The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by datlovepum, 2021-06-26 22:56:46

การบริหารจัดการศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลวัดเกต อำเภเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่

งานวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

91

ตารางท่ี 4.4 (ต่อ)

รายการประเมิน ระดบั
µ  ความพงึ

พอใจ

5. ความเหมาะสมของขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น 4.54 0.73 มากท่ีสุด
ของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ ในการจดั

กิจกรรมเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวยั ท้ัง 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน

ร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ดา้ นสังคมและดา้ นสติปัญญา มีความ

เหมาะสมตอ่ วยั ของผเู้ รียน

1. ความเช่ือในศาสนาพุทธ 2. เครื่องสกั การะลา้ นนา

3. อาหารเมืองเหนือ 4. การฟ้อนดาบ ฟ้องเจิง (เชิง)

6. สถานที่ท่ีใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ วดั เกต 4.61 0.58 มากท่ีสุด
และศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่
7. ผู้ปกครองมีความไว้วางใจและเช่ือมั่นในคุณภาพ 4.85 0.36 มากที่สุด
การจดั การเรียนรู้โดยการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาท้องถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั
เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
เทศบาลนครเชียงใหมใ่ นคร้ังน้ี
8. ผูป้ กครองเห็นประโยชน์ และความสาคญั ของแหล่ง 4.71 0.46 มากท่ีสุด
เรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนย์
พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่

รวม 4.44 0.63 มาก

จากตารางท่ี 4.4 พบว่า ความพึงพอใจของผูป้ กครองที่มีต่อการบริหารจดั การศึกษา
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั
ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ โดยรวมอยูใ่ นระดบั มาก ค่าเฉล่ีย 4.44 ค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน 0.63 พิจารณาเป็ นรายขอ้ ตามลาดบั จากมากไปหาน้อย คือ อนั ดบั แรกผปู้ กครองมีความ
ไวว้ างใจและเช่ือมน่ั ในคุณภาพการจดั การเรียนรู้โดยการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา

92

ทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก
เทศบาลนครเชียงใหม่ในคร้ังน้ี คิดเป็ นค่าเฉล่ีย 4.85 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.36 รองลงมาคือ
ผูป้ กครองเห็นประโยชน์และความสาคญั ของแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินในการพฒั นาเด็ก
ปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ คิดเป็ นค่าเฉล่ีย 4.71 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
0.46 โดยสถานที่ที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ วดั เกตและศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนคร
เชียงใหม่ คิดเป็ นค่าเฉลี่ย 4.61 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.58 และขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น
ของตาบลวดั เกตในการจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ท้งั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์
ดา้ นสังคม และดา้ นสติปัญญา มีความเหมาะสมต่อวยั ของผูเ้ รียน คิดเป็ นค่าเฉลี่ย 4.54 ค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน 0.73 อีกท้งั ผูป้ กครองไดร้ ับทราบและมีความเขา้ ใจวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของการ
บริหารจัดการศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินในคร้ังน้ีอย่างชัดเจน คิดเป็ นค่าเฉล่ีย 4.71
ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.46 รวมถึงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กช้ีแจงข้อมูลให้ผูป้ กครองได้ทราบอย่าง
เหมาะสม (ช้ีแจงการดาเนินงานในการประชุมผูป้ กครอง) คิดเป็ นค่าเฉล่ีย 4.44 ค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน 0.76 ซ่ึงผปู้ กครองไดม้ ีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนขอ้ มูลกบั ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กสาหรับใช้
เป็นขอ้ มูลในการหาวธิ ีบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ของ
พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ (เสนอวิธี / ความคิดเห็นในการประชุมผูป้ กครอง) คิดเป็ น
ค่าเฉลี่ย 4.07 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.59 ส่วนขอ้ ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ผูป้ กครองเห็นว่า
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กยงั ขาดการจดั ลาดบั ข้นั ตอนการดาเนินงานการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นอยา่ งเป็นระบบ คิดเป็นค่าเฉลี่ย 3.73 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.86 ตามลาดบั

93

ตารางที่ 4.5 การวเิ คราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเพ่มิ เตมิ ของผู้ปกครองทม่ี ีต่อการบริหารจัดการศึกษา
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลวัดเกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

ความคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ จานวน ร้อยละ
59 คน 49.17
1. ครูควรเก็บขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นใน 25 คน 20.83
ชุมชนให้เป็ นปั จจุบันเพ่ือเป็ นประโยชน์ต่อการ
นามาใชใ้ นการพฒั นาการเรียนรู้ของเดก็ 32 คน 26.67

2. ครูควรเก็บขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นใน
ชุมชนใกล้เคียงกบั ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนคร
เชียงใหมม่ ากกวา่ 1 ชุมชน ไดแ้ ก่ ชุมชนวดั เกต ชุมชน
หนองหอย ชุมชนรถไฟ เป็ นต้น เพ่ือเปิ ดโอกาสให้
เด็กไดเ้ รียนรู้อยา่ งหลากหลายมากข้ึน
3. ควรเปิ ดโอกาสให้ผูป้ กครองได้เสนอแนะแหล่ง
เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินต่าง ๆ ท่ีเคยพบเห็นและ
เล็งเห็นว่ามีประโยชน์สาหรับเด็กปฐมวยั ของศูนย์
พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหมใ่ หไ้ ดเ้ รียนรู้

จากตารางท่ี 4.5 ผูป้ กครองมีความคิดเห็นเพ่ิมเติม ดงั น้ี ผปู้ กครองมีความคิดเห็นใหค้ รู
ควรเก็บขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นในชุมชนให้เป็ นปัจจุบนั เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อการ
นามาใชใ้ นการพฒั นาการเรียนรู้ของเด็ก ร้อยละ 49.17 และครูควรเกบ็ ขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่นในชุมชนใกล้เคียงกับศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่มากกว่า 1 ชุมชน ได้แก่
ชุมชนวดั เกต ชุมชนหนองหอย ชุมชนรถไฟ เป็ นตน้ เพื่อเปิ ดโอกาสให้เด็กไดเ้ รียนรู้อยา่ งหลากหลาย

มากข้ึน ร้อยละ 20.83 อีกท้งั ควรเปิ ดโอกาสให้ผูป้ กครองได้เสนอแนะแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ินต่าง ๆ ท่ีเคยพบเห็นและเล็งเห็นว่ามีประโยชน์สาหรับเด็กปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก
เทศบาลนครเชียงใหม่ใหไ้ ดเ้ รียนรู้ ร้อยละ 26.67

94

ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานการบริหารจัดการศึกษาแหล่ง
เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลวัดเกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยใน
ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

การบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง
จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวยั ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ ในการ
ดาเนินงานพบปัญหาและอุปสรรค ดงั น้ี

1. การขอข้อมูลดิบจากผู้ทรงภูมิปัญญาท้องถ่ินของตาบลวดั เกต 4 ท่าน จากการ
สัมภาษณ์ ตอ้ งนดั เวลาในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลหลายคร้ัง เนื่องจากผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นติด
ภารกิจในการปฏิบตั ิงานของตนเอง ผูว้ ิจยั จึงแกป้ ัญหาโดยตอ้ งออกไปเก็บขอ้ มูลหลายคร้ัง เพ่ือให้
ไดข้ อ้ มูลนามาเป็ นฐานในการจดั ทานวตั กรรม “คู่มือการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก
เทศบาลนครเชียงใหม่”

2. การนานกั เรียนไปเรียนรู้นอกสถานท่ี ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากผูป้ กครอง ในบางราย
ไม่อนุญาตให้นักเรียนไปทากิจกรรมร่วมกบั เพ่ือน นักเรียนจึงขาดโอกาสที่จะได้รับความรู้จาก
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นในชุมชน โดยครูไดต้ ิดต่อผปู้ กครองช้ีแจงรายละเอียด และประโยชน์
ในการพานกั เรียนไปเรียนรู้นอกสถานท่ี อีกท้งั อนุญาตให้ผูป้ กครองรายน้นั ร่วมเดินทางไปเรียนรู้
พร้อมกบั คณะครูและนักเรียนคนอ่ืน ๆ ได้ เพ่ือแกป้ ัญหาให้นักเรียนไดม้ ีโอกาสเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ินในชุมชนร่วมกบั ผอู้ ่ืน

3. ผูป้ กครองบางคนไม่เขา้ ใจภาษาไทย ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ ผูว้ จิ ยั จึงตอ้ งเก็บ
ขอ้ มูลโดยการอ่านให้ฟัง ช้ีแจงขอ้ ประเมินทีละขอ้ เพ่ือถามความคิดเห็นและบนั ทึกขอ้ มูลให้ ทาให้
เกิดความล่าชา้ ในการเกบ็ ขอ้ มูล

บทท่ี 5

สรุป อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

การวิจยั ในคร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ไดท้ าวจิ ยั เรื่อง การบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก
เทศบาลนครเชียงใหม่ ผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนินการสรุปผล อภิปรายผล และใหข้ อ้ เสนอแนะงานวจิ ยั ไว้ ดงั น้ี

สรุปผลการวจิ ัย
การวิจยั เร่ือง การบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต

อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่
ผวู้ จิ ยั ไดส้ รุปผลการวจิ ยั ออกเป็น 4 ตอน ดงั น้ี

ตอนท่ี 1 สรุปผลการศึกษาข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลวดั เกต
อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ สาหรับใชเ้ ป็นฐานขอ้ มูลในการหาวธิ ีบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นเพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ พบวา่ ชุมชน
วดั เกตมีผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน จานวน 4 ท่าน ที่เชี่ยวชาญ 4 ดา้ น ซ่ึงไดร้ ับการยกย่องจากชุมชน
วดั เกตและได้รับการยืนยนั จากผูอ้ านวยการโรงเรียนเทศบาลวดั เกตการาม ครูผูร้ ับผิดชอบงาน
ชุมชนและศิลปวฒั นธรรมของโรงเรียนเทศบาลวดั เกตการาม รวมถึงประธานชุมชนวดั เกตการาม
รายละเอียด ดงั น้ี

1. ผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินดา้ นความเช่ือและศาสนา เร่ือง ความเชื่อในศาสนาพุทธ
ไดแ้ ก่ พระรังสิมนั ตุ์ ฉายาญาณโสภโณ

2. ผูท้ รงภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านประเพณีและพิธีกรรม เร่ือง เคร่ืองสักการะล้านนา
ไดแ้ ก่ อาจารยด์ าวประกาย บวั ลอ้ ม

3. ผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินด้านอาหารและผกั พ้ืนบา้ น เรื่อง อาหารเมืองเหนือ ไดแ้ ก่
แม่จนั ทร์ทิพย์ ทบั ทิมศรี

4. ผูท้ รงภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านศิลปวฒั นธรรม เร่ือง การฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง (เชิง)
ไดแ้ ก่ คุณลุงสมหวงั ฤทธิเดช

96

ตอนท่ี 2 สรุปผลการพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ที่
ไดเ้ รียนรู้จากผลการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง
จงั หวดั เชียงใหม่ พบว่า นกั เรียนมีพฒั นาการที่ดีข้ึนจากการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ก่อนและหลงั เรียนโดยมีค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียน จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน นกั เรียนไดค้ ะแนน
คิดเป็นคา่ เฉล่ีย 4.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.18 และหลงั เรียน คิดเป็นค่าเฉล่ีย 9.42 ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.78 ซ่ึงค่า t ท่ีได้ คือ 28.29 มีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05

