรือ สชง. ๑/๐๓)
๒. บัตรประจำประชาชนตัวจริง

๓. สำเนาทะเบียนสมรส
๔. หนังสือมอบอำนาจ

๕. สำเนาใบชันสูตรบาดแผล/สำเนาใบมรณบัตร
๖. ใบเสร็จคารักษาพยาบาล (ฉบับจริง)

๗. สำเนาใบรับรองแพทย
๘. สำเนารายงานบันทึกประจำวันเกี่ยวกับคดี


สถานที่ยื่นขอรับความชวยเหลือผูเสียหายในคดีอาญา

๑. กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

๒. สำนักงานยุติธรรมจังหวัดทั่วประเทศ
๓. สถานีตำรวจทั่วประเทศ

๔. สถาบันนิติวิทยาศาสตร












๔๘

จำเลยในคดีอาญา

จำเลยในคดีอาญาที่มีสิทธิรับเงินเยียวยาจะตองเปนบุคคลซึ่งถูกพนักงานอัยการฟอง
ตอศาลวา ไดกระทำความผิดอาญา และถูกจำคุกในระหวางพิจารณาคดี ตอมาไดมีการถอนฟอง

หรือศาลมีคำสั่งถึงที่สุดใหยกฟองวาจำเลยไมมีความผิด โดยสามารถยื่นคำรองขอรับเงินคาทดแทน
และคาใชจายภายใน ๑ ป นับแตวันที่ศาลอนุญาตใหถอนฟองหรือมีคำสั่งพิพากษาอันถึงที่สุด


สิทธิการไดรับเงินชวยเหลือของจำเลยในคดีอาญา


กรณีทั่วไป กรณีเสียชีวิต

๑. คาทดแทนจากการถูกคุมขังจายอัตรา ๑. คาทดแทนจาย ๑๐๐,๐๐๐ บาท
วันละ ๕๐๐ บาท

๒. คาใชจายที่จำเปนในการรักษาพยาบาล ๒. คาจัดการศพเปนเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท
ไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท

๓. คาฟนฟูสมรรถภาพทางรางกายและจิตใจ ๓. คาขาดอุปการะเลี้ยงดู ไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท

ไมเกิน ๕๐,๐๐๐ บาท

๔. คาขาดประโยชนทำมาหาได ตามคาจางขั้นต่ำ ๔. คาเสียหายอื่น ๆ ไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท
ในทองที่จังหวัดที่ประกอบการงาน ณ วันที่ หมายเหตุ : ตองเปนผลโดยตรงจากการ
ไมสามารถประกอบการงานไดตามปกติ ถูกดำเนินคดี


๕. คาใชจายที่จำเปนในการดำเนินคดี ไดแก
๕.๑ คาทนายความ แตไมเกินอัตราที่กำหนด
ในกฎกระทรวง
๕.๒ คาใชจายในการดำเนินคดี
ไมเกิน ๓๐,๐๐๐ บาท



หลักฐานการยื่นขอรับความชวยเหลือจำเลยในคดีอาญา

๑. แบบคำขอ (สชง. ๑/๐๒ หรือ สชง. ๑/๐๔)
๒. บัตรประจำตัวประชาชน (ตัวจริง)

๓. สำเนาทะเบียนสมรส
๔. หนังสือมอบอำนาจ

๕. หนังสือรับรองคดีถึงที่สุด
๖. สำเนาใบแตงทนายความ

๗. สำเนาคำพิพากษาของทุกชั้นศาล
๘. สำเนาหมายขัง หมายจำคุก และหมายปลอย

๙. สำเนาหนังสือจางวาความ





๔๙

สถานที่ยื่นขอรับความชวยเหลือจำเลยในคดีอาญา
๑. กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

๒. สำนักงานยุติธรรมจังหวัดทั่วประเทศ
๓. เรือนจำและทัณฑสถานทั่วประเทศ

๔. สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน
๕. ศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ


การพิทักษสิทธิและเสรีภาพเปนการชวยเหลือเบื้องตนและคุมครองประชาชนกลุมเสี่ยง

ตอการถูกละเมิดสิทธิที่พึงมีพึงไดตามหลักกฎหมายและตามหลักสิทธิมนุษยชนอยางเทาเทียมกัน
โดยไมใหตกเปนผูเสียหาย หรือเหยื่อ หรือผูไมไดรับความเปนธรรมจากการถูกละเมิดดวยการ

ผลักดันใหมีการพัฒนามาตรการกลไกในการคุมครองประชาชนกลุมเสี่ยงทุกกลุมเปาหมาย
สงเสริมการนำไปสูการปฏิบัติทุกรูปแบบอยางเปนรูปธรรม และกำกับติดตามผลการดำเนินงาน

ใหเปนไปตามมาตรการกลไกที่กำหนดไว พรอมทั้งจัดทำขอเสนอเชิงนโยบายใหแกฝายบริหารใน
การผลักดันความสำเร็จของระบบงานพิทักษ โดยมีกิจการงาน เชน สงเสริมสิทธิผูตองหาใน

ชั้นสอบสวน รัฐตองการใหความชวยเหลือประชาชนทางกฎหมาย โดยการใหมีทนายความ
เพื่อเปนที่ปรึกษา ใหคำแนะนำ และชวยเหลือทางกฎหมายตลอดระยะเวลาการสอบสวน

และลามในกระบวนการยุติธรรม โดยจัดใหมีลามภาษามือ

๕.๔ สำนักงานกองทุนยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม สำนักงานกองทุนยุติธรรมชวยเหลือ

ประชาชน ๔ ภารกิจ ดังนี้
๑. ชวยเหลือขอปลอยตัวชั่วคราวผูตองหาหรือจำเลย

๒. ชวยเหลือประชาชนในการดำเนินคดี
๓. ชวยเหลือผูถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไดรับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน

๔. สนับสนุนโครงการใหความรูทางกฎหมายแกประชาชน

สามารถติดตอรับความชวยเหลือไดที่

๑. สำนักงานกองทุนยุติธรรม (กรุงเทพฯ) กระทรวงยุติธรรม ชั้น ๑ ศูนยยุติธรรมสรางสุข
(ศูนยบริการรวม) ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ

๒. สำนักงานยุติธรรมจังหวัดทั่วประเทศ (ตางจังหวัด)
สายดวน โทร. ๑๑๑๑ กด ๗๗ เว็บไซต www.jfo.moj.go.th

Application : Justice care ยุติธรรมใสใจ














๕๐

๕.๕ ศูนยยุติธรรมสรางสุข งานบริการของศูนยยุติธรรมสรางสุข

๑. การใหคำปรึกษาทางกฎหมาย
๒. ชวยเหลือทางการเงินแกผูเสียหายและจำเลยในคดีอาญา

๓. การคุมครองในคดีอาญา

๔. การไกลเกลี่ยระงับขอพิพาท
๕. การรับเรื่องราวรองทุกขและรองเรียน

๖. การใหบริการกองทุนยุติธรรม
๗. การจัดหาทนายความตามประมวลวิธีพิจารณาความอาญา


การติดตอศูนยยุติธรรมสรางสุข
ศูนยยุติธรรมสรางสุขจัดตั้งเพื่อใหประชาชนเขาถึงกระบวนการยุติธรรม และเพื่ออำนวย

ความยุติธรรมใหประชาชนไดรับความยุติธรรม รวมถึงการตรวจสอบและวิเคราะหปญหา
อาชญากรรมสำคัญที่สงผลกระทบตอสังคมโดยรวม การตรวจสอบขอเท็จจริงเพื่อดำเนินคดี

โดยประสานความรวมมือระหวางหนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและหนวยงานภายนอก
ในการแกไขปญหา มุงปฏิบัติงานในเชิงรุก ใหความสำคัญกับการแกไขปญหาใหแกประชาชนที่

ไดรับความเดือดรอนแบบทันทวงทีและทั่วถึงโดยประชาชนสามารถติดตอขอรับความชวยเหลือ
และรองเรียนรองทุกขไดที่ศูนยยุติธรรมสรางสุขในระดับจังหวัด ๘๑ แหงและศูนยยุติธรรม

สรางสุขชุมชนในระดับตำบล จำนวน ๗,๗๘๓ แหง ทั่วประเทศ

ประชาชนเดือดรอนจากการไมไดรับความเปนธรรม สามารถขอรับความชวยเหลือไดที่

สายดวนยุติธรรม โทร. ๑๑๑๑ กด ๗๗

๕.๖ ศูนยประสานงานจิตอาสากระทรวงยุติธรรม (ศป.จอส.ยธ.) โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๒๑๒๕
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๗๘๗๘ อีเมล : [email protected] ที่ตั้ง : อาคารศูนยเฉลิมพระเกียรติ

๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ชั้น ๘ เลขที่ ๑๒๐ หมู ๓ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถนน

แจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ https://www.facebook.com/VCC.MOJ

๕.๗ สถาบันนิติวิทยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม

โครงการติดตามดูแลเด็กและเยาวชนโดยใชเครื่องมือทางนิติวิทยาศาสตร
สถาบันนิติวิทยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม บูรณาการรวมกับกรมพินิจและคุมครอง

เด็กและเยาวชน โดยการนำการตรวจสารเสพติดในเสนผมมาใชเฝาระวังการใชยาเสพติดของเด็ก
และเยาวชน โดยริเริ่มโครงการนำรองมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๘ เนื่องจากวิธีการตรวจปสสาวะ

