The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Peamsak5076, 2021-11-30 02:44:41

ilovepdf_merged (10)

ilovepdf_merged (10)

คานา

หนังสือเล่มน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือให้ผู้ท่ีสนใจได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องประวัติศาสตร์ชุมชนตาบลพนม
อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และได้ศึกษาอย่างเข้าใจ เพื่อเป็นประโยชน์กับผู้ที่ต้องการศึกษาข้อมูล
วิศวกรสังคมตาบลพนม จึงได้จัดทาหนังสือประวัติศาสตร์ชุมชนน้ีขึ้น ประกอบด้วย ขนาดที่ต้ัง ลักษณะภูมิ
ประเทศ แมน่ า้ สาคญั ภมู ิอากาศ ทรพั ยากรธรรมชาติ การคมนาคม ประวัติความเป็นมาของชุมชน โครงสร้าง
ของชุมชน โครงสร้างด้านเศรษฐกิจและอาชีพ ความเช่ือ ประเพณีและพิธีกรรม สถานท่ีสาคัญ
การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม การพัฒนาสัมมาชีพ การยกระดับการท่องเท่ียว การบริการชุมชน และการ
ส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนรู้ วิศวกรสังคมตาบลพนม หวังว่าการจัดทาหนังสือ
ประวัตศิ าสตรช์ ุมชนเลม่ นี้ จะเปน็ ประโยชนใ์ หก้ ับผูท้ สี่ นใจ หรือนักเรียน นักศึกษา ท่ีกาลังมองหาข้อมูลเร่ืองน้ี
อยู่

หากมีข้อเเนะนาหรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผูจ้ ัดทาขอนอ้ มรบั ไว้ และขออภัยมา ณ ที่นี้ดว้ ย

คณะผ้จู ัดทา

วิศวกรสังคม ตาบลพนม

สารบญั
เร่ือง

หนา้

จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ............................................................................................................................1
ประวัติศาสตร์................................................................................................................................2
ทีต่ ั้งและอาณาเขต.........................................................................................................................3
ภูมิประเทศและภูมิอากาศ ............................................................................................................3

การปกครองส่วนภูมิภาค ...............................................................................................................4

อาเภอพนม..........................................................................................................................................5
ประวัติศาสตร์................................................................................................................................5
ทีต่ งั้ และอาณาเขต.........................................................................................................................6
ภมู ิศาสตร์ .....................................................................................................................................6
- ลักษณะภมู ิประเทศ ..................................................................................................6
- ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ....................................................................................................6
การปกครองสว่ นภูมภิ าค ..............................................................................................................6
การปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ...............................................................................................................7
- เศรษฐกจิ ..................................................................................................................7

- ประชากร..................................................................................................................8

- ศาสนา ......................................................................................................................8
- การศึกษา..................................................................................................................9

- การคมนาคม.............................................................................................................9
- สถานที่ท่องเท่ียว ................................................................................................... 10

สารบญั

เรือ่ ง หนา้

ตาบลพนม............................................................................................................................................. 13
- ชนาดและท่ตี ัง้ ....................................................................................................... 13

หมู่บา้ น - ลักษณะภูมปิ ระเทศ ............................................................................................... 13

- หมู่ท่ี 1 บ้านพิทกั ษพ์ ฒั นา...................................................................................... 14
- หมทู่ ี่ 2 บ้านพนมพัฒนา ........................................................................................ 17
- หมู่ท่ี 3 บ้านพนมใน............................................................................................... 20
- หมู่ที่ 13 บ้านหวั สงิ ............................................................................................... 23
- หมู่ท่ี 4 หมบู่ า้ นบางไม้เพราะ................................................................................. 27
- หมู่ที่ 5 บ้านบางโก ................................................................................................ 31
- หมู่ที่ 6 บา้ นลูกเดอื น ............................................................................................. 34
- หมู่ที่ 7 บา้ นแสนสุขประชารักษ์ ............................................................................ 37
- หมทู่ ่ี 8 บา้ นเข่ียวหมอน......................................................................................... 41

- หมทู่ ่ี 9 หมู่บ้านบา้ นใหญ่....................................................................................... 43
- หมทู่ ี่ 10 หมบู่ ้านสาคล่ี .......................................................................................... 48

- หมู่ท่ี 11 บา้ นพุง่ เจรญิ ........................................................................................... 51
- หมทู่ ี่ 12 บ้านบางนลิ ............................................................................................. 53

สารบญั

เรื่อง หนา้

โครงสรา้ งองคก์ ร .............................................................................................................................. 57
ประวัตคิ วามเปน็ มาของประชาชน .................................................................................................... 58
จานวนครวั เรอื นและประชากร.......................................................................................................... 58
ดา้ นการศึกษา /ด้านศาสนา .............................................................................................................. 58
โครงสร้างดา้ นเศรษฐกจิ และอาชพี ................................................................................................. 59
ความเชอ่ื ประเพณี และพธิ กี รรม ....................................................................................................... 59
สถานท่ีสาคญั .................................................................................................................................... 60

- โรงเรยี นพนมศกึ ษา......................................................................................... 60
- องค์การบรหิ ารส่วนตาบลพนม ....................................................................... 62
- เทศบาลตาบลพนม......................................................................................... 63
- วัดคีรีไพรสณฑ์................................................................................................ 64
- วดั พนม........................................................................................................... 65
- วังหนิ รู ............................................................................................................ 66
- โรงเรยี นบา้ นบางสาน...................................................................................... 67
- โรงเรียนบ้านใหญ.่ ........................................................................................... 69
- โรงเรยี นบ้านลูกเดอื น...................................................................................... 70
- ทว่ี ่าการอาเภอพนม........................................................................................ 71

การดาเนินงานโครงการยกระดบั เศรษฐกิจและสังคมรายตาบลแบบบรู ณาการ............................ 72
พื้นที่รบั ผดิ ชอบ ตาบลพนม อาเภอพนม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ........................................... 72
ช่ือโครงการ/กิจกรรมในการดาเนินการ............................................................................... 74

ภาคผนวก......................................................................................................................................... 79



1

จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

จังหวัดสุราษฎร์ธานี มักเรียกกันด้วยช่ือสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้
ตอนบน มีพ้ืนที่ขนาดใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย มีประชากรหนาแน่นอันดับ 59
ของประเทศ เป็นจงั หวดั หนึง่ ที่มีประวตั ิศาสตรย์ าวนาน มหี ลักฐานทง้ั ประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดีเก่าแก่ และ
ยังมแี หล่งทอ่ งเท่ียวและอุทยานแหง่ ชาตหิ ลายแห่ง

จังหวัดสุราษฎร์ธานีต้ังอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ มีสภาพภูมิประเทศท่ีหลากหลายทั้งที่ราบสูง
ภูเขา รวมทง้ั ทีร่ าบชายฝ่งั มพี นื้ ที่ครอบคลมุ ถึงบรเิ วณอ่าวไทยท้ังที่เป็นทะเลและเกาะทั้งขนาดใหญ่และขนาด
เล็กมากถึง 98 เกาะ นับว่ามากท่ีสุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และ
จังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นท่ีรู้จัก เช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะ
อ่างทอง

เนอ่ื งจากทาเลที่ตง้ั ทาให้ไดร้ บั อทิ ธิพลจากมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ ซงึ่ เกิดบรเิ วณทะเลอันดามันบ้างเป็น
ครั้งคราว เน่ืองจากมแี นวเทอื กเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ตและเทือกเขานครศรีธรรมราชแถบจังหวัดระนอง
จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุม
ดังกลา่ ว ในทางกลบั กันพ้นื ที่จงั หวัดสุราษฎรธ์ านจี ะไดร้ ับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกาเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทาให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมี
ชว่ งฤดฝู นกนิ ระยะเวลาตงั้ แตเ่ ดือนตุลาคมจนถึงเดอื นมกราคม

ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก พ้ืนที่ในการทา
การเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพ้ืนที่ทั้งหมด นอกจากน้ี ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง
อุตสาหกรรม รวมทงั้ มกี ารทาเหมืองแรด่ ้วย

2

ประวัตศิ าสตร์

จังหวดั สรุ าษฎร์ธานเี ป็นท่ีตั้งของเมอื งเก่า เป็นศูนย์กลางของเมืองศรีวิชัย มีหลักฐานแสดงถึง การตั้ง
รกรากและเส้นทางสายไหมในอดีต พ้ืนท่ีอาเภอไชยาเจริญข้ึนจนเป็นอาณาจักรศรีวิชัยในช่วงหลัง พุทธ
ศตวรรษที่ 13 โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นเคร่ืองยืนยันความรุ่งเรืองในอดีต ภายหลังเชื่อว่า เม่ือ
อาณาจักรตามพรลิงก์หรือเมืองนครศรีธรรมราช มีความรุ่งเรืองมากขึ้นน้ัน เมืองไชยาก็เป็นหนึ่งในเมืองสิบ
สองนักษตั รของเมอื งนครศรีธรรมราชด้วย ชื่อวา่ "เมืองบันไทยสมอ"

นอกจากน้ีในยุคใกล้เคียงกันนั้น ยังพบความเจริญของเมืองท่ีเกิดขึ้นในบริเวณลุ่มแม่น้าตาปี ได้แก่
เมืองเวียงสระ เมืองคีรีรัฐนิคม และเมืองท่าทอง โดยเช่ือว่าพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ผู้ครองเมือง
นครศรีธรรมราช อพยพย้ายเมืองมาจากเมืองเวียงสระ เนื่องจากเป็นเมืองท่ีไม่มีทางออกสู่ทะเล รวมท้ังเกิด
โรคภัยระบาด และเม่อื เมอื งนครศรีธรรมราชเจรญิ รุง่ เรืองนน้ั ไดย้ กเมืองไชยาและเมืองท่าทองเปน็ เมอื งสบิ สอง
นักษัตรของตนด้วย

ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกล้าเจา้ อยหู่ ัวโปรดเกล้าฯ ให้ก่อต้ังอู่เรือพระท่ีนั่งและเรือรบเพื่อใช้
ในราชการที่อา่ วบา้ นดอน ต่อมาในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ทรงให้ย้ายท่ีตั้งเมืองท่าทอง
มายังอ่าวบ้านดอน พรอ้ มทัง้ ยกฐานะให้เป็นเมืองจัตวา ขนึ้ ตรงตอ่ กรุงเทพมหานคร และพระราชทานชื่อว่า
"เมืองกาญจนดษิ ฐ์" โดยแต่งตง้ั ให้พระยากาญจนดษิ ฐ์บดีเปน็ เจา้ เมืองดูแลการปกครอง

3

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ได้โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ มอื งเมืองกาญจนดิษฐ์ เมืองคีรี
รัฐนิคมและเมืองไชยารวมตัวเป็นจังหวัดไชยา ขึ้นตรงต่อมณฑลชุมพร เม่ือเมืองขยายใหญ่ขึ้นจึงมีการ
ปรบั เปล่ียนการปกครองและขยายเมืองออกไป มกี ารแยกเมอื งกาญจนดษิ ฐ์เป็นอาเภอกาญจนดิษฐ์และอาเภอ
บ้านดอน กระทั่งสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการย้ายอาเภอเมืองมาที่อาเภอบ้านดอน
และโอนช่ือมาเป็นชื่ออาเภอไชยา และให้ช่ือเมืองเก่าว่า "อาเภอพุมเรียง" ทว่าประชาชนยังติดเรียกชื่อเมือง
เกา่ ว่า "อาเภอไชยา" ทงั้ ตวั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัวไม่โปรดปรานชอ่ื บ้านดอน จงึ พระราชทาน
นามอาเภอบ้านดอนว่า "สุราษฎร์ธานี" และยังคงช่ืออาเภอพุมเรียงว่าอาเภอไชยาเช่นเดิม รวมถึงเปล่ียนชื่อ
จังหวดั เป็นจังหวัดสุราษฎร์ธานี และพระราชทานนามแม่น้าตาปีให้ในคราวเดียวกันน้ันเอง ซึ่งเป็นการต้ังชื่อ
ตามแบบเมอื งและแมน่ ้าในประเทศอินเดยี ที่มแี ม่น้าตาปีทไ่ี หลลงส่ทู ะเลออกผ่านปากอ่าวท่ีเมอื งสรุ ัต

ทต่ี ้ังและอาณาเขต

จังหวัดสุราษฎร์ธานีต้ังอยู่ฝ่ังตะวันออกของภาคใต้ โดยมีพ้ืนท่ีใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ และ
อันดบั 1 ของภาคใต้ โดยมีจงั หวัดทีม่ ีอาณาเขตติดกัน ดงั นี้

ด้านเหนือ ติดกบั จงั หวดั ระนอง จงั หวดั ชมุ พร และอา่ วไทย
ดา้ นใต้ ติดกบั จงั หวัดกระบแี่ ละจงั หวดั นครศรธี รรมราช
ด้านตะวันออก ติดกับจงั หวดั นครศรธี รรมราชและอ่าวไทย
ด้านตะวันตก ติดกบั จังหวัดพังงา
ทะเลฝ่ังอ่าวไทยมีชายฝั่งยาวประมาณ 156 กิโลเมตร โดยมีเกาะที่อยู่ภายใต้เขตการปกครองของ
จังหวัด ได้แก่ เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเตา่ และหมู่เกาะอา่ งทอง ซ่ึงมีเกาะน้อยใหญ่อีกมากมาย จึงได้ชื่อว่า
เมอื งร้อยเกาะ เชน่ เกาะนางยวน เกาะวัวตาหลบั เกาะแม่เกาะ เป็นตน้

