The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Peamsak5076, 2021-11-30 02:44:41

ilovepdf_merged (10)

ilovepdf_merged (10)

45

ปราชญช์ าวบ้าน/ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่
ดา้ นแพทย์แผนไทย
1. นายแปลก ทองเสน อยูบ่ า้ นเลขที่ 13 มคี วามสามารถด้านยาสมนุ ไพร ด้านการบบี นวดรักษา

อาการปวดเมอ่ื ย รกั ษาโรคเรมิ (งูสวัด) และหนามตา เสย้ี นไม้ตาคา้ งคาอยูภ่ ายใน สามารถรกั ษาโดยวิธกี ารพ่น
ใหอ้ อกได้

2. นายข้วน ปาละคชนทร์ อยู่บา้ นเลขท่ี 76 มคี วามสามารถด้านหมอเอ็น (จับเส้น) หมอดทู านายทาย
ทกั ดวงชะตาราศี ได้เปน็ อยา่ งดี

ศาสนพธิ ี
1. นายสหสั ศรรี กั ษา อยบู่ ้านเลขที่ 10 มีความสามารถในการเป็นพธิ ีกรทางศาสนา
2. นายอนนั ต์ เผอื กภมู ิ อยูบ่ า้ นเลขที่ 101 มีความสามารถในการเปน็ พิธกี รทางศาสนา

ด้านความเชอื่ /โหราศาสตร์
1. นายฉาย ศรีรกั ษา อยบู่ ้านเลขท่ี 125 มีความสามารถในการประกอบพิธที าขวัญ หมอภูมิ และ

พิธกี รรมของส่งวิญญาณผูต้ าย (หมอดอย)
2. นางเหือ้ ง สวุ รรณคง อยู่บา้ นเลขท่ี 40 มีความสามารถในการเป็นหมอดูทานายทายทกั

ด้านฝีมือ ชา่ งไม้ ชา่ งปนู
1. นายวิชติ คุณสนอง อยู่บา้ นเลขท่ี 92 มคี วามสามารถการเป็นชา่ งปนู ช่างไม้
2. นายประชา ชดู าอยูบ่ า้ นเลขท่ี 153 มคี วามสามารถการเปน็ ชา่ งปนู ชา่ งไม้

ด้านหตั ถกรรมงานฝีมือ
1. นายจานงค์ มากชุม มีความสามารถเรอื่ งการจักสาน

ด้านการถนอมอาหาร
1. นางโสพิศ ช่วยศรอี ยู่บ้านเลขท่ี 16 มีความสามารถในการถนอมอาหาร เชน่ ปลาสม้ หน่อไม้

ดอง
2.นางสุธาทิพย์ ถาวรสขุ อยบู่ ้านเลขที่ 118 มีความสามารถในการทาขนมและแปรรูปอาหาร

การประกอบอาชีพและสภาพเศรษฐกจิ
ประชากรในหมู่บ้านบ้านใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณร้อยละ 80 การเกษตร

ท่ีสาคัญได้แก่การทาสวนยางพารา รองลงมาคือสวนปาล์มน้ามัน และสวนผลไม้ตามลาดับ หลังจากท่ี
หนว่ ยงานของรฐั ได้ชว่ ยกนั ส่งเสริมให้ราษฎรในหมบู่ ้านเขา้ รว่ มโครงการเกษตรผสมผสาน หรือเกษตรยั่งยืนทา

46

ให้ราษฎรในหมู่บ้านหันมาทาการเกษตรแบบผสมผสาน มากข้ึนเช่นมีการขุดบ่อเลี้ยงปลาเล้ียงสุกร เป็ด ไก่
และมีการปลูกพืชหลายๆชนิดในที่เดียวกันมีการกาจัดแมลงศัตรูพืชโดยธรรมชาติ เช่น การใช้ตะไคร้หอม น้า
หมกั ชวี ภาพจากสมนุ ไพร เปน็ ตน้ และประชากรอย่างหันมาปลูกผักสวนครัวร้ัวกินได้กันมากข้ึนโดยราษฎรใน
หมู่บ้านมรี ายได้เฉลยี่ 61,285 บาท/คน/ปี

ประเพณีวัฒนธรรม
-ทาบุญตักบาตรวันข้นึ ปใี หมจ่ ัดการในช่วงตน้ เดอื นมกราคมของทุกปี
-สวดมนต์กลางหมบู่ า้ นหรอื ทาบญุ หมบู่ า้ นจะจัดในเดอื นมกราคม
-ประเพณรี ดน้าดาหัวผสู้ ูงอายทุ ุกปี จดั ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ในเดอื นเมษายนของทุกปี ประเพณีวัน

ว่างถือเป็นวันข้ึนปีใหม่ของคนไทย จะทากันในวันท่ี 14-15 ค่าและแรม 1 ค่าเดือน 5 เป็นวันสงกรานต์และ
ห้ามกระทาการใดๆ ในช่วงวันนั้นด้วย เพราะถือกันว่า ว่างเทวดา เทวดาไม่รักษาชีวิตทาให้มีอันตรายได้ง่าย
และต้องทาความสะอาดบา้ นเรือน สถานที่อยูอ่ าศัย ไปวดั ทาบญุ รดนา้ ตา ยาย หรือไปเยีย่ มญาตทิ ่ีอยู่หา่ งไกล

-ประเพณจี บปี จบเดอื น เป็นประเพณีท่จี ัดการในชว่ งเดอื น ห้า ตอ่ เดือน หก ของปฏทิ นิ ไทย
- การทาบุญตกั บาตรในเทศกาลเดอื นสบิ ทุกปี
-ประเพณีสารทเดือนสิบเป็นความเช่ือของชาวพุทธศาสนิกชนในจังหวัดภาคใต้โดยเฉพาะ ที่เชื่อว่า
บรรพบุรุษ อันได้แก่ ปูุย่า ตายาย และญาติพ่ีน้องท่ีล่วงลับไปแล้ว หากทาความช่ัวจะตกนรกกลายเป็นเปรต
ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศัยผลบุญท่ีลูกหลานอุทิศส่วนกุศลให้แต่ละปีมายังชีพ ดังน้ันในวันแรม 1
ค่าเดือน 10 ของคนบาปท้ังหลายที่เรียกว่าเปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์เพ่ือมาขอส่วนบุญจาก
ลูกหลาน ญาตพิ ่ีนอ้ ง และจะกลบั ไปนรกในวนั แรม 15 ค่าเดอื น 10 ลกู หลานและผยู้ งั มีชวี ติ อยู่จึงนาอาหารไป
ทาบุญท่ีวัด เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีแบ่งลักษณะงาน
เทศกาลนอี้ อกเปน็ 3 วัน คอื วันแรม 13 ค่าเดือน 10 เป็นวันแรกหรือวันเร่ิมเตรียมจัดหาซ้ือส่ิงของเคร่ืองใช้ท่ี
พระสงฆ์จาเปน็ ต้องใชร้ วมท้ังอาหาร จดั ใส่ภาชนะ เช่น กระจาด ตะกรา้ ชะลอม และอาหารแหง้ อย่างหนึ่งท่ี
จะขาดเสียมไิ ด้หรือเป็นหัวใจของสาหรับเพราะเปน็ ขนมประเพณีมีขนมทาให้สบื มาแต่โบราณได้แก่
1. ขนมลา แปงู ทอดโรยเปน็ เสน้ เล็กๆ
2. ขนมพอง เป็นข้าวเหนียวทอดพอง ส่วนมากทาเป็นรูปสเ่ี หล่ียมขนมเปยี กปูน

จดุ เด่น
1. ชุมชนร้รู กั สามคั คี
2. คนในชุมชนมีความเกอื้ กูลตอ่ กนั (ช่วยเหลือ)
3. สภาพพืน้ ทตี่ ิดกับแม่นา้ คลองศก
4. มที างคมนาคมขนสง่ สะดวก (ทางถนนใหญ่ทางผ่าน)
5. มีตลาดนดั อยู่ในชมุ ชน
6. มโี รงเรยี นอยูใ่ นชุมชน

47

7. มีสัญญาณโทรคมนาคมที่ชดั เจน
8. มรี ะบบสาธารณูปโภคท่เี กอื บทงั้ หมู่บา้ น (น้าประปาหมู่บา้ น)
9. มีการสืบทอดวฒั นธรรมประเพณเี ป็นประจาทกุ ปี
10. มหี น่วยงานในพืน้ ท่ีสนับสนุนองค์ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและด้านสาธารณสุข
11. เทคโนโลยีสารสนเทศท่วั ถึงสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลข่าวสารไดด้ ี

จุดดอ้ ย
1. ไม่มแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
2. มแี หลง่ การพนนั /สง่ิ เสพตดิ
3. ประชาชนบางกลุ่มยงั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร
4. เยาวชนบางคนมว่ั สมุ สิง่ เสพติด
5. ถนนเปน็ หลุมเป็นบอ่ ดนิ ทางไมส่ ะดวก
6. ไม่มีไฟสอ่ งทางในบริเวณถนนหนทางในหมู่บ้าน
7. ไมม่ จี ดุ บริการขอ้ มูลขา่ วสารของชมุ ชน
8. ไม่มกี ารตัง้ กล่มุ ทาอาชพี เสรมิ

ปญั หาและอปุ สรรค
1.เศรษฐกิจ ไม่ดีส่งผลใหร้ าคาผลผลติ ทางการเกษตรตกต่า
2. สภาพภูมิอากาศเปลยี่ นแปลงไป ขาดสมดลุ ทางธรรมชาติ
3. ตอ้ งซือ้ น้าบรโิ ภคในราคาแพง
4. ขาดแหล่งนา้ สารองเมอ่ื ถงึ หน้าแลง้ สมาชกิ ในชุมชนไม่มีน้าใช้
5. ปญั หาถนนทางเขา้ โรงเรียนบ้านใหญย่ งั มหี ลมุ มีบอ่
6. ปัญหาพืชกระทอ่ มทีเยาวชนในหมู่บ้านหนั มามัว่ สมุ กัน
7. ปัญหาความสว่างตามถนนในซอยเล็กน้อยในหมบู่ ้าน
8. ในหมู่บ้านมีแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย ไม่มีการกาจัดลูกน้ายุงลาย ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้เป็นโรค

ไขเ้ ลือดออก
9. ไม่มแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ท่ีจะสร้างรายไดใ้ ห้คนในชุมชน
10. ไม่มกี ารรวมกลุม่ กนั ทาผลติ ภัณฑห์ รอื อาชีพเสรมิ แกส่ มาชกิ ในชุมชน