เพียงอยางเดียวมีขอจำกัดในเรื่องของระยะเวลาการตรวจพบ กลาวคือ หากผูเสพหยุดการใชยา
มาระยะหนึ่งกอนทำการตรวจจะทำใหตรวจไมพบ นอกจากนี้ชุดทดสอบการตรวจปสสาวะ









๕๑

จะมีเพียงชุดทดสอบพื้นฐาน ไดแก ยาบา กัญชา ซึ่งจะไมสามารถตรวจสอบการใชยาเสพติด

ของเด็กและเยาวชนที่มีการเปลี่ยนรูปแบบมาใชยาหรือยาเสพติดใหม ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจพบ
การนำการตรวจเสนผมมาสนับสนุนการใชมาตรการแทนการลงโทษใหเกิดประสิทธิภาพ

จากผลสัมฤทธิ์ดังกลาว กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนมีแนวคิดที่จะนำการตรวจสารเสพติด

ในเสนผมไปเปนเครื่องมือในการดูแลกลุมเด็กและเยาวชนสำหรับกลุมเด็กและเยาวชนที่ศาล
มีคำสั่งใชมาตรการพิเศษแทนการลงโทษโดยการปลอยตัวชั่วคราว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเด็ก

หรือเยาวชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสนับสนุนใหเด็กหรือเยาวชนสามารถกลับคืนสูสังคม
ไดอยางปกติสุข โดยกรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนวางแผนจะทำขอตกลงความรวมมือ

(MOU) รวมกันระหวางหนวยงาน ประกอบดวยสถาบันนิติวิทยาศาสตร กรมพินิจและคุมครอง
เด็กและเยาวชน กรมคุมประพฤติ และศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ในการนำการตรวจ

สารเสพติดในเสนผมมาใชเปนเครื่องมือในการติดตามดูแลเด็กและเยาวชน เพื่อเพิ่มมาตรการ

ในการดูแลเด็กและเยาวชนใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งการตรวจเสนผมจะเปนเครื่องมือสำคัญในการ
ปองปรามเด็กและเยาวชนไมเขาไปยุงเกี่ยวกับยาเสพติดเมื่อกลับเขาสูสิ่งแวดลอมเดิม และทำให

เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในที่สุด

๖. กรุงเทพมหานคร

๖.๑ สำนักพัฒนาสังคมกรุงเทพมหานคร กลุมงานพัฒนาการฝกอาชีพ สำนักพัฒนาสังคม
โทร. ๐ ๒๒๔๗ ๙๔๙๖ หนวยงานบริการฝกอาชีพเปดโรงเรียนฝกอาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร

๑๐ แหง โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานครเปนแหลงใหการศึกษาดานวิชาชีพ ซึ่งในปจจุบัน
มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสังคม ชวยเหลือผูที่ไมมีโอกาสศึกษาตอในเวลาปกติ ผูวางงาน

และผูถูกเลิกจาง ไดมีโอกาสศึกษาตอดานวิชาชีพตามความถนัด ความสามารถ และความตองการ

ของผูเรียน เพื่อจะไดนำความรูไปประกอบอาชีพหารายไดเลี้ยงตนเองและครอบครัว เปดการเรียน
การสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น แบงการเรียนออกเปน ๕ ภาคเรียน ดังนี้

• ภาคเรียนที่ ๑ ระหวางเดือนพฤษภาคม-เดือนสิงหาคม

• ภาคเรียนที่ ๒ ระหวางเดือนกันยายน-เดือนธันวาคม
• ภาคเรียนที่ ๓ ระหวางเดือนธันวาคม-เดือนมีนาคม

เปดสอน ๓ รอบคือ

- รอบเชา เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. - รอบบาย เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.
- รอบค่ำ เวลา ๑๗.๐๐-๒๐.๐๐ น. วันเสารและวันอาทิตย เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.

ปจจุบันมีโรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น ๑๐ แหง ดังนี้

๑. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง ๑) เดนดานสาขาวิชาซอมจักรยานยนต
โทร. ๐ ๒๒๔๖ ๑๕๙๒ www.dindang๑.net Facebook.com/dindangone







๕๒

๒. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง ๒) เดนดานสาขาวิชาขนมอบ เสื้อผา

เสริมสวย โทร. ๐ ๒๒๔๖ ๕๗๖๙, ๐ ๒๒๔๕ ๑๔๐๑ www.dindang๒.c๐m Facebook.com/
dindang๒school

๓. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) เดนดานสาขาวิชาชางเครื่องเรือนไม

ชางกอสรางในชุมชน โทร. ๐ ๒๒๔๐ ๐๐๐๙ www.Khlongtoei.log๖ Facebook.com/khlongtoei.๖
๔. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บอนไก) ปจจุบันยายไปอยูที่ประเวศ เดนดาน

สาขาวิชาออกแบบจัดดอกไมสดและดอกไมแหง (ยังไมมีขอมูลติดตอ)
๕. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หนองจอก) เดนดานสาขาวิชาแปรรูปเห็ด

ติดตั้งแกสรถยนต โทร. ๐ ๒๕๔๓ ๒๙๐๓ www.nongchok.ac.th Facebook.com/Nonglok
VocationTraining

๖. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) เดนดานสาขาวิชาวิเคราะหอัญมณี

ขนมอบ นวด โทร. ๐ ๒๒๓๖ ๖๙๒๙ www.vtsbangrak.ac.th Facebook.com/vtcbangrak
๗. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หลวงพอทวีศักดิ์ฯ) เดนดานสาขาวิชาชีพเครื่อง

ประดับและเจียระไนพลอย โทร. ๐ ๒๔๒๙ ๓๕๗๓ https//sites.google.com/view/luangpor-net
Facebook.com/luangporBMA

๘. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงหหาสน) เดนดานสาขาวิชาตัดแตง
ขนสุนัข ศิลปะการดนตรี ขนมอบ นวด โทร. ๐ ๒๔๑๐ ๑๐๑๒ Facebook.com/kanjanasinghas

๙. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (มวน บำรุงศิลป) เดนดานสาขาวิชาขายออนไลน
(อีคอมเมิรซ) โทร. ๐ ๒๕๑๔ ๑๘๔๐ www.mounbumrungsil.com Facebook.com/mounbumrungsil

๑๐. โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ทุงครุ) เดนดานสาขาวิชาชางยนตและขาย
ออนไลน (อีคอมเมิรซ) โทร. ๐ ๒๔๒๖ ๓๖๕๓ https://arthonsanghawattana.biogspot.com

https://m.facebook.com/Abvts.Asthon

ศูนยฝกวิชาชีพ ๕ แหง ดังนี้

๑. ศูนยฝกอาชีพศูนยการคาไอทีสแควร เขตหลักสี่ เดนดานสาขาวิชาศิลปะประดิษฐ

(เปดวันเสาร-อาทิตย)
๒. ศูนยฝกอาชีพอาคารโกลด มารเก็ต (ตลาดประชานิเวศน ๑) เดนดานสาขาวิชา
การแปรรูปสมุนไพร (เปดวันจันทร-ศุกร)

๓. ศูนยฝกอาชีพตลาดนัดธนบุรี (ตลาดสนามหลวง ๒) เขตทวีวัฒนา เดนดานสาขา

วิชาการตัดผมสุภาพบุรุษ (เปดวันเสาร-อาทิตย)
๔. ศูนยฝกอาชีพวัดดาน (ถนนพระราม ๓) เขตยานนาวา เดนดานสาขาการนวด

แผนไทยเพื่อสุขภาพ (เปดวันเสาร-อาทิตย)








๕๓

๕. ศูนยฝกอาชีพวัดรางบัว (ซอยเพชรเกษม ๓๓) เขตภาษีเจริญ เดนดานสาขาวิชา

เบเกอรี่ (เปดวันเสาร-อาทิตย)

สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติม โทร. ๐ ๒๒๔๗ ๙๔๙๖ เวลา ๐๙.๐๐-๑๕.๐๐ น.

สาขาวิชาชีพที่เปดสอน

๑. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม
๑.๑ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

- หลักสูตรอินเตอรเน็ตและการสรางเว็บไซต
- หลักสูตรการใชงานโมบายเทคโนโลยี

- หลักสูตรคอมพิวเตอรกราฟกและแอนิเมชัน

- หลักสูตรคอมพิวเตอรเพื่องานสำนักงาน
- หลักสูตรอินเตอรเน็ตสำหรับอีคอมเมิรช

- หลักสูตรการสรางเว็บไซต
๑.๒ สาขาวิชาภาษาตางประเทศ

- หลักสูตรภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
- หลักสูตรภาษาอังกฤษในงานธุรกิจบริการ

- หลักสูตรภาษาอังกฤษสำหรับพนักงานโรงแรม
- หลักสูตรภาษาอังกฤษเบื้องตน

- หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่องานขาย
- หลักสูตรภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร

- หลักสูตรภาษาจีนในงานธุรกิจบริการ

- หลักสูตรภาษาจีนเบื้องตน
- หลักสูตรภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร

- หลักสูตรภาษาญี่ปุนในงานธุรกิจบริการ
- หลักสูตรภาษาญี่ปุนเบื้องตน

- หลักสูตรภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร
- หลักสูตรภาษาเกาหลีในงานธุรกิจบริการ

- หลักสูตรภาษาเกาหลีเบื้องตน

๒. ประเภทวิชาคหกรรม
๒.๑ สาขาวิชาแฟชั่นและสิ่งทอ

- หลักสูตรเสื้อผาสตรี

- หลักสูตรสรางแบบเสื้อผาสตรี
- หลักสูตรชุดสูทสตรี





๕๔

- หลักสูตรออกแบบแฟชั่น

- หลักสูตรชุดโอกาสพิเศษ
- หลักสูตรชุดชั้นในสตรี

- หลักสูตรผลิตภัณฑงานผา

๒.๒ สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องนุงหม
- หลักสูตรอุตสาหกรรมเสื้อผาบุรุษ