ภมู ิประเทศและภมู ิอากาศ

จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพ้ืนท่ีกวา้ งใหญ่ และมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย ได้แก่ ภูมิประเทศแบบที่
ราบชายฝั่งทะเล ที่ราบสงู รวมทงั้ ภมู ปิ ระเทศแบบภูเขาซ่ึงกินพ้ืนท่ีของจังหวัดถึงร้อยละ 40 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด
โดยมีทิวเขาภูเก็ตทอดตัวในแนวเหนือใต้ของจังหวัด มีลุ่มน้าท่ีสาคัญ คือ ลุ่มน้าตาปี ไชยา ท่าทอง ด้าน
ตะวันออกเป็นฝง่ั ทะเลอา่ วไทย และมีเกาะนอ้ ยใหญ่ทีม่ ปี ระชากรอาศัย ส่วนด้านตะวันตก มีลักษณะเป็นภูเขา
สูง มีแม่น้าสายสาคัญ คือ แม่น้าตาปี แม่น้าคีรีรัฐหรือแม่น้าพุมดวง เนื่องจากทาเลที่ต้ังและภูมิประเทศทาให้
จังหวัดสุราษฎร์ธานีได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ท่ีพัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย รวมท้ังมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านอ่าวไทย ดังน้ัน จึงทาให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนยาวนานมาก โดยกิน
ระยะเวลาตัง้ แต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมกราคม จังหวัดสุราษฏร์ธานีมีอุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ย 21.16 องศา
เซลเซยี ส และอณุ หภมู ิสูงสดุ เฉล่ยี 34.51 องศาเซลเซยี ส และปรมิ าณน้าฝนเฉล่ยี 129.59 มิลลเิ มตร

4

การปกครองส่วนภมู ภิ าค

จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานแี บ่งการปกครองสว่ นภมู ิภาคออกเป็น 19 อาเภอ 131 ตาบล 1,074 หมู่บ้าน โดย
มรี ายชื่ออาเภอดงั น้ี

1. อาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
2. อาเภอกาญจนดษิ ฐ์
3. อาเภอดอนสกั
4. อาเภอเกาะสมุย
5. อาเภอเกาะพะงัน
6. อาเภอไชยา
7. อาเภอทา่ ชนะ
8. อาเภอครี รี ฐั นคิ ม
9. อาเภอบา้ นตาขนุ
10. อาเภอพนม
11. อาเภอทา่ ฉาง
12. อาเภอบ้านนาสาร
13. อาเภอบ้านนาเดมิ
14. อาเภอเคียนซา
15. อาเภอเวยี งสระ
16. อาเภอพระแสง
17. อาเภอพนุ พิน
18. อาเภอชยั บุรี
19. อาเภอวิภาวดี

5

อาเภอพนม

คาขวญั ประจาอาเภอ

"บัวผุดสวย รวยเขาเสียบหมอก" ด้วยเป็นแหล่งกาเนิดบัวผุดและมีลักษณะเด่นทั้งธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยภเู ขาหนิ ปนู สลบั ซบั ซอ้ น ในเวลาเชา้ หรอื หลังฝนตกจะมเี มฆหมอกหนาทึบปกคลุมดูเสมือนเป็น
ดินแดนมหัศจรรย์ ลักษณะท่ีมองเห็นเด่นชัด ซ่ึงหาดูได้ไม่ง่ายนัก คือ ยอดเขาแหลมสูงเสียดฟูาปกคลุมด้วย
หมอกขาวโพลน เรียกวา่ "เขาเสยี บหมอก"

ประวัตศิ าสตร์

ตามประวัตคิ วามเปน็ มานัน้ คาว่า "พนม" เปน็ ภาษาเขมรซึ่งแปลว่า ภูเขาลาเนาไพร หรือชาวท้องถิ่น
เรียกว่า "ปากนม" หรือ "พะนม" เป็นคาบอกถึงความหมายของสถานที่แห่งนั้น ตามหลักฐานบางอย่าง
สันนิษฐานว่า มีภูเขาเป็นรูปนม บ้างก็ว่าพนมมือ แต่เดิมอาเภอพนมมีช่ือเรียกว่า อาเภอชะอุ่น เป็นอาเภอ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2433 ต้ังอยู่ฝ่ังขวาของคลองชะอุ่น การปกครองขึ้นตรงต่อเมืองนครศรีธรรมราช โดยมีหลวง
ปราบประทุษราษฎรเ์ ป็นนายอาเภอคนแรก

ตามประวัติกล่าวไว้วา่ เหตทุ ี่ต้ังเมอื งน้นั เพราะบริเวณหวั แควน้ ด้านน้ีชุกชุมไปดว้ ยอันธพาล ทางการจึง
ก่อตง้ั เป็นอาเภอเพอ่ื ปราบอนั ธพาลนนั่ เอง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2441 ทางราชการได้แบง่ การปกครองเป็นมณฑล
จงึ ย้ายอาเภอชะอ่นุ มาข้นึ กับมณฑลชมุ พร ตอ่ มาเมอื่ ปี พ.ศ. 2453 อาเภอชะอุ่นไดถ้ กู ลดฐานะเป็นกิ่งอาเภอชื่อ
วา่ กง่ิ อาเภอปากพนม โดยมขี ุนพนมธนารกั ษ์ ดารงตาแหน่งปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจาก่ิงอาเภอคนแรก
ในที่สุดคาว่า "ปาก" ได้หายไปเหลือเพียงช่ือว่า ก่ิงอาเภอพนม แล้วได้ยกฐานะเป็น อาเภอพนม อีกคร้ังเมื่อ
วนั ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514

6

ที่ต้งั และอาณาเขต

อาเภอพนมต้ังอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด ระยะทางห่างจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี 82
กโิ ลเมตร มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั เขตการปกครองข้างเคียงดงั ตอ่ ไปน้ี

ทิศเหนือ ตดิ ต่อกบั อาเภอบา้ นตาขนุ
ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับอาเภอครี รี ัฐนคิ ม อาเภอเคียนซา และอาเภอพระแสง
ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอพระแสง อาเภอปลายพระยา (จังหวัดกระบี่) อาเภอทับปุด และอาเภอเมือง
พงั งา (จังหวัดพังงา)
ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับอาเภอกะปง อาเภอตะกั่วปุา และอาเภอครุ ะบรุ ี (จงั หวัดพังงา)

ภมู ศิ าสตร์

อาเภอพนมมีเนื้อที่โดยประมาณ 1,160 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 720,000 ไร่ โดยพื้นท่ีส่วน
ใหญเ่ ป็นพืน้ ทข่ี องอทุ ยานแหง่ ชาตถิ ึง 2 แห่ง คือ อทุ ยานแหง่ ชาติเขาสกและอุทยานแห่งชาติคลองพนม

ลกั ษณะภมู ิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปของอาเภอพนมเป็นภูเขาสูง โดยเฉพาะทางทิศตะวันตก มีกว่าร้อยละ
60 ของพน้ื ท่ีท้ังหมด มที ่รี าบเชิงเขาเพยี งเล็กน้อย มลี กั ษณะเปน็ ลอนลูกฟูก เปน็ ต้นกาเนิดของลาคลอง 2 สาย
ทสี่ าคญั คอื คลองศกและคลองพนม ซึง่ ไหลลงสูแ่ ม่นา้ พมุ ดวงและแม่น้าตาปี

ลกั ษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศตอนเช้าของอาเภอพนมน้ันจะมีอากาศหนาวมีหมอกปกคลุมตลอดทั้งปีคล้าย
ลักษณะทางภาคเหนือของประเทศไทย จนกระทั่งหลัง 10.00 น. เป็นต้นไป อากาศจึงกลับสู่ภาวะปกติ
ลักษณะภูมิอากาศแบบน้ีเองจึงได้รับสมญานามว่า "เขาเสียบหมอก" แต่ลักษณะภูมิอากาศโดยท่ัวไปจะมี
ลกั ษณะอากาศรอ้ นและอบอุ่น มี 2 ฤดูคือ ฤดูร้อนและฤดูฝน ฤดูร้อนจะร้อนอบอ้าว เริ่มต้ังแต่เดือนมกราคม
จนถึงเดอื นเมษายน สว่ นในฤดูฝน อากาศจะเย็น มฝี นตกและมหี มอกหนาแน่น

การปกครองสว่ นภูมิภาค

อาเภอพนมแบ่งเขตการปกครองออกเปน็ 6 ตาบล 56 หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่
1. พนม (Phanom) 13 หมู่บ้าน
2. ตน้ ยวน (Ton Yuan) 12 หมู่บ้าน
3. คลองศก (Khlong Sok) 8 หมู่บา้ น
4. พลเู ถอ่ื น (Phlu Thuean) 5 หมบู่ า้ น

7

5. พงั กาญจน์ (Phang Kan) 5 หมบู่ ้าน
6. คลองชะอนุ่ (Khlong Cha-un) 13 หมบู่ ้าน

การปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

ทอ้ งท่อี าเภอพนมประกอบดว้ ยองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 6 แหง่ ไดแ้ ก่
1. เทศบาลตาบลพนม ครอบคลุมพืน้ ที่ตาบลพังกาญจน์ทง้ั ตาบลและบางสว่ นของตาบลพนม
2. เทศบาลตาบลคลองชะอุ่น ครอบคลุมพนื้ ที่ตาบลคลองชะอนุ่ ทงั้ ตาบล
3. องค์การบรหิ ารส่วนตาบลพนม ครอบคลมุ พ้นื ท่ตี าบลพนม (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลพนม)
4. องค์การบริหารสว่ นตาบลต้นยวน ครอบคลุมพนื้ ทีต่ าบลต้นยวนท้งั ตาบล
5. องค์การบรหิ ารส่วนตาบลคลองศก ครอบคลุมพ้ืนทตี่ าบลคลองศกทั้งตาบล
6. องค์การบริหารสว่ นตาบลพลูเถื่อน ครอบคลุมพนื้ ที่ตาบลพลเู ถ่ือนทง้ั ตาบล

เศรษฐกิจ

อาเภอพนมมีลกั ษณะการประกอบอาชีพทางการเกษตรเปน็ อาชีพหลกั อาชพี ค้าและรับจ้างเป็นอาชีพ
รอง

พืชเศรษฐกจิ หลัก คือ
- ยางพารา มพี ื้นท่ีปลูกยางพารา 161,566 ไร่
- ปาลม์ นา้ มนั มีพนื้ ทีล่ กู ปาล์ม 32,000 ไร่

8

พชื เศรษฐกจิ รอง คือ
- กาแฟ มพี ้นื ทีป่ ลกู กาแฟ 11,427 ไร่
- ไม้ผล (เงาะ ทเุ รียน มังคุด ลองกอง ฯลฯ) มีพ้นื ทปี่ ลกู ไมผ้ ล 11,970 ไร่

ประชากร

อาเภอพนม มปี ระชากรประมาณ 32,875 คน แบ่งเปน็
- เพศชาย 16,802 คน
- เพศหญงิ 16,073 คน
- มีจานวนครัวเรอื น 8,052 ครอบครวั

ศาสนา

ประชากรส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ และมผี นู้ บั ถือศาสนาครสิ ตบ์ างสว่ น ในเขตตาบลคลองชะอ่นุ
เปน็ ท่ตี ั้งของโบสถค์ ริสต์แม่พระองคอ์ ปุ ถมั ภ์ (Maria Auxilium Christianorum)

9

การศึกษา

สถาบนั การศกึ ษาหลักของอาเภอพนมน้นั ประกอบไปด้วย
1. โรงเรียนชุมชนบ้านช่องมา้ เหลียว โรงเรียนประถมศกึ ษาประจาอาเภอ
2. โรงเรียนพนมศกึ ษา โรงเรียนมัธยมศึกษาประจาอาเภอ
3. วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุราษฎรธ์ านี
4. โรงเรยี นบ้านเขานาใน โรงเรยี นทเ่ี ปดิ สอนตั้งแต่ก่อนปฐมวัยถงึ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 แหง่ แรกของ
อาเภอ
ทง้ั นี้ มีจานวนสถานศกึ ษารวมดังนี้
- โรงเรยี นประถมศกึ ษา จานวน 16 โรงเรียน
- โรงเรียนขยายโอกาส จานวน 7 โรงเรยี น
- โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา จานวน 1 โรงเรียน
- โรงเรียนเอกชน จานวน 2 โรงเรยี น

การคมนาคม

การเดนิ ทางจากตวั เมอื งสรุ าษฎรธ์ านีใชเ้ ส้นทางสุราษฎร์ธานี-ตะกั่วปาุ (ทางหลวงหมายเลข 401) โดย
มรี ถประจาทาง คอื

- รถประจาทางสาย สุราษฎร์ธานี-ภูเกต็
- จากสถานรี ถไฟอาเภอพุนพิน สรุ าษฎร์ธานี มรี ถประจาทางสาย พนุ พิน-พนม
- รถประจาทางสาย สรุ าษฎรธ์ านี-พังงา
- รถตู้สาย สรุ าษฎร์ธานี-ภูเกต็
- รถตู้สาย สุราษฎรธ์ านี-เขาสก-เขอ่ื นรัชประภา-สมุย

10

นอกจากนี้ท่านสามารถเดินทางจากกรงุ เทพมหานครถงึ อาเภอพนมได้โดยตรงซ่ึงสามารถเดินทางโดย
รถทัวร์ประจาทางและสายการบนิ ต่าง ๆ คอื

