The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์สื่อภาพยนตร์ส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์สื่อภาพยนตร์ส

แนวดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์สื่อภาพยนตร์ส

๗. บุคลากรส�าคัญสา� หรับภาพยนตรส์ ัน้

บคุ ลากรทจี่ ะเปน็ บคุ คลสา� คญั ทผี่ ลติ ภาพยนตรส์ นั้ มอี ยู่ ๒ ตา� แหนง่ คอื
ผูจ้ ดั การสรา้ ง (Producer) และผกู้ า� กับภาพยนตร์ (Director)

๑. ผู้จัดการสร้าง (Producer) คือ ผู้ท่ีท�างานบริหารงานภาพยนตร์
งานสว่ นใหญจ่ ะเนน้ หนกั ไปดา้ นวางแผนจดั การประสานงานควบคมุ การผลติ
และน�าภาพยนตร์ออกฉาย ข้ันตอนการท�างานของผ้จู ัดการสรา้ งมีดังน้ี

๑.๑ คิดโครงการ
๑.๒ เสนอโครงการต่อแหลง่ ทุน
๑.๓ จดั หาทีมงาน
๑.๔ จัดหาและคัดเลอื กผูแ้ สดง
๑.๕ ควบคมุ การผลิต
๑.๖ ประสานงานการประชาสมั พันธ์
๑.๗ น�าภาพยนตร์ออกฉาย
๑.๑ คิดโครงการ ผู้จัดการสร้างจะคิดโครงการ หรือออกแบบ
โครงการภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์ ชีวติ เดก็ ขา้ งถนน แท็กซเี่ กบ็ เงินลา้ นได้
สาวประเภทสอง ผู้จัดการสร้างจะต้องค�านึงว่าหัวข้อท่ีคิดขึ้นนั้นว่า จะ
ไดผ้ ลหรอื ไม่ กลา่ วคอื นา่ สนใจมคี วามเปน็ ไปทจี่ ะมผี สู้ นบั สนนุ โดยโครงการ
น้ันจะประกอบไปด้วยแนวคิด เร่ืองย่อ รายช่ือผู้แสดง รายชื่อทีมงาน
แผนการท�างาน
๑.๒ เสนอโครงการต่อแหล่งทนุ ผ้ดู �าเนินการสร้างจะนา� โครงการ
ติดต่อหาผู้สนับสนุน อาจจะเป็นองค์กรการกุศล หอศิลปะ ผู้มีฐานะทาง
การเงินดีท่ีเห็นด้วยกับโครงการ การรวบรวมเงินจ�านวนคนละเล็กน้อย
๔4๐0 แแนนววททางางกกาารรดด�าำ�เนเนินินกกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่ออ่ ตต้า้านนกกาารรททุจจุ รริตติ ผผ่า่านนสส่ืออ่ื ภภาาพพยยนนตตรร์ส์สัน้ั้น

จากเพ่ือนฝูงพ่ีน้อง รวมถึงการขอใช้กล้องฟรี ขอฟิล์มฟรี ขอใช้บริการ
ห้องแลปฟรี ดังนีเ้ ป็นต้น

๑.๓ จัดหาทีมงาน ผู้ดา� เนนิ การสรา้ งจะจัดทมี งาน เชน่ ผถู้ า่ ยภาพ
ผ้แู ต่งหน้า ท�าผม ฝา่ ยจัดฉาก ผูช้ ่วยผู้ก�ากบั ฯลฯ

๑.๔ จัดหาผู้แสดง เมื่อได้แนวความคิดเกี่ยวกับบุคลิกนักแสดงท่ี
ชัดเจนแล้ว ผู้จัดการสร้างจะสรรหาผู้แสดง โดยเสาะหา คัดเลือก ติดต่อ
ทาบทาม ทา� สญั ญาวา่ จา้ ง (สว่ นบคุ ลกิ ตวั ละคร ความสามารถ ในการแสดง
ผกู้ า� กับจะเปน็ ผ้พู จิ ารณาโดยผจู้ ดั การสร้างร่วมตัดสนิ ใจ)

๑.๕ ควบคุมการผลิต ผู้จัดการสร้างจะต้องควบคุมการผลิตให้
ได้ผลงานท่ีดี โดยใช้จ่ายไม่เกินงบประมาณท่ีตั้งไว้ ต้องบริหารเงินให้มี
ค่าประสิทธิผล อ�านวยความสะดวกให้ผู้ก�ากับ ผู้แสดง ช่างภาพ และ
ทมี งานอน่ื ๆ ใหส้ รา้ งสรรคง์ านไดอ้ ยา่ งสบายใจ จะตอ้ งชง่ั นา้� หนกั จดั สรรเงนิ
ให้ดีไม่บีบค้ันทีมงานหรือหละหลวมเกินไป การควบคุมการผลิต
อยูร่ ะหวา่ งกลางของการจัดวางงบประมาณและการสรา้ งสรรค์

๑.๖ การประสานงานประชาสมั พนั ธ์ เมอื่ ผลติ ภาพยนตรเ์ สรจ็ แลว้
ก็น�าภาพยนตร์ออกฉายผู้จัดการสร้างจะต้องวางแนวคิดในการโฆษณา
ประชาสมั พนั ธ์ จดั ทา� โปสเตอร์ เขยี นขา่ วตดิ ตอ่ กบั คอลมั นสิ ต์ หนงั สอื พมิ พ์
เพอื่ ให้ลงข่าว จดั ทา� สจู บิ ัตรและบัตรเชญิ

๑.๗ จดั นา� ภาพยนตร์ออกฉาย ผจู้ ัดการสรา้ งจะต้องจดั หาสถานที่
น�าภาพยนตร์ออกฉาย อาจจะใช้หอศิลปะหรือส่งผลงานเข้าร่วมประกวด
ในงานมหกรรมภาพยนตรต์ า่ งๆ ตามแตโ่ อกาสจะอา� นวย ทง้ั น้ี เพอ่ื เผยแพร่
ผลงานและหาผสู้ นบั สนนุ ในการสรา้ งเรอื่ งตอ่ ไป ซง่ึ หากโชคดอี าจจะเขา้ ตา
ผบู้ ริหารค่ายภาพยนตร์ใหญ่ๆ ท่ีชวนไปท�าภาพยนตรเ์ ร่ืองยาว

แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินินกกจิิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตตอ่ ่อตตา้ ้านนกกาารรททุจุจรริติตผผ่า่านนสสื่อื่อภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สน้ั ้ัน 4๔1๑

๒. ผู้ก�ากับภาพยนตร์ (Director) คือ ต�าแหน่งท่ีจะสร้างสรรค์งาน
ภาพยนตร์ให้มีคุณภาพ และบรรลุเป้าหมายงานของผู้ก�ากับภาพยนตร์
มีดังนี้

๒.๑ ตีความบทภาพยนตร์ เม่ือได้บทภาพยนตร์มาแล้วผู้ก�ากับ
มีหน้าที่ตีความบทภาพยนตร์ว่า ถ้าออกมาเป็นภาพยนตร์แล้วจะเป็น
อย่างไร ตรงไหนจะเพ่ิมตรงไหนจะลด ตรงไหนปรับปรุงแก้ไข เข้าใจ
ความหมายของผู้เขียนบทว่าแต่ละฉากจะเสนออะไร ภาพยนตร์ท้ังเรื่อง
เสนออะไร

๒.๒ กา� หนดรปู แบบของภาพยนตร์ ผกู้ า� กบั เปน็ ผกู้ า� หนดหนา้ ตา
(look) ของภาพยนตรเ์ รือ่ งนน้ั ๆ วา่ จะมรี ูปแบบอย่างไร เชน่ เป็นแบบฝนั ๆ
แบบน่ากลวั แบบจรงิ จัง ฉูดฉาดหรือเรยี บงา่ ย สิ่งเหลา่ นบี้ างทคี ิดโดย

- คดิ ถึงกลมุ่ เป้าหมายที่จะชม
- ตามแนวของเร่ือง
- ตามลกั ษณะเฉพาะตวั ของผกู้ า� กบั
๒.๓ สรา้ งคณุ คา่ ทางศลิ ปะ แกง่ านภาพยนตร์ ผกู้ า� กบั เปน็ ผทู้ จี่ ะ
ต้องผสมผสานส่วนประกอบต่างๆ ของภาพยนตร์เข้าด้วยกัน เพ่ือให้
ภาพยนตร์มีความงดงาม เช่น การจัดภาพ การจัดแสง ผู้แสดง บทบาท
ผแู้ สดงวางจงั หวะลลี าให้มีคุณคา่ ทางศิลปะ
๒.๔ ควบคุมข้ันตอนหลังการถ่ายท�า (post-production)
ผู้ก�ากับภาพยนตร์จะต้องควบคุมงานข้ันตอนหลังการถ่ายท�า ซึ่งมีการ
ตัดต่อล�าดับภาพ การบันทึกเสียง การท�าภาพพิเศษ การก�าหนดโครงสี
และการท�าไตเติ้ล ผู้ก�ากับภาพยนตร์จะต้องควบคุมดูแลในแง่ศิลปะต่างๆ
เพอ่ื ใหผ้ ลงานนนั้ สมบรู ณท์ ส่ี ุด
๔4๒2 แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เนเนินินกกิจจิ กกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรรติิตผผา่่านนสสื่อื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์สนั้ ้ัน

๘. การหาสถานท่ีถา่ ยทา� (Location)

การหาสถานที่ถ่ายท�าภาพยนตร์ มีข้นั ตอนดังน้ี
๑. แยกงานสถานท่ีจากบทและรวมกลมุ่ สถานที่ การเร่มิ หาสถานทใี่ ห้
น�าบทมาอ่านแล้วล�าดับรายช่ือสถานท่ีเกิดขึ้นในบท จากน้ันก็มารวม
กล่มุ กันโดยค�านงึ ถงึ กลุม่ สถานที่ ทอ่ี ยูใ่ กลเ้ คียงกนั เพื่อความสะดวก เช่น
ฉากทะเล ภูเขา หมู่บ้าน ชาวประมง ร้านอาหารริมทะเล หรือบ้านไม้
ซอยแคบ ถนนลกู รงั หรือโรงภาพยนตร์ ซปุ เปอร์มาเกต ร้านไอศกรีม ฯลฯ
๒. ตดิ ตอ่ สอบถาม เมอื่ ไดร้ ายชือ่ สถานทีแ่ ลว้ ใหต้ ิดตอ่ สอบถามแหลง่
ต่างๆ เช่น จากเพอื่ น ผชู้ ่วยผ้กู �ากับกองถ่ายอื่น เจา้ หนา้ ทีป่ ระชาสมั พันธ์
ตามสถานท่ตี ่างๆ ดูจากนติ ยสารการทอ่ งเที่ยว โปสการด์ แผ่นพบั เพ่ือให้
ไดข้ อ้ มลู ขนั้ ตน้ ไมใ่ ชอ่ อกหาสถานทเ่ี ลย เพราะจะประหยดั เวลา คา่ เดนิ ทาง
ค่าที่พกั และคา่ อาหารไดม้ าก
๓. บริหารการเดินทาง การออกหาสถานท่ีถ่ายท�า หากเช่ารถแล้ว
ควรเริ่มออกแต่เช้าตรู่ บุคคลท่ีไปหาไม่ควรเกิน ๒ คน คือ ฝ่ายธุรกิจ
หนึ่ง และผู้ช่วยฝ่ายศิลป์หน่ึง ฝ่ายธุรกิจดูแลการจัดการ เช่น ระยะทาง
ค่าเช่าทพี่ กั การตดิ ต่อขออนุมัติ สว่ นฝ่ายศลิ ปะดคู วามสวยงามทางศิลปะ
ทสี่ อดคลอ้ งกบั บท ใชก้ ลอ้ งและฟลิ ม์ ราคาถกู ถา่ ยภาพมมุ ตา่ งๆ ทเ่ี หน็ เหมาะ
บางสถานท่ีขอภาพถ่ายท่ีเขามีอยู่แล้ว หรือขอแผ่นพับโฆษณาก็ได้
ในขณะเดียวกนั รา่ งแผนท่แี ละแผนผังพ้นื ทม่ี าด้วย
๔. น�าภาพถา่ ยเข้าทีป่ ระชมุ นา� ภาพถา่ ยแผน่ พับ แผนผัง และข้อมูลท่ี
ไดม้ าเพื่อเขา้ ท่ีประชุมและคดั เลอื ก
๕. ดูสถานที่จริง เมื่อคัดเลือกสถานที่ข้ันต้นได้แล้ว ขั้นต่อไปผู้ก�ากับ
ผู้ก�ากับภาพ และผู้กา� กบั ฝา่ ยศลิ ป์ จะเดนิ ทางไปดูสถานท่จี รงิ จะเพิ่มเตมิ

แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินนิ กกจิิจกกรรรรมมสสรรา้้างงสสรรรรคค์์ ตตอ่่อตตา้ ้านนกกาารรททจุ ุจรริติตผผา่ ่านนสสอื่ ่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สนั้ ้ัน 4๔3๓

ดดั แปลงอะไร จะวางกล้องตรงไหนจะไดป้ รกึ ษากบั ตอนน้ี เบอร์โทรศพั ท์
แผนท่ี วันเวลาเปดิ ปิด เงอื่ นไขการเข้าสถานทก่ี ็ยนื ยนั ความแน่นอนตอนน้ี

๙. ข้อควรคา� นงึ ในการหาสถานที่ถ่ายทา�

สถานทถ่ี ่ายท�าทด่ี จี ะต้องมีคณุ สมบตั ิ ๗ ประการ คอื มีความเหมาะสม
ในแงก่ ารจดั การ และมคี ณุ คา่ ทางศลิ ปะ ความเหมาะสมในการจดั การ กค็ อื

๑. ใกลท้ ท่ี า� งาน ถา้ เปน็ ไดส้ ถานทน่ี น้ั ไมค่ วรไกลจากทที่ า� งาน เพอื่ ความ
สะดวกหากลืมสง่ิ ของท่ีจา� เป็นจะประหยดั ค่าเดินทาง

๒. มีความหลากหลาย สถานที่นนั้ หากไปทเี่ ดียวแล้วถ่ายได้หลายฉาก
จะเปน็ สถานท่ถี า่ ยท�าทด่ี มี าก เราจะไมต่ อ้ งเคลอื่ นยา้ ยกองถ่ายบ่อยๆ เชน่
ไปหมู่บ้านจัดสรรก็จะได้ร้านค้า บ้าน สวนสาธารณะ โรงเรียนอนุบาล
สนามเดก็ เล่น สนามกอลฟ์ คลบั หอ้ งอาหาร สระว่ายนา้� ถนนในหมู่บ้าน
ฯลฯ จะมีความสะดวกในการถ่ายท�า เวลาจะย้ายกองถ่ายก็ย้ายกองถ่าย
ใกลๆ้ ประหยดั เวลาและคา่ ใช้จา่ ยไดม้ าก

๓. มคี วามสะดวกในการถา่ ยทา� คอื มโี ทรศพั ทต์ ดิ ตอ่ มที จ่ี อดรถสะดวก
หอ้ งนา้� มหี ลายหอ้ ง มพี น้ื ทวี่ า่ งสา� หรบั แตง่ กายและแตง่ หนา้ มคี วามสงู ของ
เพดานส�าหรับติดต้ังดวงไฟ มีพ้ืนที่ส�าหรับเก็บพักอุปกรณ์ถ่ายท�า มีพื้นที่
ส�าหรบั จัดสว่ นรับประทานอาหารของกองถา่ ย ไม่มีเจ้าถ่นิ ทีค่ อยรบกวน

๔. ราคาไม่แพง สถานท่ีควรเก็บค่าเช่าไม่แพงนัก หากไม่เสียเลย
ได้ยิ่งดี เพียงแต่เสียค่าแม่บ้าน ท�าความสะอาด หรือช่วยค่าน้�าค่าไฟบ้าง
เท่านัน้ เชน่ บา้ นเพ่อื น หนว่ ยราชการ สถานทเี่ พ่ือการกุศล สถานท่ีท�าการ
บริการ หากแลกเปลี่ยนกับการขนึ้ ไตเต้ลิ ใหไ้ ด้ประโยชนท์ งั้ ๒ ฝา่ ย การหา
สถานทที่ ่ขี ายบริการ เช่น ร้านอาหาร ไนท์คลับ โรงแรม สวนสนกุ ควรหาที่
๔4๔4 แแนนววททางางกกาารรดด�า�ำเนเนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่ออ่ ตต้าา้ นนกกาารรททุจจุ รริติตผผ่า่านนสสื่ออ่ื ภภาาพพยยนนตตรร์ส์สั้นั้น

ทเ่ี ปดิ กจิ กรรมใหมๆ่ จะไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย เพราะกจิ การเหลา่ นนั้ จะอยใู่ นชว่ ง
ประชาสมั พนั ธ์และสง่ เสรมิ การขาย

๕. ไม่มีส่ิงที่จะเสียหายง่าย ควรหาสถานที่ถ่ายท�าที่จะเส่ียงต่อการ
ชดใช้ของเสียหายน้อยท่ีสุด เช่น สถานท่ีที่มีของราคาแพง เช่น พรม
เคร่ืองลายคราม เครื่องแก้ว ไม้ประดับราคาสูง เพราะหากหาย หรือ
เสียหายข้ึนมาจะยุ่งยากต่อการชดใช้