- หลักสูตรอุตสาหกรรมกางเกงบุรุษ
- หลักสูตรอุตสาหกรรมเสื้อผายืด

- หลักสูตรอุตสาหกรรมเสื้อผาเด็ก
๒.๓ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ

- หลักสูตรขนมอบ

- หลักสูตรอาหารนานาชาติ
- หลักสูตรอาหารไทยและขนมไทย

- หลักสูตรคุกกี้และเคก
๒.๔ สาขาวิชาศิลปะประดิษฐ

- หลักสูตรการจัดดอกไม ใบตองและแกะสลัก
- หลักสูตรงานประดิษฐตามสมัยนิยม

๒.๕ สาขาวิชาเสริมสวย
- หลักสูตรแตงผมสตรี

- หลักสูตรมวนผม
- หลักสูตรซอยผมสตรี

- หลักสูตรเกลาผม

- หลักสูตรแตงหนา เกลาผม แตงเล็บ
- หลักสูตรการบำรุงรักษาผิวหนา

- หลักสูตรชางแตงหนา
๒.๖ สาขาวิชาตัดผมสุภาพบุรุษ

- หลักสูตรตัดผมสุภาพบุรุษ
- หลักสูตรซอยผมสุภาพบุรุษ

๒.๗ สาขาวิชาตัดแตงขนสุนัข
- หลักสูตรตัดแตงขนสุนัข

๓. ประเภทวิชาศิลปกรรม

๓.๑ สาขาวิชาศิลปกรรม หัตถกรรม รูปพรรณและเครื่องประดับ






๕๕

- หลักสูตรการทำตัวเรือนเครื่องประดับ

- หลักสูตรการเจียระไนพลอย
- หลักสูตรการตรวจสอบและวิเคราะหอัญมณี

๓.๒ สาขาวิชาศิลปะการดนตรี

- หลักสูตรคียบอรด
- หลักสูตรการขับรอง

- หลักสูตรการเลนกีตาร
หมายเหตุ เพิ่มรอบเรียนวันเสาร-อาทิตย เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.

๓.๓ สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม
- หลักสูตรบาติก

- หลักสูตรการเขียนลวดลายดวยสี

- หลักสูตรมัดยอม

๔. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการทองเที่ยว
สาขาวิชานวดแผนไทยประยุกต

- หลักสูตรนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ
- หลักสูตรการนวดสวีดิช

- หลักสูตรนวดฝาเทาเพื่อสุขภาพ
- หลักสูตรการนวดดวยน้ำมันหอมระเหย

- หลักสูตรการดูแลสุขภาพและความงามสตรีหลังเรือนไฟ
- หลักสูตรบริการเพื่อความงาม


๕. ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

- หลักสูตรชางซอมคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย
- หลักสูตรการผลิตสื่อภาพยนตรดวยระบบดิจิทัล

- หลักสูตรคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนรู
- หลักสูตรคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ

- หลักสูตรวิชาการพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยดและระบบ IOS
- หลักสูตรการใชโปรแกรมตกแตงภาพ

- หลักสูตรการตัดตอภาพยนตรระบบดิจิทัลอื่น ๆ
- การผลิตเก็ดเพื่อการคา

หมายเหตุ เพิ่มรอบเรียนวันเสาร-อาทิตย เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.








๕๖

หลักฐานการรับสมัคร

๑. บัตรประจำตัวประชาชนนำมาในวันรายงานตัว
๒. รูปถายขนาด ๑ นิ้ว ถายไมเกิน ๖ เดือน ๑ รูป


คาสมัครเรียน หลักสูตรละ ๑๐๕ บาท หลักสูตรคอมพิวเตอรและสปา ๓๐๕ บาท

กลุมงานพัฒนาการฝกอาชีพ สำนักพัฒนาสังคม โทร. ๐ ๒๒๔๗ ๙๔๙๖
๖.๒ สำนักงานการพัฒนาชุมชน สำนักพัฒนาสังคม

๖.๓ ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม “การสงเคราะหเด็กตามระเบียบ
กรุงเทพมหานคร วาดวยคาใชจายในการจัดสวัสดิการและสงเคราะห พ.ศ. ๒๕๕๗”

กลุมงานจัดสวัสดิการและคุมครองเด็ก สำนักงานสวัสดิการสังคม สำนักพัฒนาสังคม

ใหการสงเคราะหเด็กและเยาวชนที่อยูในสภาพยากลำบาก ยากจน ประสบปญหาความเดือดรอน
ในชุมชน ตามระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยคาใชจายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห

พ.ศ. ๒๕๕๗ ดังนี้
กลุมเปาหมาย หลักเกณฑการเบิกจาย ไดแก

- เด็กที่อยูในสภาพยากลำบาก ประสบปญหาความเดือดรอน ยากจน
- มีสัญชาติไทย มีภูมิลำเนาอยูในกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบาน

- กำลังอยูในระหวางการศึกษาระดับอนุบาลถึงปริญญาตรี และมีหนังสือรับรองของ
สถานศึกษา

- อายุไมเกิน ๒๕ ป บิดา มารดา หรือผูปกครองประสบภาวะอยางใดอยางหนึ่ง เชน
ตาย ทอดทิ้ง สาบสูญ ตองโทษจำคุก หรือพิการ ทุพพลภาพ ปวยทางรางกายหรือจิตใจ ประสบ

สาธารณภัยหรือเหตุอื่นจนไมสามารถประกอบอาชีพเลี้ยงครอบครัวตามควรแกอัตภาพ

๑. เงินสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา
- ระดับอนุบาลและประถมศึกษา ไมเกิน ๓,๐๐๐ บาท/คน/ป

- ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ไมเกิน ๓,๕๐๐ บาท/คน/ป
- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ไมเกิน ๔,๐๐๐ บาท/คน/ป

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
- ระดับอนุปริญญาหรือหลักสูตร ไมเกิน ๔,๕๐๐ บาท/คน/ป

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
- ระดับปริญญาตรี ไมเกิน ๕,๐๐๐ บาท/คน/ป

๒. ทุนฝกอาชีพ เบิกจายเทาที่จายจริง แตไมเกิน ๔,๐๐๐ บาท/คน/ป
หลักเกณฑเพิ่มเติม กำลังอยูในระหวางฝกอาชีพในสถานศึกษาหรือสถานฝกอาชีพ

โดยมีหนังสือรับรองของสถานศึกษาหรือสถานฝกอาชีพ








๕๗

๓. ทุนประกอบอาชีพ เบิกจายเทาที่จายจริง แตไมเกิน ๕,๐๐๐ บาท/คน/ป

๔. เงินชวยเหลืออุปสมบท บรรพชา เบิกเทาที่จายจริงไมเกินคนละ ๔,๐๐๐ บาท
๕. คารักษาพยาบาล คาใชจายที่เกี่ยวเนื่องในการรักษาพยาบาล (ไดแก คาพาหนะ

คาอาหาร ระหวางรักษาพยาบาลเทาที่จำเปน)


ชองทางการติดตอขอรับความชวยเหลือ
ติดตอขอรับความชวยเหลือไดที่ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขต

๕๐ เขต


รายชื่อหนวยงานและเบอรติดตอหนวยงานที่เกี่ยวของ


ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรโทรศัพท

สำนักพัฒนาสังคม

๑ กลุมงานจัดสวัสดิการและ สำนักงานสังคม โทร. ๐ ๒๒๔๕ ๕๑๗๒
คุมครองเด็ก สำนักพัฒนาสังคม กทม. ตอ ๓๙๑๔, ๓๙๑๕

๒ กลุมงานจัดสวัสดิการสตรี ๔๐๙๕/๒๕ ถนนมิตรไมตรี โทรสาร ๐ ๒๒๔๕ ๕๑๗๑
ครอบครัวและผูดอยโอกาส แขวง/เขตดินแดง
กทม. ๑๐๔๐๐

สำนักอนามัย

๑ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑ เลขที่ ๓-๕ ถนนเจริญกรุง โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๗๘๗๔
สะพานมอญ วังบูรพาภิรมย เขตพระนคร

กทม. ๑๐๒๐๐
๒ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒ เลขที่ ๕๐๗ ถนนเพชรบุรีตัดใหม โทร. ๐ ๒๒๕๑ ๗๗๓๕–๓๗

ราชปรารภ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี
กทม. ๑๐๔๐๐

๓ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓ เลขที่ ๕๙๖ ถนนเตชะวณิช โทร. ๐ ๒๕๘๗ ๐๖๑๘
บางซื่อ แขวง/เขตบางซื่อ
กทม. ๑๐๘๐๐

๔ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔ เลขที่ ๔๓๙๕ โทร. ๐ ๒๒๔๖ ๑๕๕๓
ดินแดง ถนนประชาสงเคราะห
เขตดินแดง กทม.