- สายการบนิ thai air asia โดยลงท่สี นามบินจังหวัดสุราษฎรธ์ านี ต่อรถสาย พนุ พิน-พนม
- สายการบิน การบินไทย โดยลงทีส่ นามบินจงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ตอ่ รถสาย พนุ พิน-พนม
- สายการบิน bangkok airways โดยลงที่สนามบินเอกชนนานาชาติสมุย ต่อรถตู้สาย สุราษฎร์-เขา
สก-เขอ่ื นรัชประภา-สมุย
- กรุงเทพฯ-ภเู กต็ โดยบริษัทภเู กต็ เซนทัลทัวร์
- กรุงเทพฯ-ภูเก็ต โดยบริษัทบรษิ ัทภเู กต็ ท่องเทีย่ ว
- กรุงเทพฯ-กระบี่ โดยบรษิ ัทลิกไนต์ทัวร์
การคมนาคมติดต่อระหว่างอาเภอและจงั หวดั มที างหลวงแผน่ ดิน 3 เส้นทางคือ
- ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 401 (สรุ าษฎรธ์ านี – ตะกัว่ ปาุ )
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 (อาเภอพนม – เขาตอ่ )
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4118 (อาเภอพนม– ทับปดุ )

สถานทท่ี อ่ งเที่ยว

อาเภอพนมนั้นเปน็ อาเภอท่อี ุดมไปด้วยทรัพยากรปุาไม้ทาให้มีทรัพยากรธรรมชาติทยี่ งั คงอุดมสมบูรณ์
ก่อกาเนิดให้มีแหล่งท่องเท่ียวต่าง ๆ มากมายโดยอาเภอพนมมีพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติถึงสองแห่งคือ อุทยาน
แหง่ ชาตคิ ลองพนมและอุทยานแห่งชาติเขาสก ซึงเป็นถ่ินกาเนิดแห่งแรกและแห่งเดียวของดอกบัวผุดดอกไม้
ประจาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้วยความงามของธรรมชาติและขุนเขาทาให้มีคาขวัญท่ีว่า ภูเขาสวย รวยเขา
เสียบหมอก อีกทั้ง ยังได้รับสมญานามว่า กุ้ยหลินเมืองไทย จากทัศนียภาพบนเข่ือนรัชประภาโดยเป็นส่วน
หนงึ่ ของอุทยานแห่งชาติเขาสก การเดินทางจากตัวเมืองสุราษฎร์ธานีใช้เส้นทางสุราษฎร์ธานี-ตะกั่วปุา (ทาง
หลวงหมายเลข 401) สถานทที่ อ่ งเทีย่ วตา่ ง ๆ มีดงั นี้

อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาสก

- นา้ ตกวิง่ หิน
- นา้ ตกแมย่ าย
- นา้ ตกสบิ เอ็ดช้นั
- นา้ ตกธารสวรรค์
- น้าตกโตนกลอย
- นา้ ตกโตนไทร
- ต้ังน้า

11

- ดอกบัวผุด (ดอกไม้ประจาจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี)

- เส้นทางศกึ ษาธรรมชาติ สนั ยางรอ้ ย
- เส้นทางเดนิ ศกึ ษาธรรมชาติ อุทยานแหง่ ชาติเขาสก
- ถา้ คา้ งคาว
- เสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติ ทางนา้ ลอ่ งแก่งน้าตกบางหัวแรด-ลาคลองศก
- เข่ือนรชั ชประภา
- เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ทางนา้ ลอ่ งลาน้าคลองศก (วังมัจฉา-บา้ นเช่ียวปง)
- ถ้านา้ ทะลุ ตง้ั อยูพ่ ้ืนหน่วยพทิ ักษ์ อช.เขาสกท่ี ขส.4 ริมอา่ งเก็บนา้ เชี่ยวหลาน
- ถ้าประกายเพชร ภายในอ่างเก็บนา้ เข่อื นรัชชประภา
- ถ้าสีร่ ู ต้งั อยพู่ น้ื หน่วยพิทกั ษ์ อช.เขาสกที่ ขส.4 ริมอา่ งเกบ็ น้าเชยี่ วหลาน

อทุ ยานแห่งชาตคิ ลองพนม
- ถ้าแก้ว
- ถา้ นอน และถ้านา่ น มีหินงอกหินย้อยที่ดเู ปน็ ประกายพราวดว้ ยแรไ่ มกา
- ไผเ่ ฉยี งรุน ไผ่ท่ีมขี นาดใหญ่ท่ีสุดในประเทศ ตงั้ อยู่อุทยานแหง่ ชาตคิ ลองพนม
- เส้นทางเดินศกึ ษาธรรมชาติ อุทยานแหง่ ชาติคลองพนม
- นา้ ตกเขาวงก์
- นา้ ตกครี วี งษแ์ ละถ้าครี ีวงษ์

12

- นา้ ตกชอ่ งยงู
- เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ตน้ ไมใ้ หญ่
- เส้นทางศกึ ษาธรรมชาติ ทางนา้ ลอ่ งแก่งลาน้าคลองพนม-บ้านเบญจา

ถ้านางพนั ธรุ ัต
วดั ถา้ วราราม
Maria Auxilium Christianorum หม่บู ้านทับครสิ ต์
ภูเขาพันธรุ ัตน์
นา้ ตกบางเลียบนา้
น้าตกบางหัวแรด
ถา้ เขาวง (ตาบลต้นยวน)
บอ่ น้าดันทรายดดู (ตาบลต้นยวน)

น้าตกโตนชนั (ตาบลพลูเถื่อน)
นา้ ตกห้าช้ัน (ตาบลพลเู ถื่อน)
น้าตกถา้ ลิง (ตาบลพลเู ถ่อื น)
นา้ ตกวงั ช้าง (ตาบลคลองชะอ่นุ )

13

ตาบลพนม อาเภอพนมจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

ขนาดและทีต่ ้ัง
ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานีซ่ึงเป็นตาบล 1 ในจานวน 6 ตาบลของอาเภอ โดยใช้

ถนนทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 401 (สุราษฎร์-ตะก่ัวปุา) มีเนื้อที่ท้ังหมด 134.67 ตารางกิโลเมตร ประมาณ
84,229 ไร่ แบ่งเป็นพ้ืนที่ในเขตความผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตาบลพนม จานวน 70.754 ตาราง
กิโลเมตร หรอื ประมาณ 44,109 ไร่ สว่ นทเ่ี หลอื เปน็ พ้นื ทีใ่ นเขตรับผดิ ชอบของเทศบาลตาบลพนม

ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศโดยท่ัวไปของตาบลพนม จะมีลักษณะเป็นภูเขาสลับหิน โดยจะมีพ้ืนที่ภูเขาจะมี

ประมาณ 80% ของพ้ืนที่ท้ังหมดของตาบลพนม และมีพื้นท่ีปุาที่อยู่ในเขตปุาสงวนแห่งชาติในบริเวณตอน
เหนือและทางด้านทิศตะวันตกของตาบล ส่วนลาคลองธรรมชาติสายสาคัญในตาบล ได้แก่ คลองพนมและ
คลองศก นอกจากนี้ยงั มีลาห้วยธรรมชาติขนาดเล็กอยู่โดยทั่วไปในตาบลโดยน้าจะไหลรวมกันลงสู่คลองพนม
และคลองศก ทเี่ ป็นลาคลองธรรมชาตสิ ายสาคัญในอาเภอมีจานวนหมู่บา้ น 13 หมู่บา้ น

มีเทศบาลตาบลจานวน 1 แหง่ คือเทศบาลตาบลพนม โดยมีหมู่บ้านอยใู่ นเขตตาบลพนม จานวน 4

หมบู่ า้ น ได้แก่

14

หมู่ที่ 1 บ้านพิทักษ์พัฒนา

ที่ตงั้ แผนทีโ่ ดยสังเขป
บา้ นพิทักษพ์ ฒั นา หมทู่ ่ี 1 ตัง้ อยู่ในตาบลพนม ห่างจากทวี่ ่าการอาเภอพนมประมาณ 500 เมตร และ

หา่ งจากสานกั งานเทศบาลพนม 1 กโิ ลเมตร เปน็ พน้ื ทคี่ วามรับผิดชอบของตาบลพนม

ประวัติหมู่บา้ น
ตาบลพนม เดิมชอ่ื ว่าบ้านผาแดง เพราะชาวบ้านได้เรยี กชอื่ และตั้งช่ือตามภูเขา ซ่ึงมหี น้าผาสแี ดง

ต่อมามนปี พ.ศ.2513 ผวู้ ่าราชการจังหวดั สุราษฎร์ธานี ช่ือนายคล้าย จิตพทิ ักษ์ ได้มาอปุ ถัมภ์วดั และได้รว่ มกับ
กรบ.กลาง ร่วมพฒั นาในพน้ื ท่ี และอญั เชิญพระพทุ ธรปู มา ณ ท่วี ดั จงึ ไดต้ ง้ั ชอื่ วดั แหง่ น้วี า่ “จิตพิทักษ์” วดั หนา้
เมอื งปจั จบุ นั ตอ่ มาในปี 2528 ได้มกี ารเปล่ียนชื่อหมบู่ า้ นเปน็ หม่บู ้านพิทกั พัฒนา โดยเอาชือ่ พทิ ักษ์ มาจากวดั
และเพมิ่ ขอ้ ความวา่ พัฒนา เพื่อให้รูว้ ่าคอื ชุมชนพิทักษ์พัฒนา และไดใ้ ชช้ อื่ มาจนถงึ ปจั จุบนั

ข้อมลู สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
- พน้ื ทีท่ าสวนยาง 4,662 ไร่
- ทท่ี าสวนปาล์ม 411 ไร่
- พืน้ ที่ทาผลไม้ 23 ไร่
- ปุาชมุ ชน 1 แห่ง จานวน 15 ไร่
- แหล่งน้าสาธารณ 8 แห่ง
- ผใู้ ช้ 240 ครวั เรอื น(ประปาเทศบาล)

15

- บ่อสาธารณ 7 แห่ง
- โรงเรยี นระดับมัธยม 1 แหง่ คอื โรงเรียนพนมศึกษา
- วดั 1 แหง่ คือวดั จติ พิทักษ์
- จานวนผู้ใช้ไฟฟูา 380 ครัวเรอื น
- หอกระจายข่าว 1 แห่ง
- ทอี่ า่ นหนงั สอื ประจาหมูบ่ า้ น 1 แหง่
- ศาลาประชาคม 1 แหง่

ขอ้ มูลงานประเพณี
- งานเดือนสบิ
- งานบญุ ประจาปี รดนา้ ผู้สูงอายุ
- ตกั บาตรปีใหม่

สถานที่ท่องเทยี่ ว
- ทะเลหมอกบ้านเขาหนา้ แดง
- เขาหน้าแดง
- วดั จติ พิทกั ษธ์ รรมมาราม
- สวนสาธาณะเฉลิมพระเกยี รติ

องค์กรในชมุ ชน
- กลม่ ขา้ วสาร
- กลมุ่ ปุ๋ย
- กลมุ่ แมบ่ ้านสตรี
- กลมุ่ เคร่ืองครัว
- กล่มุ สมาชกิ อาสาสมัครทอ้ งถน่ิ รกั ษ์โลก

จดุ เดน่ จดุ ด้อยและปัญหาของบ้านพทิ กั ษพ์ ัฒนา
จุดเด่น

1.มีการทาพิธีต่างๆในหม่บู า้ นตามหลกั ความเชอ่ื สบื ทอดกันมารุ่นต่อร่นุ
2.มีการตดั เย็บเส้ือผ้าเพอ่ื บริการให้เช่า เป็นการสร้างรายไดใ้ ห้สมาชิกในชุมชน
3.มกี ล่มุ โยงผ้า
4.มีกลุม่ จดั ดอกไมท้ ัง้ ไม้สดและไม้แห้ง

16

จุดดอ้ ย
1.สมาชิกในชุมชน ขาดอาชีพเสริมในช่วงฤดูแล้งเพราะประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาสวน

ยางพาราเม่อื ถึงฤดกู าลปดิ ฤดูกาลเปดิ หน้ายางหรอื หนา้ แล้งหรือหน้าแล้งประชาชนท่ีประกอบอาชีพดังกล่าวก็
ขาดรายได้เพราะไมม่ ีอาชพี เสริม

2.สมาชกิ ในชุมชนกย็ ังขาดการใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์
3.สมาชกิ บางสว่ นไม่ให้ยงั ไมค่ อ่ ยให้ความร่วมมอื ในกิจกรรม
4.วถิ ีชีวติ ส่วนใหญจ่ ะตา่ งคนตา่ งอยู่
5.รายจ่ายในชวี ติ ประจาวนั ของครัวเรอื นสูง

ปัญหาและอุปสรรค
1. ปญั หายาเสพติดในชุมชน ยังมบี างส่วนในครวั เรือน เช่นพชื กระทอ่ ม
2. ปญั หาหนี้สินของสมาชิกในชุมชน
3. ปญั หาการใชน้ า้ ทีไ่ มเ่ พยี งพอต่อหนา้ แล้ง
4. ปญั หาถนนชารดุ
5. ปญั หาการท้ิงขยะไมเ่ ปน็ ที่

17

หมู่ที่ 2 บา้ นพนมพัฒนา

ประวตั คิ วามเป็นมา
ชุมชนพนมพัฒนา ต้ังอยู่ท่ีหมู่ท่ี 2 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี เดิมช่ือบ้านในพนม

เป็นหมู่บ้านเก่าแกอายุมากกว่า 100 ปีโดยเป็นชุมชนที่ตั้งอยู่โดยรอบวัดพนม ซ่ึงปัจจุบันแยกการปกครอง
ท้องที่ออกเป็น หมู่ท่ี 13 และหมู่ท่ี 5 ตาบลพังกาญจน์ เมื่อมีการยกระดับสุขาภิบาตาบลพนมและขยายเขต
สุขาภบิ าลจากเขต หมู่ที่ 3 ตาบลพนม ทอ่ี ย่คู นละฝั่งคลองศก เป็นคลอบคลุม หมู่ท่ี 1,2,3 และ 13 ตาบลพนม
และทางราชการยกระดับสุขาภิบาลตาบลพนมเป็นเทศบาลพนม จึงมีการจัดตั้งเขตชุมชน ของหมู่ท่ี 2 ตาบล
พนม หรือบ้านในพนมเดิม เปล่ียนช่ือเป็นชุมชนวัดพนมพัฒนา คลอบคลุมพื้นท่ี หมู่ท่ี 2 ตาบลพนมท้ังตาบล
ทงั้ หมด