ตอนที่ 3 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผูป้ กครองที่มีต่อการบริหารจัด
การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพื่อพฒั นา
เด็กปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ พบว่า ผูป้ กครองมีความพึงพอใจโดย
รวมอยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉล่ีย 4.44 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.63

ตอนที่ 4 สรุปผลปัญหา อุปสรรคการบริหารจัดการศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก
เทศบาลนครเชียงใหม่ พบวา่ มีอุปสรรคเร่ืองเวลาในการติดต่อเก็บรวบรวมขอ้ มูล เนื่องจากผูท้ รง
ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินติดภารกิจในการปฏิบตั ิงานของตนเอง ผูว้ ิจยั จึงตอ้ งออกไปเก็บขอ้ มูลหลายคร้ัง
การช้ีแจงรายละเอียดแก่ผูป้ กครอง และภาษาท่ีใชใ้ นการสื่อสาร เช่น ผูป้ กครองบางคนไม่เขา้ ใจ
ภาษาไทย ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ ผวู้ ิจยั จึงตอ้ งเก็บขอ้ มูลโดยการอ่านใหฟ้ ัง ช้ีแจงขอ้ ประเมิน
ทีละขอ้ เพอ่ื ถามความคิดเห็นและบนั ทึกขอ้ มูลให้ ทาใหเ้ กิดความล่าชา้ ในการเก็บขอ้ มูล

อภิปรายผลการวจิ ัย
จากการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง

จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ ผูว้ ิจยั ได้
อภิปรายผล แบ่งเป็น 4 ตอน ไดแ้ ก่

ตอนท่ี 1 อภิปรายผลการศึกษาข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลวัดเกต
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สาหรับใช้เป็ นฐานข้อมูลในการหาวิธีการบริหารจัดการศึกษาแหล่ง
เรียนรู้ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ เพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

ผวู้ ิจยั ไดศ้ ึกษาบริบทชุมชนวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ พบวา่ มีกระบวนการ
ไดม้ าซ่ึงขอ้ มูล นาเสนอเป็นแผนภูมิตามลาดบั ข้นั ดงั น้ี

97

แผนภูมทิ ่ี 5.1 การศึกษาขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต
อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ สาหรับใชเ้ ป็นฐานขอ้ มูลในการหา
วธิ ีการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเพ่ือ
พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

ทม่ี า : วนั ทนีย์ ใจเฉพาะ
จากแผนภูมิท่ี 5.1 อภิปรายไดว้ า่ ผูว้ ิจยั ดาเนินการทางานตามกระบวนการ PDCA เพื่อให้
ไดข้ อ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต โดยผวู้ จิ ยั ลงศึกษาภาคสนามบริบทชุมชน
วดั เกต ซ่ึงเป็ นตาบลท่ีศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ต้งั อยู่ และยงั ขาดการเก็บรวบรวม
ขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเพื่อใชเ้ ป็นประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอน พบวา่ มีแหล่ง
เรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินที่ไดร้ ับการยกยอ่ งจากชุมชน โดยการถ่ายทอดของผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น
จานวน 4 ทา่ น ใน 4 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. ผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินด้านความเชื่อและศาสนา เร่ืองความเชื่อในศาสนาพุทธ
ไดแ้ ก่ พระรังสิมนั ตุ์ ฉายาญาณโสภโณ
2. ผูท้ รงภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านประเพณีและพิธีกรรม เรื่อง เคร่ืองสักการะล้านนา
ไดแ้ ก่ อาจารยด์ าวประกาย บวั ลอ้ ม

98

3. ผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินดา้ นอาหารและผกั พ้ืนบา้ น เร่ือง อาหารเมืองเหนือ ไดแ้ ก่
แมจ่ นั ทร์ทิพย์ ทบั ทิมศรี

4. ผูท้ รงภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านศิลปวฒั นธรรม เรื่อง การฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง (เชิง)
ไดแ้ ก่ คุณลุงสมหวงั ฤทธิเดช

การไดม้ าซ่ึงขอ้ มูลผทู้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นท่ีเป็นที่ยอมรับของชุมชนวดั เกต อาเภอเมือง
จงั หวดั เชียงใหม่ ท้งั 4 ท่าน โดยการศึกษาบริบทชุมชนและการเห็นคุณค่าของการเชิดชูภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่นจากการถ่ายทอดของตวั บุคคลที่เป็ นที่ยอมรับสอดคลอ้ งกบั ประมวล พิมพเ์ สน (2555, 25)
ท่ีกล่าวไวว้ า่ ภูมิปัญญาชาวบา้ นถือวา่ เป็นมรดกทางความคิดที่บรรพบุรุษ ป่ ู ยา่ ตา ยาย หรือรุ่นทวด
ไดค้ ิดข้ึนมาและใชค้ วามคิดและการกระทาเหล่าน้นั ในการดาเนินชีวติ ไม่วา่ จะเป็น การละเล่น การแสดง
ความเช่ือ ขนบธรรมเนียม วฒั นธรรม พิธีกรรม การประกอบอาชีพ เป็ นตน้ ลว้ นแลว้ แต่เป็ นมรดก
ทางความคิดที่มีค่าซ่ึงตีราคาเป็นตวั เงินไม่ได้

เมื่อได้ข้อมูลผูท้ รงภูมิปัญญาท้องถ่ินจากการแนะนาของชุมชนที่เป็ นที่ยอมรับท้งั
4 ท่าน แลว้ ผูว้ ิจยั ดาเนินการติดต่อสัมภาษณ์เชิงลึกผทู้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินท้งั 4 ท่าน จากน้นั ไดน้ า
ขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ประเด็นต่าง ๆ และสังเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อนามาบูรณาการออกแบบเป็ นนวตั กรรม
“คู่มือการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั
เชียงใหม่ เพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก เทศบาลนครเชียงใหม่” โดยความรู้ที่ไดร้ ับ
จากการถ่ายทอดจากผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่สามารถ
นามาใช้ในการจดั การเรียนการสอนและพฒั นาเด็กปฐมวยั ท้งั 4 ด้านได้ โดยเน้ือหาท่ีได้รับการ
ถ่ายทอดดว้ ยวิธีการบอกและสอน ทาให้ดูเป็ นตวั อย่างท้งั องค์ความรู้ ประสบการณ์และประเพณี
ซ่ึงขอ้ มูลที่ไดเ้ ม่ือนามาสงั เคราะห์แลว้ สามารถแบ่งเน้ือหาออกเป็น 4 หน่วยการเรียนรู้ ไดแ้ ก่

1. ความเช่ือในศาสนาพทุ ธ
2. เครื่องสักการะลา้ นนา
3. อาหารเมืองเหนือ
4. การฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง (เชิง)
จากน้ันผูว้ ิจยั ดาเนินการติดต่อประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา (Focus Group) เพื่อ
ขอความเห็นชอบสาหรับการนาไปใชค้ ู่มือไปใช้ นาเสนอเป็นแผนภูมิตามลาดบั ข้นั ดงั น้ี

99

แผนภูมทิ ่ี 5.2 ข้นั ตอนการขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ในการนา “คู่มือวธิ ีการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมืองจงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเดก็
ปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่” ไปทดลองใชก้ บั
นกั เรียนกลุ่มเป้าหมาย

ทมี่ า : วนั ทนีย์ ใจเฉพาะ
จากแผนภูมิที่ 5.2 อภิปรายไดว้ า่ ผวู้ ิจยั ดาเนินการทางานตามกระบวนการ PDCA เพื่อ
ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาในการนาคู่มือไปใช้ โดยในการประชุมคณะกรรมการ
สถานศึกษาคร้ังน้ีไดม้ ีมติในที่ประชุมให้เลือกเน้ือหาหน่วยการเรียนรู้ในคู่มือ เรื่อง อาหารเมือง

100

เหนือ ซ่ึงเป็ นเรื่องที่ใกลต้ วั นกั เรียน เป็ นเร่ืองของอาหารการกินของคนในชุมชนเพื่อการดารงชีวิต
ไปทดลองใช้กับนักเรียนช้ันอนุบาลปี ที่ 2 ปี การศึกษา 2560 จานวน 24 คน เพ่ือเปรียบเทียบ
พฒั นาการเด็กจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน โดยผูว้ ิจยั ไดป้ รับปรุงแก้ไข
เน้ือหาคู่มือตามคาแนะนาของคณะกรรมการสถานศึกษาก่อนนาไปใช้ในการเรียนรู้ของนกั เรียน
และเก็บขอ้ มูลข้นั ตอนต่อไป ไดแ้ ก่ ปรับเปลี่ยนรูปภาพให้สอดคลอ้ งกบั หัวขอ้ ตรวจสอบคาผดิ ใน
เอกสาร ช้ีแจงรายละเอียดในการใช้คู่มือ เพิ่มรายชื่อผูด้ าเนินงานและคณะกรรมการสถานศึกษา
เป็ นตน้ ซ่ึงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาโดยวิธีสนทนากลุ่ม (Focus Group) ของศูนย์
พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่คร้ังน้ี มีความสอดคลอ้ งกบั วรรณี แกมเกตุ (2551, 254-255)
กล่าวไวว้ ่า การสนทนากลุ่ม เป็ นการสัมภาษณ์และสนทนาแบบเจาะประเด็นดว้ ยการเชิญผูร้ ่วม
สนทนามารวมเป็ นกลุ่มอยา่ งเจาะจง ตามคุณสมบตั ิท่ีนกั วิจยั กาหนด แลว้ เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ ขา้ ร่วม
สนทนา โตต้ อบ ถกปัญหา อภิปรายร่วมกนั แลกเปลี่ยนทศั นะกนั อยา่ งกวา้ งขวางในประเด็นต่าง ๆ
โดยมีจุดมุ่งหมายเฉพาะเจาะจง เพ่ือที่จะหาขอ้ มูลที่ถูกตอ้ งตรงประเด็นสาหรับตอบคาถามวิจยั เร่ือง
ใดเร่ืองหน่ึงโดยเฉพาะและสอดคล้องกบั รัตนะ บวั สนธ์ (2551, 112 - 113) ท่ีกล่าวไวว้ ่า การสนทนา
กลุ่ม (Focus Group) เป็ นการให้บุคคลกลุ่มหน่ึงที่นักวิจัยคัดเลือกมา สนทนาโต้ตอบ แสดง
ความรู้สึ กนึกคิดซ่ึงกันและกันในประเด็นต่าง ๆ ท่ีนักวิจัยกาหนดข้ึนตามวตั ถุประสงค์ของ
การวจิ ยั การสนทนากลุ่มจดั เป็นการรวบรวมขอ้ มูล ที่เป็ นการผสมเทคนิควธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
แบบการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์รายบุคคล กล่าวคือ นกั วิจยั สามารถท่ีจะทาการ
สังเกตพฤติกรรมอากปั กิริยาของบุคคลในกลุ่มสนทนาได้ และในขณะเดียวกนั นกั วิจยั ก็อาจจะทา
การซกั ถามบุคคลใดบุคคลหน่ึงในประเด็นใด ๆ ท่ีสงสัยกไ็ ด้