๕ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕ เลขที่ ๓๔๔ ซอยจุฬาลงกรณ โทร. ๐ ๒๒๑๖ ๑๒๙๗

จุฬาลงกรณ ๒๒ แขวงวังใหม
เขตปทุมวัน ๑๐๓๓๐






๕๘

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรโทรศัพท

๖ ศุนยบริการสาธารณสุข ๖ เลขที่ ๔๒๖ ถนนพิษณุโลก
สโมสรวัฒนธรรมหญิง แขวงสี่แยกมหานาค
เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐

๗ ศูนยบริการสาธารณสุข ๗ เลขที่ ๖๖๓ ถนนสาธุประดิษฐ โทร. ๐ ๒๒๘๔ ๓๔๒๗–๘
บุญมี ปุรุราชรังสรรค แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กทม. ๑๐๑๒๐

๘ ศูนยบริการสาธารณสุข ๘ เลขที่ ๒๓ ซอยอุดมสุข ๑๘ โทร. ๐ ๒๓๖๑ ๖๗๖๐–๒

บุญรอด รุงเรือง ถนนสุขุมวิท ๑๐๓
เขตบางนา กทม. ๑๐๒๖๐

๙ ศูนยบริการสาธารณสุข ๙ เลขที่ ๒๕๗/๑ ถนนวิสุทธิกษัตริย โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๘๔๙๔
ประชาธิปไตย แขวงบางขุนพรหม
กทม. ๑๐๒๐๐

๑๐ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๐ เลขที่ ๗๒๒ ซอยสุขุมวิท ๓๐ โทร. ๐ ๒๒๕๘ ๔๘๙๒

สุขุมวิท ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน
เขตคลองเตย กทม.

๑๑ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๑ เลขที่ ๕๑/๑๓ ซอยประดิพัทธ ๗ โทร. ๐ ๒๒๗๑ ๑๑๒๒

ประดิพัทธ ถนนประดิพัทธ แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐

๑๒ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๒ เลขที่ ๘๖๐/๓๗ ซอยประดู ๔๐ โทร. ๐ ๒๒๙๑ ๗๖๓๗–๘
จันทรเที่ยง เนตรวิเศษ ถนนเจริญกรุง ๑๐๗ แขวงบางโคล

เขตบางคอแหลม กทม. ๑๐๑๒๐

๑๓ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๓ เลขที่ ๕๒๗ ซอยอาเนี้ยเก็ง
ไมตรีวานิช ถนนทรงวาด แขวงจักรวรรดิ

เขตสัมพันธวงศ กทม. ๑๐๑๐๐

๑๔ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๔ เลขที่ ๒๑ ซอยจันทร ถนนจันทร โทร. ๐ ๒๒๑๑ ๒๓๕๓
แกว สีบุญเรือง แขวงพระยาไกร เขตบางคอแหลม

กทม. ๑๐๑๒๐

๑๕ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๕ เลขที่ ๑๗๙/๑ ซอยลาดพราว ๔๑ โทร. ๐ ๒๕๔๑ ๘๓๘๐
ลาดพราว ถนนลาดพราว

แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง
กทม. ๑๐๓๑๐






๕๙

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรโทรศัพท

๑๖ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๖ เลขที่ ๑๖๒/๘๒ ซอยปลูกจิต โทร. ๐ ๒๒๕๘ ๔๘๙๒
ลุมพินี ถนนพระราม ๔ แขวงลุมพินี
เขตปทุมวัน กทม. ๑๐๓๐๐

๑๗ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๗ หมูบานประชานิเวศน ๑ โทร. ๐ ๒๕๘๙ ๕๗๖๘
ประชานิเวศน ถนนเทศบาลสงเคราะห
แขวงลาดยาว เขตจตุจักร

กทม. ๑๐๙๐๐

๑๘ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๘ เลขที่ ๘๖๓/๒ ซอยวัดไผเงิน โทร. ๐ ๒๒๑๑ ๐๘๖๐
มงคลวอน วังตาล ถนนจันทร แขวงบางโคล
เขตบางคอแหลม
กทม. ๑๐๑๒๐

๑๙ ศูนยบริการสาธารณสุข ๑๙ เลขที่ ๖๗๕ ถนนวงศสวาง โทร. ๐ ๒๙๑๐ ๗๓๑๔
วงศสวาง แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ

กทม. ๑๐๘๐๐
๒๐ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๐ เลขที่ ๒๙/๑ ซอยเฉลิมเขต ๒ โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๐๐๐๔

ธนาคารนครหลวงไทย ถนนพลับพลาไชย
แขวงเทพศิรินทร เขตปอมปราบ
ศัตรูพาย กทม. ๑๐๑๐๐

๒๑ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๑ เลขที่ ๒๑๔ ถนนสุขุมวิท โทร. ๐ ๒๓๙๖๐๘๒
วัดธาตุทอง (ภายในวัดธาตุทอง)

แขวงพระโขนงเหนือ
เขตวัฒนา กทม. ๑๐๑๑๐

๒๒ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๒ เลขที่ ๒๓๕ ซอยออนนุช ๓๕ โทร. ๐ ๒๓๒๑ ๘๘๑๓
วัดปากบอ แขวงสวนหลวง กทม. ๑๐๒๕๐ ๐ ๒๓๒๑ ๒๖๘๓

๒๓ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๓ เลขที่ ๓๘๓/๔ ถนนสี่พระยา โทร. ๐ ๒๒๓๖ ๔๐๕๕

สี่พระยา แขวงสี่พระยา เขตบางรัก ๐ ๒๒๓๓ ๐๗๘๒
กทม. ๑๐๕๐๐
๒๔ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๔ เลขที่ ๖๒ ถนนพหลโยธิน ๔๕ โทร. ๐ ๒๕๙๙ ๙๖๐๗

บางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
กทม.๑๐๙๐๐

๒๕ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๕ เลขที่ ๒ ถนนประชาอุทิศ โทร. ๐ ๒๒๗๖ ๓๙๐๔
หวยขวาง แขวง/เขตหวยขวาง
กทม. ๑๐๓๑๐





๖๐

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรโทรศัพท


๒๖ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๖ ถนนสายเทศบาล ๑ โทร. ๐ ๒๔๖๕ ๐๐๑๔
เจาคุณพระประยูรวงศ แขวงวัดกัลยาณ เขตธนบุรี
กทม. ๑๐๖๐๐

๒๗ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๗ เลขที่ ๓๕๙ ถนนเทอดไทย โทร. ๐ ๒๔๖๕ ๑๐๐๐
จันทร ฉิมพิบูลย แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี
กทม. ๑๐๖๐๐

๒๘ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๘ เลขที่ ๑๒๔/๑๖ ถนนกรุงธนบุรี โทร. ๐ ๒๔๓๗ ๒๐๐๙

กรุงธนบุรี แขวงบางลำภูลาง ๐ ๒๔๓๘ ๘๓๘๗
เขตคลองสาน กทม. ๑๐๖๐๐
๒๙ ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๙ เลขที่ ๒๗/๒๑ ริมถนน โทร. ๐ ๒๔๗๖ ๖๔๙๓–๙๖

ชวง นุชเนตร วุฒากาศ ๔๙ แขวงบางคอ
เขตจอมทอง กทม. ๑๐๑๕๐

๓๐ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๐ เลขที่ ๑๖๔/๗๙ ซอยกิตติชัย โทร. ๐ ๒๔๒๓ ๐๒๓๔
วัดเจาอาม ถนนบางขุนนนท แขวงบางขุนนนท
เขตบางกอกนอย กทม. ๑๐๗๐๐

๓๑ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๑ เลขที่ ๒๕๒ ซอยจรัญสนิทวงศ โทร. ๐ ๒๔๓๔ ๗๓๐๓–๕
เอิบ-จิตร ทังสุบุตร ๘๔/๑ ถนนจรัญสนิทวงศ

แขวงบางออ เขตบางพลัด
กทม. ๑๐๗๐๐
๓๒ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๒ เลขที่ ๙๑ ซอยสุขุมวิท ๖๔/๑ โทร. ๐ ๒๓๓๑ ๙๑๑๔

มาริษ ตินตมุสิก แขวงบางจาก เขตพระโขนง
กทม. ๑๐๒๖๐

๓๓ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๓ เลขที่ ๑๒๗ ซอยวังเดิม โทร. ๐ ๒๔๗๒ ๕๘๙๕
วัดหงสรัตนาราม ถนนวังเดิม แขวงวังเดิม
เขตบางกอกใหญ ๑๐๖๐๐

๓๔ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๔ เลขที่ ๑๕๑ ซอยสายทิพย โทร. ๐ ๒๓๓๑ ๙๔๓๘
โพธิ์ศรี สุขุมวิท ๕๖ ถนนสุขุมวิท

แขวงบางจาก เขตพระโขนง
กทม. ๑๐๒๖๐

๓๕ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๕ เลขที่ ๔ ซอยรามคำแหง ๔๐ โทร. ๐ ๒๓๗๕ ๓๕๕๐
หัวหมาก (เสริมมิตร) ถนนรามคำแหง
แขวงหัวหมาก เขตบางกะป

กทม. ๑๐๒๔๐





๖๑

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรโทรศัพท


๓๖ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๖ เลขที่ ๗๗๙/๒ เชิงสะพาน โทร. ๐ ๒๔๖๘ ๒๕๙๗
บุคคโล เจริญนคร ๘ ถนนเจริญนคร
แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี
กทม. ๑๐๖๐๐

๓๗ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๗ เลขที่ ๒๐๔๔ ถนนพัฒนาการ โทร. ๐ ๒๓๖๒ ๕๒๓๘–๔๐
ประสงค-สุดสาคร ตูจินดา แขวง/เขตสวนหลวง

กทม. ๑๐๒๕๐

๓๘ ศูนยบริการสาธารณสุข ๓๘ เลขที่ ๗๒ สี่แยกเกียกกาย โทร. ๐ ๒๔๖๘ ๒๕๙๗
จี๊ด ทองคำ บำเพ็ญ ถนนทหาร แขวงถนนนครไชยศรี
เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐

๓๙ ศูนยบริการสาธาณสุข ๓๙ เลขที่ ๔๖ ถนนราษฎรบูรณะ โทร. ๐ ๒๔๒๗ ๗๙๔๙

ราษฎรบูรณะ แขวง/เขตราษฎรบูรณะ ๐ ๒๔๒๘ ๔๔๐๖
กทม. ๑๐๑๔๐
๔๐ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔๐ เลขที่ ๕๗๘ ซอยเพชรเกษม ๙๐ โทร. ๐ ๒๔๒๑ ๒๑๔๗–๙

บางแค ถนนเพชรเกษม
แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค
กทม. ๑๐๑๖๐

๔๑ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔๑ เลขที่ ๑๓๙ ถ.อาจณรงค โทร. ๐ ๒๒๔๐ ๒๐๕๖
คลองเตย แขวง/เขตคลองเตย

กทม. ๑๐๒๕๐

๔๒ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔๒ เลขที่ ๑ ซอยพระรามที่ ๒ โทร. ๐ ๒๔๑๖ ๘๓๑๘
ถนอม ทองสิมา ซอย ๕๔ แขวงแสมดำ เขต
บางขุนเทียน กทม. ๑๐๑๕๐

๔๓ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔๓ เลขที่ ๓๙ หมู ๑ โทร. ๐ ๒๕๔๐ ๗๑๕๔
มีนบุรี ถนนสีหบุรานุกิจ แขวง/เขต ๐ ๒๕๔๐ ๕๖๑๕–๖

มีนบุรี กทม. ๑๐๕๑๐

๔๔ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔๔ เลขที่ ๙๖/๕ ม.๙ โทร. ๐ ๒๙๘๘ ๑๖๓๓
ลำผักชี หนองจอก ถนนสุวินทวงศ แขวงลำผักชี
เขตหนองจอก กทม. ๑๐๕๓๐

๔๕ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔๕ เลขที่ ๓๖๑ ม.๔ ถนนเคหะชุมชน โทร. ๐ ๒๕๔๓ ๐๗๔๖

รมเกลา ลาดกระบัง รมเกลา แขวงคลองสองตนนุน ๐ ๒๕๔๓ ๐๗๔๖
เขตลาดกระบัง กทม. ๑๐๕๒๐ ตอ ๔๐๔






๖๒

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรโทรศัพท


๔๖ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔๖ เลขที่ ๕๒๓/๒ แขวง/เขต โทร. ๐ ๒๓๒๙ ๐๓๒๐
กันตารัติอุทิศ ลาดกระบัง กทม. ๑๐๕๒๐

๔๗ ศูนยบริการสาธารณสุข ๔๗ เลขที่ ๒๘ ซอยบางแวก ๙๒ โทร. ๐ ๒๔๑๐ ๑๘๑๐

คลองขวาง แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ
กทม. ๑๐๑๖๐

๔๘ ศูนยบริการสาธารณสุช ๔๘ เลขที่ ๔๐ ถนนเลียบคลอง โทร. ๐ ๒๔๒๑ ๒๑๔๗–๙
นาควัชระอุทิศ ภาษีเจริญฝงเหนือ แขวง/เขต
หนองแขม กทม. ๑๐๑๖๒

๕๐ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๐ เลขที่ ๑๙๐ ม.๑ ถนนเสรีไทย โทร. ๐ ๒๓๗๕ ๒๘๙๗
บึงกุม แขวงคลองกุม เขตบึงกุม ๐ ๒๓๗๘ ๑๖๐๑
กทม. ๑๐๒๔๐

๕๑ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๑ เลขที่ ๑๒/๑๐ ซอยพหลโยธิน โทร. ๐ ๒๒๗๐ ๑๙๘๕
วัดไผตัน ๑๕ แขวงสามเสนใน ๐ ๒๒๗๙ ๘๙๗๒

เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐

๕๒ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๒ เลขที่ ๒๐๐๐/๓๐ ถนนประชา โทร. ๐ ๒๒๗๖ ๕๙๙๖
สามเสนนอก สงเคราะห แขวง/เขตดินแดง ๐ ๒๒๗๗ ๖๑๑๒
กทม. ๑๐๔๐๐

๕๓ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๓ หมูบานเคหะชุมชนทุงสองหอง โทร. ๐ ๒๕๗๕ ๒๖๕๐–๒
ทุงสองหอง หมู ๒ ถ.วิภาวดีรังสิต
แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่

กทม. ๑๐๒๑๐
๕๔ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๔ เลขที่ ๔๑๐ หมู ๒ โทร. ๐ ๒๔๒๖ ๓๕๑๔
ทัศนเอี่ยม ถนนพุทธบูชา แขวงบางมด

เขตทุงครุ กทม. ๑๐๑๔๐
๕๕ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๕ เลขที่ ๒๗/๔ ซอย ๔๘ โทร. ๐ ๒๒๙๔ ๓๒๔๗

เตชะสัมพันธ ถนนพระราม ๓ แขวงชองนนทรี
เขตยานนาวา กทม. ๑๐๑๒๐

๕๖ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๖ เลขที่ ๔๓/๑ หมู ๑๒ โทร. ๐ ๒๑๘๔ ๖๒๙๓–๕
ทับเจริญ ถนนนวลจันทร ซอยนวลจันทร
แขวง/เขตบึงกุม กทม. ๑๐๒๓๐

๕๗ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๗ เลขที่ ๒๒๖ หมู ๕ ถนนเฉลิม โทร. ๐ ๒๒๙๖ ๑๘๖๖
บุญเรือง ล้ำเลิศ พระเกียรติ ร.๙ แขวงหนองบอน
เขตประเวศ กทม. ๑๐๒๕๐





๖๓

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรโทรศัพท


๕๘ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๘ เลขที่ ๑/๑ ซอยสุขสวัสดิ์ ๓๐ โทร. ๐ ๒๔๒๗ ๗๕๑๒
ลอม-พิมเสน ฟกอุดม ถนนสุขสวัสดิ์ แขวงบางปะกอก
เขตราษฎรบูรณะ กทม. ๑๐๑๔๐

๕๙ ศูนยบริการสาธารณสุข ๕๙ เลขที่ ๔๖ ซอยประชาอุทิศ ๙๐ โทร. ๐ ๒๔๖๔ ๓๐๕๗
ทุงครุ ถนนประชาอุทิศ แขวง/เขตทุงครุ

กทม. ๑๐๑๔๐

๖๐ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๐ เลขที่ ๖๐ หมู ๔ ถนนสรงประชา โทร. ๐ ๒๕๖๕ ๕๒๕๗
รสสุคนธ ทโนชญากร แขวง/เขตดอนเมือง
กทม. ๑๐๒๑๐


๖๑ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๑ เลขที่ ๑๙/๕ หมู ๓ ซอยสายไหม โทร. ๐ ๒๕๓๖ ๐๑๖๓
สังวาล ทัสนารมย ๓๔ แขวง/เขตสายไหม
กทม. ๑๐๒๒๐

๖๒ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๒ เลขที่ ๖๘ ซอยศาลธนบุรี ๑๗ โทร. ๐ ๒๔๕๕ ๕๘๐๔
ตวงรัชฏ แยก ๕ ถนนสายศาลธนบุรี

แขวงบางหวา เขตภาษีเจริญ
กทม. ๑๐๑๖๐
๖๓ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๓ เลขที่ ๑/๑ ถนนเย็นจิต ๑๒ โทร. ๐ ๒๖๗๕ ๙๙๔๕–๖

สมาคมแตจิ๋ว แขวงทุงวัดดอน เขตสาทร
กทม. ๑๐๑๒๐

๖๔ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๔ เลขที่ ๑ ซอยเลียบคลองสามวา โทร. ๐ ๒๕๔๘ ๐๔๙๕–๘
คลองสามวา แขวงบางชัน เขตคลองสามวา ตอ ๒๒
กทม. ๑๐๕๑๐

๖๕ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๕ เลขที่ ๓ ซอยเอกชัย ๑๒๑ โทร. ๐ ๒๔๕๓ ๐๕๒๖
รักษาสุข บางบอน ถนนเอกชัย แขวง/เขตบางบอน

กทม. ๑๐๑๕๐
๖๖ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๖ เลขที่ ๔/๙๘ ซอยโชคชัย ๔ โทร. ๐ ๒๕๓๙ ๔๘๒๘
ตำหนักพระแมกวนอิม แยก ๓๙ หมู ๑๐ แขวง/เขต
ลาดพราว กทม. ๑๐๒๓๐

๖๗ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๗ เลขที่ ๓ ถนนอุทยาน โทร. ๐ ๒๔๔๑ ๔๖๘๐–๔
ทวีวัฒนา แขวง/เขตทวีวัฒนา กทม.