สภาพทัว่ ไป
ท่ีตั้ง/อาณาเขต/การปกครอง
ทิศเหนอื ติดกบั หมทู่ ี่ 1 บ้านภทิ ักษพ์ ัฒนา
ทศิ ตะวันออก ตดิ กับ หมทู่ ี่ 5 ตาบลพังกาญจน์ บ้านบางยวน
ทศิ ใต้ ตดิ กบั ถนนสุรชั ดาภริ มณ์ หม่ทู ี่ 13
ทศิ ตะวันตก ติดกบั หมทู่ ่ี 6 บ้านลกู เดือน
เนอื้ ที่ ประมาณ 23,875 ไร่

18

สภาพทว่ั ไปของหมู่บ้าน
สภาพภูมิประเทศ
บ้านพนมพฒั นา โดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นภูเขาสลับหินมีพื้นท่ีราบริมฝ่ังคลองพนม ติดเขต

คลองศก มีสภาพ ปาุ ทสี่ มบูรณ์ มนี า้ ของหม่บู ้านคือ คลองพนม และได้มีฝาุ ยกักเกบ็ นา้ ขนาดเล็กไว้ใชท้ ง้ั ปี
สภาพภูมอิ ากาศ
สภาพภูมิอากาศบา้ นพนมพัฒนาจะมีอากาศร้อนช้ืนฝนตกชุกแทบตลอดทั้งปี อาจจาแนกได้

2 ฤดู คือ ฤดูฝน และฤดูร้อน หรือท่ีชาวบ้านเรียกว่า “ฝนแปดแดดสี่” หมายถึง ฤดูฝน 8 เดือน ฤดูร้อน 4
เดือน ฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคมของทุกปี เดือนกันยายนเป็นเดือนท่ีมีปริมาณ
นา้ ฝนมากที่สุดในรอบปี ฤดรู อ้ นเริม่ จาก กลางเดอื นมกราคมถงึ เดือนเมษายนของทุกปี เดือนกุมภาพันธ์จะเป็น
เดือนท่มี ปี รมิ าณฝนตกนอ้ ยทีส่ ุดของปี

ประชากร /ครวั เรอื น /รายได้
ครัวเรือนในหมบู่ ้านมีจานวน 88 ครัวเรอื น
จานวนประชากรทั้งหมด 299 คน
ชาย 151 คน
หญงิ 148 คน

ลกั ษณะการประกอบอาชพี
อาชพี หลัก คือ เกษตรกรรม ปลกู ยางพารา และปาล์มนา้ มนั
อาชีพรองลงมา คือ การเล้ียงสัตว์ เช่น หมู ไก่ เป็นตน้

วฒั นธรรมประเพณ/ี ศลิ ปวัฒนธรรม/ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน
- ประเพณรี บั ตายายและสง่ ตายาย งานบุญเดอื น 10
- ประเพณจี บปีจบเดอื น
- ประเพณีลอยกระทง
- วนั สงกรานต์ 13-15 เมษายนของทกุ ปี
-วนั กฬี าทางน้า 15 เมษายน
-วนั อาลาสถาบนั ของทกุ ปี
-วันทาบญุ ปากปี วนั ขึ้น 1 คา่ เดอื น 6

สถานทีท่ ่องเทีย่ ว/สถานทบี่ รกิ ารชุมชน
แหล่งชมปลาวดั พนม (ดูแลร่วมกับชมุ ชนบ้านหวั ลิง)
โบราณสถานวัดพนม (ดแู ลรว่ มด้วยกบั ชมุ ชนบ้านหวั ลงิ )

19

สาธารณปู โภค
บ้านพนมพฒั นา มสี าธารณูปโภค ดงั น้ี
- พน้ื ทอี่ ยอู่ าศัย 360 ไร่ พ้ืนทีท่ าการเกษตร 1,640 ไร่ ทานา ปี – ครั้ง
- พื้นท่ที าสวนยาง 1,000 ไร่ พ้นื ทท่ี าสวนปาล์มนา้ มนั 300 ไร่
- พน้ื ทที่ าการเกษตรอน่ื ๆ 130 ไร่
- ปุาชมุ ชน ไม่มี
- แหล่งนา้ สาธารณะ 1 แห่ง
- ประปา 1 แหง่ ผใู้ ช้ 50 ครัวเรือน
- โรงเรยี นระดับประถม 1 แหง่ วดั พนม 1 แหง่ (อยนู่ อกเขตหม่บู า้ นแตถ่ อื วา่ เปน็ วัดในชมุ ชน)
- จานวนผู้ใชไ้ ฟฟาู 67 ครัวเรอื น
- หอกระจายขา่ ว 1 แหง่ วิทยุชมุ ชน ไมม่ ี
- ศนู ย์ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ชุมชน 1 แหง่
- ศาลาหมบู่ ้าน 1 แห่ง

ผลการวิเคราะหศ์ ักยภาพของบา้ นพนมพฒั นา
จดุ เด่น

1. ดา้ นทรัพยากรบคุ คลในชมุ ชน ผนู้ าชมุ ชนมคี วามรู้ ความสามารถ มกี ารรักษาดูแลลูกบ้านดี
2. มี อ.ส.ม. และคณะกรรมการหมู่บา้ นเป็นผชู้ ว่ ยเหลือเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข
3. สมาชิกให้ความรว่ มมือในการพัฒนาอยา่ งพอเพยี ง
4. เนื่องจากในชุมชนมีทรัพยากรไม่มากนักทาให้สมาชิกในชุมชนรู้จักการอนุรักษ์ และฟ้ืนฟูเป็น
ธรรมชาติให้มากทส่ี ดุ
5. บุคลากรในชุมชนมคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย และมกี ารรณรงค์ใหม้ ีการใชส้ ทิ ธเิ ลือกตัง้
6. สมาชกิ ในชุมชน ใหค้ วามสนใจเกย่ี วกบั การเมอื งในปจั จบุ นั อย่างมาก
7. มีการสบื ทอดประเพณีตามวัฒนธรรมพื้นฐาน เชน่ วันสงกรานต์ วันลอยกระทง
8. ชาวบ้านใหค้ วามร่วมมอื ในเรื่องการปูองกนั โรคเป็นอย่างดี
9. การทาบญุ ตักบาตรในวันออกพรรษา
จดุ ดอ้ ย
1. สมาชิกในชมุ ชนยังขาดการใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์เทา่ ท่คี วร
2. สภาพพนื้ ท่ขี องชมุ ชนบางครวั เรอื นขาดนา้ อปุ โภค บรโิ ภคในฤดแู ลง้
3. แหล่งนา้ เพ่ือการเกษตรมนี อ้ ย
4. ต้นทุนด้านเศรษฐกิจสงู
5. ขาดปจั จยั ในการลงทุน

20

หมูท่ ่ี3 บา้ นพนมใน

ประวัตคิ วามเป็นมา
หมู่บ้านพนม ในอดีตชาวบ้านเรียก บ้านปากนมมีภูเขาเป็นสัญลักษณ์ รูปนม ปากนมเป็นที่รวมของ

แม่นา้ สองสาย คือคลองศกและคลองพนมไหลลงส่สู ู่แม่นา้ พุมดวงและเรียกตดิ ปากว่าปากคลองพนมตามแผนที่
ของหม่บู ้านปจั จบุ นั เป็นเมอื งเก่าแก่เป็นท่ีตั้งของอาเภอพนมเม่ือปี พ.ศ. 2447 อยู่ตรงกันข้ามกับวัดพนมและ
ตงั้ เป็นตาบลพนมในปเี ดียวกนั ในปี พ.ศ. 2453 ได้ลดฐานะจากอาเภอพนมเปน็ กง่ิ อาเภอพนมปี พ.ศ. 2540 กิ่ง
อาเภอพนมไดย้ า้ ยไปอยู่ทบ่ี า้ นลูกชา้ งหลกั กโิ ลเมตรที่ 34 ถนนสายสุราษฎร์-ตะก่ัวปุา และย้ายมาอยู่ที่ปัจจุบัน
ในปี พ.ศ. 2514 และไดป้ ระกาศเป็นอาเภอพนมในปีเดยี วกนั (นานถงึ 61 ปี)
ปี พ.ศ. 2487 บ้านพนมพัฒนา เป็นที่ต้ังของโรงเรียนบ้านพนมและได้ยุบเลิกเมื่อปี พ.ศ. 2537 เนื่องจากเด็ก
เข้าโรงเรียนไม่เพียงพอได้เปิดสอนในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-4 มี คุณครูวิญญ์ พิทักษ์แทน เป็นครูคนแรก
และคุณครูสญั ญาทองญวน (ครเู กราะ) เป็นครคู นสุดทา้ ย

สภาพทว่ั ไป
ท่ตี ง้ั /อาณาเขต/การปกครอง
ทศิ เหนือ ตดิ กับ จรดคลองศกและหมู่ท1่ี 3 ชุมชนหัวลิง ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั จรดคลองศกและหม่ทู ่1ี 3 ชุมชนหัวลิง ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์

ธานี
ทิศใต้ ติดกบั จรดหมทู่ ่ี 1 ตาบลคลองชะอุ่น อาเภอพนม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
ทิศตะวนั ตก ตดิ กับ จรดหมูท่ ่ี 4 ตาบลพนม อาเภอพนม จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

21

สภาพทวั่ ไปของหมู่บา้ น
สภาพภมู ปิ ระเทศ

สภาพภมู ปิ ระเทศของบ้านพนมพัฒนา โดยรอบหมู่บ้านมีพื้นที่ราบริมลุ่มฝ่ังแม่น้าคลองศกและคลองพนมเป็น
พื้นที่ราบริมฝ่ังแม่น้า มีสภาพปุาสมบูรณ์ และมีภูเขา มีคลอง 2 สาย เป็นสายน้าหล่อเลี้ยงความชุ่มชื้นของ
หม่บู ้าน ไดแ้ ก่ คลองสก คลองพนม โดยเฉพาะคลองพนมได้มีการจัดเป็นแม่น้าสายหลักในการใช้น้าได้ตลอด
ทัง้ ปี

สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศบ้านพนมพัฒนาจาแนกได้ 2 ฤดู คือ ฤดูฝนประมาณ 8 เดือน ฤดูแล้งประมาณ 4 เดือน ซึ่ง
ชาวบ้านมกั เรยี กว่า “ฝนแปด แดดสี่”

ประชากร / ครัวเรือน / รายได้
จานวนประชากรท้ังหมด 189 คน
- ชาย 96 คน
- หญงิ 93 คน

รายได้เฉลย่ี
รายได้เฉลยี่ ต่อครัวเรือน 10,000บาทตอ่ เดอื น

อนื่ ๆ
สภาพความเป็นอยู่ของคนในหมู่บ้านจะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทาสวนยางพารา สวนปาล์ม

น้ามนั สวนผลไม้ เล้ียงสัตว์ในครวั เรือนเพ่ือการบรโิ ภค สว่ นท่เี หลอื จงึ จะจาหนา่ ย อยู่ร่วมกันแบบสพึ่งพาอาศัย
ซ่ึงกันและกัน

สภาพเศรษฐกิจ
การประกอบอาชพี

อาชีพหลกั คอื เกษตรกรรม ปลูกยางพารา และปาลม์ น้ามัน
อาชพี รองลงมา คอื การเลยี้ งสตั ว์ เชน่ หมู ไก่ เปน็ ตน้

สถานภาพทางสงั คม
สาธารณสขุ
ไม่มีโรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยแต่จะใช้บริการของสถานีอนามัย ท่ีต้ังอยู่ในหมู่ที่4 บ้านบางสาร

ตาบลพนม อาเภอพนม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี จะมอี าสาสมคั รของหมบู่ ้านเข้าชว่ ยเหลอื ใหค้ วามรู้ในด้านสุขภาพ

22

อนามัยกบั คนในหมูบ่ า้ นเป็นครง้ั คราว และจะมีหมอชาวบ้านมาช่วยให้บริการยาสมนุ ไพรเป็นครัง้ คราวโดยไม่มี
การจดั จาหน่าย แตจ่ ะช่วยเหลอื รักษาพยาบาล การเจ็บปุวยเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ตามแต่ผ้ทู ม่ี าขอความช่วยเหลือ

แหล่งนา้ ธรรมชาติ มที ั้งหมด 2 แหง่ ได้แก่
- คลองสก
- คลองพนม
-

ข้อมูลประเพณี
- งานบญุ เดือนสบิ
- งานสงกรานต์รดนา้ ผู้สูงอายุ
- งานฉลองประเพณีขน้ึ ปใี หม่
- วันสาคญั ทางศาสนา

กลมุ่ / องคใ์ นชมุ ชน
- กล่มุ ข้าวสาร
- กลุม่ ปาล์มนา้ มนั
- กลุ่มกองทนุ หมูบ่ ้าน
- กลุ่มแมบ่ ้านสตรคี นพกิ าร
- ผสู้ ูงอายุ
- กลมุ่ อนุรักษ์ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเพือ่ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ นิเวศ

เหตกุ ารณส์ าคญั ท่ีเกดิ ขึ้นในหมู่บ้าน และส่งผลกระทบตอ่ หมู่บา้ น
- มกี ารตั้งหม่บู า้ น เม่อื ปี พ.ศ. 2510
- มีการสรา้ งสะพาน เมือ่ ปี พ.ศ. 2539
- มีน้าปุาไหลหลาก เมอ่ื ปี พ.ศ. 2540
- มกี ารสรา้ งถนนคอนกรีต เม่ือปี พ.ศ. 2548
- มกี ารเปลีย่ นชื่อหมู่บา้ น เมอ่ื ปี พ.ศ. 2551

