The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by datlovepum, 2021-06-26 22:56:46

การบริหารจัดการศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลวัดเกต อำเภเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่

งานวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

191

4. ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินด้านศิลปวฒั นธรรม เรื่อง การฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง (เชิง)

จากการถ่ายทอดความรู้ของคุณลุงสมหวงั ฤทธิเดช ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นที่ท่านเชี่ยวชาญ
ไดแ้ ก่ ดา้ นศิลปวฒั นธรรม เรื่อง การฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง (เชิง) โดยท่านไดถ้ ่ายทอดขอ้ มูลและจาก
การคน้ ควา้ ขอ้ มูลเพิ่มเติมของผวู้ จิ ยั ดงั น้ี

4.1 การฟ้อนดาบ
การฟ้อนดาบ เป็ นศิลปการแสดงที่นิยมกนั มากและเป็ นท่ีรู้จกั กนั อยา่ งแพร่หลายในเขต
ลา้ นนา โดยเฉพาะจงั หวดั เชียงใหม่น้นั ไดช้ ่ือว่าเป็ นศูนยก์ ลางของศิลปวฒั นธรรมประเพณีในเขต
ภาคเหนือตอนบน มักจะจัดให้มีการแสดงฟ้อนดาบควบคู่ไปกับการฟ้อนท่ีเป็ นท่ีรู้จักของ
นกั ท่องเที่ยวเป็ นอยางดี เช่น ฟ้อนเล็บ ฟ้อนน้อยไชยา ฯลฯ ในเทศกาลที่สาคญั ๆ ของจงั หวดั ซ่ึง
บางคร้ังก็ถึงกบั มีการประกวดแข่งขนั การฟ้อนดาบเลยทีเดียว นอกจากน้นั บางคร้ังหน่วยงานของรัฐ
หรือเอกชน เช่นโรงแรมต่าง ๆ ก็มกั จะจดั การแสดงฟ้อนดาบไวร้ วมกบั การแสดงอื่น ๆ ในงาน
ต้อนรับแขกเมืองหรื อนักท่องเท่ียวผู้มาเยือนในงานขันโตกต่าง ๆ อยู่เสมอ (ออนไลน์
https://chananrog2015. wordpress.com/2014/10/07/ฟ้อนดาบ-ฟ้อนเจิง/ : 1 พฤศจิกายน 2559)
4.2 การฟ้อนเจิง
การฟ้อนเจิง หรือ ฟ้อนเชิง เป็ นการฟ้อนแบบมือเปล่าที่มีลกั ษณะอนั เน่ืองดว้ ยการต่อสู้มีท้งั
การต่อสู้เพ่ือการป้องกันตัวและการต่อสู้ท่ีต้องการผลแพ้ชนะกัน คาว่า “เจิง” หมายถึง “เชิง”
ฟ้อนเจิง ก็คือการฟ้อนที่มีลวดลายหรือช้นั เชิง ในการต่อสู้นนั่ เอง แต่เดิมคงจะเป็ นการต่อสู้ที่ใชอ้ ยู่
ในชีวิตประจาวนั จริงๆ หรือใช้ต่อ สู้ในการรบหรือการทาสงครามกัน ซ่ึงต้องอาศัยช้ันเชิง
ความสามารถมาก เพราะเป็ น การต่อสู้แบบประชิดตวั ดว้ ยมือเปล่าและดว้ ยอาวธุ ต่อมาความจาเป็ น
ในการตอ่ สู้เช่น น้นั หมดไป จึงนาเชิงน้นั มาใชเ้ พื่อแสดงความสวยงามในการฟ้อนเป็นสาคญั และใช้
ในโอกาสตา่ งๆ (ออนไลน์ http://www.laksanathai.com/book3/p341.aspx : 1 พฤศจิกายน 2559)

192

ข้นั ตอนการนานักเรียนไปทศั นศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน

ข้ันตอนที่ 1 การสารวจความต้องการของนักเรียนและผู้ปกครองในการไปทศั นศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ

1.1 ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก เทศบาลนครเชียงใหม่ จะมีการประชุมผปู้ กครองภาคเรียนละ 1 คร้ัง
เพ่ือเสนอนโยบายการบริหารจดั การศึกษา และผลการดาเนินงานตามโครงการต่าง ๆ ในรอบปี ท่ี
ผา่ นมา ซ่ึงครูผรู้ ับผดิ ชอบโครงการทศั นศึกษาในแต่ละปี (แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น) จะเสนอ
แหล่งเรียนรู้ที่นักเรียนสนใจ และเป็ นประโยชน์ในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก
โดยให้ผูป้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั นักเรียนในท่ีประชุมลง
ความเห็น โดยยดึ ตามมติของท่ีประชุมเลือกแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นในแตล่ ะปี

ข้นั ตอนที่ 2 การจัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ และการตดิ ต่อประสานงาน
2.1 ครูผรู้ ับผิดชอบโครงการทศั นศึกษา (แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน) จดั ทาเอกสารเพ่ือ