๖๘ ศูนยบริการสาธารณสุข ๖๘ เลขที่ ๑ ซอยรามคำแหง ๑๑๘ โทร. ๐ ๒๓๗๒ ๒๒๒๕
สะพานสูง แยก ๓๓ แขวง/เขตสะพานสูง
กทม. ๑๐๒๔๐





๖๔

๖.๔ สำนักการแพทย


ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรโทรศัพท

สำนักการแพทย ๕๑๔ ถนนหลวง โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๔๙๕๙
แขวงวัดเทพศิรินทร ๐ ๒๖๒๒ ๕๐๔๗
เขตปอมปราบ กทม. ๑๐๑๐๐


๑ โรงพยาบาลกลาง ๕๑๔ ถนนหลวง โทร. ๐ ๒๒๒๐ ๘๐๐๐
ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี แขวงวัดเทพศิรินทร ตอ ๑๐๘๑๐/๑๐๑๐๙
(OSCC) เขตปอมปราบ กทม. ๑๐๑๐๐

๒ โรงพยาบาลตากสิน ๕๔๓ ถนนสมเด็จเจาพระยา โทร. ๐ ๒๔๓๗ ๐๑๒๓

ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี แขวง/เขตคลองสาน ตอ ๑๑๑๑
(OSCC) กทม. ๑๐๖๐๐


๓ โรงพยาบาลเจริญกรุง ๘ ถนนเจริญกรุง แขวง/เขต โทร. ๐ ๒๒๘๙ ๗๐๑๗
ประชารักษ ศูนยพิทักษสิทธิเด็ก บางคอแหลม กทม. ๑๐๑๒๐

และสตรี (OSCC)

๔ โรงพยาบาลหลวงพอทวีศักดิ์ฯ ๓๙ หมู ๔ แขวง/เขตหนองแขม โทร. ๐ ๒๔๒๙ ๓๕๗๕-๘๑

ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี กทม. ๑๐๑๖๐ ตอ ๘๖๒๐/๘๖๒๑
(OSCC)


๕ โรงพยาบาลหนองจอก ๔๘ หมู ๒ ถนนเลียบวารี โทร. ๐ ๒๕๔๓ ๑๑๕๐
ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี แขวงกระทุมราย เขตหนองจอก ตอ ๒๕๔

(OSCC) กทม. ๑๐๕๓๐


๖ โรงพยาบาลลาดกระบัง ๒ ซ.ลาดกระบัง ๑๕ โทร. ๐ ๒๓๒๖ ๙๙๙๕
ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี ถนนลาดกระบัง แขวง/เขต ๐ ๒๓๒๖ ๗๗๑๑
(OSCC) ลาดกระบัง กทม. ๑๐๕๒๐ ตอ ๒๑๗


๗ โรงพยาบาลราชพิพัฒน ๙๑๙ หมู ๔ ถนนพุทธมนฑล โทร. ๐ ๒๔๒๑ ๒๒๒๒
ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี สาย ๓ แขวงบางไผ เขตบางแค ตอ ๘๘๒๙/๘๘๓๐
(OSCC) กทม. ๑๐๑๖๐



๘ โรงพยาบาลสิรินธร ๒๐ ซอยออนนุช ๙๐ โทร. ๐ ๒๓๒๘ ๖๙๐๐-๑๙
ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี แขวง/เขตประเวศ ตอ ๑๐๔๒๔
(OSSC) กทม. ๑๐๒๕๐








๖๕

๖.๕ สายดวนที่บริการชวยเหลือกลุมเด็ก เยาวชน และครอบครัวในดานตาง ๆ


สายดวน หมายเลข

สายดวนรับเรื่องราวรองทุกข ๑๕๕๕

สายดวนปรึกษาเอดสและทองไมพรอม ๑๖๖๓

สายดวนสุขภาพจิต ๑๓๒๓



๖.๖ สถานพยาบาลที่ใหบริการชวยเหลือและใหคำปรึกษาในดานจิตเวชแกเด็กและเยาวชน

ชื่อสถานพยาบาล/ที่อยู ขอมูลบริการ เบอรติดตอ

๑. ศูนยบริการสาธารณสุข ๓ ทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๑.๓๐ ๐ ๒๕๘๗ ๐๖๑๘

(กรุณาโทรสอบถามลวงหนากอน ๑ วัน) ๐ ๒๒๕๒ ๖๙๗๗๕
๒. ศูนยบริการสาธารณสุข ๔ วันอังคาร เวลา ๐๘.๐๐-๑๒.๐๐ น. ๐ ๒๒๔๖ ๑๕๕๓-๔
วันพุธ เวลา ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น. ๐ ๒๒๔๖ ๑๕๙๑

๓. ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๑ วันจันทร เวลา ๐๙.๐๐-๑๓.๐๐ น. ๐ ๒๓๙๑ ๖๐๘๒

วันอังคาร เวลา ๐๘.๐๐-๑๒.๐๐ น.
๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.
วันพุธ เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น.
๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.
วันพฤหัส เวลา ๐๘.๐๐-๑๒.๐๐ น.

วันศุกร เวลา ๐๘.๐๐-๑๒.๐๐ น.
(ศุกรเวนศุกร)

๔. ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๓ วันพฤหัสบดีและวันศุกร ๐ ๒๒๓๖ ๔๐๕
เวลา ๐๘.๐๐-๑๒.๐๐ น.

๕. ศูนยบริการสาธารณสุข ๒๔ วันอังคารและวันพฤหัสบดี ๐ ๒๕๗๙ ๑๓๔๒

เวลา ๐๘.๐๐-๑๑.๓๐ น. ๐ ๒๕๗๙ ๙๖๐๗
(กรุณาโทรสอบถามลวงหนา ๑ วัน)


๖.๗ สำนักงานเขต ๕๐ เขต ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม


ลำดับที่ สำนักงานเขต โทร./โทรสาร ภายใน

๑ คลองเตย ๐ ๒๒๔๐ ๒๔๘๗ ๕๐๓๕-๖
๒ คลองสาน ๐ ๒๔๓๘ ๗๑๗๖ ๕๐๘๕-๗

๓ คลองสามวา ๐ ๒๕๔๘ ๐๓๓๒ ๕๑๓๗-๔๐
๔ คันนายาว ๐ ๒๓๗๙ ๙๙๔๘-๙ ๕๑๗๒-๕





๖๖

ลำดับที่ สำนักงานเขต โทร./โทรสาร ภายใน

๕ จตุจักร ๐ ๒๕๑๓ ๙๙๕๔ ๕๒๓๔-๖

๖ จอมทอง ๐ ๒๔๒๗ ๖๖๗๒ ๕๒๘๖-๘๘
๗ ดอนเมือง ๐ ๒๕๖๕ ๙๔๑๑ ๕๓๓๗-๙
๘ ดินแดง ๐ ๒๒๔๕ ๒๖๕๔, ๐ ๒๒๔๕ ๑๖๑๓
ตอ ๕๓๘๗ ๕๓๘๖-๘๘

๙ ดุสิต ๐ ๒๒๔๑ ๔๕๐๔, ๐ ๒๒๔๓ ๕๓๑๑
ตอ ๕๔๓๙ ๕๔๓๗-๙
๑๐ ตลิ่งชัน ๐๒๔๓๔ ๓๑๔๘ ๕๔๘๖-๘
๑๑ ทวีวัฒนา ๐ ๒๔๔๑ ๔๙๗๓-๘๔ ตอ ๕๕๓๖ ๕๕๓๕-๖

๑๒ ทุงครุ ๐ ๒๔๖๔ ๔๓๙๑ ๕๕๘๗-๘
๑๓ ธนบุรี ๐ ๒๘๙๐ ๖๐๒๓
๐ ๒๔๖๕ ๐๐๒๕ ๕๖๓๘
๑๔ บางกะป ๐ ๒๓๗๗ ๕๔๙๔ ๕๗๘๙-๙๑

๑๕ บางกอกนอย ๐ ๒๔๓๔ ๙๐๗๗ ๕๖๘๘-๙
๑๖ บางกอกใหญ ๐ ๒๘๖๘ ๑๒๕๓ ๕๗๑๙
๑๗ บางขุนเทียน ๐ ๒๔๑๖ ๕๔๐๖ ๕๘๓๖-๙
๑๘ บางเขน ๐ ๒๕๒๑ ๐๖๖๖ ๕๘๘๔-๖

๑๙ บางคอแหลม ๐ ๒๒๙๑ ๒๓๔๑ ๕๙๓๖-๘
๒๐ บางแค ๐ ๒๔๕๔๕๘๔๙ ๕๙๘๙-๙๑
๒๑ บางซื่อ ๐ ๒๕๕๖ ๐๔๔๓ ๖๐๓๔-๖
๒๒ บางนา ๐ ๒๓๙๗ ๓๕๕๑ ๖๐๘๒-๔

๒๓ บางบอน ๐ ๒๔๕๐ ๓๒๘๑ ๖๑๒๕-๒๗
๒๔ บางพลัด ๐ ๒๔๓๔ ๖๓๗๐ ๖๑๘๘-๙๐
๒๕ บางรัก ๐ ๒๒๓๘ ๓๘๘๖ ๖๒๒๖-๙
๒๖ บึงกุม ๐ ๒๓๖๔ ๗๔๒๒ ๖๒๘๙-๙๐

๒๗ ปทุมวัน ๐ ๒๒๔๑ ๑๓๓๐ ๖๓๓๙-๔๑
๒๘ ประเวศ ๐ ๒๓๒๘ ๗๔๒๘ ๖๓๘๕-๗
๒๙ ปอมปราบศัตรูพาย ๐ ๒๒๘๒ ๔๑๙๖ ๖๔๓๓-๓๔
๓๐ พญาไท ๐ ๒๒๗๙ ๔๑๔๐-๓ ๖๔๘๓-๔

๓๑ พระนคร ๐ ๒๒๘๒ ๓๖๖๗ ๖๕๘๔-๕
๓๒ พระโขนง ๐ ๒๓๓๒ ๙๔๕๓ ๖๕๓๒-๓๓
๓๓ ภาษีเจริญ ๐ ๒๔๑๓ ๐๕๖๕ ๖๖๓๕-๗
๓๔ มีนบุรี ๐ ๒๕๔๐ ๗๙๐๑ ๖๖๘๖-๘๘