48

หมู่ที่ 10 หมบู่ ้านสาคลี่

ข้อมลู ท่วั ไป
บ้านสาคล่โี ดยทว่ั ไปเป็นที่ราบสูงตั้งอยู่บนภูเขา มีลาคลองศกและลาห้วยตัดผ่านหมู่บ้าน มีปุาไม้ ต้น

นา้ ลาธาร ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติมีมาก เพราติดแนวอุทยานคลองพนม บ้านสาคล่ีต้ังอยู่ทางทิศ
ใต้ของจงั หวดั สรุ าษฎร์ธานีโดยใชท้ างหลวงหมายเลข 401 ระหวา่ งถนน สุราษฎร์-ตะกั่วปุา เปน็ เส้นหลกั

กลุ่มกจิ กรรม/อาชพี มีจานวน 5 กลุ่ม ดังนี้
1.กลุ่มผกู ผ้า
2.กลุ่มดอกไมจ้ นั ทน์
3.กลมุ่ ออมทรัพย์สตรี
4.กลุ่มออมทรัพยเ์ พ่อื การผลิต
5.กลุ่มออมทรพั ย์แม่บา้ น

จดุ เดน่
1.สมาชกิ ในชมุ ชนมีความขยันในการประกอบอาชีพ
2.สมาชิกในชมุ ชนมีการรวมตัวกันในการประกอบอาชพี เสริม
3.สมาชกิ ในชุมชนมีอาชีพม่ันคงและถาวร
4.สมาชกิ ในชมุ ชนส่วนใหญม่ ที ่ีดินทากินเปน็ ของตัวเอง
5.สมาชกิ ในชมุ ชนมสี ว่ นในการทากจิ กรรมต่าง ๆ ในหมู่บา้ น
6.มีนักกฬี าโอลมิ ปกิ อยู่ในชุมชน

49

7.มีปาุ ไมล้ าธารทีอ่ ดุ มสมบูรณ์
8.มอี ากาศทบี่ ริสุทธ์ิ
9.มีสตั วป์ าุ มากมาย
10.มดี ินที่อดุ มสมบูรณ์
11.มีชุด ชรบ. คอยดูแลความเรียบร้อยภายในหมู่บ้าน
12.มีชดุ พปร. คอยดูแลความเรียบร้อยภายในหมู่บา้ น
13.มีชดุ ผนู้ าท่ีเขม้ แข็ง
14.มโี รงปุ๋ยชมุ ชน
15.มีประปาหมู่บ้าน
16.มีศาลาประชุมหมบู่ า้ น

จุดด้อย
1.ด้านเศรษฐกิจราคาผลผลิตตกตา่
2.ไมม่ ีตลาดจาหนา่ ยสนิ คา้ ทางการเกษตร
3.ผลผลิตไม่มีคุณภาพ
4.ผลผลติ ทางการเกษตรพอ่ คา้ คนกลางเปน็ คนกาหนดราคาเอง
5.ขาดการอบรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน
6.ขาดศนู ย์การเรยี นร้ใู นระดับหมูบ่ ้าน
7.ทท่ี ากินอยใู่ นเขตอุทยานคลองพนมและปุาสงวน
8.สะพานเส้นหลักถูกน้าทว่ มยากตอ่ การสญั จรไปมา
9.แนวเขตอุทยานกับปาุ สงวนไม่ชดั เจน
10.ปญั หาดา้ นคณุ ภาพของแม่น้าคลองศก
11.ขาดกลอ้ งวงจรปิดท่ีปอู มยามและทางแยกของถนนภายในหมูบ่ า้ น
12.ขาดงบประมาณทีจ่ ะดาเนินกิจกรรมตอ่

ปญั หา และอปุ สรรค
1.เร่ืองไฟฟูาดับบอ่ ย เสาไฟฟาู เอยี งและลม้ กระแสไฟฟาู ไมเ่ พยี งพอ ทาใหเ้ คร่อื งใชไ่ ฟฟูาเสยี หายบ่อย
2.ปัญหาทีด่ ินทากินซบั ซอ้ นกับแนวเขตอทุ ยานคลองพนมและปุาสงวน

3.ปญั หาขาดแคลนนา้ อปุ โภคและบรโิ ภคชว่ งแล้ง

50

4.ปญั หาชาวบ้านมรี ายไดน้ ้อยเนื่องจากไมม่ ีอาชีพเสริม
5.ปญั หาเรอ่ื งถนนข้ามลาห้วยฤดูฝนไมส่ ามารถขา้ มสญั จรไปมาสะดวก
6.ปญั หาสะพานขา้ มหมู่บา้ นต่ากว่าระดบั น้า
7.ตอ้ งการซ่อมแซมหรอื ก่อสรา้ งถนนให้อยใู่ นสภาพที่ใช้งานไดด้ ีกวา่ เดมิ
8.มีผสู้ งู อายใุ นหม่บู า้ นจานวนมากขนึ้ และไม่มกี จิ กรรมทารว่ มกันหรือมีการส่งเสรมิ อาชีพท่ีเหมาะกับ
ผ้สู ูงอายุ
9.ปญั หายาเสพติดในพน้ื ที่ เปน็ พนื้ ที่ท่พี บการม่ัวสุมของวยั รุน่ ภายในหมูบ่ ้าน จาพวกพชื กระท่อม
10.งบประมาณล่าชา้ ทาให้ผนู้ าในหมบู่ า้ นไมส่ ามรถดาเนนิ โครงการได้สะดวก
11.เศรษฐกจิ ตกต่า สง่ ผลให้พืชผลทางเกษตรกระจายออกจากสวนช้า
12.ถนนเป็นหลุมบ่อ ต้องการวอ่ มแซมหรือก่อสร้างถนนให้อยู่ในสภาพท่ใี ช้งานได้ดกี วา่ เดมิ
13.มคี วามเหล่ือมลา้ ทางรายได้ของประชาชนในพ้ืนท่ี ประชาชนมภี าระหน้สี นิ รายได้ไม่พอกับรายจ่าย
เนื่องจากไม่มีอาชีพแน่นอน
14.สมาชกิ ในชมุ ชนท้ิงขยะไม่เป็นที่ เกลือ่ นกลาดเต็มถนน
15.ไม่มีแหล่งน้าสารอง สาหรับสารองน้าหน้าแล้ง
16.การประปาเข้าไมถ่ ึงทุกครัวเรอื นในหมูบ่ า้ น
17.ปัญหาสมาชิกในชมุ ชนว่างงานมากขึน้ เนอ่ื งจากปญั หาทางเศรษฐกิจไม่ดี
18.ไมม่ ีอปุ กรณ์หรือเครอ่ื งมอื ทีช่ ่วยปูองกนั แก้ไขปญั หาความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส์ ินของประชาชน
ในหม่บู ้าน เช่น ไมม่ กี ล้อง CCTV ที่คลอบคลมุ ในทกุ พนื้ ท่ี
19.ในหม่บู า้ นมแี หลง่ เพาะพันธ์ยงุ ลาย ไมม่ ีการกาจัดลกู น้ายงุ ลาย ซ่งึ เปน็ สาเหตุทีท่ าให้เปน็ โรค
20.นกั เรยี นขาดแคลนทุนการศึกษา ไมม่ ีทุนทรัพย์ในการศึกษาตอ่ ในระดบั ท่ีสูงขึ้น
21.การขาดบุคลากร/ลกู หลานในหม่บู า้ น ท่ีจะสืบทอดภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ในแต่ละหมูบ่ า้ น

51

หมู่ท่ี 11 บ้านทุ่งเจรญิ

ประวัติความเปน็ มา

บ้านทุ่งเจริญ ทม่ี าของบ้านทุ่งเจริญ มาจากลักษณะภูมิประเทศในสมัยก่อนผู้คนมาตั้งถ่ินฐานเพ่ือทา
มาหากินในบริเวณปุา เนินเขา ซึ่งแยกมาจากหมู่ที่ 6 และ 7 ตาบลพนมซึ่งเป็นบริเวณท่ีเป็นปุาทึบ มีต้นไม้
พันธ์ุไมอ้ ดุ มสมบูรณ์ เป็นบรเิ วณกว้างเรยี กวา่ “ทุ่ง”และดว้ ยความอุดมสมบูรณข์ องพืชพันธุ์ต่างๆ ซึ่งบ่งบอกถึง
ความเจรญิ งอกงาม แตย่ ังขาดความเจรญิ ในการดารงชีวติ จงึ ไดต้ ง้ั ชอื่ บ้านวา่ “บา้ นทุง่ เจรญิ ” เพอื่ ความเป็นสิริ
มงคล

สภาพทว่ั ไป ติดตอ่ กบั หมู่ที่ 7 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกบั หมทู่ ี่ 4 ตาบลพนม อาเภอพนม จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ หมู่ที่ 1 ตาบลพลเู ถอ่ื น อาเภอพนม จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับ หมทู่ ่ี 10 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
ทศิ ตะวันตก

เน้ือท่ี
ประมาณ 6.38 ตารางกิโลเมตร

52

สภาพท่วั ไปของหมู่บ้าน

สภาพภูมิอากาศมี 2 ฤดู คือฤดูฝน และฤดูร้อน เป็นฤดูฝน 8 เดือน และฤดูร้อน 4 เดือน ฤดูฝนเร่ิม
ตง้ั แตป่ ลายเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคมของทุกปี เดือนกันยายนจะเป็นเดือนท่ีมีปริมาณฝนตกมากที่สุดใน
รอบปี

ฤดูรอ้ นเรมิ่ จากกลางเดอื นมกราคมถงึ เดอื นเมษายนของทกุ ปี เดอื นกมุ ภาพนั ธ์จะเป็นเดือนท่ีมีปริมาณ
ฝนตกน้อยทสี่ ดุ ของปี อากาศชว่ งน้รี ้อนเหมาะแกก่ ารท่องเท่ียว เดือนเมษายนเป็นเดือนที่มอี ุณหภมู ิเฉล่ยี สงู สดุ