101
ตอนที่ 2 อภิปรายผลข้อมูลการพัฒนาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่ทไ่ี ด้
เรียนรู้จากผลการบริหารจัดการศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินของตาบลวัดเกต อาเภอเมือง
จังหวดั เชียงใหม่

แผนภูมิที่ 5.3 การศึกษาขอ้ มูลการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็
เทศบาลนครเชียงใหม่ท่ีไดเ้ รียนรู้จากผลการบริหารจดั การศึกษา
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั
เชียงใหม่

ทม่ี า : วนั ทนีย์ ใจเฉพาะ
จากแผนภูมิท่ี 5.3 อภิปรายไดว้ า่ ผูว้ ิจยั ดาเนินการตามกระบวนการ PDCA เพ่ือให้ได้

ขอ้ มูลขอ้ มูลการพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ที่ไดเ้ รียนรู้จากผล
การบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต ซ่ึงจากข้นั ตอนการประชุม
คณะกรรมการสถานศึกษาแนะนาให้เลือกเน้ือหาหน่วยการเรียนรู้ในคู่มือ เรื่อง อาหารเมืองเหนือ

102

ซ่ึงเป็ นเร่ืองท่ีใกล้ตวั นักเรียน เป็ นเรื่องของอาหารการกินของคนในชุมชนเพ่ือการดารงชีวิต
ไปทดลองใช้กับนักเรียนช้ันอนุบาลปี ท่ี 2 ปี การศึกษา 2560 จานวน 24 คน เพ่ือเปรียบเทียบ
พฒั นาการเด็กจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียน ซ่ึงสมั พนั ธ์กบั ทฤษฎีพฒั นาการ
ทางสติปัญญาของเพียเจต์ (ชยั วฒั น์ สุทธิรัตน์, 2552, 25-26) โดยกล่าวไวว้ ่า ให้เด็กปฏิสัมพนั ธ์กบั
สิ่งแวดลอ้ มใกลต้ วั โดยเฉพาะเด็กปฐมวยั และสิ่งแวดลอ้ มที่เด็กเคยพบเห็น เคยชินมากที่สุดจะต่อยอด
ไปสู่ความเขา้ ใจและการเรียนรู้ข้นั สูงได้ คือ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน โดยเฉพาะภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นใน
ชุมชน ซ่ึงจากการทดลองนาเด็กไปเรียนรู้ตามเน้ือหาหน่วยการเรียนรู้ในคู่มือพบว่า ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนหลงั เรียนมีระดบั สูงข้ึนกวา่ ก่อนเรียน การจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชแ้ หล่งเรียนรู้ภูมิ
ปัญญาท้องถ่ิน นักเรี ยนเกิดความกระตือรือร้นในการเรี ยน เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์
การแก้ปัญหาและสามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวนั มากกว่าการเรียน
ในห้องเรียน อีกท้งั นักเรียนได้มีโอกาสทากิจกรรมร่วมกนั เป็ นกลุ่ม เกิดปฏิสัมพนั ธ์ที่ดีในการ
ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั เสรี พงศพ์ ิศ (2536, 63) กล่าวถึงการอนุรักษภ์ ูมิปัญญาทอ้ งถิ่น
ดว้ ยวธิ ีการถ่ายทอดภูมิปัญญาแก่เด็ก ซ่ึงเด็กโดยทวั่ ไปมีความสนใจในช่วงเวลาส้ันในสิ่งท่ีใกลต้ วั
ซ่ึงแตกต่างจากผูใ้ หญ่ กิจกรรมการถ่ายทอดตอ้ งง่าย ไม่ซับซ้อน สนุกสนานและดึงดูดใจ เช่น
การละเล่น การเล่านิทาน การลองทา (ตามตวั อยา่ ง) การเล่นปริศนาคาทาย เป็ นตน้ วิธีการเหล่าน้ี
เป็ นการสร้างเสริมนิสัยและบุคลิกภาพที่สังคมปรารถนา ซ่ึงส่วนใหญ่มุ่งเน้นจริยธรรมที่เป็ นสิ่งที่
ควรทาและไม่ควรทา ดงั น้นั หน่วยการเรียนรู้ เร่ืองอาหารเมืองเหนือจึงเหมาะแก่การเรียนรู้ของเด็ก
ปฐมวยั เพราะนอกจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนของนกั เรียนมีระดบั สูงข้ึนกวา่ ก่อนเรียน
แลว้ ยงั เป็ นกิจกรรมที่ใกลต้ วั เด็ก เขา้ ถึงไดง้ ่าย เป็ นเรื่องของอาหารในชุมชน ของทอ้ งถ่ินภาคเหนือ
อีกท้งั นกั เรียนยงั ไดล้ งมือทาอาหารภาคเหนือตามท่ีผูท้ รงภูมิปัญญาถ่ายทอด สร้างความสนุกสนาน
ในการทากิจกรรมและดึงดูดความสนใจของผเู้ รียนใหร้ ักและภูมิใจทอ้ งถ่ินของตนเองไดเ้ ป็นอยา่ งดี
ซ่ึงสมั พนั ธ์กบั นิคม ชมพหู ลง (2548, 8) กล่าวไวว้ า่ ความรู้ใกลต้ วั ในชุมชน ทาให้ผเู้ รียนรู้จกั ทอ้ งถิ่น
รักและภูมิใจในทอ้ งถิ่น เป็นการเช่ือมโยงความรู้ระหวา่ งภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินกบั ความรู้สมยั ใหม่ดว้ ย

103

ตอนท่ี 3 อภิปรายผลข้อมูลความพึงพอใจของผู้ปกครองทมี่ ีต่อการบริหารจัดการศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลวัดเกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในศูนย์
พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

P

วางแผนและจดั ทาคูม่ ือการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่

เพอ่ื พฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็
เทศบาลนครเชียงใหม่”

ทดลองใชก้ บั เปรียบเทียบ ไดข้ อ้ มลู ความ
นกั เรียน พฒั นาการเด็กจาก พึงพอใจของผปู้ กครอง
ผลสมั ฤทธ์ิทางการ
กลุม่ เป้าหมาย เรียนก่อนเรียน และผวู้ จิ ยั นาผล
ท่ีไดม้ าปรับปรุง
D และหลงั เรียน ตามขอ้ เสนอแนะ
ยนื ยนั ความถกู ตอ้ ง
A
C

แผนภูมิที่ 5.4 ขอ้ มูลความพึงพอใจของผปู้ กครองที่มีต่อการบริหารจดั การศึกษา
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั
เชียงใหม่ เพื่อพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กเทศบาลนคร
เชียงใหม่

ทมี่ า : วนั ทนีย์ ใจเฉพาะ

จากแผนภูมิที่ 5.4 อภิปรายได้ว่า ผูว้ ิจยั ดาเนินการทางานตามกระบวนการ PDCA
เพื่อให้ไดข้ อ้ มูลความพึงพอใจของผูป้ กครองท่ีมีต่อการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก
เทศบาลนครเชียงใหม่ โดยหลงั จากผวู้ ิจยั ไดน้ านกั เรียนช้นั อนุบาลปี ที่ 2 ปี การศึกษา 2560 จานวน

104

24 คน ไปเรียนรู้เร่ือง อาหารเมืองเหนือ ตามคูม่ ือฯ จากภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต ผวู้ ิจยั เก็บ
รวบรวมขอ้ มูลโดยผูป้ กครองไดแ้ สดงความพึงพอใจของตนเองจากการประเมินหลงั จากไดท้ ราบ
การช้ีแจงรายละเอียดในท่ีประชุมผปู้ กครองเก่ียวกบั การบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีสูงข้ึน
หลงั จากนานักเรียนไปทดลองเรียนรู้ตามเน้ือหาในคู่มือ พบว่า ขอ้ ท่ีมีคะแนนเฉล่ียมากท่ีสุด คือ
ผูป้ กครองมีความไวว้ างใจ และเช่ือมนั่ ในคุณภาพการจดั การเรียนรู้โดยการบริหารจดั การศึกษา
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั
ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ในคร้ังน้ี ส่วนข้อที่มีคะแนนเฉล่ียน้อยท่ีสุด คือ
ผูป้ กครองเห็นว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กยงั ขาดการจดั ลาดับข้นั ตอนการดาเนินงานการบริหารจดั
การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นอยา่ งเป็นระบบซ่ึงสอดคลอ้ งกบั วาสนา เลื่อมเงิน (2550, 21)
กล่าวถึงความพึงพอใจเป็ นสภาพความรู้สึก ความชอบ ความพอใจของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึงที่บ่ง
บอกถึงผลงานของหน่วยงานท่ีประสบผลสาเร็จ โดยเฉพาะอย่างย่ิงถา้ เป็ นงานเกี่ยวกบั การพฒั นา
การศึกษาหรือการใหบ้ ริการ ผูบ้ ริหารจะตอ้ งดาเนินการใหผ้ ปู้ กครองหรือผูม้ าใชบ้ ริการเกิดความพึง
พอใจดว้ ย เพราะความเจริญกา้ วหนา้ ของงานบริการเป็ นปัจจยั ท่ีสาคญั ประการแรกที่เป็ นตวั บ่งช้ี ก็
คือจานวนผปู้ กครองหรือจานวนนกั เรียนผมู้ าใชบ้ ริการ ดงั น้นั ผบู้ ริหารที่ชาญฉลาดจึงควรอยา่ งยงิ่ ท่ี
จะตอ้ งศึกษาให้ลึกซ้ึงถึงปัจจยั และองคป์ ระกอบต่าง ๆ ท่ีจะทาใหเ้ กิดความพึงพอใจ ท้งั ผูป้ ฏิบตั ิงาน
และ ผูม้ าใชบ้ ริการเพ่ือใช้เป็ นแนวทางในการบริหารองค์กรให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์
สูงสุด นอกจากน้ีปริญดา หอมสวสั ด์ิ (2555, 51) ให้ทศั นะเก่ียวกบั ความพึงพอใจไวว้ ่า ผูป้ กครอง
มีความตอ้ งการให้โรงเรียนมีการพฒั นาในด้านวิชาการ หลักสูตร ด้านบุคลากร คุณภาพในการ
จดั การเรียนการสอน ดา้ นการบริการนกั เรียน ดา้ นการจดั อาคารสถานที่และสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อ
การเรียนรู้ ดา้ นความสัมพนั ธ์ระหว่างโรงเรียนกบั ชุมชนและผูป้ กครองนกั เรียน เพ่ือที่เด็กจะได้มี
การพฒั นาความรู้ความสามารถ มีการพฒั นาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจและสติปัญญา
ตลอดจนเป็ นสมาชิกที่ดีของสงั คมตลอดไป อีกท้งั ยงั สอดคลอ้ งกบั บรรเจิด ศุภราพงศ์ (2556, 43) ที่
กล่าวถึงแนวคิดความพึงพอใจว่าเป็ นเร่ืองเกี่ยวกบั จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึกท่ีบุคคลมีต่อสิ่งใดส่ิง
หน่ึงไม่สามารถมองเห็นรูปร่างได้ นอกจากน้ี ความพึงพอใจเป็ นความรู้สึกดา้ นบวกของบุคคลที่มี
ต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึง อาจจะเกิดข้ึนจาก ความคาดหวงั หรือเกิดข้ึนก็ต่อเมื่อสิ่งน้ันสามารถตอบสนอง
ความตอ้ งการให้แก่บุคคลได้ ซ่ึงความพึงพอใจที่เกิดข้ึนสามารถเปลี่ยนแปลงไดต้ ามค่านิยมและ
ประสบการณ์ของบุคคล ท้งั น้ีความพึงพอใจจึงสามารถนาใช้ในการวดั ระดบั ความพึงพอใจกับ
ปัจจยั อื่นท่ีใชใ้ นการศึกษา เช่นความพึงพอใจตอ่ การบริหารงานของโรงเรียน เป็นตน้