๓๕ ยานนาวา ๐ ๒๒๙๕ ๐๙๒๙ ๖๗๓๗-๙
๓๖ ราชเทวี ๐ ๒๓๕๔ ๔๒๐๒ ๖๗๘๔-๕๕






๖๗

ลำดับที่ สำนักงานเขต โทร / โทรสาร ภายใน

๓๗ ราษฎรบูรณะ ๐ ๒๔๒๘ ๔๘๘๔ ๖๘๓๖-๘

๓๘ ลาดกระบัง ๐ ๒๓๒๖ ๖๒๘๘ ๖๘๘๙-๙๒

๓๙ ลาดพราว ๐ ๒๕๓๙ ๗๗๗ ๖๖๙๓๖-๘
๔๐ วังทองหลาง ๐ ๒๕๓๘ ๕๓๕๐ ๖๙๘๙-๙๒
๔๑ วัฒนา ๐ ๒๓๘๑ ๗๙๓๔ ๗๐๓๒-๔

๔๒ สะพานสูง ๐ ๒๓๗๒ ๑๙๑๘-๒๓ ๗๑๓๕-๖

๔๓ สาทร ๐ ๒๒๑๑ ๐๘๘๑ ๗๒๓๙-๔๐
๔๔ สายไหม ๐ ๒๕๓๓ ๓๓๗๒ ๗๒๘๐-๓
๔๕ สัมพันธวงศ ๐ ๒๒๓๕ ๙๑๒๗ ๗๑๘๓-๕

๔๖ สวนหลวง ๐ ๒๓๒๒ ๔๖๖๗ ๗๐๘๖-๘

๔๗ หนองจอก ๐ ๒๕๔๓ ๑๐๙๙ ๗๓๘๘-๙๐
๔๘ หนองแขม ๐ ๒๔๒๑ ๔๘๑๖ ๗๓๓๔-๗
๔๙ หลักสี่ ๐ ๒๙๘๒ ๒๐๙๒ ๗๔๒๕-๗

๕๐ หวยขวาง ๐ ๒๒๗๕ ๔๒๓๔ ๗๔๘๖-๘




๖.๘ หนวยงานภาครัฐอื่น ๆ ที่สามารถประสานงานขอความอนุเคราะหสนับสนุนได ไดแก

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรติดตอ
ที่

๑ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็ก กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี โทร. ๐ ๒๒๘๑ ๑๔๔๙
และสตรี เลขที่ ๑ ถนนราชดำเนินนอก ๐ ๒๒๘๒ ๓๘๙๒
แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบ ๐ ๒๒๘๒ ๙๓๔๘
ศัตรูพาย กทม. ๑๐๓๓๐ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๑๔๔๙


๒ กรมกิจการเด็กและเยาวชน กรมกิจการเด็กและเยาวชน โทร. ๐ ๒๒๕๕ ๕๘๕๐-๗
เลขที่ ๖๑๘/๑ ถนนนิคมมักกะสัน ตอ ๒๗๔
เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทรสาร ๐ ๒๖๕๑ ๖๘๘๑

๓ ศูนยชวยเหลือสังคม ๑๓๐๐ กระทรวงพัฒนาสังคมและ โทร. ๐ ๒๖๕๙ ๖๕๓๓
สายดวน ๒๔ ชั่วโมง ความมั่นคงของมนุษย อาคาร โทรสาร ๐ ๒๖๕๙ ๖๕๓๐

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
เลขที่ ๑๐๓๔ ถนนกรุงเกษม
แขวงมหานาค เขตปอมปราบศัตรูพาย

กทม. ๑๐๑๐๐







๖๘

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรติดตอ
ที่
๔ บานพักเด็กและครอบครัว เลขที่ ๒๖๖ บริเวณสถานสงเคราะห โทร. ๐ ๒๓๕๔ ๗๕๘๐

กรุงเทพมหานคร เด็กหญิงบานราชวิถี ถนนพระราม ๖ ๐ ๒๓๕๔ ๗๕๘๒
แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี
กทม. ๑๐๔๐๐


๕ ศูนยเฉพาะกิจคุมครองและ กลุมพัฒนาระบบดูแลชวยเหลือ โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๑-๕๓
ชวยเหลือนักเรียน นักเรียนและการแนะแนว ตึก สพฐ. ๐ ๒๒๘๘ ๕๕๙๙
กระทรวงศึกษาธิการ ชั้น ๓ กระทรวงศึกษาธิการ โทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๔๐
เลขที่ ๓๑๙ วังจันทรเกษม
ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต

กทม. ๑๐๓๐๐

๖ สำนักงานอัยการสูงสุด อาคารหลักเมือง ถ.หนาหับเผย โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๘๑๒๑
แขวงพระบรมมหาราชวัง ตอ ๑
เขตพระนคร กทม. ๑๐๒๐๐ โทรสาร ๐๒๒๒ ๖๕๗๐๐


๗ สถานพินิจและคุมครองเด็ก สถานพินิจและคุมครองเด็กและ โทร. ๐ ๒๕๗๕ ๐๒๙๑-๓
และเยาวชนกรุงเทพมหานคร เยาวชนกรุงเทพมหานคร ตอ ๑๐๒, ๑๐๖
เลขที่ ๓๓๗ ถนนสรรพาวุธ โทรสาร ๐ ๒๕๗๕ ๐๐๙๑
แขวง/เขตบางนา กทม. ๑๐๒๖๐


๘ ศูนยวิจัยเพื่อสรางเสริม คณะแพทยศาสตร โทร. ๐ ๒๖๔๔ ๙๐๘๐
ความปลอดภัยและปองกัน โรงพยาบาลรามาธิบดี ตอ ๑๕
การบาดเจ็บในเด็ก ถนนพระราม ๖ เขตราชเทวี ๐ ๒๒๐๑ ๒๓๘๒
โรงพยาบาลรามาธิบดี กทม. ๑๐๔๐๐

































๖๙

๖.๙ หนวยงานภาคเอกชนที่สามารถประสานงานขอความอนุเคราะห
และขอรับการสนับสนุน ไดแก

ลำดับ หนวยงาน ที่อยู เบอรติดตอ

ที่
๑ สหทัยมูลนิธิ เลขที่ ๘๕๐/๓๓ ซอยปรีดีพนมยงค ๓๖ โทร. ๐ ๒๓๘๑ ๘๘๓๔-๖
สุขุมวิท ๗๑ แขวงคลองตันเหนือ ๐ ๒๓๘๑ ๘๘๓๘
เขตวัฒนา กทม. ๑๐๑๑๐


๒ มูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก เลขที่ ๙๗๙ ถนนจรัญสนิทวงศ โทร. ๐ ๒๔๑๒ ๑๑๙๖
แขวงวัดทาพระ เขตบางกอกใหญ ๐๘ ๑๙๑๙ ๙๑๒๒
กทม. ๑๐๖๐๐ ๐ ๒๔๑๒ ๙๘๓๓

๓ สมาคมนักสังคมสงเคราะห เลขที่ ๒๕๗ ถนนพระรามที่ ๖ โทร. ๐ ๒๓๕๔ ๗๕๓๓
แหงประเทศไทย แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี
กทม. ๑๐๔๐๐

๔ สมาคมสงเสริมสถานภาพ เลขที่ ๕๐๑/๑ ถนนเตชะตุงคะ โทร. ๐ ๒๙๒๙ ๒๓๐๑-๗
สตรี แขวงสีกัน เขตดอนเมือง ตอ ๑๐๙, ๑๑๓
กทม. ๑๐๒๑๐ โทรสาร ๐ ๒๙๒๙ ๒๓๐๐


๕ มูลนิธิสงเสริมการพัฒนา เลขที่ ๑๐๑/๑๑ เคหะคลองเตย ๔ โทร. ๖๗๑๕๓๑๓
บุคคล ถนนดำรงลัทธิพิพัฒน เขตคลองเตย โทรสาร ๐ ๒๖๗๑ ๗๐๒๘
กทม. ๑๐๑๑๐

๖ มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก เลขที่ ๑๔๓/๑๐๙-๑๑๑ โทร. ๐ ๒๔๓๓ ๖๒๙๒
หมูบานปนเกลาพัฒนา
ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอัมรินทร
เขตบางกอกนอย กทม. ๑๐๗๐๐

๗ มูลนิธิสรางสรรคเด็ก เลขที่ ๑๐๐/๔๗๕ ซอยแจงวัฒนะ ๑๐ โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๓๗๕๓
เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐


๘ มูลนิธิสายเด็ก ซอยนานา ถนนไมตรีจิตต โทร. ๐ ๒๖๒๓ ๓๘๑๔
แขวงปอมปราบ เขตปอมปราบศัตรูพาย
กทม. ๑๐๑๐๐



๗. มูลนิธิบานพระพร
มูลนิธิบานพระพรเดิมชื่อวา พันธกิจเรือนจำคริสเตียน ไดกอตั้งเมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๔

โดยศาสนาจารยแจค แอล มาติน ซึ่งเปนมิชชันนารีที่มาจากประเทศสหรัฐอเมริกา ไดรับอนุญาต

จากกรมราชทันฑในสมัยนั้นใหเขาอบรมและพัฒนาดานการศึกษาแกผูตองขัง ตอมามีผูตองขัง
จำนวนมากเขามารวม การอบรมชีวิตและการพัฒนาการศึกษาใหแกผูตองขังไดเกิดผลและมี

การขยายไปสูหลายเรือนจำ ดวยภารกิจชวยเหลือผูพนโทษเพิ่มจำนวนมากขึ้นและสถานที่




๗๐

ดำเนินงานไมเพียงพอ ดังนั้น ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ บานกึ่งวิถีบานพระพรจึงยายมาอยูที่ชุมชน

บึงพระราม ๙ ถนนริมคลองลาดพราว เขตหวยขวาง โดยทางมูลนิธิไดกอสรางอาคาร ๒ หลัง
บนพื้นที่ของทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ๒ ไร ๗๐ ตารางวา