ประชากร

จานวนประชากรทง้ั หมด 528 คน
ชาย 274 คน
หญงิ 254 คน

อืน่ ๆ

สภาพความเป็นอยู่ของคนในหมู่บ้านจะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทาสวนยางพารา สวนปาล์ม
นา้ มัน สวนผลไม้ เล้ียงสัตว์ในครัวเรือนเพื่อการบริโภค ส่วนท่ีเหลือจึงจะจาหน่าย อยู่ร่วมกันแบบสังคมเครือ
ญาติ พ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกนั มอี ธั ยาศัยทีด่ ีต่อบคุ คลทว่ั ไป

สภาพเศรษฐกิจ

อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ปลกู ยางพารา และปาล์มน้ามนั
อาชีพรองลงมา คอื การเลีย้ งสัตว์ เช่น หมู ไก่ เป็นตน้

หนว่ ยธุรกิจในพนื้ ที่

บ้านทุ่งเจริญเป็นหมู่บ้านในชนบทที่มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลาย ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรม
ธนาคาร โรงแรม หรอื ป๊ัมนา้ มนั แต่จะมเี พียงร้านค้าในชุมชนประมาณ 3-4 ร้านเท่านนั้ เป็นลักษณะค้าขายใน
ท่อี ยอู่ าศัย มีการรวมกลุ่มเพ่ือทาธุรกจิ ซอื้ เศษยางพารา ซือ้ ผลปาล์มน้ามนั บ้างเปน็ คร้งั คราว

53

หมทู่ ่ี 12 บ้านบางนลิ

ประวตั ิความเป็นมา

เดิมท่ีชุมชนบ้านบางนิล เดิมเป็นชุมชนในเขตปกครองของหมู่ที่ 9 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี ต่อมามีประชากรเข้ามาอาศัยเพ่ิมขึ้น ทาให้จานวนครัวเรือนและประชากรมากขึ้นตาม จึงได้
ประกาศแบ่งแยกพ้ืนที่เป็น หมู่ 12 ตาบลพนม เมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม พุทธศักราช 2536 โดยใช้ช่ือลาบางท่ี
ไหลผ่านหมบู่ า้ นเปน็ ชอื่ ของหม่บู ้าน ปจั จุบนั กใ็ ช้เรียกชอ่ื วา่ “บา้ นบางนลิ ”

สภาพทั่วไปของหม่บู า้ น

บ้านบาลนิล พ้ืนที่เป็นท่ีราบเชิงเขามีลาบางไหลผ่าน คือ บางนิล บางปง ซึ่งเป็นแหล่งน้าใช้ในการ
อปุ โภคบรโิ ภคและการทาการเกษตรได้ตลอดทั้งปี มีถนนลาดยางทางหลวงหมายเลข 401 สุราษฎร์-ตะกั่วปุา
จังหวัดพงั งา โดยทางเขา้ หม่บู า้ นเดนิ ทางเขา้ เส้นทางโรงเรยี นบา้ นใหญ่ เพือ่ เข้าสู่หมู่บา้ น

อาณาเขตของหมู่บ้าน

บ้านบางนิล ตัง้ อย่ตู าบลพนม ตั้งอยทู่ างทิศตะวนั ตกของท่ีวา่ การอาเภอพนม การคมนาคม สะดวก
ภายในหมู่บ้านมีถนนเช่ือมตอ่ ตลอดทัง้ หมูบ่ ้าน

ทศิ เหนือ จรด ปาุ อุทยานแห่งชาตเิ ขาสก
ทิศตะวันออก จรด เทอื กเขาหนา้ แดงและหมทู่ ี่ 8 บ้านเช่ียวหมอน ตาบลพนม
ทิศใต้ จรด หมู่ท่ี 9 ตาบลพนม

54

ทศิ ตะวนั ตก จรด หมู่ที่ 9 ตาบลพนม

ลักษณะภมู ิอากาศ

ลกั ษณะภูมิอากาศมี 2 ฤดคู อื ฤดฝู นและฤดูร้อน เป็นฤดฝู น 8 เดอื น และฤดรู อ้ น 4 เดอื น
ฤดูฝนเรมิ่ ตั้งแตป่ ลายเดอื นเมษายนถงึ เดอื นธันวาคมของทุกปี เดอื นกันยายนจะเปน็ เดอื นท่มี ปี รมิ าณฝนตก
มากทสี่ ดุ ในรอบปี
ฤดูรอ้ นเร่ิมจากกลางเดือนมกราคมถงึ เดอื นเมษายนของทุกปี เดือนกุมภาพันธ์จะเป็นเดือนท่ีมีปริมาณฝน
ตกนอ้ ยท่ีสุดของปี อากาศชว่ งน้ีร้อน เหมาะแกก่ ารทอ่ งเทีย่ ว เดือนเมษายนเป็นเดอื นทมี่ อี ณุ หภมู ิเฉล่ยี สงู สดุ

สภาพเศรษฐกจิ

1. สภาพทางเศรษฐกจิ
การประกอบอาชพี สภาพทางเศรษฐกิจประชากรมีอาชีพเกษตรกรรมทาสวนยางพาราเปน็ สว่ นใหญ่ และ
รองลงมาเปน็ สวนปาลม์ น้ามัน สวนผลไม้ โดยแบ่งเปน็

อาชพี หลัก ทาสวนยางร้อยละ 75
อาชพี รอง ทาสวนปาลม์ รอ้ ยละ 10
รับจา้ งทัว่ ไป ร้อยละ 5
ทาสวนผลไม้ รอ้ ยละ 5
เลีย้ งสตั ว์ รอ้ ยละ 5
2. แหลง่ น้า
1. บางนลิ -แหง้ ในฤดแู ล้ง
2. บางหัน-แห้งในฤดแู ล้ง
3. หว้ ยบางปง-เล็กกวา่ 1,2
4. ฝายนา้ ล้นธรรมชาติ
5. สระน้ามี 2 แห่ง-ประปา
3. วัฒนธรรมประเพณ/ี ศิลปวฒั นธรรม/ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
-ประเพณีรับสง่ ตายาย
-ประเพณีจบเดือน จบปี
-ประเพณีสรงน้าผสู้ ูงอายุ
-ประเพณบี ญุ เดอื นสิบ

55

4. สถานทท่ี อ่ งเที่ยว/สถานทบี่ ริการของชุมชน
- มศี าลปูุตาเขาหนา้ แดง อยู่บนภูเขาเป็นท่ีเคารพและมคี วามเช่ือวา่ ศักด์สิ ิทธ์ิ สามารถอธฐิ านขอ
ความชว่ ยเหลือได้
- มีศาลาประชาคมประจาหมบู่ า้ น 1 หลัง

แม่น้าทส่ี าคัญ
ลาคลอง 2 สาย ท่ีสาคัญ ซ่ึงไหลลงสูแ่ มน่ า้ พมุ ดวงและแม่นา้ ตาปี คือ
- คลองศก
- คลองพนม

ลักษณะภูมอิ ากาศ

สภาพภมู อิ ากาศตาบลพนม เปน็ สภาพภมู ิอากาศทมี่ ลี ักษณะเป็นเขตรอ้ นช้นื เขตร้อนช้ืนคือ สภาพภูม
มิอากาศทม่ี ฤี ดแู ล้งกับฤดฝู น โดยตาบลพนม อาเภอพนม จงั หวัดสุราษฎร์ธานี มีลักษณะสภาพอากาศ มีฤดูฝน
6เดือน ฤดูหนาว 2 เดือน และมีฤดูร้อน 4 เดือน โดยภูมิประเทศโดยรอบจะเป็นพื้นท่ีปุาเป็นส่วนใหญ่ จะมี
ภูเขาหินงอกในหลายๆจุด และมีแม่น้าสายสาคัญอยู่ในแถบตัวตาบล การควบแน่นของอากาศมีความชื้นสูง
โดยถูกระเหยขึ้นไปสู่ช้ันบรรยากาศได้เยอะเพราะมีปุาเป็นองค์ประกอบสาคัญ ทาให้มีฝนตกชุมภายในพื้นท่ี
ตาบลพนมและพื้นที่ใกล้เคียง ตาบลพนมจึงเป็นภูมิอากาศแบบผสม มีอุณหภูมิท่ีร้อนได้ถึง 39 องศา และ
อุณหภูมติ ่าไดถ้ งึ 23 องศาในบางช่วงระยะเวลาของปี

ทรพั ยากรธรรมชาติ
อาเภอพนมเป็นอาเภอท่ีอุดมไปด้วยทรัพยากรปุาไม้ทาให้มีทรัพยากรธรรมชาติที่ยังอุดมสมบูรณ์

ก่อกาเนิดให้มีแหล่งท่องเท่ียวต่างๆมากกมาย โดยอาเภอพนมมีพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติถึงสองแห่งคือ อุทยาน
แหง่ ชาติคลองพนมและอุทยานแห่งชาติเขาสก ซึ่งเป็นถ่ินกาเนิดแห่งแรกและแห่งเดียวของดอกบัวผุดดอกไม้
ประจาจงั หวดั สุราษฎรธ์ านีด้วยความงามของธรรมชาติและขุนเขาทาให้มีคาขวัญท่ีว่า ภูเขาสวย รวยเขาเสียบ
หมอก อกั ทั้งยังได้รับสมญานามว่า กุ้ยหลินเมืองไทยจากทัศนียภาพบนเข่ือนรัชประภาโดยเป็นส่วนหนึ่งของ
อุทยานแห่งชาติเขาสก การเดินทางจากตัวเมืองสุราษฎร์ธานีใช้เส้นทางสุราษฎร์ธานี-ตะกั่วปุา (ทางหลวง
หมายเลข 401)

56

การคมนาคม
การคมนาคมทางบก
เปน็ เส้นทางคมนาคมที่สาคัญท่ีสุดในตาบลที่ใช้ในการติดต่อระหว่างชุมชนและขนส่งผลผลิตทางการ

เกษตรออกสู่ตลาด เส้นทางคมนาคมสายสาคัญในตาบลคลองศก ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 ซึ่ง
ผ่านทางตอนกลางของตาบล เปน็ เสน้ ทางสายหลักในการติดต่อระหว่างหมู่บ้านต่าง ๆ ในตาบล รวมทั้งติดต่อ
กับชุมชนอื่น ๆ ในบริเวณใกล้เคียง นอกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 แล้ว จะมีเส้นทางแยกเข้า
หมบู่ า้ นตา่ ง ๆ ในตาบล ซ่ึงส่วนมากจะเป็นถนนดนิ มีขนาดกว้างประมาณ 6 เมตร

การคมนาคมทางนา้
สภาพปัจจบุ นั ในเขตตาบลคลองศกจะมคี ลองและลาหว้ ยธรรมชาติไหลผา่ นอยโู่ ดยท่ัวไป และลาห้วยมี
สภาพคดเค้ียวและตื้น จะมีน้ามากในเฉพะฤดูฝน เหมาะสมแก่การล่องเรือแคนู แพ และใช้ประโยชน์ทาง
การเกษตร และระบายนา้

การโทรคมนาคม
- โทรศพั ท์ใช้จานดาวเทียม
- โทรศัพท์บา้ น

57

โครงสร้างองค์กร
- ดา้ นการปกครอง

โครงสรา้ งองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลพนม

สภา อบต. คณะผบู้ รหิ าร
นายก อบต.
ประธานสภา อบต.
เลขานกุ ารสภา อบต. เลขานกุ ารนายก อบต.
รองประธานสภา อบต.
รองประธานสภา อบต. รองนายก อบต. รองนายก อบต.
สมาชิกสภา อบต.