เสนอต่อหวั หนา้ สถานศึกษา ดงั น้ี
- รายละเอียดของโครงการทศั นศึกษา (แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น)
- คาสัง่ หนา้ ที่ครู / เจา้ หนา้ ท่ีในการปฏิบตั ิงานแต่ละฝ่ าย
- รายช่ือนกั เรียน
- หนงั สือจากหน่วยงานติดตอ่ วทิ ยากร / ผทู้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินที่ใหค้ วามรู้แก่นกั เรียน
- หนงั สือขออนุญาตใชพ้ าหนะของหน่วยงาน
- หนงั สือขออนุญาตผปู้ กครองนานกั เรียนไปทศั นศึกษา
หมายเหตุ ทาเอกสารสาเนาคู่ฉบบั ทุกรายการเกบ็ ไวเ้ ป็นหลกั ฐานของสถานศึกษา
2.2 เม่ือไดร้ ับการอนุมตั ิโครงการจากหัวหน้าสถานศึกษา และลงชื่อเรียบร้อยแลว้ ให้ครู

ผรู้ ับผดิ ชอบงานแตล่ ะฝ่ ายดาเนินการ ดงั น้ี
- สาเนาคาส่ังหนา้ ที่ครู / เจา้ หนา้ ที่ในการปฏิบตั ิงานแต่ละฝ่ าย แจง้ ผปู้ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีและเซ็น

รับทราบคาสงั่
- นาหนงั สือจากหน่วยงานติดต่อวทิ ยากร / ผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินท่ีให้ความรู้แก่นกั เรียน

สอบถามรายละเอียดเบ้ืองตน้ และนดั หมายวนั เวลาใหช้ ดั เจน
- ส่งหนงั สือขออนุญาตใชพ้ าหนะของหน่วยงาน ตามวนั เวลาในการไปทศั นศึกษา และแจง้

การไปราชการใหห้ น่วยงานตน้ สงั กดั ทราบ

193

- ส่งหนังสือขออนุญาตนานักเรียนไปทศั นศึกษาให้แก่ผูป้ กครองทุกคน และติดตามผล
จานวนท่ีผปู้ กครองตอบรับ และแจง้ จานวนนกั เรียนไปทศั นศึกษาที่แน่นอนใหห้ วั หนา้ สถานศึกษา
ทราบ

- จดั ทาเอกสารการขอเบิกจ่ายเงินตามรายละเอียดของโครงการทัศนศึกษา นาส่งฝ่ าย
การเงินของหน่วยงานเพือ่ ดาเนินการ

ข้นั ตอนท่ี 3 การดาเนินงาน
คณ ะครู และนักเรี ยนที่ ได้รับการอนุ ญ าตเดิ นทางไปทัศนศึ กษ าแห ล่งเรี ยนรู้ ภูมิ ปั ญ ญ า

ทอ้ งถิ่นตามวนั เวลา และสถานที่ที่กาหนด

ข้นั ที่ 4 เมื่อเสร็จสิ้นภารกจิ แล้ว ผู้รับผดิ ชอบรายงานประกอบด้วยเอกสารดังนี้
1. แบบรายงานการพานกั เรียนไปนอกสถานศึกษา
2. คาส่งั ของโรงเรียนที่มีลายเซ็นผปู้ ฏิบตั ิหนา้ ที่
3. แบบรายงานการละเวน้ ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของครู (ถา้ มี)
4. ใบสาคญั เบิกเงินของครูที่มีลายเซ็น
5. รายละเอียดในการเบิกคา่ ใชจ้ ่าย
6. โครงการฯ
7. แบบรายงานการประเมินผลโครงการ
8. เอกสาร/ภาพถ่าย

194

ผู้ทรงภูมปิ ัญญาของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่

1. พระรังสิมนั ตุ์ ฉายาญาณโสภโณ
ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ นความเช่ือและศาสนา
เรื่อง ความเชื่อในศาสนาพทุ ธ

2. อาจารยด์ าวประกาย บวั ลอ้ ม
ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินดา้ นประเพณีและพธิ ีกรรม
เร่ือง เคร่ืองสักการะลา้ นนา

3. แมจ่ นั ทร์ทิพย์ ทบั ทิมศรี
ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินดา้ นอาหารและผกั พ้ืนบา้ น
เร่ือง อาหารเมืองเหนือ

4. คุณลุงสมหวงั ฤทธิเดช
ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินดา้ นศิลปวฒั นธรรม
เร่ือง การฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง (เชิง)

หมายเหตุ สามารถติดต่อวิทยากรผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั
เชียงใหม่ ได้ท่ีหมายเลขโทรศัพท์ 0-5324-3550 หรื อตามท่ีอยู่ 6 ถนนเจริ ญราษฎร์ ตาบล
วดั เกต อาเภอเมืองเชียงใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่ 50000

203

ภาคผนวก ซ

หนังสือขออนุญาตเกบ็ ข้อมูลเพื่อทาวทิ ยานิพนธ์

204

205

206

207

208

209

210

211

212

213

214

215

216

217

218

219

220

221

222


Click to View FlipBook Version