ขอ้ มูลดา้ นการเมอื ง/การปกครองของหมบู่ ้าน
ผใู้ หญบ่ า้ น

นาย สรุ าชษฐ์ ทองสองสี บ้านเลขท่ี 32 เบอร์โทรศัพท์ 080-6908968
ผชู้ ว่ ยผใู้ หญ่บ้าน

นาย ศาสตรากร พิณเศษ บา้ นเลขท่ี 55 เบอร์โทรศัพท์ 063-5832934

23

หมูท่ ่ี 13 บา้ นหัวลิง

ประวตั คิ วามเปน็ มา
อาณาเขตติดตอ่

ทศิ เหนอื จรด ถนนทางหลวง สาย 4118
ทศิ ตะวนั ออก จรด หมทู่ ี่ 5 ชมุ ชนบ้านบางยวนพัฒนา ตาบลพงั กาญจน์
ทิศใต้ จรด คลองศกหมู่ที่ 3 ชมุ ชนบ้านพนมพัฒนา ตาบลพนม
ทศิ ตะวนั ตก จรด หมทู่ ี่ 6 บ้านลูกเดือน ตาบลพนม

สภาพท่ัวไปของหม่บู ้าน
สภาพภูมิอากาศมีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมในเขตร้อนมี 2 ฤดู คือฤดูฝนและฤดูร้อน หรือ

ชาวบ้านเรียกว่า “ฝนแปด แดดสี่” หมายถึง ฤดูฝน 8 เดือน ฤดูร้อน 4 เดือน ฤดูฝนเร่ิมตั้งแต่ปลายเดือน
เมษายนถึงเดือนธันวาคมของทุกปี เดือนกันยายนจะเป็นเดือนที่มีปริมาณฝนตกมากท่ีสุดในรอบปี เดือน
พฤศจิกายนเป็นเดือนท่ีมีอุณหภูมิเฉล่ียต่าที่สุดในรอบปี ประมาณ 26 องศา ฤดูร้อนเริ่มจากกลางเดือน
มกราคมถึงเดอื นเมษายนของทุกปี เดอื นกมุ ภาพันธ์จะเป็นเดอื นทม่ี ปี รมิ าณฝนตกน้อยท่ีสุดของปี อากาศช่วงน้ี
จะร้อนเหมาะแก่การท่องเที่ยว การเดินชมปุาธรรมชาติ เดือนเมษายนเป็นเดือนท่ีมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด
ประมาณ 32 องศา

24

ประชากรของหมบู่ า้ น

ครวั เรอื นในหมบู่ า้ น มจี านวน 71 ครัวเรือน
คน
ประชากรรวม 252 คน
คน
ชาย 139

หญงิ 113

ลกั ษณะการประกอบอาชีพ
ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี
- สวนยางพารา
- สวนปาลม์
- สวนผลไม้
- รับจา้ ง

วฒั นธรรมประเพณี/ศลิ ปวฒั นธรรม/ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ
- ประเพณีสงกรานต์วัดพนม
- ประเพณรี ับตายายและสง่ ตายาย
- ประเพณงี านบญุ ประเพณีรดน้าผ้สู งู อายุ
- ประเพณีตักบาตรปใี หม่
- ราวงชาวบา้ น
- ทาขนมเดือนสบิ
- แขง่ ขันกีฬาหมบู่ ้านทางนา้

สถานที่ท่องเทยี่ ว/สถานท่บี รกิ ารชมุ ชน
- แหลง่ ชมปลาท่าวัดพนม
- วัดพนม

ท่ตี ง้ั แผนที่
ชมุ ชนหวั ลิง ต้ังอยู่ในตาบลพนม ห่างจากอาเภอพนมประมาณ 6 กิโลเมตรและห่างจากสานกั งาน

เทศบาลตาบลพนม 7 กโิ ลเมตรเปน็ พ้นื ทใ่ี นความรบั ผดิ ชอบของเทศบาลพนม

วิสยั ทัศน์
ชมุ ชนหัวลงิ จะกา้ วไกลทกุ คนร่วมใจพฒั นานาพาไปสู่ความผาสุกเข้าสยู่ คุ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

25

รายช่ือปราชญช์ าวบ้านด้านการเกษตร
- นายโสภณ พพิ ิธเสมา
- นายวริ ัตน์ ทิพย์เคช

กลมุ่ องคก์ รในชุมชน
- กลมุ่ ข้าวสาร
- กลุ่มปยุ๋
- กลมุ่ กองททุนหมบู่ ้านเงินล้าน
- กลมุ่ แมบ่ า้ น/สตรี
- กลมุ่ สัจจะออมทรัพย์
- กลุ่มสวัสดิการชมุ ชน
- อปพร./ชรบ./ตารวจชมุ ชน

ทรัพยากรธรรมชาติ
- คลองศก
- คลองพนม
- บางหัวลงิ
- ทา่ วดั ปลา

จุดเดน่ สมาชิกในชุมชนรจู้ ักอนุรกั ษ์ธรรมชาติ
- มีภูมปิ ัญญา รวมถึงสืบทอดประเพณจี นถึงปัจจบุ ัน
- สมาชิกในชมุ ชนมีความสามัคคีกัน
- มกี ลุ่มทาผลิตภัณฑต์ ่างๆ เชน่ ทาน้าพรกิ ของหม่บู า้ น สรา้ งสินคา้ ออนไลน์
- สรา้ งกลุ่มออกกาลังกาย
-

จดุ ด้อย เยาวชนบางคนม่วั สุมสิ่งเสพตดิ
- ถนนหนทางยงั เป็นลูกรงั และคอนกรีตบางชว่ งมรี ะยะสนั้ ๆ และกาลังชารุด
- แหลง่ นา้ ไมพ่ อใช้ในการอุปโภคบรโิ ภค และในการทาการเกษตร
- ไม่มสี นามกีฬาในหมู่บ้าน
- ครวั เรือนบางครัวเรอื นยงั ไม่มไี ฟฟาู ใช้
- ชาวบ้านส่วนใหญเ่ ปน็ หนี้สินท้ังในระบบและนอกระบอบ
-

26

- มีการขโมยของเกดิ ข้นึ ในชมุ ชน (ความปลอดภัยของทรัพย์สิน)
- พ้ืนทีอ่ ยู่หา่ งไกลสถานที่ราชการ
- ไมม่ พี ิธกี รทางศาสนา

ปัญหาและอปุ สรรค
- มีความเหลื่อมล้ารายได้ของประชาชนในพ้ืนท่ี ประชาชนมีภาระหนี้สิน รายได้ไม่เพียงพอกับ
รายจา่ ย เน่อื งจากมอี าชีพทไี่ ม่แนน่ อน
- ปัญหายาเสพติดในพืน้ ท่ี เปน็ พืน้ ท่ที ่ีพบการมัวสุมของวัยรุ่นภายในหมบู่ า้ น
- ไม่มไี ฟฟูาตามทางสาธารณะในหมู่แสงไฟสว่างอย่างท่ัวถึงภายในหมู่บา้ น
- สมาชกิ ในชมุ ชนทง้ิ ขยะไมเ่ ปน็ ท่ี ทิ้งเกลอื่ นกลาดเตม็ ถนน
- ปัญหาน้าทีไ่ ม่พียงพอตอ่ การอปุ โภคบรโิ ภคในช่วงฤดูแล้ง
- ไม่มแี หล่งน้าสารอง สาหรบั สารองในช่วงฤดูแลง้
- การประปาเขา้ ไม่ถึงทกุ ครวั เรือนในหมู่บ้าน
- ปัญหาสมาชิกในชุมชนวา่ งงานมากขึน้ เนอื่ งจากปัญหาเศรษฐกิจไม่ดี
- ถนนชารุดหลายสายตอ้ งการซ่อมแซมหรอื ก่อนสรา้ งถนนใหอ้ ยู่ในสนภาพทส่ี ามารถใชง้ านไดด้ ีกว่า
เดมิ
- ไม่มีอุปกรณ์หรือเคร่ืองมือที่ช่วยปูองกันแก้ไขปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชนในหมู่บ้าน เชน่ ไม่มีกล้อง CCTV ที่สามารถครอบคลมุ ในพ้ืนท่ี
- ผลผลติ ไมไ่ ดร้ าคา ผลผลิตทางการเกษตรลดลงเพราะบางพื้นท่ีประสบปัญหาพ้ืนที่ทาการเกษตร
ขาดอินทรียวัตถุ
- ในหมู่บ้านมีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ไม่มีการกาจัดลูกน้ายุงลาย ซ่ึงเป็นเหตุท่ีทาให้เกิดโรค
ไข้เลอื ดออก
- นักเรียนขาดแคลนทนุ ศกึ ษา ไม่มที รัพยใ์ นการศกึ ษาตอ่ ในระดับสูง
- ขาดบุคลากร ลูกหลานในหม่บู า้ นทจ่ี ะสืบทอดภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินในแตล่ ะหมบู่ ้าน

การติดตัง้ ท่อจ่ายนา้ ประปาท่ีมกั งา่ ยของเจา้ หนา้ ที่ ทไี่ มแ่ ขง็ แรงสมบรู ณ์แข็งแรง

27

และองค์การบรหิ ารส่วนตาบลพนมมีจานวนหมูบ่ า้ นอย่ใู นเขตพ้ืนท่ีท้ังหมบู่ ้าน จานวน 9 หม่บู า้ นไดแ้ ก่
หมทู่ ี่ 4 หมบู่ ้านบางไมเ้ พาะ

ประวตั ิหมบู่ า้ น
บ้านบางไม้เพาะ ท่ีมาของบางไม้เพาะมาจากลักษณะของต้นไม้ใหญ่ในอดีตมีต้นอินทนิลขนาดใหญ่

ประมาณ ๔ คนโอบ ลาตน้ เป็นตะปุมตะป่า ลกั ษณะคล้ายกบั นาดินนา้ มนั มาป้ันแล้วนามาพอกไว้กับลาต้นของ
ตน้ อนิ ทนลิ ผูค้ นจงึ พากนั เรยี กว่า ไมพ้ อก กนั มาจนถึงปัจจุบันและเพ้ียนมาเป็น ไม้เพาะ และเรียกใช้กันจนถึง
ปัจจบุ นั

บ้านบางไม้เพาะ เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในเขตการปกครองของหมู่ท่ี ๗ ตาบลพนม และได้แยกการ
ปกครองออกมาเป็นหมู่บ้าน หมู่ที่ ๔ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๒๓ โดยปัจจุบันมีนายพิทักษ์ จิตทรัพย์ เป็น
ผู้ใหญบ่ ้านคนท่ี ๕ ของหม่บู ้าน

สภาพทัว่ ไปของหม่บู า้ น (ภูมิประเทศ/การคมนาคม)
บา้ นบางไมเ้ พาะ โดยทว่ั ไปเป็นทีร่ าบสงู สลับกับภูเขาประมาณ ๘๐% และมบี างส่วนเป็นที่ราบเชิง

เขา ตงั้ อยูห่ า่ งจากตวั จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ระยะห่าง ๙๐ กิโลเมตร มีถนนลาดยางทางหลวงหมายเลข ๔๑๑๘
ระหวา่ งอาเภอพนม-อาเภอทับปดุ จังหวดั พงั งา เปน็ เสน้ หลกั ผ่านหม่บู า้ น รวมพ้นื ท่ีประมาณ ๒,๕๐๐๐ ไร่

อาณาเขตของหมบู่ ้าน
บ้านบางไมเ้ พาะ ตง้ั อย่ทู ่ี ตาบลพนม หา่ งจากที่วา่ การอาเภอพนม ประมาณ ๙ กิโลเมตร
ทศิ เหนือ จรดกับหมูท่ ี่ ๓ บ้านพนมใน เทศบาลตาบลพนม
ทิศตะวนั ออก จรดกบั ภูเขาพนม ตาบลคลองชะอ่นุ
ทศิ ใต้ จรดกบั หมู่ท่ี ๕ บ้านบางโก ตาพบลพนม
ทิศตะวันตก จรดกับหมูท่ ่ี ๑๑ บา้ นทงุ่ เจรญิ ตาบลพนม

28

ลักษณะทางภูมอิ ากาศ
ลักษณะภูมอิ ากาศมี ๒ ฤดู คอื ฤดูฝน และ ฤดรู อ้ น เป็นฤดูฝน ๘ เดอื น และฤดูร้อน ๔ เดือน
ฤดูฝน เร่มิ ตงั้ แต่ปลายเดอื นเมษายน ถงึ เดือนธันวาคม ของทุกปี เดือนกันยายนจะเป็นเดือนที่มี

ปริมาณฝนทีต่ กหนักมากที่สดุ ในรอบปี
ฤดูรอ้ น เร่ิมจากกลางเดือนมกราคม ถงึ เดือนเมษายนของทกุ ปี เดือนกุมภาพนั ธจ์ ะเป็นเดือนท่ีมี

ปริมาณฝนตกน้อยที่สุดของปี อากาศช่วงน้ีรอ้ น เหมาะแก่การท่องเที่ยว เดือนเมษายนเปน็ เดือนท่ีมีอุณหภูมิ
เฉล่ียสูงสุด

สภาพทางเศรษฐกิจ (ลกั ษณะการประกอบอาชีพ/รายได้รวมของหมู่บ้าน รายไดเ้ ฉลยี่ )
การประกอบอาชพี สภาพทางเศรษฐกิจ ของประชากร มีการประกอบอาชพี เกษตรกรรมทาสวน

ยางพาราเปน็ สว่ นใหญ่ และรองลงมาเป็นสวนน้ามัน ผลไม้ เช่น ทเุ รยี น ลางสาด ลองกอง เปน็ ตน้