ปลดั อบต.

สานกั ปลดั อบต. กองคลงั กองช่าง

-งานบรหิ ารท่วั ไป -งานบญั ชี -งานก่อสรา้ ง
-งานการเจา้ หนา้ ที่ -งานการเงนิ -งานออกแบบและควบคมุ
-งานนโยบายและแผน -งานทะเบยี นทรพั ยส์ นิ และ อาคาร
-งานสง่ เสรมิ การศกึ ษา พสั ดุ -งานประสานสาธารณปู โภค
ศาสนาและวฒั นธรรม -งานพฒั นาและจดั เก็บ
-งานสวสั ดกิ ารสงั คมและ รายได้
พฒั นาชมุ ชน
-งานสาธารณสขุ และ

สง่ิ แวดล- อ้ มด้านประชากร

-งานปอ้ งกนั และบรรเทาสา
ธารณภยั

58

ประวตั คิ วามเป็นมาของชุมชน
ในสมัยก่อนมีการทามาหากินแถบริมลาคลอง ทั้ง 2 สาย คือลาคลองศกและคลองพนม ซึ่งพ้ืนที่อุดม

สมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธ์ โดยการปลูกพืชสวนผสมหรือเรียกว่าสวนปูุ สวนย่า ซ่ึงประกอบด้วย มะพร้าว เงาะ
ลางสาด มงั คดุ ทเุ รียนและการล่าสัตว์ปาุ เป็นอาหาร สมัยกอ่ นการเดินทางจากตาบลพนมเข้าสู่ในเมืองหรือต่าง
อาเภอใช้คมนาคมทางน้า เช่นเรอื พาย เรือแจว เป็นหลักส่วนเรือหางยาวหรือเรือยนต์แทบจะไม่มี ถ้าเดินทาง
ไม่ไกลมากนักใช้วิธีการเดินเท้า เพราะในขณะนั้นไม่มีรถสัญจรพื้นเพของคนตาบลพนมจะเป็นคนชาวตาบล
พนมโดยกาเนิดมีบางส่วนอพยพย้ายถ่ินฐานมาจากต่างอาเภอและจังหวัดอ่ืนโดยมาประกอบอาชีพและ
มาทามาหากนิ ในเขตพนื้ ท่ี การส่ือสารจะใช้ภาษาถ่ินเดิม ขนบธรรมเนียมประเพณี จะยึดประเพณีดั้งเดิมของ
ไทยที่ปฏบิ ัตสิ ืบทอดกนั มาจนปจั จบุ นั

จานวนครวั เรือนและประชากร

ประชากรท้งั ส้ินตามทะเบียนราษฎร์ 6,791คนแยกเป็น

ชาย 3,305 คน

หญงิ 3,488 คน

- ดา้ นการศกึ ษา

สถาบันการศึกษา

โรงเรยี นประถมศกึ ษา 4 แห่ง

- โรงเรยี นวดั พนม

- โรงเรียนพนมศึกษา

- โรงเรยี นบา้ นลูกเดอื น

- โรงเรียนบ้านใหญ่

59

- ด้านศาสนา

สถาบนั และองคก์ รทางศาสนา

ประชาชนตาบลพนมท้งั หมดมีเชอื้ สายไทย นับถอื ศาสนาพทุ ธ โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางในการประกอบ

ศาสนกจิ ต่าง ๆ ซึ่งไดแ้ ก่ งานบญุ งานประเพณีต่าง ๆ มอี งค์กรตา่ ง ๆ ดงั นี้

- วัด/สานกั สงฆ์ 3 แห่ง

- วดั พนม

- วดั คีรไี พรสน

- สานกั สงฆ์หนา้ เมอื ง

โครงสรา้ งดา้ นเศรษฐกิจ และอาชพี
ชาวบ้านตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรมเป็น

หลักสภาพทางเศรษฐกิจ จึงขึ้นอยู่กับกลไกด้านตลาด ราคา ปริมาณและคุณภาพของการผลิตทางการเกษตร
อาชีพท่สี าคัญของชาวบา้ นในตาบลพนม ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณร้อยละ 80 รองลงมา
คอื การประกอบอาชพี รบั จา้ งเม่อื วา่ งจากการเกษตร โดยเป็นแรงงานรับจ้างทั่วไปตามพ้ืนที่เกษตรกรรม หรือ
เดินทางเข้าไปในตัวจังหวัด หรือจังหวัดใกล้เคียงเป็นแรงงานช่างฝีมือและการบริการ อาชีพที่ทารายได้มาก
ท่ีสุดคือ การทาสวนยางพารา การทาเกษตรท่ีสาคัญได้แก่ การทาสวนยาง รองลงมาคือการเพาะปลูกพืชไร่
เช่น ขา้ วโพด มะนาว ปาล์มน้ามัน และสวนผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน ส้ม ส่วนการเพาะปลูกพืชผักสวนครัวจะ
เพาะปลูกตามครวั เรือน และเกษตรกรรมทั่วไปซ่ึงใช้พื้นท่ีการเพาะปลูกไม่มากนัก ส่วนการเลี้ยงสัตว์เป็นการ
เล้ยี งแบบครัวเรือน ซึ่งมจี านวนการเลี้ยงน้อย โดยจะเล้ียงตามบริเวณบา้ นและทุง่ นา สัตวท์ ีเ่ กษตรกรเลย้ี งได้แก่
โค กระบอื สุกร เปด็ และไก่ต้น

ความเช่อื ประเพณี และพธิ ีกรรม
ประเทศไทยมีวัฒนธรรมและประเพณีต่าง ๆ ที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่โบราณ เช่น พิธีกรรมทาง

ศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นพธิ ีกรรมทีเ่ ก่ียวข้องกับศาสนาพราหมณ์อย่างแยกแยะไม่ได้ ผู้นาในการประกอบพิธีกรรม
ต่าง ๆ ของท้องถิ่นตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ท่ีชุมชนให้ความนับถื อเมื่อมีการจัดพิธี
ดงั กลา่ วขึ้น คนในชมุ ชนทมี่ ารว่ มพิธจี ะเกิดความรกั ความสามัคคีมีความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
เป็นการสร้างความเจริญรุ่งเรืองและสร้างความเป็นปึกแผ่นให้มีการสืบทอดและพัฒนาอย่างย่ังยืนใน
ขณะเดยี วกนั ชาวบา้ นตาบลพนม อาเภอพนม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ก็ไดม้ กี ารจัดกิจกรรม

งานบุญเดือนสิบ ถือเป็นการจัดเทศการงานเดือนสิบ ถือเป็นความพยายามของมนุษย์ ท่ีมุ่งทดแทน
พระคุณบรรพบุรุษ แม้ว่าจะล่วงลับไปแล้วก็ตาม ซึ่งเป็นสิ่งที่ชาวไทยทุกคน ควรต้องยึดถือปฏิบัติ รวมท้ัง
ปลูกฝงั ใหอ้ นุชนรุ่นหลัง ไดป้ ฏิบัตสิ ืบทอดตอ่ ๆไป อย่างน้อย หากมนุษย์ระลึกถึงเร่ืองเปรต ก็จะสานึกถึง บาป
บุญคณุ โทษ รวมท้ังการแสดงออก ซึ่งความกตัญญูกตเวที ท่ีเป็นหัวใจสาคัญ ในการอยู่ร่วมกันในสังคม อย่าง
สงบสุข ตลอดไป

60

งานสงกรานตร์ ดนา้ ผู้สูงอายุ ถือวา่ เปน็ การขอพรจากผอู้ าวุโส เพื่อความเป็นสิริมงคลในการเริ่มต้นปี
ใหม่ไทยแล้ว ยังมีความหมายแฝงอีกอย่างคือ การแสดงความเคารพต่อบิดา มารดา ผู้ใหญ่ หรือผู้มีพระคุณ
เพื่อขอโทษตอ่ สงิ่ ทเี่ คยลว่ งเกนิ ทัง้ กาย วาจา ใจ ทงั้ ทตี่ ั้งใจหรอื ไม่ได้ตงั้ ใจไมว่ ่าจะตอ่ หน้าหรอื ว่าลับหลงั

งานฉลองประเพณีขึ้นปีใหม่ เป็นการเฉลิมฉลองส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่มีกิจกรรมที่ทาร่วมกัน
ภายในครอบครัวร่วมถงึ เปน็ การเรมิ่ ตน้ ใหม่ทด่ี กี วา่ ปเี กา่

ประเพณีรับส่งตายาย เป็นประเพณีทาบุญวันสารทในเดือนสิบ ซึ่งจะจัดขึ้นทุกท้องท่ีในจังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี เป็นประเพณีท่ีแสดงออกถึงความกตัญญูอย่างสูงยิ่งต่อบรรพบุรุษ เป็นประเพณีที่ชาวบ้านทุก
ครอบครัวไปทาบญุ ท่ีวัดเพือ่ อทุ ิศส่วนกศุ ลให้ผทู้ ี่ลว่ งลบั ไปแล้ว

มีแพทย์แผนโบราณ หมอรักษา งกู ัด,เรมิ และหมอเอน็ เป็นผู้ท่มี คี วามรูค้ วามสามารถทถ่ี า่ ยทอดกัน
มารุน่ ส่รู ุ่นเพ่อื ทาการรกั ษาให้ปลอดภยั