105
ตอนที่ 4 อภิปรายผลข้อมูลปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานการบริหารจัดการศึกษาแหล่ง
เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตาบลวัดเกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยใน
ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

การบริหารจดั การศึกษาแหลง่ เรียนรู้ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นของ
ตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่อื พฒั นา
เดก็ ปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่”

ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนินงาน / แกไ้ ขปรับปรุง

การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็
เทศบาลนครเชียงใหม่

แผนภูมิที่ 5.5 ขอ้ มูลปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานการบริหารจดั การศึกษา
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั
เชียงใหม่ เพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลนคร
เชียงใหม่

ทมี่ า : วนั ทนีย์ ใจเฉพาะ
จากแผนภูมิที่ 5.5 อภิปรายได้ว่า ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาปัญหาและอุปสรรคการบริหารจดั
การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพื่อพฒั นา
เด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ พบปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน
ดงั น้ี

106

1. การขอข้อมูลดิบจากผูท้ รงภูมิปัญญาท้องถ่ินของตาบลวดั เกต 4 ท่าน จากการ
สัมภาษณ์ ตอ้ งนัดเวลาในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลหลายคร้ัง เน่ืองจากผูท้ รงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินติด
ภารกิจในการปฏิบตั ิงานของตนเอง ผวู้ จิ ยั จึงตอ้ งออกไปเก็บขอ้ มูลหลายคร้ัง เพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ มูลนามา
เป็ นฐานในการจดั ทานวตั กรรม “คู่มือการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของ
ตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลนคร
เชียงใหม”่

2. การนานกั เรียนไปเรียนรู้นอกสถานที่ ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากผูป้ กครอง ในบางราย
ไม่อนุญาตให้นักเรียนไปทากิจกรรมร่วมกบั เพื่อน นักเรียนจึงขาดโอกาสที่จะได้รับความรู้จาก
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นในชุมชน โดยครูไดต้ ิดต่อผปู้ กครองช้ีแจงรายละเอียด และประโยชน์
ในการพานกั เรียนไปเรียนรู้นอกสถานที่ อีกท้งั อนุญาตให้ผูป้ กครองรายน้นั ร่วมเดินทางไปเรียนรู้
พร้อมกบั คณะครูและนกั เรียนคนอื่น ๆ ได้ เพื่อแกป้ ัญหาให้นักเรียนไดม้ ีโอกาสเรียนรู้ภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่นในชุมชนร่วมกบั ผอู้ ่ืน

3. ผปู้ กครองบางคนไม่เขา้ ใจภาษาไทย ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ ผวู้ จิ ยั จึงตอ้ งเก็บ
ขอ้ มูลโดยการอ่านให้ฟัง ช้ีแจงขอ้ ประเมินทีละขอ้ เพ่ือถามความคิดเห็นและบนั ทึกขอ้ มูลให้ ทาให้
เกิดความล่าชา้ ในการเก็บขอ้ มูล

จากปัญหาในการดาเนินงานดังกล่าว สอดคล้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
(2551, 28) กล่าวว่า การบริหารจดั การศึกษาระดับปฐมวยั น้ันตอ้ งบูรณาการหลกั สูตรการศึกษา
ปฐมวยั พุทธศกั ราช 2546 ให้สอดคล้องกบั สังคม วฒั นธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น หลกั สูตร
สถานศึกษาเป็ นหลกั สูตรท่ีพฒั นาข้ึนโดยยึดหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2546 โดยใช้
รูปแบบการสอนตามแนวคิดการบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั สังคม วฒั นธรรม และ
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน พัฒนาข้ึนมาจากการสารวจความต้องการของบุคคลท่ีเก่ียวข้องในท้องถิ่น
โดยการศึกษาเอกสารทอ้ งถิ่นและงานวจิ ยั มาประกอบเป็ นขอ้ มูลในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา
เพ่อื มุ่งพฒั นาผเู้ รียนให้มีความพร้อมในทุก ๆ ดา้ น ดงั น้นั หากเกิดปัญหาในการดาเนินงานบริหารจดั
การศึกษาที่จะส่งผลต่อพฒั นาการของผเู้ รียน ทุกฝ่ ายของสถานศึกษาน้นั ๆ ควรเขา้ ไปมีส่วนร่วมใน
การแก้ไขปัญหา เร่ิมจากการประชุมงานไปสู่ข้นั ตอนของการปฏิบัติงาน และติดตามผล เพื่อ
ประโยชน์อนั จะนามาสู่ความสาเร็จของสถานศึกษา และตวั บุคคลไปพร้อม ๆ กนั

ข้อเสนอแนะ
1. คู่มือแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่

นาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้และพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาล

107

นครเชียงใหม่ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรู้และเห็นคุณคา่ แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินในชุมชน รวมไปถึงการ
มีปฏิสัมพนั ธ์กบั ส่ิงใกลต้ วั การเรียนรู้จากสภาพจริงในชุมชน ซ่ึงประสบการณ์ท่ีไดร้ ับสามารถต่อ
ยอดไปสู่การเรียนรู้ข้นั สูงไดด้ ีในอนาคต

2. การบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง
จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ ขอ้ มูลแหล่ง
เรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินที่ตอ้ งการใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรู้ ขอ้ มูลตอ้ งเป็ นปัจจุบนั ทุกปี การศึกษา สาหรับใช้
เป็นฐานขอ้ มูลนานกั เรียนไปเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นในสถานที่จริง

ข้อเสนอแนะสาหรับการวจิ ัยคร้ังต่อไป
ควรศึกษาและพฒั นาขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นให้เป็ นปัจจุบนั และมีขอ้ มูล
เพิ่มมากข้ึน เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ดา้ นต่าง ๆ ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ อีกท้งั ยงั
เป็นแนวทางในการจดั การศึกษาของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่เพื่อต่อยอดการเรียนรู้
ในระดบั ท่ีสูงข้ึนของเด็กในอนาคตอีกดว้ ย

108

บรรณานุกรม

กนกพร ฉิมพลี. (2555). รูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านหัตถกรรมเครื่องจักสาน
: กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชน จังหวัดนครราชสีมา. (ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาพฒั นาสังคม
และการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม คณะพฒั นาสังคมและส่ิงแวดลอ้ ม สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหาร
ศาสตร์.

กรแกว้ จนั ทรภาษา. (2550). การสนทนากล่มุ . สืบคน้ จาก https://home.kku.ac.th/korcha/
detail.html

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546
(สาหรับเดก็ อนบุ าล 3 - 5 ปี ). กรุงเทพฯ: กรมวชิ าการ,

กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน. (2551). มาตรฐานการดาเนินงานศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน.

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน. (2551). มาตรฐานการจัด
การศึกษาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.

กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ินและองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน. (2553). มาตรฐานการ
ดาเนินงานศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:
กระทรวงมหาดไทย.

กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). การพัฒนาและการใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและ
ท้องถ่ินเพ่ือจัดกระบวนการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพก์ ารศาสนา.

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม. (2551). รายงานการวิจัยเร่ือง ภูมิปัญญาท้องถิ่นใน
การบริหารจัดการน้า : กรณีศึกษาพืน้ ที่ล่มุ น้าชี. กรุงเทพฯ: กรมทรัพยากรน้า.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). การพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนให้เป็ นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและ
ท้องถ่ินเพื่อจัดกระบวนการเรีนนรู้. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2539). ภูมิปัญญาไทยในงานศิลป์ ถ่ินเมืองกรุง. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง
แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง.

กลุ่มงานภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น สานกั พฒั นาเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร. (2546). ความรู้เบือ้ งต้น
เกีย่ วกับภูมิปัญญาท้องถ่ิน. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการเกษตร.

109

กลุ่มงานภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน สานกั พฒั นาเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร. (2546). ความรู้เบือ้ งต้น
เกีย่ วกบั ภมู ิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการเกษตร.

กองวชิ าการและครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (2522). รายงานการวิจัย เรื่อง ผลการวิจัย การ
จัดศูนย์เดก็ ก่อนวยั เรียนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พเ์ จริญผล.

กลั ยากร นอ้ ยพญา. (2552). การบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
ของ โรงเรียนทุ่งพร้ าว (เพ้กกี้ฮิทค็อก) อาเภอแม่สรวย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เชียงราย เขต 2. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย.

กลุ ยา ตนั ติผลาชีวะ. (2542). การเลีย้ งดเู ดก็ ก่อนวยั เรียน : 3-5 ขวบ. กรุงเทพฯ: โชติสุขการพมิ พ.์
เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. (2553). การพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งการเรียนรู้จังหวัดสมุทรสงคราม.

กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา.
จารุวรรณ ธรรมวตั ิ. (2543). ภูมิปัญญาอีสาน. อุบลราชธานี: ศิริธรรมออฟเซ็ท.
ชนิดา มัททวางกูรและคณะ. (2550). รายงานการวิจัยภูมิปัญญาท้องถ่ินและวิถีชีวิตที่ส่ งเสริ ม

กิจกรรมทางกายและการออกกาลังกายของคนภาษีเจริญ. กรุงเทพฯ: ศูนยว์ ิจยั เพ่ือพฒั นา
ชุมชน มหาวทิ ยาลยั สยาม.
ชนิดา วิสะมิตนันท์. (2541). การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน. สงขลา: หน่วยศึกษานิเทศก์
กระทรวงศึกษาธิการ.
ชัยวฒั น์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ. กรุงเทพฯ:
บริษทั แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปปอเรชนั่ .
ชาญณรงค.์ (2557). ฟ้อนดาบ - ฟ้อนเจิง. สืบคน้ จาก https://chananrog2015.
wordpress.com/2014/10/07/ฟ้อนดาบ-ฟ้อนเจิง/
ชื่นสุมล บุนนาค. หลกั การทาสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพ่ือเจาะใจผบู้ ริโภค The Focus Group
Process Towards the Consumer Insights. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยมี หานคร
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยมี หานคร. 7(2) (ตุลาคม 2552 - มกราคม 2553): 100 - 101.
ดอกกะทู้ Dockaturk. (2559). ทริปเชียงใหม่ พระธาตุจุฬามณี. สืบคน้ จาก:
http://www.tripchiangmai.com/chiangmaiboard/index .php?topic=9649.0#. WOGUjfm
GPIU
ถวลั ย์ มาศจรัส. (2546). นวตั กรรมการศึกษา ชุดแบบฝึ กหัด แบบฝึ กเสริมทักษะฯ. กรุงเทพฯ:
ธารอกั ษร.