๖. เงียบสงบ ไม่มีเสียงรบกวนใดๆ ที่จะท�าให้บันทึกเสียงไม่ได้ เช่น
สถานท่ีมีเสียงเคร่ืองจักร เสียงอู่ซ่อมจักรยานยนต์ เสียงเด็กอ่อน บ้านท่ี
เลย้ี งสุนขั ถนนท่มี รี ถเสยี งดงั วิง่ ผ่าน โครงการก่อสรา้ ง ฯลฯ

๗. มคี วามสะดวกในการจดั ฉาก การจดั ฉากภาพยนตรไ์ มเ่ หมอื นละคร
เวที มีการเปลี่ยนแปลง ทุกวินาทีแล้วแต่สถานการณ์ บางครั้งต้องย้าย
มมุ กล้อง หรอื ผกู้ �ากับนกึ ภาพออกมาอยา่ งกะทันหัน สถานทีท่ ดี่ ี ควรจะมี
อุปกรณ์ประกอบฉากอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ท่ีจะหยิบยืม น�ามาจัดฉาก
ได้ง่าย เช่น โต๊ะ ต้นไม้ กระถาง รูปภาพ แจกัน เคร่ืองเรือนชุดสนามท่ี
สามารถยกมาจัดแตง่ เพ่ิมเติมไดท้ นั ที

๑๐. ความเหมาะสมในแงศ่ ลิ ปะ

๑. ถูกต้องตามข้อเท็จจริง สถานท่นี น้ั จะต้องสมจรงิ ตรงตามบท ไม่มี
จดุ อ่อนทจ่ี ะจับผดิ ได้ สอดคลอ้ งกบั รูปแบบ และยุคสมัยตามท้องเรอื่ ง

๒. ไดบ้ รรยากาศและความรสู้ ึก สถานทจ่ี ะต้องมีบรรยากาศ มีโครงสี
ให้ความรสู้ ึกทดี่ ี เช่น ในบทบอกวา่ ชาวนาก�าลงั มีความรัก ก็จะเปน็ ทอ้ งนา
เหลืองอร่าม น�้าเปี่ยมคลอง หรือในบทบอกว่านางเอกเดินเศร้าคิดถึง
พระเอก ก็ควรจะเป็นฉากที่พื้นสีเทา (ลานดิน ลานซีเมนต์) มีเสาไฟฟ้า

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนนิินกกิจิจกกรรรรมมสสรรา้้างงสสรรรรคค์ ์ ตตอ่ ่อตตา้ ้านนกกาารรททจุ ุจรรติ ิตผผา่ ่านนสส่อื ื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์สน้ั ั้น 4๔5๕

โดดเดี่ยว หรือมีต้นไม้แห้งใบโกร๋น หรือนางเอกอยู่ในภาวะอันตราย เช่น
ทางเดินในซอกตึกแคบๆ ทผ่ี นังตึกบบี ทา� ให้รสู้ กึ อึดอัด ดังนีเ้ ป็นตน้ โครงสี
ของสถานที่มีส่วนสร้างอารมณ์ความรู้สึกได้มาก สถานท่ีท่ีมีโครงสีโทนใด
โทนหนงึ่ เครอื่ งแตง่ กายและอปุ กรณป์ ระกอบฉากกจ็ ะต้องออกแบบสใี หม้ ี
ศิลปะ เช่น นางเอกไปวัดผ่านทุ่งนาสีเขียวเหลือง เคร่ืองแต่งกายและร่ม
อาจจะเป็นสีแดงสดใส เป็นต้น การออกแบบสีจะท�าให้ภาพมีชีวิตชีวา
โดยเฉพาะโครงสที ่ใี ห้อารมณ์เดน่ ชัด เช่น เทา มว่ ง ใหอ้ ารมณ์เหงา, ชมพู
เหลือง ฟ้า ให้อารมณส์ ดใส

๓. มีพ้ืนที่และหลบสลับซับซ้อน สถานที่ถ่ายท�าไม่ควรจะมีฉากหลัง
แบนท่ีดแู ล้วทึบตนั เช่น ถนน ตรอก ซอย ควรจะลกึ สดุ สายตา มมุ ตกึ ควร
จะมีหลบและซอกต่างๆ เพราะเมื่อจดั แสง ภาพจะเกดิ น�้าหนกั สวยงาม อกี
ทงั้ ระยะลกึ จะทา� ใหเ้ หน็ มสี ง่ิ ตา่ งๆ หลากหลาย เช่น ฉากตรอกซอยลกึ เรา
จะไดร้ ้านค้า รถตกุ๊ ตกุ๊ กองขยะ ลังไม้ รถเข็น เดก็ เล่นแบดมนิ ตัน ซ่งึ จะ
ทา� ให้ภาพดมู ีชีวิตชวี า

๔. มีความหมายเชิงนัยยะ การหาสถานที่ถ่ายท�าในบางครั้ง อาจจะ
หาสถานท่ีท่ีมีความหมายเชิงนัยยะ หมายถึง สถานที่มีบางสิ่งบางอย่างท่ี
เป็นนยั ของความรู้สึก เช่น โบสถท์ ี่มเี งาไม้กางเขนทาบลงบนพื้น แล้วเราใช้
สถานที่น้ันในฉากท่ีตัวละครตายแล้วมีเงาพาดผ่าน ทุ่งดอกไม้สีชมพู
เม่ือพระเอกนางเอกพบรักกัน หรือหน้าผาสูง ที่ตัวละครทะเลาะกัน
จะเกิดความรู้สึกหมิ่นเหม่เหมือนจะตกหน้าผา ได้ความรู้สึกของความ
สัมพันธ์ขาดสะบ้ันลง หรือฉากท่ีมีพื้นกระเบ้ืองยางตารางหมากรุกด�าและ
ขาวก็จะเป็นความรู้สึกขดั แยง้ กนั หรือฉากเดก็ เลก็ ทีก่ า� ลงั จะถกู ลักพาตัว
แลว้ ถกู อมุ้ วง่ิ ผา่ นสวนกระบองเพชร จะทา� ใหไ้ ดอ้ ารมณค์ วามรสู้ กึ ของสถาน
๔4๖6 แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำเนเนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์ ์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรริติตผผ่าา่ นนสส่ืออื่ ภภาาพพยยนนตตรรส์์ส้นัั้น