สถานที่สาคญั
โรงเรยี นพนมศึกษา

โรงเรยี นพนมศกึ ษาเดิมเป็นสาขาของโรงเรียนสุราษฎร์ธานี ในอุปถัมภ์ของ ก.ร.ป.กลาง เปิดทาการ
สอน เม่อื วนั ที่ 23พฤษภาคม พ.ศ.2517โดยมีนักเรียนในขณะน้ันจานวน 38คน ครู 3คน มีนายมนัส อินทร์
จนั ทร์ ทาหน้าทเ่ี ปน็ ครูใหญ่ และได้เปิดดาเนินการโดย พระสมห์จิตรกิติสาโร เจ้าอาวาสวัดพิทักษ์ธรรมาราม
ร่วมกบั ชาวบา้ นตดิ ต่อประสานงานกบั กรมสามัญศกึ ษา

ในปีพุทธศักราช 2522 โรงเรียนพนมศึกษาได้ย้ายมาเปิดทาการสอนที่หมู่ที่ 1ตาบลพนม อาเภอ
พนม จงั หวัดสุราษฎร์ธานี กโิ ลเมตรท่ี 72 ในปีพทุ ธศักราช 2527 โรงเรียนพนมศึกษาได้รับคัดเลือกให้เป็น
โรงเรียนในโครงการโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาชนบท หรือโครงการ มพช. 2

ในปีพุทธศักราช 2535 โรงเรียนพนมศึกษาได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทาง
การศึกษา ในปีพุทธศักราช 2537 โรงเรียนพนมศึกษา ได้ขยายชั้นเรียนจากเดิมเปิดทาการสอนในระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนต้นมาเปดิ ทาการสอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายดว้ ย

ในปพี ทุ ธศักราช 2539 โรงเรยี นพนมศกึ ษา ไดร้ บั คัดเลือกให้เขา้ โครงการปฏิรปู ทางการศึกษา

61

ในปพี ุทธศักราช 2546 โรงเรียนพนมศกึ ษา ได้รบั คดั เลอื กใหเ้ ขา้ โครงการหนึง่ อาเภอ หน่ึงโรงเรียนใน
ฝัน

ในปพี ทุ ธศักราช 2547 โรงเรียนพนมศึกษา ไดร้ ับเข้ารว่ มโครงการโรงเรียนวิถพี ุทธ
ในปพี ทุ ธศักราช 2548 โรงเรียนพนมศึกษา ได้รับการรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ
ทอง ของกระทรวงสาธารณสุข
ในปีพุทธศักราช 2549 โรงเรียนพนมศึกษา ได้รับการรับรองเป็นโรงเรียนต้นแบบ 1 อาเภอ 1
โรงเรยี นในฝนั
ในปีพุทธศักราช 2549 โรงเรียนพนมศึกษา ได้รับรางวัลชมเชย โรงเรียนพระราชทาน ระดับ
มธั ยมศึกษาขนาดกลาง
ในปีพุทธศักราช 2549โรงเรียนพนมศึกษา ได้รับรางวัลห้องสมุดดีเด่น ระดับสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2
ในปีพุทธศักราช 2550 โรงเรียนพนมศึกษา ได้เป็นโรงเรียนต้นแบบศึกษาดูงานสานักงาน
คณะกรรมการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ในปพี ุทธศักราช 2551 โรงเรียนพนมศึกษา ได้เป็นโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการสอนภาษาไทย
ในงานคดิ เขยี น เรยี น อา่ น เลน่ สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 2
ในปีพุทธศักราช 2551 โรงเรียนพนมศึกษา ได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนคุณธรรมช้ันนาของ
สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาสุราษฎร์ธานี เขต 2
ในปีพุทธศักราช 2551 โรงเรียนพนมศึกษาได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนประเภทท่ี 1 ของสานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 2
ในปีพุทธศกั ราช 2554 โรงเรยี นพนมศึกษาไดร้ ับคดั เลือกเปน็ สถานศกึ ษาพอเพียง ของสานักงานเขต
พ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11
ในปพี ุทธศักราช 2556 โรงเรยี นพนมศกึ ษาได้รบั การรับรองเปน็ โรงเรียนตน้ แบบโรงเรียนในฝันยง่ั ยืน
ในปีพุทธศักราช 2557 โรงเรียนพนมศึกษาได้รับรางวัลโรงเรียนดี ศรีพนม เป็นโรงเรียนต้นแบบใน
การส่งเสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมใหเ้ กดิ กบั สังคม
ในปีพทุ ธศกั ราช 2559 โรงเรียนพนมศึกษาได้รบั รางวัล “สถานศึกษารกั ษาศีล 5”
ในปีพทุ ธศักราช 2562 โรงเรียนพนมศึกษาไดร้ บั รางวัล “โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล”
ในปพี ทุ ธศักราช 2563 โรงเรียนพนมศกึ ษาไดร้ บั รางวลั ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน ระดับเหรียญเงิน
จากสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11
ในปีพุทธศักราช 2563 โรงเรียนพนมศึกษาได้ผ่านการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับ
โรงเรียน (ScQA) จากสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ให้เป็นสถานศึกษาท่ีมีการบริหาร
จัดการดว้ ยระบบคณุ ภาพของโรงเรียนมาตรฐานสากล
ปัจจุบัน โรงเรียนพนมศึกษา เป็นโรงเรียนขนาดกลาง ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
มัธยมศึกษาสรุ าษฎร์ธานี ชุมพร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทา

62

การสอนในช่วงชน้ั ที่ 2-3 มนี ักเรียนทัง้ หมด 22 ห้องเรยี น แบง่ เปน็ ช่วงชนั้ ท่ี 2 จานวน 13 หอ้ งเรยี น และช่วง
ชน้ั ท่ี 3 จานวน 11 ห้องเรยี น นายโสภณ ทองจติ ร เปน็ ผู้อานวยการโรงเรียน
วสิ ยั ทัศน์ / ปรชั ญา

ภายในปี 2565 โรงเรียนพนมศกึ ษา จดั การศกึ ษาให้ทกุ คนได้เรียนอย่างมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล มี
คุณธรรม จริยธรรม ใช้เทคโนโลยีทันสมัย โดยครูมืออาชีพ บริหารจัดการโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม บน
พ้ืนฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลพนม

ประวตั หิ น่วยงาน
องค์การบริหารส่วนตาบลพนม ได้รับการยกฐานะจากสภาตาบลเป็นองค์การบริหารส่วนตาบล เม่ือ

วนั ท่ี 16 ธันวาคม 2539
ท่ีตัง้

องค์การบริหารสว่ นตาบลพนม ต้ังอยู่เลขที่ 127 หม่ทู ี่ 8 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานีซ่ึง
เป็นตาบล 1ในจานวน 6 ตาบลของอาเภอพนม ระยะทางห่างจากอาเภอพนมเป็นระยะทางประมาณ 5
กิโลเมตร ห่างจาก จังหวัดประมาณ 89 กิโลเมตร โดยใช้ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 (สุราษฎร์-
ตะกั่วปุา) มเี นื้อทีท่ ง้ั หมด 134.67 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 84,229 ไร่ แบง่ เปน็ พนื้ ทใี่ นเขตความผิดชอบของ
องค์การบริหารส่วนตาบลพนม จานวน 70.754 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 44,109 ไร่ ส่วนท่ีเหลือเป็น

63

พนื้ ทใี่ นเขตรบั ผดิ ชอบของเทศบาล ตาบลพนม
องค์การบริหารสว่ นตาบลพนม ไดร้ บั การยกฐานะจากสภาตาบลเปน็ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล เมื่อ

วันที่ 16 ธนั วาคม 2539

เทศบาลตาบลพนม

ประวตั ิหนว่ ยงาน
มาจากสุขาภิบาลพนมเดิมสุขาภิบาลพนมตั้งอยู่บริเวณคลองบางท่อนบรรจบกับคลองสก ห่างจากทาง

หลวงสาย 401 (สรุ าษฏร์ - ตะกัว่ ปุา) ลงไปทางใต้ประมาณ 4.5 กิโลเมตร มีเนื้อท่ีประมาณ 2 ตารางกิโลเมตร
ต่อมาในปี 2513 -2514 ได้มีการย้ายที่ว่าการอาเภอพนมมาอยู่ริมทางหลวงสาย 401 หลังจากนั้นสถานท่ี
ราชการ ร้านค้า และกิจกรรมต่าง ๆ ได้ย้ายและก่อตั้งข้ึนในบริเวณรอบ ๆ ท่ีว่าก ารอาเภอจนก่อให้เกิด
ศนู ย์กลางใหม่ขน้ึ บริเวณนั้น ดงั นนั้ คณะกรรมการสขุ าภบิ าลจึงได้ขอขยายเขตสุขาภิบาลออกมาครอบคลุมท่ีว่า
การอาเภอ จนกระทง่ั ในปี พ.ศ. 2528 ไดม้ กี ฤษฎีกาขยายเขตสขุ าภบิ าลใหม้ ีเน้ือที่ 20.29 ตารางกิโลเมตร โดย
มพี ้ืนทีใ่ นเขตปกครองไดแ้ ก่ หมู่ท่ี 1 หมู่ท่ี 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ท่ี 13 ตาบลพนม มีสานักงานที่ทาการอยู่บนที่ว่า
การอาเภอพนม

ต่อมาสุขาภิบาลพนมได้ยกฐานะเป็นเทศบาลตาบล เม่ือวันท่ี 25 พฤษภาคม 2542 มีสานักงานอยู่บน
ที่ว่าการอาเภอ ทางผู้บริหารท้องถิ่นเห็นว่าเทศบาลน่าจะมีสานักงาน เพื่อความสะดวกและคล่องตัวในการ
บริหารงานบวกกบั มพี นกั งานเพ่มิ มากขนึ้ จนกระท่ังในปี พ.ศ. 2546 จึงได้ก่อสร้างสานักงานข้ึน บนถนนสาย
401 (สุราษฎร์-ตะกั่วปุา หมู่ท่ี 1 บริเวณหลักกิโลเมตรท่ี 71 และได้ย้ายมามาอยู่สานักงานใหม่เมื่อปี

64

พ.ศ. 2547 ซ่ึงมีระยะทางห่างจากตัวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประมาณ 82 กิโลเมตร ต่อมาในปี พ.ศ. 2547
กระทรวงมหาดไทยได้ยุบรวมองค์การบริหารส่วนตาบลพังกาญจน์กับเทศบาลตาบลพนม ตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย ลงวันท่ี 24 กันยายน 2547 เร่ืองยุบรวมองค์การบริหารส่วนตาบลพังกาญจน์กับ
เทศบาล ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทาให้เทศบาลตาบลพนมในปัจจุบันมีพ้ืนที่เพ่ิมขึ้นอีกประมาณ 56
ตารางกิโลเมตร รวมแล้วเปน็ พื้นทใ่ี นเขตปกครองทง้ั หมดของเทศบาลตาบลพนม ประมาณ 75 ตารางกิโลเมตร
หรือประมาณ 46,800 ไร่
วดั คีรีไพรสณฑ์