110

ถวิล บุรีกุลและเมธิศา พงษ์ศกั ด์ิศรี. (2548). การสนทนากลุ่ม : เทคนิคการมีส่ วนร่ วมและเก็บ
รวบรวมข้อมลู เพ่ือการวิจัย. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศก์ ารพมิ พ์ จากดั .

ทอ็ ปเชียงใหม่. (2559). พระธาตปุ ี จอท่ีวดั เกตการามวดั งามใกล้นา้ ปิ ง. สืบคน้ จาก:
http://www.topchiangmai.com/trip/วดั เกตการาม-ปี จอ

ทิพาวดี เมฆสวรรค์. (2539). การบริหารมุ่งผลสัมฤทธ์ิ. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการปฏิรูประบบ
ราชการ สานกั นายกรัฐมนตรี,

ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2535). การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ: ศูนยพ์ ฒั นาคุณภาพการ
เรียนการสอน.

โทซาวะ บุนจิ. (2544). คิดใหม่ทาใหม่ ด้วยไคเซ็น. (แปลจาก Zoku Kousureba shiotono KAIZEN
gadekiru, KAIZEN suihinshido manual โดยชไมพ ร สุ ธรรมวงศ์, ส มาคมส่ งเส ริ ม
เทคโนโลยี ไทย-ญี่ป่ ุน. กรุงเทพฯ : ส.เอเชียเพลส.

ธนพล ดอนชวนชม. (2552). แนวทางการพัฒนาศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ องค์การบริหารส่วนตาบล
กองแขก อาเภอแม่แจ่มจังหวัดเชียงใหม่. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต, การบริหาร
การศึกษา มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่).

ธวชั ชัย บุญมี. (2557). การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทศบาลตาบลฟ้าฮ่ าม อาเภอเมือง จังหวัด
เชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่.

นฤมล ตนั ธสุรเศรษฐ.์ (2533). แหล่งวิทยาการในชุมชน ในเอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาและ
การใช้แหล่งวิทยาการในชุมชน. (สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช).

นนั ทสาร สีสลบั และคณะ. (2542). ภูมิปัญญาไทย. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 23. (พิมพ์
คร้ังท่ี 2), กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ.

นิคม ชมพูหลง. (2548). ภูมิปัญญาท้องถ่ินสู่การเรียนรู้. (พิมพค์ ร้ังท่ี 2). มหาสารคาม: กลุ่มนิเทศ
ติดตามประเมินผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1.

นิธิ เอี่ยวศรีวงศ.์ (2536). ภมู ิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากร. ทิศทางไทย 1(5), 3.
นิพนธ์ ศุขปรีดี. (2538). โสตทัศนศึกษา. กรุงเทพฯ: แพร่วทิ ยา.
บรรจง จนั ทมาศ. (2540). ระบบบริ หารงานคุณภาพ ISO 9000. กรุงเทพฯ: สมาคมเทคโนโลยี

(ไทย-ญ่ีป่ ุน).
บรรเจิด ศุภราพงศ์. (2556). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนระดับมัธยมศึกษาต่อการ

บริหารงานของโรงเรียนปากช่องพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา.
(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั บูรพา).

111

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบือ้ งต้น. (พิมพค์ ร้ังท่ี 7). กรงเทพฯ: สุวรี ิยาสาส์น.
บุญธรรม ปานเพ็ชร. ()2546. การใช้แหล่งการเรียนรู้ในชุมชนของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัด

สานักงาน การประถมศึกษาจังหวดั สุรินทร์ . (ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต, สถาบนั
ราชภฏั สุรินทร์).
ประมวล พิมพเ์ สน. (2554). ภาษาและวรรณกรรมท้องถ่ินอีสาน. ขอนแก่น: คลงั นานาวทิ ยา.
ประเวศ วะสี . (2534). การสร้ างสรรค์ ภูมิปั ญญาไทยเพ่ือการพัฒนา. กรุ งเทพฯ: สานักงาน
คณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ.
ประเวศ วะสี. (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท เล่มที่ 2. กรุงเทพฯ: อมั รินทร์พริ้น
ติ้งกรุ๊ฟ.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). วิจัยการเรียนการสอน. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พแ์ ห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ปริญดา หอมสวสั ด์ิ. (2555). ความพึงพอใจของผู้ปกครองท่ีมีต่อการบริหารงานของโรงเรียน ศรี
หฤทัย สังกัดสังฆมณฑลจันทบรุ ี. (วทิ ยานิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าการบริหาร
การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา).
ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์. (2545). TQM ภาคปฏิบัติ: เทคนิคการแก้ปัญหาแบบ “สึ ยาม่า”.
กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญ่ีป่ ุน).
พรรณี ลีกิจวฒั นะ. (2556). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์คร้ังที่ 8). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์
อุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั .
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ และสังคมศาสตร์ . กรุ งเทพฯ:
มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.
พิสณุ ฟองศรี. (2552). การสร้างและพฒั นาเคร่ืองมือวิจัย. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพมิ พ.์
เพญ็ พกั ตร์ อุทิศ. (2560). แนวคิดและเทคนิคการสนทนากล่มุ . สืบคน้ จาก
http://www. igoodmedia.net/@sudin/04_activity/case/research04.html.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิและวิบูลย์ โตวณะบุตร. (2542). หลักและทฤษฎีการบริ หารการศึกษา.
กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั รามคาแหง.
ยงยทุ ธ ธีรศิลป. (2541). ศิลปะการแสดงฟ้อนเจิง. สืบคน้ จาก: http://www.laksanathai.com/book3/
p341.aspx.
ยศ สันตสมบตั ิ. (2542). ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือการพัฒนาอย่าง
ยง่ั ยืน. เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ.์

112

ยุพา ทรัพย์อุไรรัตน์. (2537). การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการศึกษานอกระบบภาคตะวันออก.
(วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ).

รวิพร มูณีวรรณ. (2548). การใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนประกอบการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา
ข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1. (วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครศรีธรรมราช).

ระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศจงั หวดั เชียงใหม่. เขตพืน้ ที่ตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.
สืบคน้ จาก http://202.28.24.77/index.php.

รัตนะ บวั สนธ์. (2552). ปรัชญาการวิจัย. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
รัตนา พรหมพิชยั . (2542). แกงกระด้าง. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ เล่ม 1. กรุงเทพฯ:

มูลนิธิสารานุกรมวฒั นธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย.์
รุ่ง แกว้ คง. (2543). ปฏิบตั ิการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.
รุ่ ง แก้วแดง. (2541). การนาภูมิปั ญญาไทยเข้ าระบบสู่ การศึกษา. กรุ งเทพฯ: สานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
ลา้ นนาเวย.์ (2554). เคร่ืองสักการะล้านนา. คน้ หาเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2559. แหล่งที่มา http://www.

lannaway .com/ home/post/เครื่องสกั การะลา้ นนา-2/
วรภทั ร์ ภูเ่ จริญ. (2542). แนวทางการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพพ์ มิ พ์

ดี.
วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ . (พิมพค์ ร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ:

โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
วรวมิ ล ชยั รัต. (2559). วดั เกตในวาระแห่งการเปล่ยี นแปลง. สืบคน้ จาก

http://www.khonmuang.com/pages/ watgate.htm
วศิน ปาลเดชพงศ์. (2539). การศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อโรงเรียนอนุบาล

เอกชน : กรณีศึกษาอนุบาลก้องหล้า. กรุงเทพฯ: (วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์).
วาสนา เลื่อมเงิน. (2550). ความพึงพอใจต่อคุณภาพการศึกษาของผู้ปกครองนักเรียนในศูนย์
เครื อข่ ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาบ้ านแพง สั งกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มหาสารคาม เขต 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม).
วกิ ิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2559). พิพิธภณั ฑ์วดั เกตการาม โฮงต๊เุ จ้าหลวง. แหล่งท่ีมา
https://th.wikipedia.org /wiki/ วดั เกตการาม.

113

ศกั ด์ิชยั เกียรตินาคินทร์. (2542). ภูมิปัญญาไทยพฒั นาไทย. วารสารวฒั นธรรมไทย. 37(4), 2.
ศิริวรรณ ปักษี. (2537). การจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด

เทศบาลและเมืองพัทยา. (วทิ ยานิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา
บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์).
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่. (2559). คู่มือการบริหารจัดการศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ เทศบาล
นครเชียงใหม่. เชียงใหม่. : สานกั พิมพ์
สมคิด พรมจุ้ย และสุพกั ตร์ พิบูลย.์ (2544). การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา. นนทบุรี:
จตุพรดีไซน์.
สมร ทองดีและสุกญั ญา กาญจนกิจ. (2548). ประมวลสาระชุดวิชา หลักการและแนวคิดทางการ
ปฐมวัยศึกษา PRINCIPLES OF EARLY CHILDHOOD EDUCATION หน่วยท่ี 1. (พิมพ์
คร้ังท่ี 2). นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.
สมศกั ด์ิ สินธุระเวชญ.์ (2542). ม่งุ สู่คุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: วฒั นาพานิช.
สมศกั ด์ิ คงเที่ยง. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: มิตรภาพการพิมพแ์ ละ
สติวดิโอ.
สร ป่ิ นอกั ษรสกลุ . (2549). การสนทนากล่มุ . สืบคน้ จาก: http://www.tpa.or.th/writer/read_this
_book_topic.php?bookID =303&read=true&count =true
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). การเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สานัก
นายกรัฐมนตรี.
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2547). พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั . (2551). หนังสือวิชาเลือกสาระ
การพัฒนาสังคม รายวิชา สค 03045 วิถชี ุมชน. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สุริยา ฆอ้ งเสนาะ. (2558). การศึกษาของเดก็ ปฐมวยั หัวใจสาคัญของการศึกษา. สืนคน้ จาก
http://www. parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament _parcy/ewt_dl
_link.php?nid=31140
สุวิทย์ มูลคาและอรทยั มูลคา. (2545). 21 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาระบบความคิด. กรุงเทพฯ:
ภาพพิมพ.์
เสรี พงศ์พิศ. (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป
แอนดพ์ บั ลิชช่ิง.

114

แอนนา จุมพลเสถียร. (2547). เข้าถึงใจผู้บริโภคด้วย Focus groups. กรุงเทพฯ: แพค อินเตอร์กรุ๊ป
จากดั .

Duffy, J. (2000). The KM Technology Infrastructure. Information Management Journal.
34(2), 62 - 66.

Herbert, S. (1976). Administrative Behavior. (3 rd edition). New York: The Free Press.