นอกจากภารกิจในการเขาอบรมพัฒนาชีวิตผูตองขังในเรือนจำและสถานพินิจตาง ๆ แลว
ทางมูลนิธิไดใหความสำคัญแกการชวยเหลือผูพนโทษทั้งผูใหญและเด็กหรือเยาวชน เพื่อชวยเหลือ

สงเสริมและสนับสนุนใหคนเหลานี้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอาชีพการงานที่สุจริต และสามารถดำรง
ชีวิตในสังคมไดอยางมั่นคง

อีกภารกิจหนึ่งที่ทางมูลนิธิไดดำเนินงานคือ การใหความชวยเหลือลูกนักโทษ โดยมูลนิธิ

ไดใหความอุปการะแกเด็กที่เกิดจากแมที่อยูในเรือนจำ และลูกนักโทษที่พอแมอยูในเรือนจำและ

ไมสามารถดูแลได มูลนิธิไดรับเด็กเหลานี้เขามาดูแลเลี้ยงดูและสนับสนุนการศึกษา โดยหวังวา
เด็กเหลานี้จะเติบโตมีคุณภาพ เปนเด็กดี มีความรู มีการศึกษา พรอมจะเปนเสาหลักของครอบครัว

ในอนาคตขางหนา ปจจุบันมีโครงการ “เยาวชนเรียนรูเกษตรกรรมการเลี้ยงจิ้งหรีด” เพื่อเพิ่ม
ชองทางทำมาหากินแกเด็กและเยาวชน






















































๗๑











รายนามผูพิพากษาสมทบรวมบริจาคเงิน

ให โครงการติดตามดวยความหวงใย




ที่ ชื่อ-สกุล จำนวนเงิน

๑ นางนิลุบล ลิ่มพงศพันธุ ๑๐๐,๐๐๐.๐๐

๒ นางเกศรินทร คุณาวิชยานนท ๑๐๐,๐๐๐.๐๐
๓ นางเบญญาภา วิทยฐานกรณ ๑๐๐,๐๐๐.๐๐
๔ นางปนัดดา เจริญจิตมั่น ๑๐๐,๐๐๐.๐๐
๕ นางมาลินี ลีนุตพงษ ๕๐,๐๐๐.๐๐

๖ นางชลิดา อนันตรัมพร ๕๐,๐๐๐.๐๐
๗ นางรัตนา ชินบุตรานนท ๓๐,๐๐๐.๐๐
๘ นางอรวรรณ ศิริภักดี ๒๐,๐๐๐.๐๐

๙ นางบุญนาค คลังสุภาวิพัฒน ๒๐,๐๐๐.๐๐
๑๐ นางอารีเอื้อ สนใจ ๒๐,๐๐๐.๐๐
๑๑ นายบุญลํ้า จิตกรุณาวงศ ๒๐,๐๐๐.๐๐
๑๒ นางเครือวัลย วงศรักมิตร ๒๐,๐๐๐.๐๐

๑๓ นางสาวผองเพ็ญ อาชาเทวัญ ๑๐,๐๐๐.๐๐
๑๔ นายโสภณ ฮาวบุญปน ๑๐,๐๐๐.๐๐
๑๕ นางนงลักษณ รุงอนันตชัย ๑๐,๐๐๐.๐๐

๑๖ นางวัลลภา ศิวะเดชาเทพ ๑๐,๐๐๐.๐๐
๑๗ นางอำภา รุงปติ ๑๐,๐๐๐.๐๐
๑๘ นางพรทิพย ปญญาสกุลวงศ ๑๐,๐๐๐.๐๐
๑๙ นางวีนุกุล นีระสิงห ๑๐,๐๐๐.๐๐

๒๐ นางพรทิพา ประดิษฐสุขถาวร ๑๐,๐๐๐.๐๐
๒๑ นางนาฏยา ชูสวัสดิชัย ๑๐,๐๐๐.๐๐
๒๒ นางศรีสุดา ทาเจริญ ๑๐,๐๐๐.๐๐

๒๓ นางสิริลักษณ จงธรรมคุณ ๑๐,๐๐๐.๐๐
๒๔ นางณชพร ตัณฑสิทธิ์ ๑๐,๐๐๐.๐๐
๒๕ นางอิสรีย ศิริธนาภิรมย ๑๐,๐๐๐.๐๐
๒๖ นางสุพิชา ศรีธนภัครางกูร ๑๐,๐๐๐.๐๐
๒๗ นางสาวณัฐธยาน โยธาประเสริฐ ๑๐,๐๐๐.๐๐

๒๘ นางวรวดี พฤกษานานนท ๑๐,๐๐๐.๐๐
๒๙ นายพรชัย พรศิริโกศล ๑๐,๐๐๐.๐๐
๓๐ นางศรีสุรัตน พูลสวัสดิ์ ๑๐,๐๐๐.๐๐

๓๑ นางจุฑาทิพย เลิศปรีชาภักดี ๑๐,๐๐๐.๐๐
๓๒ นางวิวรรณ จตุจินดา ๑๐,๐๐๐.๐๐
๓๓ นางวไลลักษณ บุญลือ ๑๐,๐๐๐.๐๐

ที่ ชื่อ-สกุล จำนวนเงิน

๓๔ นางละไมพร เลิศอมรสกุลชัย ๑๐,๐๐๐.๐๐

๓๕ นางพิชยา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ๑๐,๐๐๐.๐๐
๓๖ นางนุชจรี พงษเจริญ ๑๐,๐๐๐.๐๐
๓๗ นางสาวจิรารัตน สิงหสูถํ้า ๑๐,๐๐๐.๐๐
๓๘ นางอังสนา ชีวินศิริวัฒน ๑๐,๐๐๐.๐๐

๓๙ นางประนอมวรรณ กิจศรีโอภาค ๑๐,๐๐๐.๐๐
๔๐ นางจิดาภา เหมะธุลิน ๑๐,๐๐๐.๐๐
๔๑ นางจุรีรัตน ภารา ๑๐,๐๐๐.๐๐
๔๒ นางปณิชา รักอำนวยกิจ ๑๐,๐๐๐.๐๐

๔๓ นางปนัดดา รักษาแกว ๑๐,๐๐๐.๐๐
๔๔ นางสุนทรี จรรโลงบุตร ๑๐,๐๐๐.๐๐
๔๕ นางมัทนา เย็นเปรม ๑๐,๐๐๐.๐๐
๔๖ นางศรีสุดา เลิศยิ่งเจริญชัย ๑๐,๐๐๐.๐๐

๔๗ นางฉวีวรรณ เกียรติโชคชัยกุล ๑๐,๐๐๐.๐๐
๔๘ นางกัญญา วรรณโกวิท ๑๐,๐๐๐.๐๐
๔๙ นางสุพินดา เอื้อวัฒนสกุล ๑๐,๐๐๐.๐๐
๕๐ นางอาริญา ปราสาททองโอสถ ๑๐,๐๐๐.๐๐

๕๑ นางสาวอรวรรณ พัฒนพล ๑๐,๐๐๐.๐๐
๕๒ นายปวิตร เลขะวณิช ๕,๐๐๐.๐๐
๕๓ นางเยาวลักษณ เขียวเจริญ ๒,๐๐๐.๐๐
๕๔ นางสุวินิต อุบลเลิศ ๒,๐๐๐.๐๐

๕๕ นางฉลวยพรรณ สุขเกื้อ ๒,๐๐๐.๐๐

๑,๐๓๑,๐๐๐.๐๐


ยอดเงินบริจาครวมทั้งสิ้น ๑,๐๓๑,๐๐๐.๐๐

จัดทำโดย

ศูนยติดตามดวยความหวงใย




คณะที่ปรึกษา

นางอโนชา ชีวิตโสภณ อธิบดีผูพิพากษาศาลเยาวชนและ

ครอบครัวกลาง
นายภัทรศักดิ์ ศิริสินธุว รองอธิบดีีผูพิพากษาศาลเยาวชนและ

ครอบครัวกลาง
นายธนะ สุจริตกุล ผูพิพากษาศาลเยาวชนและ
ครอบครัวกลาง

ดร. นิลุบล ลิ่มพงศพันธุ ประธานโครงการศูนยติดตาม
ดวยความหวงใย



คณะผูจัดทำ

นางสาวอัมภัสชา ดิษฐอำนาจ เลขานุการศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

นางสาวอรุโณทัย คงมงคล นักจิตวิทยาปฏิบัติการ
นายสุรชัย กลึงพุดซา เจาหนาที่ศาลยุติธรรม
นางสาวณัฐพร ปญญาประดิษฐ นิติกร

นางสาวผองเพ็ญ อาชาเทวัญ ผูพิพากษาสมทบฯ



ผูใหการสนับสนุนงบประมาณในการจัดพิมพ


๑. กองทุนผูพิพากษาสมทบ สนับสนุน ๒๕,๐๐๐ บาท
๒. ดร. นิลุบล ลิ่มพงศพันธุ ผูพิพากษาสมทบฯ สนับสนุน ๑๕,๐๐๐ บาท
๓. นางบุญนาค คลังสุภาวิพัฒน ผูพิพากษาสมทบฯ สนับสนุน ๑๐,๐๐๐ บาท

๔. นางรัตนา ชินบุตรานนท ผูพิพากษาสมทบฯ สนับสนุน ๑๐,๐๐๐ บาท



ผูออกแบบปก

นางสาวเปรมิกา ชีวิตโสภณ



ผูจัดพิมพ
บริษัท สกายบุกส จำกัด




Click to View FlipBook Version