วดั คีรีไพรสณฑ์ เปน็ วัดราษฎร์ สังกดั คณะสงฆม์ หานกิ าย ตัง้ อยู่ท่ีหม่ทู ี่ 8 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัด
สรุ าษฎรธ์ านี สถานะวัด ตั้งวดั เมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2555 รบั วสิ ุงคามสีมา เม่ือ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วดั คีรไี พรสณฑ์เปน็ วัดท่ีชาวบ้านใหค้ วามนับถอื และรว่ มทากิจกรรมในวัดอยา่ งต่อเนื่อง อาทิเช่น การทาบุญตัก
บาตรในวันสาคัญต่าง ๆ กิจกรรมการบวชเณรภาคฤดูร้อน กิจกรรมประจาปีท่ีทางองค์การบริหารส่วนตาบล
พนม ถวายเทยี นพรรษา และอืน่ ฯลฯ ตามความเหมาะสมที่ทางวดั ครี ีไพรสณฑเ์ ห็นสมควร

65

วดั พนม

เป็นวัดโบราณอีกแห่งหน่ึงของอาเภอพนม ตั้งอยู่ริมคลองพนม ซ่ึงในอดีตบริเวณท่าน้าหลังวัดแห่งน้ีเคย
เป็นท่าเรือพายขนาดกลางท่ีใช้ขนส่งผู้คน สินค้า และรถจักรยานยนต์ข้ามฟาก หลังจากได้มีการก่อสร้าง
สะพานข้ามคลองพนม ทาให้กิจการพายเรือขนส่งจาเป็นตอ้ งยุตลิ ง

นอกเหนอื จากงานบุญประเพณีท่ีจัดข้ึนภายในวัดแล้ว ยังมีสถานที่สาคัญท่ีดึงดูดความสนใจของผู้คนให้
มาท่องเท่ียววัดพนมอีกหลายอย่าง ได้แก่ การสวดมนต์ไหว้พระในวันธรรมสวนะในอุโบสถโบราณ อนุสรณ์

66

สถานพระครูสุรษั ฎาภิรมย์ มณฑปสามหลวงพ่อ ต้นพระศรีมหาโพธิ์โรจนา และวังมัจฉา ซ่ึงเป็นจุดชมปลาใน
แหลง่ นา้ ธรรมชาติ
วังหนิ รู

แหล่งท่องเท่ียว วังหินรู ก่อต้ังขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 เป็นสายน้าที่มาจากคลองพนม ครั้งก่อนเป็น
หาดธรรมดาและได้พัฒนามาเป็นแหล่งท่องเที่ยวและเพาะเลี้ยงพันธุ์ปลา อนุรักษ์สัตว์น้า โดย นายสาโรจน์
แสงอรณุ ผชู้ ่วยผู้ใหญบ่ า้ นไดใ้ หข้ อ้ มูลวา่ ทางชมุ ชนอยากพัฒนาวังหินรูเพิ่มเติมโดยอยากให้มีที่พัก ร้านอาหาร
เพ่ือใช้เป็นแหล่งประชุมกรรมการ กินกาแฟสรรจรและใช้ประโยชน์ในการจัดงานประเพณีลอยกระทงหรือ
กจิ กรรมต่างๆ
โรงเรยี นบา้ นบางสาน

67

ด้วยในปี 2513 โรงเรียนบ้านบางสานได้รับความร่วมมือ ร่วมแรง และสละทรัพย์สินสนับสนุน
ช่วยเหลือจากราษฎร และผู้ปกครองนักเรียนทุกคนในหมู่บ้านนี้เป็นอย่างดี จนสาเร็จเป็นโรงเรียนชั่วคราว
หลังคามงุ สงั กะสีข้นึ 1 หลัง และราษฎรในหมูน่ ้ไี ดข้ อเปิดโรงเรยี นไปยังอาเภอพนม ต่อมาทางจังหวัดสุราษฎร์
ธานีได้อนมุ ัติให้เปดิ ทาการสอนข้ึนในปี 2514 แตท่ างอาเภอไม่สามารถหาครูมาทาการสอนในขณะนั้นได้ และ

ในปี พ.ศ. 2514 นี้ ก็ได้รับจัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างอาคารเรียน จากองค์การบริหารส่วน
จงั หวัดและไดส้ รา้ งอาคารเรียนถาวร 2 ห้องเรียน จานวน 1 หลังจนสาเร็จเรียบร้อย อาเภอพนมได้พยายาม
หาครูมาทาการสอนอีกแต่ไม่สามารถหาครูได้ จึงตัดสินใจเอาครูใหญ่โรงเรียนบ้านพนมมาช่วยทาการสอน
ช่ัวคราวก่อน ในการก่อสร้างโรงเรียนบ้านบางสานน้ี มีผู้อุปการะสนับสนุนช่วยเหลือ จนโรงเรียนได้ก่อตั้ง
เปน็ ผลสาเรจ็ คอื นายผิน จติ ทรพั ย์ ผู้ใหญ่บา้ นหมู่ท่ี 7 ในขณะนั้นเป็นหัวหน้า พร้อมราษฎรผู้ปกครองในหมู่
7 ชว่ ยเหลือในการกอ่ สร้าง และบรจิ าคอาหาร เครื่องดื่ม และทรัพย์สินตลอดจนถึงแรงงาน จนได้ทาการเปิด
ให้การศกึ ษาได้ในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 โดยมี นายเจียน ทิพย์สวุ รรณ เป็นครูใหญ่คนแรก โดยมี
นายวิสุทธิ์ สิงห์ขจรวรกุล นายอาเภอพนม เป็นประธานทาการเปิดปูายอาคารเรียนพร้อมด้วยนายสวัสดิ์
จนั ทนานนท์ ศึกษาธิการอาเภอ ราษฎร หมู่ที่ 7 ตาบลพนม และนายบารุง สาริพัฒน์ ครูใหญ่ โรงเรียน
พนมในขณะนัน้ ไดม้ ารว่ มในพิธีอย่างพรอ้ มเพรยี งกนั วนั แรกท่ีมกี ารเรียนการสอนมี นกั เรียน 55 คน เปิดสอน
ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และอีกสามปีต่อมา ได้ขยายจนถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

ในปี พ.ศ. 2525 นายโสภณ คงไล่ ย้ายมาดารงตาแหน่งครูใหญ่แทนครูใหญ่คนเก่าท่ีเกษียณอายุ
ราชการ โรงเรียนบ้านบางสานสังกดั สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ

68

บนพืน้ ที่ของหมู่ท่ี 4 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2530 นายบุญวงศ์ เซ่งล้า ได้ย้ายมา
ดารงตาแหนง่ ครูใหญ่ และขอกาหนดตาแหน่งเป็นอาจารยใ์ หญใ่ นเวลาต่อมา และ

ในปี พ.ศ. 2538 กาหนดตาแหน่งเปน็ ผอู้ านวยการโรงเรียนจนถึงปจั จบุ ัน

ในปี พ.ศ. 2539 ทางราชการได้กาหนดให้มีตาแหน่งผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่และได้แต่งตั้งให้ นาย
ปณิธาน เรืองไชย ดารงตาแหน่งนี้เป็นคนแรก และ

ในปี พ.ศ. 2540 กาหนดตาแหน่งเป็นผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียน และโรงเรียนบ้านบางสานได้อยู่ใน
โครงการขยายโอกาสทางการศึกษา

ในปี พ.ศ. 2534 ทาการเปดิ สอนต้งั แตช่ ้นั อนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยให้บริการครอบคลุม
พน้ื ที่ หมทู่ ี่ 4 หมู่ท่ี 5 หมูท่ ่ี 11 ตาบลพนมและหมู่บ้านใกล้เคียง พ.ศ. 2540 โรงเรียนเข้าโครงการปฏิรูปทาง
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทาให้ได้รับจัดสรรงบประมาณฯมาสร้างห้องปฏิบัติการ 2 ห้อง คือ
ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางภาษา หอ้ งปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์

ในปีการศึกษา 2541 จัดการศกึ ษา 3 ระดบั คือ ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา ระดับประถมศึกษา ระดับ
มัธยมศึกษา มีข้าราชการครู ตาม จ.18 จานวน 17 คน แบ่งเป็นผู้บริหารโรงเรียน 1 คน ผู้ช่วยผู้บริหาร
โรงเรยี น 1 คน และเปน็ ครูผสู้ อน 15 คน มภี ารโรง 1 คน มนี กั เรียน 400 คน

ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 นายบุญวงศ์ เซ่งล้า ได้เสียชีวิตด้วยโรคประจาตัว นายพลวัฒน์ สาริพัฒน์
ยา้ ยมาดารงตาแหนง่ เมื่อ 3 กรกฎาคม 2542 - 16 พฤษภาคม 2549 นายพลวัฒน์ สาริพัฒน์ ย้ายไปดารง
ตาแหน่งทีโ่ รงเรยี นบ้านถ้าผึง้ และวา่ ที่ร้อยตรรี งั สฤษฎ์ สาริพัฒน์ ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งในวันเดียวกัน วันท่ี
15 พฤษภาคม 2561 นางยุพิน เรืองไชย ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนบ้านบาง
สานสงั กดั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พ้ืนฐานใน

69

โรงเรียนบ้านใหญ่

ประวัติโรงเรยี นโดยยอ่

โรงเรยี นเรยี นบา้ นใหญ่ เดมิ ชื่อ โรงเรียนพนม 2 ต้งั ข้นึ เม่ือวันที่ 1 เดือนมิถุนายน พุทธศักราช 2482
โดยนายฉุย ทิพย์เดช ร่วมกับราษฎรเป็นผู้ดาเนินการก่อสร้าง ต้ังอยู่หมู่ท่ี 12 ตาบลพนม กิ่งอาเภอพนม
จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี บนฝัง่ ขวาของคลองศก เนือ้ ท่ี 15 ไร่