วฒั นาธรรมประเพณ/ี ศิลปวัฒนธรรม/ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ
- ประเพณีรบั ส่งตายาย
- การรดนา้ ดาหัวผู้ใหญ่
- มีแพทยแ์ ผนโบราณ หมอรักษา งกู ัด,เริม และหมอเอ็น
- มกี ารถัก ทอเสื่อ กระสอบจากใบเตย

สถานท่ีท่องเทยี่ ว สถานทบ่ี รกิ ารชุมชน
- มโี รงเรียนประจาหมู่บา้ น
- มศี ูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก
- มีโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบางลาน
- มีศาลาประชาคมประจาหมบู่ ้าน

ขอ้ มูลอื่นๆ ทีแ่ สดงศักยภาพของหมู่บา้ น
1. ประชาชนสว่ นใหญม่ กี ารเช่ือมโยงการช่วยเหลือเก้อื กูลกัน เช่น มีการแลกเปลีย่ นชว่ ยเหลือกนั มี
ความกลมเกลยี วกันเป็นอย่างดี เม่อื มีพิธีตา่ งๆ ภายในหมบู่ ้าน
2. มลี านรบั ซอ้ื เศษยางพารา จานวน 2 แหง่
3. มลี านรับซ้ือปาล์มน้ามนั จานวน 1 แห่ง
4. มรี ้านรับซือ้ ไมย้ างพารา จานวน 1 แห่ง

29

การคมนาคม
บา้ นบางไมเ้ พาะ มรี ะยะทางห่างจากทีว่ า่ การอาเภอพนม ประมาณ 9 กโิ ลเมตร ถนนภายในหมบู่ ้านมี

จานวน 4 สาย รวมระยะทาง 12 กิโลเมตร

สาธารณปู โภค
บ้านบางไมเ้ พาะ ครวั เรอื นมีไฟฟาู ใชท้ ุกครวั เรือน มนี า้ ประปาใช้ 60 ครัวเรือน และไม่มีน้าประปาใช้

69 ครวั เรอื น

แหลง่ น้า (แหลง่ น้าตามธรรมชาตแิ ละแหลง่ น้าทีส่ ร้างขน้ึ ในหมบู่ า้ น)
-แหล่งนา้ ลาคลองพนม ระยะทาง 2.5 กโิ ลเมตร สภาพแหลง่ นา้ ใช้การได้ดี
-แหล่งนา้ สระนา้ สาธารณะ มี 2 แห่ง สภาพแหลง่ น้าใชก้ ารไดด้ ี
-แหล่งนา้ ถังเก็บน้าฝนสาธารณะ (2000 ลิตร) มี 4 ถงั สภาพแรงน้าใชก้ ารไดด้ ี

ด้านสขุ ภาวะและอนามัย
- การกีฬา

ด้านการมสี ว่ นรว่ มและความเขม้ แข็งของชมุ ชน
- การเรยี นรู้ของชุมชน

ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
- คุณภาพดนิ
- การจัดการสภาพแวดลอ้ ม

ด้านความเสย่ี งของชมุ ชนและภัยพิบัติ
- ความปลอดภยั จากยาเสพตดิ
- ความปลอดภยั จากภัยพิบตั ิ

จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย และปัญหาในหมู่บา้ นบางไม้เพาะ
จดุ เด่น

1.ผู้นา/สมาชิกมคี วามสามารถและเสยี สละ
2.ผ้นู ามีความเออื้ เฟ้อื เผื่อแผ่ต่อกนั
3.สมาชกิ ในหม่บู ้านมสี ่วนรว่ มในการคดิ วางแผนพฒั นาชมุ ชน
4.สมาชิกในหมู่บ้านอยูอ่ าศยั กันแบบเรียบง่ายไม่สร้างปัญหาใหก้ บั สงั คม

30

5.สมาชกิ ในหมู่บ้านใหค้ วามร่วมมอื เปน็ อย่างดี มีความเออื้ เฟอื้ ตอ่ กนั เปน็ สว่ นใหญ่
6.มปี าุ ไม้ไว้ใช้สอยอยา่ งพอเพยี ง
7.มีแม่นา้ ไว้ใชส้ อยไดต้ ลอดปี
8.สภาพดินดมี คี ุณภาพ อุดมสมบูรณ์ดี
9.ประชากรมรี ายได้จากการประกอบอาชีพเกษตรกรทาสวนยางพารา รอ้ ยละ 80
10.เศรษฐกิจในครัวเรือนและในหมบู่ ้านค่อนข้างมั่นคง

จดุ ด้อย
1. ผนู้ ามีภาระหน้าท่มี ากเกินไป
2.ประชาชนไมส่ ามารถเขา้ ถงึ ข่าวสารเทคโนโลยกี ารเกษตรที่ทนั สมัย
3.สมาชกิ ในหมู่บ้านบางกล่มุ มคี วามเหน็ แกต่ ัว
4.สมาชกิ ในชมุ ชนบางครัวเรือนมีความเบอ่ื หนา่ ยในการทางานให้กบั หมบู่ า้ น
5.มกี ารเสียสละและความรว่ มมอื กบั ผ้นู าหรอื มีส่วนร่วมลดนอ้ ยลง มีความเหน็ แก่ตัวมากขึน้
6.ใชท้ รพั ยากรปาุ ไม้อย่างไม่รู้คุณคา่
7.เกดิ การแขง่ ขันกันครอบครองท่ีดนิ มากขึ้น
8.แหลง่ น้าไมส่ ามารถใชไ้ ด้ท่ัวถงึ ทุกครวั เรอื น
9.การใชจ้ ่ายซ้ือสนิ ค้าใช้ในครัวเรอื นในราคาท่ีสูง เน่ืองจากผ่านแม่ค้าคนกลางหลายชว่ ง
10.พอ่ คา้ แมค่ า้ รับซอ้ื ผลผลิตในราคาต่าทาให้เกษตรกรขาดทนุ
11.ขาดความร้ดู ้านกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งกับชวี ติ ประจาวัน
12.การเมอื งทาใหส้ มาชิกเกิดความขดั แย้งกันกันเองในชุมชนบ่อยครงั้
13.ชุมชน/ครัวเรือนสว่ นนอ้ ยมีความเขา้ ใจในส่วนรว่ ม ในการคา้ เนนิ งานของกล่มุ ทาใหก้ ารดาเนินงาน
ของกล่มุ ไม่เขม้ แข็ง
14.กิจกรรมกล่มุ ถกู แทรกแซงจากภาคเอกชน

ปัญหาและอปุ สรรค
1.ปัญหายาเสพตดิ ในชมุ ชน โดยเฉพาะพชื นา้ กระท่อม
2.ปัญหาหนี้ครัวเรอื น เน่อื งจากสมาชิกในชุมชนต้องไปก้มู าลงทนุ ทางการเกษตร
3.ราคาผลผลติ ทางการเกษตรตกต่า
4.ถนนชารดุ หลายสายตอ้ งการซอ่ มแซมหรอื กอ่ สร้างถนนให้อยใู่ นสภาพทใ่ี ช้งานได้ดีกว่าเดมิ
5.ไม่มอี ุปกรณ์หรอื เครอื่ งมอื ทีช่ ว่ ยปอู งกนั แก้ไขปญั หาความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สินของ
6.ประชาชนในหมู่บา้ น เชน่ ไมม่ ีกลอ้ ง CCTV ทค่ี รอบคลุมในทกุ พืน้ ท่ี
7.การขาดแคลนน้าอุปโภคบรโิ ภคในช่วงฤดแู ล้ง
8.ถนนชารดุ หลายสายตอ้ งการซ่อมแซมหรือกอ่ สร้างถนนใหอ้ ยู่ในสภาพที่ใชง้ านได้ดีกว่าเดมิ

31

9.ไมม่ อี าชีพเสรมิ หลงั จากการทาอาชพี หลกั ของสมาชกิ ในชมุ ชน
10.ความยากจน รายไดไ้ มเ่ พยี งพอต่อรายจา่ ย
11.ผลผลิตไม่ได้ราคา ผลผลิตทางการเกษตรลดลงเนื่องจากปัญหาเศรษฐกจิ ตอนน้ี
12.ในหม่บู ้านมแี หลง่ เพาะพันธุย์ ุงลาย ไม่มกี ารกาจดั ลกู นา้ ยุงลาย ซ่งึ เปน็ สาเหตุท่ีทาให้เป็นโรค
ไขเ้ ลือดออก

หม่ทู ่ี 5 บา้ นบางโก

ประวัติความเป็นมา
บา้ นบางโกตั้งอยทู่ ศิ ใต้ของที่วา่ การอาเภอพนม ใช้ถนนทางหลวงหมายเลข 4118 ระหวา่ งอาเภอพนม

กับอาเภอทับปุด จงั หวัดพงั งา อยู่หา่ งจากท่วี า่ การอาเภอพนมประมาณ 7 กิโลเมตร อยนู่ อกเขตเทศบาลอย่ใู น
ความปกครองของ อบต.พนม
พนื้ ที่

ทศิ เหนือ จรดบา้ นท่งุ เจริญหมูท่ ่ี 11 ตาบลพนม
ทิศตะวันออก จรดบา้ นบางไม้เพาะหม่ทู ี่ 4 ตาบลพนม
ทศิ ใต้ จรดบ้านทบั ครสิ ตห์ มู่ท่ี 3 ตาบลคลองชะอุ่น
ทศิ ตะวนั ตก จรดบ้านเบญจาหมู่ท่ี 1 ตาบลพลูเถื่อน

32

ประเพณี
1.รดน้าผสู้ ูงอายุ
2.ประเพณลี อยกระทง

ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ
1.การทาหตั ถกรรมไม้กวาดดอกหญา้ สานตะกรา้
2.การนวดคลายเสน้ แบบโบราณ โดยคนไทยใหญ่

กลมุ่ กจิ กรรมอาชพี
- สมุนไพรวา่ นชักมดลูก สบขู่ มิ้นชัน ยาหมอ่ งเสลดพงั พอน น้ามันไพร ลูกประคบ พิมเสนนา้ ยาดม
สมุนไพร
- เล้ียงหมู
- เลย้ี งโคเนื้อ

สถานท่ีท่องเท่ียว
1.วังหนิ รู
2.วัดถ้าโกบ

จุดเด่น
1.ด้านเศรษฐกิจสมาชกิ ในชมุ ชน มีอาชีพทาเกษตรกรรม จงึ มีความเปน็ อยู่ท่พี อเพียง
2.สมาชกิ ในชุมชนจะรักษาขนบธรรมเนียมอย่างเครง่ ครัด
3.มีคลองพนม และธรรมชาตทิ ่ีสมบรู ณ์
4.สมาชกิ ในชุมชนมคี วามพร้อม สามัคคี ร่วมมือกัน

จุดดอ้ ย
1.สมาชิกในชุมชนไม่คอ่ ยได้รวมกลุม่ กันทาประโยชน์ หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ
2.เยาวชนในชมุ ชนไมค่ อ่ ยจะสนใจขนบธรรมเนียม วฒั นธรรม
3.เยาวชนติดเกม

33

4.สมาชิกในหมบู่ ้านแขง่ กันครองทดี่ นิ
5.สมาชกิ ในชุมชน ไม่เห็นความสาคญั ตอ่ กฎหมาย ระเบียบต่างๆ
6.สมาชิกในชุมชนมกี ารบกุ รกุ ปาุ

ปญั หาและอุปสรรค
1.มคี วามเหลือ่ มล้าทางรายไดข้ องประชาชนในพ้นื ท่ี ประชาชนมภี าระหนสี้ ิน รายได้ไม่พอกบั รายจา่ ย

เนื่องจากไมม่ อี าชีพแน่นอน
2.ปัญหายาเสพตดิ ในพ้นื ที่ เปน็ พนื้ ทท่ี ีพ่ บการมว่ั สุมของวยั รุ่นในหมู่บา้ น
3.ไม่มแี สงสว่างอย่างท่ัวถึง ตามถนนในซอยเลก็ ภายในหม่บู า้ น
4.ปญั หานา้ ที่ไม่เพียงพอตอ่ การอปุ โภค บริโภคในหน้าแล้ง
5.ไม่มีแหล่งนา้ สารอง สาหรบั ในหนา้ แลง้
6.การประปาเขา้ ไม่ถึงทกุ ครวั เรือนในหมู่บา้ น
7.ปญั หาสมาชกิ ในชมุ ชนวา่ งงานมากขน้ึ เนือ่ งจากสภาพปัญหาเศรษฐกิจไมด่ ี
8.ถนนชารุดหลายสายตอ้ งการซอ่ มแซมหรือกอ่ สร้างถนนให้อยูใ่ นสภาพที่ใช้งานไดด้ กี ว่าเดมิ
9.ไม่มอี ปุ กรณ์หรอื เคร่ืองมอื ที่ช่วยปอู งกนั แก้ไขปญั หาความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สนิ ของ

ประชาชนในหมบู่ า้ น เช่น ไมม่ กี ลอ้ ง CCTV ท่ีครอบคลุมในทุกพนื้ ท่ี
10.ผลผลิตไมไ่ ด้ราคา ผลผลิตทางการเกษตรลดลง เพราะบางพื้นที่ประสบปัญหาพ้นื ท่ที าการเกษตร

ขาดอนิ ทรยี วัตถุ
11.ในหมูบ่ ้านมแี หลง่ เพาะพันธ์ุยุงลาย ไม่มกี ารกาจดั ลกู นา้ ยงุ ลาย ซ่ึงเปน็ สาเหตุทที่ าให้เป็นโรค

ไขเ้ ลอื ดออก
12.นักเรยี นขาดแคลนทุนการศกึ ษา ไมม่ ที นุ ทรพั ย์ในการศกึ ษาต่อในระดับท่ีสูงขน้ึ
13.ขาดบุคลากร/ลกู หลานในหมบู่ า้ นที่จะสืบทอดภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ในแตล่ ะหมู่บา้ น
14.ไมม่ กี ารรวมกลุ่มกนั ทาผลติ ภัณฑ์ เพอื่ สร้างรายไดใ้ นหมบู่ า้ น
15. ไมม่ งี บประมาณอยา่ งเพยี งพอในหมบู่ ้าน เพือ่ ใชพ้ ฒั นาทางด้านตา่ งๆให้ดขี ึน้