115

ประวตั ิผู้วจิ ัย

ชื่อ - สกลุ นางสาววนั ทนีย์ ใจเฉพาะ

วนั เดือน ปี เกดิ 17 มีนาคม 2528

ทอี่ ย่ปู ัจจุบนั 10/5 ถนนววั ลาย ซอย 3 ตาบลหายยา อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ 50100

ประวตั ิการศึกษา พ.ศ. 2555 ศึกษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวยั
พ.ศ. 2550 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดุสิต
ครุศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยี
และนวตั กรรมการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่

ประสบการณ์การทางาน พ.ศ. 2553 - 2556 ครูอตั ราจา้ งตามภารกิจ
พ.ศ. 2556 - ปัจจุบนั ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่
ครู คศ. 1
ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

116

ภาคผนวก

117

ภาคผนวก ก

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเคร่ืองมือในการวจิ ัย

1. รองศาสตราจารยป์ ระวตั ิ พ้ืนผาสุก อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่
2. อาจารย์ ดร.สายฝน แสนใจพรหม อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่
3. อาจารยส์ ุภาพรรณ วงศเ์ ข่ือนแกว้
ผชู้ ่วยคณะบดีคณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่
อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่

ครู คศ.3 โรงเรียนเทศบาลวดั ป่ าแพง่
อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่

118

ภาคผนวก ข

รายชื่อคณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

1. นายอดุลย์ เครือยศ รองผูอ้ านวยการสานกั การศึกษา เทศบาลนครเชียงใหม่

2. คุณสุเวช สุภาษิต ประธานกรรมการบริหารศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็

3. คุณทิพาพร ชมพรู ัตน์ ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

4. พระคูรไพจิตรวรี คุณ ผนู้ าทางศาสนา

5. คุณแสงหลา้ ศรีสุวรรณ ผทู้ รงคุณวุฒิทางการศึกษา

6. คุณบุญทวี สุคามา ผแู้ ทนชุมชน

7. คุณสงกรานต์ วรรณโครต ผแู้ ทนผปู้ กครอง

8. คุณสุพล ทาคา หวั หนา้ สถานศึกษาศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กเทศบาลนครเชียงใหม่

9. คุณเกตุทิพย์ เผา่ ฟู นกั วชิ าการศึกษา

10. คุณจนั ทร์จิรา กลา้ หาญ รักษาการหวั หนา้ ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก

11. คุณวภิ าวดี จนั ทร์วไิ ล ครู

12. คุณบุญรักษา แสงรัตน์ ครู

13. คุณจุฑามาศ พนั สวรรค์ ครู

14. คุณศศิประภา จนั ทร์พรหม ครู

15. คุณเกวลี อิ่มใจ ครู

16. คุณรุ่งกนก กาเนิดศิริ ครู

119

ภาคผนวก ค

ฉบับที่ 1

เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย

แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่

ชื่อ - นามสกลุ ........................................................................................................อาย.ุ ...................ปี
ที่อย.ู่ .....................................................................................................................................................
เบอร์โทรศพั ทต์ ิดต่อ......................................................................อาชีพ.............................................

หัวข้อการสัมภาษณ์
1. ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ นใดที่ทา่ นเช่ียวชาญ อธิบายรายละเอียดพอสงั เขป / สาธิตใหด้ ูเป็ นตวั อยา่ ง
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

2. ท่านไดน้ าความรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินที่ท่านเชี่ยวชาญมาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวนั มากน้อย
เพียงใด อธิบายพอสังเขป
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

120

3. ท่านไดถ้ ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินท่ีท่านเชี่ยวชาญใหก้ บั คนรุ่นหลงั บา้ งหรือไม่ อยา่ งไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

4. ท่านคิดว่าการถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ท่านเช่ียวชาญให้กับคนรุ่นหลังต้งั แต่เด็ก
สมควรหรือไม่ เพราะเหตุใด
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

5. ท่านคาดหวงั มากนอ้ ยเพียงใดกบั การถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินที่ทา่ นเช่ียวชาญใหก้ บั เด็ก
อนุบาล
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

121

6. ท่านคิดอยา่ งไรหากคนรุ่นหลงั ไม่สนใจศึกษาภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น และอาจส่งผลอยา่ งไรในอนาคต
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ขอขอบคุณทใ่ี ห้ความร่วมมือในการตอบแบบสัมภาษณ์

122

ฉบบั ท่ี 2

แบบสอบถามคณะกรรมการสถานศึกษา สาหรับการหาวิธีการบริหารจัดการศึกษา
แหล่งเรียนรู้ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่
เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่
..........................................................................................................................

คาชี้แจง
1. แบบสอบถามฉบบั น้ีเป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาวจิ ยั ของนกั ศึกษาปริญญาโท หลกั สูตร

ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่
2. แบบสอบถามฉบบั น้ีจดั ทาข้ึน โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือหาวิธีการบริหารจดั การศึกษา

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั
ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ ผู้วิจัยใคร่ขอความอนุเคราะห์ในการตอบ
แบบสอบถามตามความเป็ นจริงและโปรดตอบแบบสอบถามทุกขอ้ ผูว้ ิจยั จะเก็บคาตอบของท่าน
และนาเสนอผลการวิจยั เป็ นลกั ษณะภาพรวม โดยจะไม่มีผลกระทบต่อผตู้ อบแบบสอบถามท้งั สิ้น
แต่ในทางตรงกนั ขา้ มขอ้ มูลท่ีท่านตอบจะเป็ นประโยชน์ต่อการนาขอ้ มูลจากการวิจยั ไปใชใ้ นการ
บริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่
เพอื่ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่ ใหม้ ีประสิทธิภาพมากข้ึน

3. แบบสอบถามฉบบั น้ี ประกอบดว้ ยขอ้ คาถาม 3 ตอนดงั น้ี
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกบั สภาพปัญหาในปัจจุบันด้านแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา

ทอ้ งถ่ิน และการหาวิธีการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ของตาบลวดั เกต
อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ เพือ่ พฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ในการเสนอวิธีการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิ
ปัญญาทอ้ งถิ่นเพิ่มเติม

ผวู้ จิ ยั ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงสาหรับความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามในคร้ังน้ี

วนั ทนีย์ ใจเฉพาะ
นกั ศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา
บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่

123

คาชี้แจง โปรดทาเคร่ืองหมาย √ ลงใน □ หรือเติมขอ้ ความลงในช่องวา่ งตรงตามความเป็นจริง

ตอนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

1.1 เพศ □ ชาย □ หญิง

1.2 อาย.ุ ..........................ปี

1.3 นบั ถือศาสนา

□ ศาสนาพทุ ธ
□ ศาสนาคริสต์
□ ศาสนาอิสลาม
□ อื่น ๆ (ระบุ).......................................................

1.4 สถานภาพ

□ หวั หนา้ สถานศึกษา □ ผทู้ รงคุณวฒุ ิทางการศึกษา

□ หวั หนา้ ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก □ ผแู้ ทนชุมชน

□ ครูผดู้ ูแลเดก็ □ ผนู้ าศาสนา

□ ผแู้ ทนครูผดู้ ูแลเดก็ □ ผแู้ ทนผปู้ กครอง

□ ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น □ นกั วชิ าการศึกษา

1.5 วฒุ ิการศึกษา

□ ต่ากวา่ ระดบั ปริญญาตรี
□ ปริญญาตรี
□ ปริญญาโท
□ อ่ืน ๆ (ระบุ).......................................................

1.6 อาชีพ

□ รับราชการ
□ ธุรกิจส่วนตวั
□ อื่น ๆ (ระบุ).......................................................

124

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นเก่ียวกบั สภาพปัญหาในปัจจุบนั ดา้ นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น และการ
หาวิธีการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั
เชียงใหม่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

รายการประเมิน ระดับความคดิ เหน็

มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ทสี่ ุด กลาง ที่สุด

ปัญหาด้านแหล่งเรียนรู้ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ในการจัดการศึกษาของศูนย์พฒั นาเด็กเลก็

เทศบาลนครเชียงใหม่ ในปัจจุบัน (การย้ายทตี่ ้งั ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ เดมิ จากตาบลหนองหอย

มาอยู่ในเขตพืน้ ทตี่ าบลวดั เกต อาเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่)

2.1 ปัญหาการสารวจแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินของ

ตาบลวดั เกต

2.2 ปัญหาการจดั ทาคู่มือแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของ

ตาบลวดั เกตเพือ่ ง่าย สะดวกตอ่ การคน้ หาขอ้ มูล

2.3 ปัญหาการจดั กิจกรรม หรือส่งเสริมให้เกิดการใชแ้ หล่ง

เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินของตาบลวดั เกตในการจัดการ

เรียนรู้ของ เดก็ ปฐมวยั

2.4 ปัญหาการประยุกตค์ วามรู้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น

ของตาบลวดั เกตกบั การใชช้ ีวติ ประจาวนั ของผเู้ รียน

2.5 ปัญหาการจดั ทาหลักสูตรท้องถ่ินของสถานศึกษาให้

เป็นปัจจุบนั (ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น)

การหาวธิ ีการบริหารจัดการศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่นิ

ของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่

เพ่ือพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ของศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

2.6 ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กจดั ลาดบั ข้นั ตอนการดาเนินงานการ

บริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินอยา่ งเป็ น

ระบบ

2.7 ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กช้ีแจงขอ้ มูลใหค้ ณะกรรมการ

สถานศึกษาทราบไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (ช้ีแจงการดาเนินงานใน

การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา)

125

รายการประเมนิ ระดับความคดิ เห็น

มาก มาก ปาน น้อย น้อย
กลาง ทส่ี ุด
ทสี่ ุด

2.8 คณะกรรมการสถานศึกษามีความเข้าใจวตั ถุประสงค์

และเป้าหมายของการบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิ

ปั ญญาท้องถิ่นของตาบลวัดเกต อาเภอเมือง จังหวัด

เชียงใหม่ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวยั ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

เทศบาลนครเชียงใหมใ่ นคร้ังน้ีอยา่ งชดั เจน

2.9 คณะกรรมการสถานศึกษาได้มีส่วนร่วมในการแลก

เปลี่ยนขอ้ มูลกบั ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กสาหรับใชเ้ ป็ นขอ้ มูลใน

การหาวธิ ีบริหารจดั การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน

เพ่ือพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ของศูนยฯ์ (เสนอวิธี / ความคิดเห็นใน

การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา)

2.10 ความเหมาะสมของข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปั ญญา

ทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ ใน

การจดั กิจกรรมเพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ท้งั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ น

ร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ดา้ นสังคม และดา้ นสติปัญญา มีความ

เหมาะสมต่อวยั ของผเู้ รียน

1. ความเชื่อในศาสนาพทุ ธ 2. เคร่ืองสกั การะลา้ นนา

3. อาหารเมืองเหนือ 4. การฟ้อนดาบ ฟ้องเจิง (เชิง)

2.11 สถานที่ที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ วดั เกต

และศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

2.12 คณะกรรมการสถานศึกษามีความไวว้ างใจ และเช่ือมนั่

ในคุณภาพการจดั การเรียนรู้โดยการบริหารจดั การศึกษา

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง

จงั หวดั เชียงใหม่ เพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็ก

เล็กเทศบาลนครเชียงใหมใ่ นคร้ังน้ี

2.13 คณะกรรมการสถานศึกษาเห็นประโยชน์ และความ

สาคญั ของแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินในการพฒั นาเด็ก

ปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

126

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ขอขอบคุณทตี่ อบแบบสอบถาม
ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

127

ฉบับท่ี 3 - 4

แผนการจัดประสบการณ์ ช้ันอนุบาลปี ท่ี 2
ตามเนื้อหาแหล่งเรียนรู้ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ของตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่

และแบบประเมินวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลงั เรียน

128

แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั

ระดบั ช้ันอนุบาล 2 ปี การศึกษา 2560
สาระการเรียนรู้ เร่ืองราวเกยี่ วกบั ตวั เดก็
หน่วยการจดั ประสบการณ์ อาหารเมืองเหนือ

นางสาววนั ทนีย์ ใจเฉพาะ
ครูประจาช้ัน/ผู้จดั ประสบการณ์การเรียนรู้

ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่

129

ตาบลวดั เกต อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดประสบการณ์ ช้ันอนุบาล 2 ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลนครเชียงใหม่
หน่วยการเรียนรู้ อาหารเมืองเหนือ เวลาเรียน : จานวน 2 สัปดาห์

อาหารที่เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะทอ้ งถ่ินของชุมชนในภาคเหนือ ลกั ษณะเด่นของ
อาหารเมืองเหนือจะไม่ใส่น้าตาล แตค่ วามหวานจะไดจ้ ากส่วนผสมที่นามาทาอาหาร
เช่น ความหวานจากผกั จากปลา ไขมนั จะไดจ้ ากน้ามนั ของสัตว์
- เมนูไข่ป่ าม - เมนูจอผกั กาด
- เมนูไส้อวั่ - เมนูน้าพริกออ่ ง

ความหมายของอาหารเมืองเหนือ

การประกอบอาหารเมืองเหนือ อาหารเมืองเหนือ ชื่ออาหารเมืองเหนือ

- วสั ดุอุปกรณ์ในการทาอาหาร น้าพริกหนุ่ม แกง
- วตั ถุดิบในการทาอาหาร ฮงั เล ขนมจีนน้าเง้ียว
- วธิ ีการทาอาหาร
ฯลฯ
ประโยชน์ของอาหารเมืองเหนือ
ประเภทของอาหารเมืองเหนือ

- ช่วยใหร้ ่างกายเจริญเติบโตและแขง็ แรง แกง ควั่ จอ ตา น่ึง ปิ้ ง แอบ็ ลาบ
- เป็นสมุนไพรช่วยบรรเทาอาการ และ
รักษาโรคตา่ ง ๆ

130

ส่ิงทเี่ ดก็ รู้แล้ว สิ่งทเี่ ด็กต้องการรู้ ส่ิงทเี่ ดก็ ควรรู้

1. ช่ืออาหารพ้ืนเมืองใน 1. อาหารเมืองเหนือคืออะไร 1. ความหมายของอาหารเมืองเหนือ

ชุมชนของตนเองบางอย่าง 2. ในชุมชนของตนเองมี 2. ชื่ออาหารเมืองเหนือ

เช่น น้าพริกอ่อง แกงฮงั เล อาหารเมืองเหนืออะไรบา้ ง 3. ประเภทของอาหารเมืองเหนือ

ขนมจีนน้าเง้ียว 3. ลกั ษณะของอาหาร 4. ประโยชนข์ องอาหารเมืองเหนือ

เมืองเหนือ 5. การประกอบอาหารเมืองเหนือ

หมายเหตุ การเรียนรู้ เรื่อง อาหารเมืองเหนือ นักเรี ยนเรียนรู้เป็ นเวลา 2 สัปดาห์ และเรียนรู้กบั

ผูท้ รงภูมิปัญญาท้องถ่ินของตาบลวดั เกตในการทาอาหารเมืองเหนือ จานวน 2 คร้ัง สัปดาห์ละ

1 คร้ัง คร้ังละ 40 นาที เวลา 9.20 - 10.00 น. (ทุกวนั ศุกร์)

131

แผนการจัดประสบการณ์ ช้ันเตรียมอนุบาล 2
สาระการเรียนรู้เรื่อง เร่ืองราวเกี่ยวกบั ตวั เด็ก
หน่วยการจัดประสบการณ์ อาหารเมืองเหนือ
หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ความหมายของอาหารเมืองเหนือ

ความคิดรวบยอด
อาหารเมืองเหนือ คือ อาหารที่เป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะทอ้ งถ่ินภาคเหนือ และหาวตั ถุดิบ เช่น

ผกั พ้นื บา้ นไดง้ ่ายในชุมชน เพื่อนามาประกอบอาหาร รับประทานแลว้ ไดป้ ระโยชน์ต่อร่างกาย ช่วย
ใหร้ ่างกายเจริญเติบโตและแขง็ แรง อีกท้งั เป็นสมุนไพรช่วยบรรเทาอาการ และรักษาโรคต่าง ๆ ดว้ ย

จุดประสงค์การเรียนรู้
1) บอกความหมายของอาหารเมืองเหนือได้
2) บอกลกั ษณะของอาหารเมืองเหนือได้
3) ร่วมสนทนากบั ครูและเพือ่ นได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ
สาระทคี่ วรเรียนรู้ 1) การแสดงความคิดความรู้สึกดว้ ยคาพูด
1) ความหมายของอาหารเมืองเหนือ 2) การฟังเร่ืองราวต่าง ๆ
2) ลกั ษณะของอาหารเมืองเหนือ 3) การทากิจกรรมร่วมกบั ผอู้ ื่น

วธิ ีการจัดกจิ กรรม

1 ) ครูสอนเด็กร้องเพลง “อาหารหลกั 5 หมู่” โดยให้เด็กร้องตามทีละวรรค จานวน 2 รอบ
จากน้นั เด็กและครูร้องพร้อมกนั จนคล่องแคล่ว และทาท่าทางประกอบตามจินตนาการของตนเอง

2) เดก็ และครูร่วมกนั สนทนาถึงเน้ือหาของเพลง “อาหารหลกั 5 หมู่”
3) จากน้ันครูเสริมเน้ือหา ความหมายของอาหารเมืองเหนือ ว่าเด็กและครูอาศยั อยู่ใน
จงั หวดั เชียงใหม่ มาเรียนและทางานที่ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลนครเชียงใหม่ซ่ึงต้งั อยู่ในเขต
ชุมชนวดั เกต มีอาหารท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะทอ้ งถิ่น และหารับประทานได้ง่าย นอกจากน้ันยงั
สามารถหาวตั ถุดิบในชุมชน เช่น ผกั พ้ืนบา้ นมาประกอบอาหารเมืองเหนือได้

132

4) ครูนาภาพอาหารเมืองเหนือที่เตรียมไวม้ าให้เด็ก ๆ ดู วา่ เคยรู้จกั อาหารชนิดน้ีกนั หรือไม่
แต่ละภาพอาหารมีชื่อเรียกอยา่ งไร หากเคยรับประทานแลว้ รสชาติเป็นอยา่ งไร

5) ครู ให้เด็ก ๆ ช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า อาหารม้ือต่าง ๆ ท่ีผู้ปกครองทาให้
รับประทาน หรือซ้ือมาจากร้านคา้ ในชุมชนช่ืออาหารอะไรบา้ ง เด็ก ๆ นกั เรียนคิดวา่ อาหารดงั กล่าว
เป็นอาหารเมืองเหนือหรือไม่ เพราะเหตุใด

5) เด็กและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความหมายของอาหารเมืองเหนืออีก
คร้ังหน่ึง

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1) เพลง “อาหารหลกั 5 หมู่”
2) บตั รภาพอาหารเมืองเหนือ

การประเมนิ ผล
1) สังเกตการบอกความหมายของอาหารเมืองเหนือ
2) สงั เกตการบอกลกั ษณะของอาหารเมืองเหนือ
3) สังเกตการร่วมสนทนากบั ครูและเพ่อื นได้

133

แบบบันทกึ ผลการประเมิน ระดับช้ันอนุบาล 2 ปี การศึกษา 2560
คาชี้แจง : เขียนเครื่องหมาย  ในช่องระดบั การปฏิบตั ขิ องนักเรียนในแต่ละประเด็นทปี่ ระเมิน

บอก บอกลกั ษณะ การร่วม สรุปผลการ
ที่ ชื่อ – สกลุ ความหมาย ของอาหาร สนทนากบั ประเมิน

ของอาหาร เมืองเหนือ ครูและเพ่ือน พฒั นาการ
เมืองเหนือ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 รวม ผ่าน ไม่
ผ่าน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16

รวม

เฉลย่ี

ร้อยละ

134

เกณฑ์การประเมนิ ปฏิบตั ิดว้ ยตนเองไดด้ ีทุกคร้ัง
ระดบั 3 หมายถึง ดี ปฏิบตั ิไดเ้ ป็นบางคร้ัง
ระดบั 2 หมายถึง ปานกลาง ปฏิบตั ิได้ โดยครูช่วยเหลือแนะนา
ระดบั 1 หมายถึง ควรส่งเสริม

เกณฑ์การประเมนิ สรุปผลพฒั นาการ

ระดบั 3 : ผา่ น ปฏิบตั ิตามจุดประสงคท์ ้งั 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คะแนน (2.51-3.00)

ระดบั 2 : ผา่ น ปฏิบตั ิตามจุดประสงคท์ ้งั 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คะแนน (2.01-2.50)

ระดบั 1 : ไมผ่ า่ น ปฏิบตั ิตามจุดประสงคท์ ้งั 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คะแนน (0.01-2.00)

สรุปผลการประเมิน นกั เรียนจานวน ................. คน
ปฏิบตั ิไดอ้ ยใู่ นเกณฑร์ ะดบั 3 จานวน ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .....................
ปฏิบตั ิไดอ้ ยใู่ นเกณฑ์ระดบั 2 จานวน ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .....................
ปฏิบตั ิไดอ้ ยใู่ นเกณฑ์ระดบั 1 จานวน ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .....................

นักเรียนท่ปี ฏิบัติได้อย่ใู นเกณฑ์ระดบั 1 ได้แก่
...........................................................................................................................................................