ตอ่ มาในปี พุทธศกั ราช 2500 ไดย้ า้ ยโรงเรยี นพนม 2 มาสร้างใหมใ่ นที่ดินแปลงปัจจุบันประมาณ
31 ไร่เศษ บนฝง่ั ซ้ายของคลองศก เพื่อสะดวกตอ่ การคมนาคม เนื่องจากมีถนนสายสรุ าษฎร์ - ตะกว่ั ปุา ตดั
ผ่าน โดยการนาของนายนอบ ทิพย์เดช ครูใหญ่ และนายแก้ว สาคร ผู้ใหญ่บา้ น และไดข้ อเปล่ยี นชื่อโรงเรียน
เป็น “โรงเรยี นบา้ นใหญ”่ ปัจจบุ ันโรงเรียนบา้ นใหญ่เปดิ สอน 2 ระดับ คือ ระดบั กอ่ นประถมศึกษา และ
ระดบั ประถมศกึ ษา

70

โรงเรยี นบา้ นลูกเดือน

โรงเรียนบา้ นลูกเดือน ที่ต้ังหมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 7 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 เปิดสอน ระดับชั้นอนุบาล ถึง ระดับชั้น
ประถมศึกษาปที ่ี 6 เนอื้ ท่ี 50 ไร่ เขตพื้นทบี่ รกิ ารหมู่ท่ี 6 และหมู่ที่ 7 ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์
ธานี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษา 2 ระดับ ระดับชั้น
อนบุ าล และระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา มนี ักเรยี น ทั้งหมด 35 คน 8 ห้องเรียน

มีบุคลากรประจาท้ังหมด 5 คน ครูปฏิบัติการสอน 4 คน วุฒิปริญญาตรี 5 คน ครูอัตราจ้าง 1 คน
จ้างโดยไมใ่ ชง้ บประมาณของทางราชการ

จานวนอาคารเรียนมี 2 หลัง หลังท่ี 1 มีจานวน 4 ห้องเรียน และหลังท่ี 2 จานวน 3 ห้องเรียน
อาคารเอนกประสงค์ 1 หลัง ส้วม 2 ที่น่ัง จานวน 1 หลัง มีสนามวอลเลย์บอล 1 สนาม ลานกีฬา
เอนกประสงค์ 1 สนาม มีสนามสาหรับเล่นฟุตบอลเป็นสนามหลักในการทากิจกรรมต่าง ๆ และห้องอาบน้า
นกั เรยี น 1 หลัง โอง่ ใบใหญ่เก็บนา้ 4 ใบ

ลักษณะชุมชนบริเวณโรงเรียน ประชากรตั้งบ้านเรือนกระจัดกระจาย โดยภาพรวมหมู่บ้านในเขต
บริการของโรงเรยี น คือหมู่ท่ี 6 และหมู่ท่ี 7 ตาบลพนม อาเภอพนม จงั หวดั สุราษฎร์ธานี มีประชากรอาศัยอยู่
ประมาณ 400 คนเศษ ซ่ึงทุกคนนับถือศาสนาพุทธ และส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาการเกษตร คือ ทาสวน
ยางพารา สวนปาล์มน้ามัน สวนผลไม้ เลี้ยงสัตว์ ฐานะทางเศรษฐกิจรายได้น้อยส่วนใหญ่เป็นหนี้สถาบันทาง
การเงินของรัฐวิสาหกจิ และกองทนุ ของหมูบ่ ้าน และความสมั พันธ์กับโรงเรยี นคอ่ นขา้ งสงู

71

ทว่ี ่าการอาเภอพนม

ประวัตคิ วามเป็นมาอาเภอพนม
ตามประวตั ิความเปน็ มานัน้ คาวา่ “พนม”เป็นภาษาเขมรซ่ึงแปลว่า ภูเขาลาเนาไพรหรือชาวท้องถ่ิน

เรียกว่า “ปากนม”หรือ “พะนม”เป็นคาบอกถึงความหมายของสถานท่ีแห่งน้ันตามหลักฐานบางอย่าง
สนั นิษฐาน มีภเู ขาเปน็ รปู นมบ้างก็ว่า พนมมือ แต่เดมิ อาเภอพนม มชี ือ่ เรยี กวา่ อาเภอชะอุ่น เป็นอาเภอต้ังแต่
ปี พ.ศ.2433 ตงั้ อยู่ฝั่งขวาของ คลองชะอนุ่ การปกครองขึ้นตรงต่อเมืองนครศรีธรรมราช โดยมี “หลวงปราบ
ประทษุ ราษฎร์” เปน็ นายอาเภอคนแรก ตามประวัตกิ ล่าวไว้ว่าเหตุท่ีต้ังเมืองนั้น เพราะบริเวณหัวแคว้นด้านน้ี
ชุกชุมไปด้วยอันธพาล ทางการจึงก่อต้ังเป็นอาเภอเพ่ือปราบอันธพาลน้ันเอง ต่อมาเม่ือปี พ.ศ. 2441 ทาง
ราชการได้แบง่ การปกครองเปน็ มณฑล จงึ ย้ายอาเภอชะอุน่ มาข้นึ กับมณฑลชุมพร

ต่อมาเม่ือปี พ.ศ.2453 อาเภอชะอุ่น ได้ลดฐานะเป็นก่ิงอาเภอ ช่ือว่า กิ่งอาเภอปากพนม โดยมี
ขุนพนมธนารักษ์ ดารงตาแหน่งปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจาก่ิงอาเภอคนแรก ในท่ีสุดคาว่า “ปาก” ได้
เปลี่ยนไปเหลือเพียงช่ือว่า “ก่ิงอาเภอพนม” แล้วได้ยกฐานะเป็นอาเภออีกคร้ัง เมื่อวันท่ี 14 พฤศจิกายน
1514

การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม
ตั้งแต่อดตี จนถึงปัจจุบันทกุ ส่งิ ในโลกมนุษยจ์ ะมีการเคล่ือนไหวเปลย่ี นแปลงไปตามกาลเวลา มนษุ ย์ก็

เชน่ เดยี วกันยอ่ มจะมีการเปล่ยี นแปลงทางสงั คมและวัฒนธรรมด้วย สงั คมและวัฒนธรรมของมนุษยจ์ ะไมม่ ี
หยดุ อยู่กับทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงไปเรอื่ ยสังคมและวัฒนธรรมความเป็นอยูข่ องชาวบ้านตาบลพนม อาเภอพนม
จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ได้มีการเปล่ียนแปลงจากอดีตมาจนถงึ ปจั จบุ ัน การเปล่ยี นแปลงจากอดตี การใช้ชีวติ ความ
เป็นอยขู่ องชาวตาบลพนม มีการดาเนนิ ชวี ิตแบบเรียบง่าย อยรู่ ่วมกนั เปน็ ครอบครวั ใหญ่ มีลูกๆหลานๆอยบู่ า้ น
ใกล้เรอื นเคยี งกัน การทามาหากนิ กเ็ รียบงา่ ยไมฟ่ มุ เฟอื ย ใช้ชีวิตแบบพอเพียง เม่อื ถงึ เวลามกี ิจกรรมวันสาคัญ
ประเพณสี าคัญๆตา่ งๆ ชาวบา้ นกร็ ่วมกนั ทากจิ กรรม มีภมู ิปัญญาชาวบ้านตา่ งๆ มาจนถงึ ปจั จุบันนี้อาจมกี าร

72

เปล่ยี นแปลงไปจากอดีตไปบ้างบางส่วน แต่ชาวบ้านกย็ ังอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมประเพณอี ันดงี ามทอี่ ยคู่ วบค่กู บั
ตาบลมาอย่างยาวนานให้อยู่ค่กู บั ตาบลต่อไป เพ่อื ใหร้ ่นุ ลูกรนุ่ หลานไดส้ บื ทอดตอ่ ไป

การดาเนินงานโครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสังคมรายตาบลแบบบรู ณาการ

พน้ื ท่รี ับผดิ ชอบ ตาบลพนม อาเภอพนม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
ความต้องการของชมุ ชน/พ้ืนทท่ี ร่ี ับผิดชอบ

สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ ตอ่ เชอ้ื ไวรสั โคโรน่า (Covid 2019) ที่เกิดข้ึนอย่างฉับพลันและ
แพร่ระบาดอย่างรวดเร็วเปน็ ผลใหท้ กุ ประเทศทีไ่ ด้รบั ผลกระทบทวั่ โลกตอ้ งประกาศใช้มาตรการรักษาระยะห่าง
ทางสังคม (Social distancing) อย่างฉุกเฉิน และสาหรับประเทศไทยได้ออกมาตรการการควบคุมการแพร่
ระบาดของโรคดว้ ยการออกพรก.ฉุกเฉิน โดยมีคาสั่งปิดห้างร้านและบริการหลายส่วน ส่งผลให้ธุรกิจขนาดเล็ก
จานวนมากต้องหยุดกิจการช่ัวคราวและแรงงานนอกระบบที่ทางานในสถานที่นั้นๆ ต้องกลายเป็นผู้ไร้งานทา
ในทันทแี ละสง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศในทกุ มิติโดยเฉพาะชุมชนท้องถ่ินซึ่งพึ่งพา
ฐานทรัพยากรและการเกษตรกับแรงงานในภาคบริการท่องเที่ยวเป็นหลักได้รับผลกระทบโดยตรงจึงมีความ
จาเป็นอย่างย่ิงท่ีชุมชนท้องถ่ินดังกล่าวต้องได้รับการฟื้นฟูและยกระดับเศรษฐกิจในชุมชนอย่างเร่งด่วน
โดยเฉพาะในมิติของผลิตภัณฑ์ชุมชนและการท่องเที่ยวชุมชนซ่ึงเป็นรายได้หลักของชุมชนท้องถ่ินตามความ
ต้องการของชุมชนอีกท้ังเป็นการแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน โดยอาศัยองค์ความรู้และนวัตกรรมต่างๆ
จากมหาวิทยาลยั