34

หมู่ท่ี 6 บา้ นลูกเดอื น

ประวัตคิ วามเปน็ มาของหม่บู า้ น

ชมุ ชนบ้านลกู เดอื น ตง้ั อยทู่ ห่ี มู่ที่ 6 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี เปน็ หมู่บ้านที่มีความ

เก่าแก่ โดยชุมชนท่ีถูกกล่าวถึงในนิราศพนม ของพระเดชพระคุณพระรัตนกวี หรือพระธรรมรัตนโยดม อดีต

เจา้ คณะจังหวดั สุราษฎร์ธานี ได้ประพนั ธบ์ รรยายไวเ้ มอื่ ปี พ.ศ.2504 ดังนี้

“ถงึ บ้านลกู เดอื นใต้สองชายฝง่ั บา้ นคนตง้ั เรยี งรายชายวิถี

วา่ เจ็ดแปดหลงั คาขวาวารี ฝัง่ ซา้ ยมสี ิบสองบา้ นทัง้ ดา้ นใน

มาถงึ ลกู เดอื นเหนือเรือว่งิ ผ่าน มเี รอื บ้านสองฝัง่ ทั้งเล็กใหญ่

เจด็ แปดหลังขา้ งขวาชลาลยั มองขา้ มไปขา้ มขวา ส่ีห้าเรอื น

พอเรอื เลี้ยวเดีย่ วกระทั้งวังทองจันทร์ นา้ ลกึ หนั หวนกลา้ หาไหนเหมอื น

ปาู ทองจนั ทรม์ าย้ังตั้งบา้ นเรอื น เหนือลูกเดอื นเมอ่ื ครัง้ แต่หลังมา

บา้ นลกู เดอื นเตือนใจให้ใฝคุ ิด ช่ือชนิดหมายอะไรหนา

หรือตัง้ ไว้หมายสมญั ลูกจันทรา หรอื ลูกปูาทองจันทร์ นัน้ ประเดมิ

เพราะเหตใุ ดก็ตาม แต่นามน้ี ไพเราะดีนกั หนานา่ สง่ เสรมิ

ใหบ้ า้ นนวี้ ฒั นาขึน้ กว่าเดิม ควรเพ่มิ เติมทุกส่วนทีค่ วรมี”

ชมุ ชนบ้านลูกเดือนได้มีการพัฒนาโดยไดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณจากภาครัฐองค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน

ได้มีการก่อสร้างถนนเช่ือมต่อในชุมชน และชุมชนอื่น ๆ หลายเส้นทางโดยเฉพาะเส้นทางสายหลักภายใน

หมบู่ า้ น ๒ เส้นทาง เชอื่ มตอ่ ไปยงั ทางทบวงแผน่ ดนิ สาย 401 (สุราษฎร์ธานี-ตะกั่วปุา) และสาย411 (พนม-ทับ

ปดุ ) ตลอดจนสิ่งก่อสรา้ ง สาธารณปู โภค ต่าง ๆ ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดความสะดวกสบายในหมบู่ ้าน

35

สภาพท่ัวไปของหมู่บ้าน
บา้ นลกู เดอื นเปน็ ท่ีราบ-ที่ราบลมุ่ บริเวณสองฝงั่ คลองศก ประมาณ 50 ของพนื้ ทที่ งั้ หมดนา้ ทว่ ม ฤดู

ฝนถนนในหมูบ่ ้านจะถกู น้ากัดเซาะขาดเป็นตอน ๆ จนใชง้ านไมไ่ ด้ จนต้องเลยี่ งไปใช้เส้นทางอืน่ ในบางชว่ ง
ด้ายสภาพเปน็ พ้ืนทรี่ าบ และราบล่มุ รมิ ลาคลองศก

อาชพี
- ทาสวน
- ปลูกผกั
- ผลไม้
- ยางพารา
- ปาลม์ น้ามนั

รายช่อื ผู้นาหมู่บ้าน จากอดตี -ปจั จบุ ัน เร่ิมพ.ศ.2519-พ.ศ.2536 จานวน 27 ปี
1.นายพรอ้ ม ไม่ทราบนาสกลุ เริ่มพ.ศ.2536-พ.ศ.2545 จานวน 9 ปี
2.สิบตรีแสง ศรีรักษา เริ่มพ.ศ.2545-พ.ศ.2550 จานวน 5 ปี
3.นายถึง บวั สุวรรณ เรม่ิ พ.ศ.2550-พ.ศ.2552 จานวน 2 ปี
4.นายหมุย วงค์สกุล เร่ิมพ.ศ.2552-ปัจจบุ นั
5.นายนวม วัฒหนู
6.นายทศั นี บวั สวุ รรณ
7.นายน้อย รัตนชยั
8.นายฉัตรชาย สาเรศ
9.นายขจร จ้ยุ นาค
10.นายอภิศกั ด์ิ สุขเกิด

36

ท่ตี ้ัง อาณาเขตของหมูบ่ า้ น
บ้านลูกเดือนต้ังอยหู่ ่างจากทีว่ ่าการอาเภอพนม ประมาณ 7 กิโลเมตร เปน็ พ้นื ทใี่ นเขตองคก์ ารบรหิ าร

ส่วนตาบลพนม
ทศิ เหนือ จรด หมู่ท่ี 2 ,หมทู่ ี่7 และหมทู่ ี่ 13 ตาบลพนม
ทศิ ใต้ จรด หมู่ท่ี 3, หมทู่ ่ี 13 ตาบลพนม
ทศิ ตะวันออก จรด หมู่ท่ี 3 และหมู่ท่ี 13 ตาบลพนม
ทิศตะวันตก จรดหมู่ท่ี 7 ตาบลพนม

ขอ้ มลู ทั่วไป
- พน้ื ที่ทอ่ี ยู่อาศัย ประมาณ 80 ไร่
- พน้ื ท่ีทท่ี าการเกษตร ประมาณ 1100ไร่
- พืน้ ท่ที ี่ทาสวนยางพารา ประมาณ 550 ไร่
- พน้ื ที่ท่ที าสวนปาลม์ นา้ มนั ประมาณ 300 ไร่
- พน้ื ทที่ ่เี ป็นแหลง่ น้า 2 แหลง่ ได้แก่ ลาคลองศก และบึงหนองหาร “หารขอนโยน”
- พน้ื ท่ปี ระปาหมบู่ ้าน 2 แห่ง มผี ้ใู ช้จานวน 60 ครัวเรอื น
- โรงเรียนประถมศกึ ษา 1 แห่ง
- วดั 1 แห่ง
- ศูนย์การเรยี นรู้, ศาลาประชุมหมูบ่ ้าน,ลานกีฬาหมบู่ า้ น และปอู มยามหมู่บ้าน 1 แหง่

ประเพณี
- ทาบุญเทศกาลงานเดือนสบิ
- งานสงกรานต์ รดน้าผู้สูงอายุ และงานประเพณีวนั ขน้ึ ปใี หม่

แหลง่ ท่องเที่ยว
- แหล่งชมปลาชมรมอนรุ ักษ์สัตวน์ า้ บา้ นลกู เดือน
- แหล่งชมสตั ว์ธรรมชาติ “หารขอนโยน”

ลกั ษณะภูมอิ ากาศ
- ฤดูฝน ชว่ งเดอื น ปลายเดอื นเมษายา ถงึ ธนั วาคม
- ฤดูรอ้ น ชว่ งเดือน มกราคมถึงเมษายน

37

ศาสนา
- ผคู้ นสว่ นใหญ่ในชมุ ชนนบั ถือศาสนาพทุ ธ

ภูมปิ ญั ญา
- การทาจักรสาน
- หมอรกั ษาเกี่ยวกบั สมุนไพร
- หมดบบี นวดคลายเสน้

หมทู่ ่ี 7 บ้านแสนสุขประชารักษ์

ประวตั คิ วามเปน็ มา
ชมุ ชนบา้ นแสนสขุ ประชารักษ์ ตง้ั อยู่หมทู่ ี่ 7 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี เดิมมีชื่อว่า

บา้ นโกะกะ เปน็ หมบู่ า้ นเกา่ แก่อายมุ ากกว่า 70 ปี โดยเป็นชุมชนรวมกับบ้านลูกเดือน บ้านลูกช้าง สภาพทาง
ภูมิศาสตร์เป็นหมู่บ้านท่ีมีลาคลองศกไหลผ่านกลางหมู่บ้านริมสองฝ่ังคลองจะมีก้อนหินใหญ่อยู่ระเกะระกะ
สวยงามตามธรรมชาติ หนิ บางกอ้ นมีลักษณะคลา้ ยรปู ชา้ ง การสัญจรในอดตี อาศยั การเดินทางตามลาคลองศก
เดิมหมู่ที่ 7 บา้ นแสนสุขประชารกั ษ์แยกมาจากหมู่ที่ 10 บ้านสาคล่ี ไดต้ ง้ั ช่ือหมู่บา้ นว่า บ้านแสนสุข ต่อมาได้มี
การเปล่ยี นช่อื หมบู่ ้านมาเปน็ บ้านแสนสุขประชารักษ์ จนมาถึงปจั จุบัน

38

สภาพทั่วไป
พ้นื ทร่ี าบระหวา่ งหุบเขาและแม่นา้ เขาศกคลองศกไหลผา่ นหมบู่ า้ น แยกเปน็ สองฝ่งั คลอง โดยมีแม่นา้

คลองเขาศกขวางกน้ั เปน็ พน้ื ท่อี ดุ มสมบูรณ์ เหมาะแก่การทาเกษตร ประชาชนเลยนิยมปลูกยางพารา และ
ปาล์มน้ามนั เปน็ อาชพี หลัก พน้ื ทภี่ เู ขาเป็นพน้ื ที่ปุาประมาณ 100 ไร่ พืน้ ทพ่ี ักอาศัยประมาณ 80 ไร่ พืน้ ที่ใน
การทาการเกษตรประมาณ 10,450 ไร่ เป็นแหลง่ น้าสาธารณะรวมถงึ แม่นา้ คลองศกประมาณ 100 ไร่

อาณาเขตติดตอ่
ทิศเหนอื จรด อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาสก
ทิศใต้ จรด หมู่ที่ 4 ,หมู่ 11 ตาบลพนม
ทศิ ตะวนั ออก จรด หมู่ 6 ตาบลพนม
ทิศตะวันตก จรด หมู่ 8 ตาบลพนม

สภาพท่วั ไปของหม่บู า้ น
สภาพภูมิอากาศมีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมในเขตร้อนมี 2 ฤดู คือฤดูฝนและฤดูร้อน หรือ

ชาวบ้านเรียกว่า “ฝนแปด แดดส่ี” หมายถึง ฤดูฝน 8 เดือน ฤดูร้อน 4 เดือน ฤดูฝนเร่ิมต้ังแต่ปลายเดือน
เมษายนถึงเดือนธันวาคมของทุกปี เดือนกันยายนจะเป็นเดือนที่มีปริมาณฝนตกมากที่สุดในรอบปี เดือน
พฤศจิกายนเป็นเดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่าที่สุดในรอบปี ประมาณ 26 องศา ฤดูร้อนเร่ิมจากกลางเดือน
มกราคมถึงเดอื นเมษายนของทกุ ปี เดือนกุมภาพนั ธ์จะเปน็ เดือนที่มปี รมิ าณฝนตกน้อยที่สุดของปี อากาศช่วงน้ี
จะร้อนเหมาะแก่การท่องเท่ียว การเดินชมปุาธรรมชาติ เดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด
ประมาณ 32 องศา

ประชากรของหม่บู า้ น

ครวั เรอื นในหมบู่ ้าน มจี านวน 147 ครวั เรือน

ประชากรรวม 469 คน

ชาย 233 คน

หญิง 236 คน

ลกั ษณะการประกอบอาชีพ

ประชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพ

- สวนยางพารา - สวนปาล์ม

- สวนผลไม้ - รบั จ้าง

39

วฒั นธรรมประเพณี/ศิลปวัฒนธรรม/ภูมิปัญญาท้องถน่ิ
- ประเพณสี งกรานต์
- ประเพณรี ับตายายและส่งตายาย
- ประเพณจี บปจี บเดอื น
- ประเพณลี อยกระทง

สถานท่ที ่องเท่ยี ว/สถานท่ีบริการชมุ ชน
แหล่งทอ่ งเทยี่ ว แหล่งชมปลาอนุรกั ษส์ ตั ว์น้า แสนสขุ ประชารกั ษ์

จดุ เด่น กลุม่ แม่บา้ นมีการรวมตวั กันทาเครอ่ื งแกงจดั จาหนา่ ยตามหมู่บา้ น ร้านค้าและสง่ ต่างจงั หวัด
- การรวมกลุ่มเยบ็ หนา้ กากอนามยั ชนดิ ผา้
- ออกบูทขายสนิ คา้ ในหม่บู ้าน
- กลุ่มจัดทาผ้ึงกล่อง
- มีทรพั ยากรธรรมชาติทีส่ มบูรณ์
- ราษฎรส่วนใหญม่ ีอาชีพและรายไดท้ ี่มัน่ คง
- มีการจดั กิจกรรมทางศาสนาตลอดจนประเพณี วัฒนธรรม ของหมบู่ ้าน
- มีกล่มุ ออมทรัพยฯ์ และกองทุนหมบู่ ้านและกองทุนสวสั ดกิ ารชมุ ชนทเ่ี ข้มแข็ง
-