ที่เหล่านี้อยู่ท่ีการตีความของผู้ก�ากับ ท่ีจะเลือกสถานท่ีได้ความรู้สึกและ
ความหมายทางศิลปะ

๑๑. การคดั เลอื กผูแ้ สดง (Casting)

การหาผแู้ สดง มีแหล่งทีห่ าได้ดังนี้
๑. ชมรมละครและการแสดงของโรงเรียน ,มหาวิทยาลัย
๒. บรษิ ทั จดั หานายแบบ และนางแบบ (modeling agency)
๓. โรงเรียนการแสดงและภาพยนตร์
๔. ชมรมเชยี รล์ ีดเดอร์
๕. สนามกฬี าและสถานท่เี พาะกาย
๖. สถานทีบ่ ันเทงิ
๗. เดนิ หาในรปู แบบแมวมอง
๘. การประกาศหานักแสดง
๑. ชมรมละครและการแสดงตามโรงเรียน มหาวิทยาลัย ที่น่ีจะเป็น
ศูนย์รวมของหนุ่มสาวหน้าตาดี มีความสนใจในการแสดงและมีความ
สามารถระดับหน่ึง หากชมรมมีผลงานแสดงบนเวที เราก็จะเห็น
ความสามารถของนกั แสดงจรงิ ๆ หากไมม่ กี ารแสดงกอ็ าจจะขอดเู ทปบนั ทกึ
การแสดงครัง้ ก่อนๆ
๒. บรษิ ทั จดั หานายแบบและนางแบบ บรษิ ทั เหลา่ นจี้ ะมแี ฟม้ ภาพถา่ ย
ของนายแบบนางแบบ โดยมภี าพใบหนา้ ภาพถา่ ยดา้ นหนา้ เตม็ ตวั ใหเ้ ลอื ก
พรอ้ มบอกความสามารถพเิ ศษอนื่ ๆ เชน่ เลน่ ฉากบู๊ ตีลงั กาได้ รอ้ งเพลงได้
เตน้ รา� ได้ เปน็ ต้น

แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนนิินกกจิิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรรติ ิตผผ่า่านนสสื่อื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์ส้นั ้ัน 4๔7๗

๓. โรงเรียนการแสดงและภาพยนตร์ แผนกภาพยนตร์บางแห่งจะมี
สาขาการแสดงการขบั ร้องนาฏศิลป์ จึงเป็นแหล่งท่รี วมนกั แสดงไว้มาก

๔. ชมรมเชียร์ลีดเดอร์ เปน็ อกี แห่งหน่งึ ทจ่ี ะหานักแสดงได้ โดยเฉพาะ
คนทีม่ รี ูปร่างดี

๕. สนามกีฬาและสถานเพาะกาย สถานที่เหลา่ น้ีจะมเี ดก็ หนมุ่ รูปรา่ ง
ดแี ละหน้าตาดี มบี ุคลกิ ภาพและความคล่องตวั ให้เลอื กมาก

๖. สถานบนั เทิง เจ้าของกิจการบันเทงิ มกั จะหาเด็กสาว และเดก็ หนุม่
หน้าตาดีไว้ท�างาน เช่น พนักงานเสิร์ฟในภัตตาคาร เจ้าหน้าที่เคาน์เตอร์
ต้อนรบั แผนกขาย แผนกบริการลกู คา้ ฯลฯ

๗. เดนิ หาในรปู แบบของแมวมอง การหาวธิ นี ค้ี อื การลงพนื้ ทต่ี ามแหลง่
ต่างๆ ทมี่ ีผคู้ นมากมาย เชน่ สถานขี นส่ง ศนู ย์การค้า การแสดงคอนเสิร์ต
ปา้ ยรถเมล์ เห็นใครบุคลิกดกี ็ติดต่อ ขอชือ่ เบอร์โทรศพั ท์ วธิ ีนีบ้ างคร้งั จะ
ได้ผู้แสดงดีๆ อย่างคาดไม่ถึง เวลาแสดงจะแลดูเป็นธรรมชาติ (เนื่องจาก
ไม่ใช่นักแสดงอาชีพอย่างผู้ที่มาจากโมเดลลิ่ง เอเจนซี) เขาจะเป็นผู้ท่ีเล่น
ภาพยนตร์ของเราครงั้ แรกจึงไม่ติดบท และมาดเก่าๆ ทเี่ คยแสดงมาก่อน

๘. การประกาศหานกั แสดง วธิ นี ก้ี ค็ อื การจดั ทา� โปสเตอรไ์ ปตดิ ทตี่ า่ งๆ
หรือประกาศทางหน้าหนังสือพิมพ์ บอกบุคลิกลักษณะที่ต้องการพร้อม
สถานทีต่ ดิ ต่อ

จากทัง้ ๘ ขอ้ ข้างต้นที่เป็นแหลง่ หานกั แสดง กเ็ ชญิ มาท�าการคดั เลือก
โดยสถานท่ีคัดเลือกควรเป็นห้องที่เงียบสงบ ในห้องน้ันจะมีผู้ก�ากับ
ผจู้ ดั การสรา้ ง และชา่ งภาพนง่ิ และวดิ โี อ วธิ คี ดั เลอื กกค็ อื นา� บทใหอ้ า่ นอาจ
จะเปน็ บททเ่ี ราจะถา่ ยทา� หรอื เปน็ บทภาพยนตรเ์ กา่ ๆ กไ็ ด้ บรรยากาศในหอ้ ง
๔4๘8 แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำเนเนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจจุ รริติตผผ่า่านนสสื่อื่อภภาาพพยยนนตตรรส์์สั้นั้น