73

ในสมัยกอ่ นมีการทามาหากนิ แถบริมลาคลอง ท้ัง 2 สาย คือลาคลองศกและคลองพนม ซ่ึงพ้ืนท่ีอุดม
สมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธ์ โดยการปลูกพืชสวนผสมหรือเรียกว่าสวนปูุ สวนย่า ซึ่งประกอบด้วย มะพร้าว เงาะ
ลางสาด มังคุด ทุเรยี นและการลา่ สัตวป์ ุาเป็นอาหาร สมยั กอ่ นการเดนิ ทางจากตาบลพนมเข้าสู่ในเมืองหรือต่าง
อาเภอใช้คมนาคมทางนา้ เชน่ เรือพาย เรือแจว เป็นหลักส่วนเรือหางยาวหรือเรือยนต์แทบจะไม่มี ถ้าเดินทาง
ไม่ไกลมากนักใช้วิธีการเดินเท้า เพราะในขณะน้ันไม่มีรถสัญจรพื้นเพของคนตาบลพนมจะเป็นคนชาวตาบล
พนมโดยกาเนิดมีบางสว่ นอพยพย้ายถ่ินฐานมาจากต่างอาเภอและจังหวัดอื่นโดยมาประกอบอาชีพและมาทา
มาหากนิ ในเขตพ้ืนท่ี การสอื่ สารจะใช้ภาษาถ่ินเดิม ขนบธรรมเนียมประเพณี จะยึดประเพณีดั้งเดิมของไทยที่
ปฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มาจนปจั จุบนั เช่น ประเพณีรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ วันสงกรานต์ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา
ประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีชักพระ ในด้านการส่ือสารจะใช้ภาษาถ่ินเดิมคือ ภาษาใต้ ตาบลพนมจะมี
พื้นที่ดูแลทัง้ สิน้ 13 หมู่บา้ น โดยทาการแยกออกเป็นความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานเทศบาลอาเภอพนม ท้ังส้ิน
4 หมบู่ ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 1 บ้านพิทักษ์พัฒนา, หมู่ที่ 2 บ้านพนม, หมู่ที่ 3 บ้านพนมใน และหมู่ที่13 บ้านหัวลิง
สว่ นในหนว่ ยงานองค์การบริหารส่วนตาบลพนมมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบท้ังส้ิน 9 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ท่ี 4 บ้านบางไม้
เพาะ, หมทู่ ่ี 5 บ้านบางโก, หมู่ท่ี 6 บ้านลูกเดือน, หมู่ที่ 7 บ้านแสนสุขประชารักษ์, หมู่ที่ 8 บ้านเช่ียวหมอน,
หมู่ที่ 9 บ้านใหญ่, หมู่ท่ี 10 บ้านสาคลี่, หมู่ที่ 11 บ้านทุ่งเจริญและหมู่ท่ี 12 บ้านบางนิล ประชากรภายใน
ตาบลพนมสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณร้อยละ 80 การทาเกษตรท่ีสาคัญ ได้แก่ การทาสวน
ยาง การเพาะปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพด มะนาว ปาล์มน้ามัน และสวนผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน ส้ม ส่วนการ
เพาะปลูกพืชผักสวนครัวจะเพาะปลูกตามครัวเรือน และเกษตรกรรมทั่วไปใช้พ้ืนที่การเพาะปลูกไม่มากนัก

74

ส่วนการเลี้ยงสตั วเ์ ป็นการเลี้ยงแบบครัวเรือน รองลงมาคือ การประกอบอาชีพรับจ้างเม่ือว่างจากการเกษตร
โดยเป็นแรงงานรับจ้างท่วั ไปตามพ้ืนที่เกษตรกรรม และแรงงานช่างฝมี อื หลักจากคณะทางานได้มีการลงพ้ืนที่
เกบ็ ข้อมูล และประเมนิ ศกั ยภาพชมุ ชนเบื้องต้น พบว่า ชุมชนต้องการให้มีการยกระดับผลิตภัณฑ์หลากหลาย
และการได้รับการสนับสนุนส่งเสริมด้านการท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ รวมทั้งการเพิ่มรายได้ในแต่ละครัวเรือน
เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจในพ้ืนที่ ตลอดจนการทาการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนท่ีมีอยู่มากมาย จากผลผลิตทาง
การเกษตรในท้องถ่ินท่ีมีศักยภาพในการผลิตโดยเฉพาะอาหารประจาท้องถ่ิน โดยบูรณาการร่วมกันระหว่าง
มหาวิทยาลัย หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน ผนู้ า ชุมชน ผู้นาทอ้ งถนิ่ และประชาชนในพ้ืนท่ี
ช่อื โครงการ/กจิ กรรมในการดาเนนิ การ
โครงการยกระดับศกั ยภาพชุมชนตาบลพนม พฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชน สรา้ งสมั มาชีพใหม่ ส่งเสรมิ การท่องเทย่ี ว
อนรุ ักษ์ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ด้วยการใช้สอ่ื ดิจิทัล
กจิ กรรมในการดาเนินการ

1.เพอ่ื พฒั นาผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนและสง่ เสริมการตลาดดว้ ยสอื่ ดิจิทลั

กลุ่มเครอื่ งแกงแมบ่ า้ นแสนสุขประชารกั ษ์ หมู่ที่ 7 ตาบล พนม อาเภอพนม จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

75

อบรมชาวบา้ นให้ความรู้เกีย่ วกบั การผสมเครอื่ งแกงแต่ละสตู ร

76

1.เคร่ืองแกงส้ม 2.เคร่อื งแกงกะทิ
เปลย่ี นบรรจภุ ัณฑ์ จากใสถ่ งุ ร้อน มาใสก่ ระปุกพลาสติก

ทาให้สามารถเพม่ิ มูลค่าของผลิตภัณฑ์ไดจ้ ากเดิม 140/ กก. มาเปน็ 150/กก. และเพิม่ ชอ่ งทางการขายผ่าน
ทางสื่อออนไลนท์ าใหส้ ามารถเพิ่มกลมุ่ ลกู ค้าได้เพ่ิมมากขึน้ อนุรกั ษธ์ รรมชาติและส่งิ แวดล้อมในชมุ ชน

77

2.อนุรักษธ์ รรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน

อ่างเกบ็ นา้ บ้านหนองหาร หมู่ท่ี 6 ตาบลพนม อาเภอ พนม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

อบรมใหค้ วามร้ชู าวบ้านเรอื่ งคา่ ของดนิ ความเปน็ กรดด่างของดนิ
วศิ วกรสงั คมตาบลพนมรว่ มกับชาวบา้ นปลูกปอเทืองและหญา้ แฝก

78

1.ปลูกหญ้าแฝกบริเวณอ่างเกบ็ น้าบ้านหนองหารเพื่อปอู งกันการพงั ทลายของหน้าดนิ บรเิ วณท่ดี นิ ถลม่ ลงมา

2.ปลกู ปอเทอื งเพ่อื เพิ่มสารอาหารในดนิ รอบบรเิ วณอ่างเก็บนา้ บ้านหนองหาร

79

ภาคผนวก

80

ลงพ้ืนที่เกบ็ ขอ้ มลู หมทู่ ่ี1
ลงพ้ืนที่เก็บขอ้ มูลหมู่ท1่ี
ลงพนื้ ท่ีเก็บข้อมูลหมทู่ 2่ี

81

ลงพน้ื ที่เกบ็ ขอ้ มลู หมทู่ 2ี่
ลงพ้ืนท่ีเกบ็ ข้อมูลหมทู่ 3ี่
ลงพนื้ ที่เกบ็ ขอ้ มลู หมู่ท4่ี

82

ลงพืน้ ท่ีเก็บข้อมลู หมทู่ 4่ี
ลงพน้ื ที่เกบ็ ข้อมูลหมูท่ 5ี่
ลงพน้ื ที่เก็บข้อมูลหม่ทู 5่ี

83

ลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลหมทู่ 6่ี
ลงพนื้ ที่เกบ็ ขอ้ มูลหมู่ท7ี่
ลงพื้นท่ีเก็บขอ้ มูลหมู่ท7่ี

84

ลงพืน้ ท่ีเก็บข้อมลู หมทู่ 8่ี
ลงพน้ื ที่เกบ็ ข้อมูลหมูท่ 9ี่
ลงพน้ื ที่เก็บข้อมูลหม่ทู 9่ี

85

ลงพน้ื ที่เกบ็ ข้อมูลหมทู่ 1ี่ 0
ลงพน้ื ท่ีเกบ็ ข้อมูลหมูท่ 1่ี 0
ลงพ้ืนท่ีเกบ็ ข้อมูลหมทู่ 1่ี 1

86

ลงพน้ื ที่เกบ็ ข้อมูลหมทู่ 1ี่ 2
ลงพน้ื ท่ีเกบ็ ข้อมูลหมูท่ 1่ี 3
ลงพ้ืนท่ีเกบ็ ข้อมูลหมทู่ 1่ี 3

87

กจิ กรรม U2T COVID-19 WEEK
กจิ กรรม U2T COVID-19 WEEK
กิจกรรม U2T COVID-19 WEEK

88

กจิ กรรม U2T COVID-19 WEEK
กิจกรรม U2T COVID-19 WEEK
กิจกรรม U2T COVID-19 WEEK

89

กจิ กรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสริมการตลาดดว้ ยสือดิจทิ ลั
กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและสง่ เสรมิ การตลาดด้วยสอื ดจิ ิทลั
กจิ กรรมพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนและส่งเสรมิ การตลาดดว้ ยสือดิจิทลั

90

กจิ กรรมพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสริมการตลาดดว้ ยสอื ดิจทิ ัล
กิจกรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชนและส่งเสริมการตลาดด้วยสอื ดจิ ทิ ลั
กจิ กรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสรมิ การตลาดดว้ ยสอื ดจิ ิทลั

91

กจิ กรรมพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสริมการตลาดดว้ ยสอื ดิจทิ ัล
กิจกรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชนและส่งเสริมการตลาดด้วยสอื ดจิ ทิ ลั
กจิ กรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสรมิ การตลาดดว้ ยสอื ดจิ ิทลั

92

กจิ กรรมพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสริมการตลาดดว้ ยสอื ดิจทิ ัล
กิจกรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชนและส่งเสริมการตลาดด้วยสอื ดจิ ทิ ลั
กจิ กรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสรมิ การตลาดดว้ ยสอื ดจิ ิทลั

93

กจิ กรรมพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสริมการตลาดดว้ ยสอื ดิจทิ ัล
กิจกรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชนและส่งเสริมการตลาดด้วยสอื ดจิ ทิ ลั
กจิ กรรมพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและส่งเสรมิ การตลาดดว้ ยสอื ดจิ ิทลั

94

กจิ กรรมอนุรกั ษ์ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มในชมุ ชน
กิจกรรมอนรุ กั ษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชมุ ชน
กิจกรรมอนรุ ักษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในชมุ ชน


Click to View FlipBook Version