การแก้ไข / ส่งเสริม
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

ลงช่ือ ......................................... ผ้ปู ระเมิน
(นางสาววนั ทนีย์ ใจเฉพาะ)

135

แผนการจัดประสบการณ์ ช้ันเตรียมอนุบาล 2
สาระการเรียนรู้เร่ือง เร่ืองราวเก่ียวกบั ตวั เดก็
หน่วยการจัดประสบการณ์ อาหารเมืองเหนือ
หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ช่ืออาหารเมืองเหนือ

ความคดิ รวบยอด

อาหารเมืองเหนือ คือ อาหารท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะทอ้ งถิ่นภาคเหนือ และหาวตั ถุดิบ เช่น
ผกั พ้นื บา้ นไดง้ ่ายในชุมชน เพ่ือนามาประกอบอาหาร รับประทานแลว้ ไดป้ ระโยชน์ต่อร่างกาย ช่วย
ใหร้ ่างกายเจริญเติบโตและแขง็ แรง อีกท้งั เป็นสมุนไพรช่วยบรรเทาอาการ และรักษาโรคต่าง ๆ ดว้ ย
อาหารเมืองเหนือที่คนส่วนใหญ่รู้จกั ได้แก่ ไส้อว่ั น้าพริกหนุ่ม น้าพริกอ่อง ไข่ป่ าม จอผกั กาด
ขนมจีนน้าเง้ียว เป็นตน้

จุดประสงค์การเรียนรู้
1) บอกชื่ออาหารเมืองเหนือไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 ชนิด
2) เล่าประสบการณ์ของตนเองใหผ้ อู้ ื่นฟังได้
3) มีจินตนาการความคิดสร้างสรรคใ์ นการป้ันดินน้ามนั เร่ืองราวของอาหารเมืองเหนือได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ
สาระทคี่ วรเรียนรู้ 1) การแสดงความคิดความรู้สึกดว้ ยคาพดู
1) ช่ืออาหารเมืองเหนือ 2) การฟังเร่ืองราวต่าง ๆ
2) การป้ันดินน้ามนั 3) การแสดงความคิดสร้างสรรคผ์ า่ นส่ือวสั ดุ

วธิ ีการจัดกจิ กรรม
1 ) เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “อาหารหลัก 5 หมู่” ที่เคยเรียนมาแล้วและทาท่าทาง

ประกอบตามจินตนาการของตนเอง
2) ครูทบทวนเน้ือหา ความหมายของอาหารเมืองเหนือ และลกั ษณะของอาหารเมืองเหนือ

ที่เคยเรียนมาแลว้
3) จากน้นั ครูนาภาพอาหารเมืองเหนือท่ีเตรียมไวม้ าใหเ้ ด็ก ๆ ดู โดยใหเ้ ดก็ ๆ สังเกตภาพวา่

ในอาหารทามาจากวตั ถุดิบอะไรบา้ ง โดยครูคอยช้ีแนะวตั ถุดิบแต่ละอยา่ งพร้อมภาพประกอบ เพื่อ
ง่ายแก่ความเขา้ ใจของเด็ก และใหเ้ ดก็ เรียนรู้ชื่ออาหารเมืองเหนือจากภาพซ้า ๆ

136

4) ครูจดั เตรียมอุปกรณ์การป้ันดินน้ามนั ให้แก่เด็ก ให้เด็กป้ันดินน้ามนั เร่ืองราวของอาหาร
เมืองเหนือตามจินตนาการ เช่น ลักษณะของอาหารเมนูต่าง ๆ ท่ีเด็กชอบ ตวั อย่างเช่น ขนมจีน
น้าเง้ียว โดยมีวตั ถุดิบท้งั เส้นขนมจีน เลือด หมูบด ผกั ตา่ ง ๆ เป็นตน้

5) เมื่อเดก็ ปฏิบตั ิกิจกรรมแลว้ เสร็จ ใหน้ าผลงานมาบอกชื่อและเล่าเร่ืองใหค้ รูจดบนั ทึก
5) เด็กและครูร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ชื่ออาหารเมืองเหนืออีกคร้ังหน่ึง และให้
เดก็ บอกช่ืออาหารเมืองเหนือหลงั จากท่ีเรียนมาแลว้ หรือที่รู้จกั มาอยา่ งนอ้ ย 3 ชนิด

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
1) เพลง “อาหารหลกั 5 หมู่”
2) บตั รภาพอาหารเมืองเหนือ
3) ดินน้ามนั และแผน่ รองป้ัน

การประเมินผล
1) สังเกตการบอกชื่ออาหารเมืองเหนือไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 ชนิด
2) สังเกตการเล่าประสบการณ์ของตนเองใหผ้ อู้ ื่นฟัง
3) สงั เกตการมีจินตนาการความคิดสร้างสรรคใ์ นการป้ันดินน้ามนั ของเด็ก

137

แบบบันทกึ ผลการประเมิน ระดับช้ันอนุบาล 2 ปี การศึกษา 2560
คาชี้แจง : เขียนเคร่ืองหมาย  ในช่องระดับการปฏบิ ัตขิ องนักเรียนในแต่ละประเด็นทปี่ ระเมิน

บอกช่ือ การเล่า การมี สรุปผลการ

ที่ ช่ือ – สกุล อาหารเมือง ประสบการณ์ ความคดิ ประเมิน

1 เหนือได้ ของตนเอง สร้างสรรค์ พฒั นาการ
2
3 อย่างน้อย ให้ผู้อ่ืนฟัง ในการป้ันดิน
4
5 3 ชนิด นา้ มนั
6
7 3 2 1 3 2 1 3 2 1 รวม ผ่าน ไม่
8
9 ผ่าน
10
11
12
13
14
15
16

รวม
เฉลย่ี
ร้อยละ

138

เกณฑ์การประเมิน ปฏิบตั ิดว้ ยตนเองไดด้ ีทุกคร้ัง
ระดบั 3 หมายถึง ดี ปฏิบตั ิไดเ้ ป็นบางคร้ัง
ระดบั 2 หมายถึง ปานกลาง ปฏิบตั ิได้ โดยครูช่วยเหลือแนะนา
ระดบั 1 หมายถึง ควรส่งเสริม

เกณฑ์การประเมนิ สรุปผลพฒั นาการ

ระดบั 3 : ผา่ น ปฏิบตั ิตามจุดประสงคท์ ้งั 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คะแนน (2.51-3.00)

ระดบั 2 : ผา่ น ปฏิบตั ิตามจุดประสงคท์ ้งั 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คะแนน (2.01-2.50)

ระดบั 1 : ไม่ผา่ น ปฏิบตั ิตามจุดประสงคท์ ้งั 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คะแนน (0.01-2.00)

สรุปผลการประเมิน นกั เรียนจานวน ................. คน
ปฏิบตั ิไดอ้ ยใู่ นเกณฑ์ระดบั 3 จานวน ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .....................
ปฏิบตั ิไดอ้ ยใู่ นเกณฑร์ ะดบั 2 จานวน ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .....................
ปฏิบตั ิไดอ้ ยใู่ นเกณฑร์ ะดบั 1 จานวน ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .....................

นักเรียนทป่ี ฏิบตั ไิ ด้อย่ใู นเกณฑ์ระดับ 1 ได้แก่
...........................................................................................................................................................

การแก้ไข / ส่งเสริม
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

ลงชื่อ ......................................... ผู้ประเมนิ
(นางสาววนั ทนีย์ ใจเฉพาะ)

139

แผนการจัดประสบการณ์ ช้ันเตรียมอนุบาล 2
สาระการเรียนรู้เร่ือง เร่ืองราวเก่ียวกบั ตวั เดก็
หน่วยการจัดประสบการณ์ อาหารเมืองเหนือ
หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ประเภทของอาหารเมืองเหนือ

ความคดิ รวบยอด

อาหารเมืองเหนือ คือ อาหารที่เป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะทอ้ งถ่ินภาคเหนือ และหาวตั ถุดิบ เช่น
ผกั พ้นื บา้ นไดง้ ่ายในชุมชน เพอ่ื นามาประกอบอาหาร รับประทานแลว้ ไดป้ ระโยชน์ต่อร่างกาย ช่วย
ใหร้ ่างกายเจริญเติบโตและแขง็ แรง อีกท้งั เป็นสมุนไพรช่วยบรรเทาอาการ และรักษาโรคต่าง ๆ ดว้ ย
อาหารเมืองเหนือ มีวิธีการทาไดแ้ ก่ แกง ควั่ จอ ตา น่ึง ปิ้ ง แอ็บ ลาบ โดยลกั ษณะเด่นของอาหาร
เมืองเหนือน้นั จะมีรสชาติแบบกลาง ๆ มีรสเคม็ นาเลก็ นอ้ ย ไมเ่ นน้ รสเปร้ียวและรสหวาน

จุดประสงค์การเรียนรู้
1) บอกประเภทอาหารเมืองเหนือไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 ประเภท
2) ร่วมสนทนากบั ครูและเพือ่ นได้
3) เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ได้

สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ
สาระทค่ี วรเรียนรู้ 1) การแสดงความคิดความรู้สึกดว้ ยคาพดู
1) ประเภทอาหารเมืองเหนือ 2) การฟังเร่ืองราวตา่ ง ๆ
2) ความสาคญั ของอาหารเมืองเหนือ

วธิ ีการจัดกจิ กรรม

1) เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปรอบ ๆ บริเวณอยา่ งอิสระตามจงั หวะฉิ่ง โดยไมช่ นกนั เมื่อได้
ยนิ สัญญาณหยดุ ใหเ้ ดก็ หยดุ เคล่ือนไหวในทา่ น้นั ทนั ที

2) เดก็ ทาทา่ ทางตามจินตนาการตามคาบรรยายดงั น้ี “ในตอนเชา้ หลงั จากท่ีเดก็ ต่ืนนอน คุณ
แม่บอกให้เด็กไปเก็บไข่ในเล้า เด็ก ๆ หิ้วตะกร้าคนละ 1 ใบไปที่เล้าไก่ เด็ก ๆ เก็บไข่ใส่ตะกร้า
พร้อมพูดว่า ไข่ฟองท่ี 1 ไข่ฟองท่ี 2 ไข่ฟองท่ี 3 ไข่ฟองท่ี 4และไข่ฟองที่ 5 เสร็จแล้วเด็ก ๆ หิ้ว
ตะกร้าไปหาคุณแม่ แลว้ แมก่ บั ลูกเอาไขอ่ อกจากตะกร้าทีละฟอง พร้อมกบั ช่วยกนั นบั 1,2,3,4,5”

3) เมื่อทาท่าทางเสร็จ เดก็ นง่ั พกั ผอ่ น 3 - 5 นาที

140

4) จากน้นั ครูเสริมเน้ือหาพร้อมดูภาพประกอบ ประเภทของอาหารเมืองเหนือ มีวธิ ีการทา
ไดแ้ ก่ แกง ควั่ จอ ตา น่ึง ปิ้ ง แอ็บ ลาบ โดยลกั ษณะเด่นของอาหารเมืองเหนือน้นั จะมีรสชาติแบบ
กลาง ๆ มีรสเค็มนาเล็กนอ้ ย ไม่เน้นรสเปร้ียวและรสหวาน อาหารเมืองเหนือไม่นิยมใส่น้าตาล แต่
ความหวานจะไดจ้ ากส่วนผสมที่นามาทาอาหาร เช่น ความหวานจากผกั จากปลา ไขมนั จะไดจ้ าก
น้ามนั ของสัตว์ เป็นตน้

5) ครูนาภาพความสาคญั ของการรับประทานอาหาร เช่น ภาพเด็กตวั สูง เด็กตวั เต้ีย เด็ก
สุขภาพดี เด็กตวั ผอมโซ ภาพอาหารที่มีประโยชน์ ภาพอาหารไม่มีประโยชน์ ภาพขนมกรุบกรอบ
น้าหวานมาให้เด็กดู เด็กและครูร่วมกนั อภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ความสาคญั ของการ
รับประทานอาหาร โดยชูภาพเด็กประกอบ วา่ การเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์จะทาให้
นกั เรียนเจริญเติบโตและแขง็ แรง

5) ครูใหเ้ ด็กบอกประเภทอาหารเมืองเหนือหลงั จากท่ีเรียนมาแลว้ หรือท่ีรู้จกั มาอยา่ งนอ้ ย 3
ประเภทอีกคร้ังหน่ึง

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
1) ฉิ่ง
2) คาบรรยาย
3) ภาพประกอบประเภทของอาหารเมืองเหนือ
4) ภาพความสาคญั ของการรับประทานอาหาร

การประเมินผล
1) สงั เกตการบอกประเภทอาหารเมืองเหนือไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 ประเภท
2) สังเกตการร่วมสนทนากบั ครูและเพอ่ื น
3) สังเกตการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์


Click to View FlipBook Version