ต้องท�าให้ผู้มาคัดเลือกผ่อนคลายสบายใจ สัมภาษณ์เขาอย่างเป็นกันเอง
อย่าให้เขาอึดอัดและเป็นกังวล เราจึงจะเห็นความรู้สึกของเขาได้ชัดเจน
ผู้มาคัดเลือกจะอ่านบทช้าๆ แล้วจะค่อยๆ เข้าถึงบททีละน้อยๆ ผู้ก�ากับ
จะสังเกตดูที่สีหน้าและแววตา จากนั้นให้ลองอ่านบทอีกคร้ัง โดยตีความ
บทที่แตกต่างจากคร้ังแรก ขั้นตอนน้ีส�าคัญมาก เราจะรู้ว่าผู้แสดงมีความ
สามารถมากน้อยเพียงใด ก็จากน้�าเสียงความรู้สึกและความเข้าใจ
ในตัวละคร จากนน้ั ก็ใหค้ ะแนนไว้พรอ้ ม จดบนั ทกึ ขอ้ บกพรอ่ งต่างๆ เชน่
เสียงแหบ หรือดวงตากระพริบถี่ เป็นต้น ขั้นตอนต่อไป คือ ให้พูดเด่ียว
เนื้อหาอะไรก็ได้อยากเล่าเร่ืองทางบ้าน เพ่ือนสนิท ประสบการณ์ในอดีต
ก็ให้พูดออกมา เราก็จะเห็นแววนักแสดงได้ในช่วงนี้ จากนั้นก็ใช้เทคนิค
แสดงสด ทเ่ี รียกวา่ improvisation โดยให้คิดเหตุการณห์ นึง่ ขึ้นมา แลว้
ลองใหแ้ สดงโดยอาจจะมีผ้แู สดงร่วมด้วย เช่น ฉากแย่งแหวนทองทเี่ กบ็ ได้
การแสดงสดนจี้ ะทา� ใหส้ ามารถคน้ หาแววนกั แสดงไดเ้ ชน่ กนั อกี เทคนคิ หนง่ึ
ก็คอื การใหเ้ ลน่ ละครใบ้ (๓๑ antomime) เชน่ ลองใหท้ �ามือท�าไมใ้ นการชง
กาแฟโดยไมม่ ีถ้วยกาแฟ ซกั ผา้ ตากผ้ากบั อากาศเปลา่ ๆ การแสดงละครใบ้
น้ีช่วยให้เราเห็นว่า ผู้แสดงมีจินตนาการสูงต�่าเพียงใด ระหว่างท่ีคัดเลือก
จะมีการถ่ายภาพน่ิงและวิดีโอไว้ เพื่อน�ามาพิจารณา อีกคร้ังในที่ประชุม
เม่ือได้ผู้แสดงแล้วก็อย่าลืมโทรศัพท์ปฏิเสธผู้ไม่ถูกเลือกอย่างสุภาพ
เผื่อโอกาสในการคดั เลือกในเรือ่ งหนา้

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนินินกกิจจิ กกรรรรมมสสรรา้้างงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรรติ ิตผผา่ ่านนสสอ่ื ื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์สนั้ ้ัน ๔49๙

๑๒. การกา� กบั ภาพยนตร์ (Film Directing)

การก�ากับภาพยนตร์ คอื การควบคมุ งานศิลปะต่างๆ ของภาพยนตร์
ใหไ้ ปในทศิ ทาง (direction) ทผี่ กู้ า� กบั ภาพยนตรต์ อ้ งการ ผกู้ า� กบั ภาพยนตร์
(Director) คอื ผทู้ คี่ วบคมุ สว่ นประกอบทกุ สว่ นทปี่ รากฏหนา้ กลอ้ งถา่ ยภาพ
เปน็ ผถู้ อดบทภาพยนตรใ์ หอ้ อกมาเปน็ ภาพ โดยประสานสว่ นประกอบตา่ งๆ
เข้าด้วยกันได้อย่างลงตัวและมีศิลปะ ส่วนประกอบของภาพยนตร์ เช่น
ผแู้ สดง ภาพ ฉาก แสง เสยี ง ฯลฯ ซง่ึ เมื่อรวมกันแลว้ สามารถท�าให้ผชู้ ม
ประทับใจ อกี ทง้ั เข้าใจแก่นเร่ือง (theme) หรือแนวความคิดหลกั ของเรอื่ ง
นน้ั ได้

ผกู้ า� กบั ภาพยนตรจ์ ะตอ้ งทา� งานประสานกบั บคุ ลากรในกองถา่ ยแผนก
ตา่ งๆ เชน่ ผู้ก�ากบั ภาพ ผกู้ า� กับฝ่ายศลิ ป์ ผูจ้ ัดการกองถา่ ย ฯลฯ เพือ่ ให้
ช่วยสร้างภาพที่ฝันให้เป็นตามจินตนาการที่ตนเองต้องการในการท�างาน
ก่อนการถ่ายทา� ผ้กู �ากบั มลี �าดบั การท�างาน ดังน้ี

๑. เข้าใจบทอย่างแตกฉาน (ตบี ทแตก)
๒. วิเคราะหภ์ ูมหิ ลังตัวละคร
๓. แบง่ บทเปน็ ช่วงๆ (dramatic beat)
๔. กา� หนดรปู แบบของงาน
๕. กา� หนดจังหวะและระดบั ความรู้สึก (rhythm and tone)
๖. ร่างผงั การถ่าย และท�าสตอร่ีบอรด์
๗. ท�ารายการถา่ ย (shotlist)

๕๐ แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านสื่อภาพยนตร์สั้น

50 แนวทางการดำ�เนินกจิ กรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผา่ นสอ่ื ภาพยนตรส์ ั้น