40

จุดดอ้ ย ทรพั ยากรสัตวน์ ้าลดลง
- โครงการทน่ี าเสนอไปได้รบั การสนับสนนุ เพียงบางส่วนเนื่องจาดงบประมาณมีน้อย
- ไมม่ ีหอกระจายข่าวในการประชาสมั พนั ธ์
- เยาวชนบางกลุม่ อยากรู้ อยากลอง ยาเสพติด
- คนรนุ่ ใหมไ่ ม่ค่อยร่วมกิจกรรมในหมู่บา้ น
-

ปญั หาและอุปสรรค
- มคี วามเหลื่อมล้ารายได้ของประชาชนในพื้นที่ ประชาชนมีภาระหนี้สนิ รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย
เนื่องจากมอี าชพี ทีไ่ ม่แน่นอน
- ปญั หายาเสพติดในพ้ืนที่ เป็นพนื้ ท่ีทพี่ บการมวั สมุ ของวยั รุน่ ภายในหม่บู ้าน
- ไม่มีไฟฟาู ตามทางสาธารณะในหมู่บ้าน
- ปญั หาน้าที่ไม่พยี งพอต่อการอปุ โภคบรโิ ภคในช่วงฤดูแลง้
- ไม่มแี หล่งน้าสารอง สาหรบั สารองในชว่ งฤดูแลง้
- การประปาเขา้ ไม่ถึงทุกครัวเรือนในหมบู่ า้ น
- ปญั หาสมาชิกในชุมชนวา่ งงานมากขน้ึ เนอื่ งจากปัญหาเศรษฐกิจไม่ดี
- ถนนชารดุ หลายสายต้องการซ่อมแซมหรือก่อนสร้างถนนให้อยู่ในสนภาพที่สามารถใช้งานได้ดีกว่า
เดิม
- ไม่มีอุปกรณ์หรือเคร่ืองมือท่ีช่วยปูองกันแก้ไขปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพ ย์สินของ
ประชาชนในหมูบ่ า้ น เชน่ ไม่มีกล้อง CCTV ท่ีสามารถครอบคลมุ ในพ้นื ท่ี
- ผลผลิตไม่ไดร้ าคา ผลผลติ ทางการเกษตรลดลงเพราะบางพื้นทป่ี ระสบปัญหาพ้ืนท่ีทาการเกษตรขาด
อินทรยี วตั ถุ
- ในหมู่บ้านมีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ไม่มีการกาจัดลูกน้ายุงลาย ซึ่งเป็นเหตุท่ีทาให้เกิดโรค
ไขเ้ ลือดออก
- นักเรียนขาดแคลนทนุ ศึกษา ไม่มที รพั ย์ในการศึกษาต่อในระดับสงู
- ขาดบคุ ลากร ลูกหลานในหมู่บา้ นทจี่ ะสืบทอดภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินในแต่ละหม่บู า้ น
- การตดิ ตั้งท่อจ่ายน้าประปาที่มกั ง่ายของเจ้าหน้าที่ ที่ไม่แขง็ แรงสมบรู ณ์แข็งแรง

41

หมู่ที่ 8 บ้านเช่ยี วหมอน

ประวตั คิ วามเป็นมาของหมบู่ า้ น
“เช่ียวหมอน” โดยประวัติการต้ังช่ือหมู่บ้านเล่าสืบทอดต่อๆกันมาว่าคนสมัยก่อนเชื่อนิทานวรรณคดี
นิยายเป็นเรอ่ื งจรงิ เพราะไม่มีอะไรจะมาพิสูจน์ได้อย่างเช่นหมู่บ้านเช่ียวหมอนเชื่อกันว่าพระสังข์ทองล่องเรือ
มากจาก เขาศก หรือถ้านางพนั ธุรัตน์ ลอ่ งเรือมาเรอื่ ยๆเม่ือมาถงึ เขตหมูบ่ ้านบางใหญ่ปัจจุบัน ปรากฏว่าได้เกิด
พายพุ ัดกระหนา่ มนี ้าเช่ียวกราก และมีคลน่ื ใหญท่ าให้เรือของพระสังข์ล่มแตกสลาย ข้าวของสูญหาย ปรากฏ
ว่าหมอนที่พระสังข์นอนนั้นลอยมาติดอยู่ที่หมู่บ้าน ทาให้น้าเชี่ยวเป็น 2 ขั้นเหมือนกับเอาหมอนไปต้ังไว้
ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นหมอนของพระสังข์ทองลอยมาติดอยู่ ก็เลยเรียกหมู่บ้านที่เขาอยู่กันว่า “บ้านเช่ียว
หมอน” จนถงึ ปัจจุบนั การตั้งบา้ นเรอื นของชาวบ้านเชีย่ วหมอนในอดีตอยู่กันห่างไกล

สภาพทว่ั ไปของหม่บู า้ น (ภมู ปิ ระเทศ/การคมนาคม)
บ้านเชี่ยวหมอน โดยทว่ั ไปมีพ้ืนท่ีเปน็ ที่ราบสูง มภี เู ขาสลับซบั ซ้อน มลี าคลองศกตัดผ่านหมู่บ้าน บ้านเช่ียว

หมอนตง้ั อยทู่ างทศิ ใต้ของจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี โดยใช้ทางหลวงหมายเลข 401 ระหว่างสุราษฎร์ธานี-ตะกั่วปุา
จังหวดั พังงา มีพนื้ ที่ประมาณ 3,000 กิโลเมตร

อาณาเขตของหม่บู า้ น
บ้านเชยี่ วหมอน ตั้งอยู่ในตาบลพนม ห่างจากท่วี า่ การอาเภอพนม ประมาณ 6 กโิ ลเมตร
ทิศเหนอื จรด หมทู่ ี่ 1 ตาบลพนม (ชมุ ชนพิทักษพ์ ฒั นา) ,หมู่ท่ี 12 ตาบลพนม
ทิศตะวันออก จรด หมูท่ ี่ 7 ตาบลพนม
ทิศใต้ จรด หมู่ท่ี 11,10 ตาบลพนม
ทิศตะวันตก จรด หมทู่ ี่ 9 ตาบลพนม

42

ลักษณะภูมิอากาศ (อากาศ/ฤดูกาล)

ลกั ษณะภูมอิ ากาศมี 2 ฤดู คอื ฤดูฝนและฤดูรอ้ น เป็นฤดูฝน 8 เดือน และฤดรู อ้ น 4 เดือน
ฤดูฝน เริ่มตงั้ แต่ปลายเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคมของทุกปี เดอื นกันยายนจะเป็นเดือนท่มี ปี ริมาณฝน
ตกมากทส่ี ุดในรอบปี
ฤดรู อ้ น เร่ิมจากกลางเดือนมกราคมถงึ เดอื นเมษายนของทุกปี เดอื นกุมภาพันธจ์ ะเปน็ เดอื นที่มีปรมิ าณฝน
ตกนอ้ ยท่ีสุดของปี อากาศชว่ งนี้ร้อน เหมาะสมแก่การทอ่ งเทยี่ ว เดอื นเมษายนเปน็ เดือนทมี่ ีอุณหภมู ิเฉลีย่ สงู สุด

ครัวเรอื นและประชากรของหมบู่ า้ น

จานวนครวั เรือนรวมทงั้ สิ้น (ตามข้อมูล จปฐ.ปี 2556) จานวน 85 ครวั เรอื น
จานวนประชากร (ตามข้อมูล จปฐ.ปี 2556) จานวน 305 คน
แยกเปน็ เพศชาย 161 คน เพศหญิง 144 คน

สภาพทางเศรษฐกิจ (ลักษณะการประกอบอาชีพ/รายได้รวมของหมบู่ า้ น รายไดเ้ ฉลย่ี )

การประกอบอาชพี สภาพทางเศรษฐกิจ ประชากรมีอาชพี เกษตรกรรม ทาสวนยางพาราเป็นส่วน
ใหญ่และรองลงมาเปน็ สว่ นปาล์มน้ามนั สวนผลไม้ ทุเรยี น ลางสาด ลองกอง โดยแบง่ เปน็

อาชีพหลัก ทาสวนยาง รอ้ ยละ 80
อาชพี รอง ทาสวนปาล์ม รอ้ ยละ 18
อืน่ ๆ ร้อยละ 2
รายได้ รวมรายได้จากทกุ แหล่งของหม่บู า้ น จานวน 34,385,040 บาท

รวมรายไดจ้ ากทกุ แหล่งของหมบู่ า้ น (เฉลย่ี /คน) 112,738 บาท
รวมรายไดจ้ ากทุกแหลง่ ของหมบู่ า้ น (เฉลีย่ /ครัวเรอื น) 404,530 บาท(จากขอ้ มลู จปฐ.ปี 56)
รายจา่ ย รวมรายจ่ายทั้งหมด จานวน 23,794,946 บาท
รวมรายจา่ ยท้ังหมด (เฉลยี่ /คน) 78,016 บาท
รวมรายจา่ ยทั้งหมด (เฉลย่ี /ครัวเรอื น) 279,941 บาท(จากข้อมูล จปฐ.ปี 2556)

แหล่งนา้ (แหล่งน้าธรรมชาตแิ ละแหล่งน้าทสี่ รา้ งขึ้นในหมู่บา้ น)

ชื่อแหลง่ น้า คลองศก สภาพของแหล่งนา้ ใชก้ ารได้ดี
ช่ือแหลง่ นา้ สระนา้ ในหมู่บา้ น 2 แหง่ สภาพของแหลง่ น้า ใชก้ ารไดด้ ี

43

สถานที่ทอ่ งเที่ยว/สถานทสี่ าคญั ของชุมชน
- วดั คีรไี พรสณฑ์
- องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลพนม

ผลติ ภัณฑท์ ่นี า่ สนใจของหมูบ่ ้าน
- เครื่องมือการเกษตร (ตีเหลก็ )

วัฒนธรรมประเพณี/ศลิ ปวฒั นธรรม/ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่
- ประเพณีรับสง่ ตายาย
- ประเพณีจบปีจบเดอื น
- ประเพณรี ดนา้ ดาหวั ผู้สูงอายุ

หมู่ที่ 9 หมบู่ า้ นบา้ นใหญ่

ประวัติความเป็นมา
บ้านใหญ่หมู่ 9 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี เดมิ เปน็ บา้ นทุ่งเจริญ หมู่ 11 ตาบลพนม

ต่อมาในสมัย นายแก้ว สาคร ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 11 ในขณะน้ัน มีการแบ่งเขตปกครอง จากหมู่ท่ี 11 เป็นหมู่ 9
บ้านใหญ่ และหมู่ท่ี 10 บ้านสาคล่ี และสมัยนายสุทิน ช่วยศรี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ท่ี 9 ก็ได้มีการแบ่งเขตการ
ปกครอง อกี ครง้ั โดยแยกหมูท่ ี่ 9 บา้ นใหญ่ ออกเปน็ 2 หมูค่ อื หมู่ที่ 9 บา้ นใหญ่ บา้ นใหญ่และ บ้านบางนลิ

ในสมัยก่อนชาวบ้านส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ตามริมคลองตลอดทั้งสองฝ่ังคลอง เรียกว่า “คลองสก”
ชาวบา้ นทามาหากนิ ตามแม่นา้ ลาคลอง ได้แก่ การหากุ้ง หอย ปู ปลา และประกอบอาชีพเกษตรกรรม (ปลูก

44

ขา้ ว) และผลไม้ เพื่อบรโิ ภคและเหลือจากบรโิ ภคจะนาไปขายท่ีตลาดท่าข้าม - ตลาดบ้านดอน และหาซ้ือกะปิ
เกลือส่ิงของเคร่อื งใช้จาเปน็ กลบั บ้าน การคมนาคมสมยั ก่อนกอ่ นใชส้ ัญจรโดยเรอื

อัตลกั ษณข์ องชมุ ชน
หมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งในการพัฒนาชมุ ชน

วสิ ยั ทศั นข์ องชุมชน
“ประชาชน กินดีอยดู่ ี ชวี มี สี ขุ ”

คาขวัญของหมบู่ า้ น
“หมบู่ ้านคีรีรอบ ถ้าครอบเขาเทียมปาุ จนั ผามากลน้ ผคู้ นปลอดยาเสพติด”

ท่ีต้ัง
บ้านใหญ่ต้ังอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอาเภอพนม มีถนนทางหลวงหมายเลข 401(สุราษฎร์-

ตะกว่ั ปุา) ตัดผา่ นหมบู่ า้ นโดยหา่ งจากอาเภอพนม ประมาณ 7 กโิ ลเมตร

อาณาเขต
บา้ นใหญ่เป็นหมู่บ้านขนาดเล็กต้งั อยใู่ นเขตตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และมีอาณา

เขตติดตอ่ กับหม่บู ้านตา่ ง ๆ ดงั นี้
ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกับบ้านบางนลิ หม่ทู ่ี 12 ตาบลพนม และเขตอุทยานแหง่ ชาติเขาศก
ทศิ ใต้ ติดต่อกับหมู่ที่ 10 บา้ นสาคลี่ ตาบลพนม และคลองศก
ทศิ ตะวันออก ติดต่อกบั หมทู่ ี่ 8 บ้านเชยี่ วหมอน ตาบลพนม
ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกับหมู่ที่ 1 บา้ นสองพนี่ ้อง ตาบลคลองศก

ขนาดพ้นื ท่ี
บา้ นใหญห่ มทู่ ่ี 9 มพี น้ื ที่ประมาณ 2500 ไร่ โดยเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ประมาณ 1500 ไร่ และส่วนที่

เหลอื เป็นเขตอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาสก ประมาณ 1000 ไร่

ลักษณะภูมอิ ากาศ

บ้านใหญ่มีลักษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ภูเขาดนิ สลับหิน และดินมีความอดุ มสมบรู ณเ์ นื่องจากเกดิ การทบั
ถมของซากพชื ซากสัตว์ ซ่ึงเหมาะสาหรับการทาเกษตร


Click to View FlipBook Version