๑. เขา้ ใจบทอยา่ งแตกฉาน (ตบี ทแตก) ผกู้ า� กบั ภาพยนตรจ์ ะอา่ น
บทหลายๆ ครั้ง ตรงไหนที่ไม่เข้าใจก็ถามคนเขียนบท ต้องมีความรู้
กวา้ งขวาง และลกึ ซึ้งต่องานที่ตนเองจะกา� กบั เชน่ ถ้าภาพยนตร์เรอื่ งนัน้
เป็นเรือ่ งเกย่ี วกบั วยั รุ่น ก็ต้องหาหนงั สือจิตวทิ ยาวัยรุ่นมาอ่าน หรือพูดคุย
สมั ภาษณว์ ยั รนุ่ ผกู้ า� กบั ภาพยนตรต์ อ้ งรจู้ งั หวะของเรอ่ื งวา่ จะมลี ลี าอยา่ งไร
เหน็ ภาพในสมองแจม่ ชดั สามารถทจี่ ะจา� รายละเอยี ดในบทไดเ้ กอื บทง้ั หมด
ทง้ั น้ี หากวา่ ทมี งานหรอื นักแสดงถาม เขาจะให้ค�าตอบได้

๒. วเิ คราะหภ์ มู หิ ลงั ตวั ละคร ผกู้ า� กบั ภาพยนตรต์ อ้ งเขา้ ใจตวั ละคร
เสมือนเป็นญาติสนิท รู้ว่าเขาและเธอมีภูมิหลังอย่างไร นิสัยอย่างไร ต้อง
ขดุ ลึกและรพู้ ฤตกิ รรมน้ันๆ ว่า ท�าไมเขาจงึ เป็นเช่นนั้น และกระทา� ส่งิ เหลา่
นนั้ เพราะอะไร ถา้ เหตกุ ารณห์ นง่ึ เกดิ ขนึ้ เขาจะทา� อยา่ งไร เพอ่ื เมอ่ื เวลากา� กบั
จะกา� กบั ได้คลอ่ งอกี ท้ังยังจะท�าให้ตวั ละครมคี วามนา่ สนใจและสมจรงิ

๓. แบง่ บทเป็นช่วงๆ (dramatic beat) ผูก้ า� กบั ภาพยนตรจ์ ะ
ตอ้ งรชู้ ว่ งลลี าของหนงั ทภี่ าพตา่ งๆ รวมกนั แลว้ จะเกดิ จงั หวะลลี าเปน็ ชว่ งๆ
อย่างไร เช่น เด็กคนหน่ึงเก็บกระเป๋าสตางค์ที่ตกได้ (จังหวะท่ี ๑) เขางง
หยบิ ขนึ้ มาดู มองไปข้างหน้า (จังหวะที่ ๒) เขาวง่ิ ไปคืนเจ้าของ แตเ่ จ้าของ
ขึน้ รถเมลไ์ ปแล้ว (จงั หวะท่ี ๓) เขาขน้ึ รถเมล์สายเดียวกันตามไป (จังหวะที่ ๔)
เขายมิ้ เมอ่ื เหน็ เจา้ ของกระเปา๋ ลงจากรถ เขาลงตามไป (จงั หวะที่ ๕) เขาเรยี ก
แลว้ คนื กระเปา๋ ให้ (จังหวะท่ี ๖) เจา้ ของเงินรับ เจ้าของกระเป๋าเดินไป สัก
พกั หนั กลบั มาเรยี ก เขาตกใจ เจา้ ของกระเปา๋ ยน่ื นามบตั รใหบ้ อกวา่ ถา้ มอี ะไร
จะใหช้ ว่ ยเหลือ กใ็ ห้ติดต่อ (จังหวะที่ ๗) ผกู้ �ากบั จะต้องน�าบทมาแบ่งเปน็
ช่วงของฉากเปน็ หลายๆ ชว่ ง เพอ่ื ใหเ้ กิดจังหวะและลลี าการเลา่ เร่อื ง

แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านสื่อภาพยนตร์สั้น ๕๑

แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสร้างสรรค์ ต่อตา้ นการทุจรติ ผ่านส่อื ภาพยนตร์สัน้ 51

๔. การก�าหนดรูปแบบของงาน การก�าหนดรูปแบบของงาน
หมายถงึ การเลอื กทจ่ี ะสรา้ งบคุ ลกิ ลกั ษณะของภาพยนตรว์ า่ จะออกมาเปน็
อย่างไร เรียกว่า การออกแบบ look ของภาพยนตร์ เชน่ look ทเี่ ปน็ วัยรนุ่
สมัยใหม่ กจ็ ะเปน็ ภาพแคบๆ ตัดตอ่ ฉบั ไว ฉากและอุปกรณป์ ระกอบฉาก
ใชส้ สี นั ฉดู ฉาด แตถ่ า้ look ออกมาเปน็ เชงิ ทเี่ รยี กวา่ คลาสสคิ กจ็ ะถา่ ยเปน็
ภาพกว้างๆ จัดแสงเหมือนคัทยาวๆ โทนสีออกไปทางสีน�้าตาล (sepia)
look ของภาพยนตร์แต่ละแนวจะแตกต่างกัน ภาพยนตร์แนวชีวิตก็
จะใช้ Look ลักษณะหน่ึง ในขณะท่ีแนวตลก แนวผี แนวฆาตกรรม
แนววิทยาศาสตรก์ จ็ ะอกี ลกั ษณะ

๕. ก�าหนดจังหวะ หมายถึง การก�าหนดลีลาช่วงเดินเร่ืองของ
ภาพยนตร์ระดับความรู้สึกของงาน เช่น ภาพยนตร์ท่ีมีช่วงลีลาเร็วมาก
ความรู้สึกของภาพจะรุนแรง แสง เสียง การใช้สีสันจะจัดจ้าน เข้มข้น
ตรงกันข้ามกับภาพยนตร์ชีวิตรักจะเดินเร่ืองช้าๆ ความรู้สึกของภาพอ่อน
ละมุนนมุ่ นวล ฉากเครอื่ งแต่งกาย และอปุ กรณป์ ระกอบฉากมักใชส้ อี อ่ นๆ

๖. ร่างผังการถ่ายและสตอรีบ่ อร์ด (floorplan and storyboard)
ผกู้ า� กบั ภาพยนตรจ์ ะตอ้ งออกแบบรา่ งผงั การถา่ ย (floorplan) ลกั ษณะของ
ผังการถ่ายเหมือนกับการมองดูจากเพดานว่า ตัวละครเข้าออกทางไหน
ไปน่ังเก้าอ้ีตัวใด โต๊ะตู้วางอย่างไร รวมถึงต�าแหน่งของกล้องอยู่ตรงไหน
เคล่ือนไหวกล้องอย่างไร การจัดท�าผังการถ่าย (Floor Plan) จะท�าให้
ช่างภาพและฝ่ายจัดฉากท�างานสะดวกขึ้น จากน้ันก็ท�าสตอรี่บอร์ด
(storyboard) สตอรบ่ี อรด์ ทา� เพอ่ื ใหเ้ หน็ ขนาดภาพ องคป์ ระกอบของภาพ
ความตอ่ เนอ่ื งสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาพหนงึ่ ไปยงั อกี ภาพหนงึ่ หากผกู้ า� กบั ไมถ่ นดั
ในการเขียน ก็ร่างภาพหยาบๆ แล้วจ้างช่างศิลป์มาเขียนให้สตอรี่บอร์ด
๕5๒2 แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินินกกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตต่ออ่ ตต้า้านนกกาารรททจุุจรรติิตผผา่่านนสส่อื่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สั้น้ัน

จะช่วยให้ทีมงาน และผู้ก�ากับท�างานสะดวกมองออกว่าจากภาพน้ีแล้ว
ภาพตอ่ ไปจะเปน็ อย่างไร

๗. ท�ารายการถ่าย (shot list) รายการถา่ ย คอื การก�าหนดจา� นวน
ภาพทจ่ี ะถ่ายเรียงลา� ดบั จากช๊อตท่ี ๑ แล้วแตกช๊อตออกไปเปน็ ๑.๑, ๑.๒,
๑.๓ ช๊อตที่ ๒, ๒.๑, ๒.๒, ๓, ๔, ๔.๑ (ในการเปล่ยี นต�าแหน่งของกล้อง
แต่ละคร้ัง อาจจะมหี ลายชอ๊ ตก็ได้ คือ ถ่ายภาพขนาดตา่ งๆ กนั ใช้เลนส์
หรอื ฟลิ เตอรต์ า่ งกนั ) รายการถา่ ย ตอ้ งทา� ใหล้ ะเอียด เพือ่ ใช้ในการถา่ ย
ในแต่ละวัน เพื่อเป็นแนวทางของผู้ก�ากับและทีมงาน ภาพจะเป็นอย่างไร
ถ่ายอยา่ งไร ตัวละครจะอยตู่ า� แหน่งไหน หันหนา้ ไปทางใด ท�าอะไร เข้า
ออกภาพทางไหน ตัดภาพเม่ือไหร่ จะอธิบายให้ละเอียดในคราวนี้อีกที
(หลังจากที่ ได้บอกไว้บ้างแล้ว) เจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายจะปฏิบัติตามฝ่ายศิลป์
ก็จะจัดฉากใหส้ วยงาม ฝ่ายกลอ้ งกจ็ ะจดั แสง จัดภาพ วดั ระยะโฟกสั เมอ่ื
ทกุ อย่างพร้อมแลว้ กจ็ ะเชญิ ผ้แู สดง มาเขา้ กลอ้ ง มีการซ้อม ๑ ครั้ง เพ่ือให้
ผแู้ สดงรวู้ า่ จะพดู อะไร ทา� อะไร สมั พนั ธก์ บั การเคลอ่ื นไหวของกลอ้ งอยา่ งไร
การซอ้ มครงั้ แรกจะซอ้ มใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั ของทา่ ทาง, การเดนิ , หยบิ จบั
สิง่ ของตา่ งๆ ฝา่ ยกล้องก็จะซอ้ มก็จะซ้อมความเคลอื่ นไหวของกล้องว่าจะ
กระตุกหรือไม่ จับโฟกัสตัวละครได้หรือไม่ การซ้อมคร้ังที่ ๒ จะซ้อม
การแสดงอารมณ์ โดยท�าเหมือนถ่ายจริงทุกอย่าง เพียงแต่ยังไม่เร่ิม
กดชตั เตอรเ์ ดนิ ฟลิ ม์ หากการซอ้ มครงั้ นม้ี คี วามเขา้ ใจผดิ เชน่ ผแู้ สดงตคี วาม
บทผิด ระดับอารมณ์ยังไมถ่ งึ ใจ ก็จะมกี ารปรบั แต่งเพม่ิ เติมจนเป็นท่พี อใจ
เมอื่ ซอ้ มไดท้ แี่ ลว้ ผชู้ ว่ ยผกู้ า� กบั จะสง่ั คา� วา่ “พรอ้ ม” “ผแู้ สดงพรอ้ ม” ผแู้ สดง
จะขานรับว่า “พร้อม” “เสียงพร้อม” ผู้บันทึกเสียงขานรับว่า “พร้อม”
“กลอ้ งพรอ้ ม” ตากล้องจะขานรบั ว่า “พรอ้ ม” ผ้กู า� กบั ภาพยนตร์จะกล่าว

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนนิินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรริติตผผา่ ่านนสส่อื ื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์สน้ั ั้น 5๕3๓

ค�าว่า “แอคชนั่ ” หรอื “เล่นได้” ผ้แู สดงก็จะเล่นไป จนกระทั่ง “คัท” หรือ
“ตดั ” ทกุ คนกจ็ ะหยดุ แลว้ ถา่ ยครงั้ ท่ี ๒ (take ๒) อกี ครงั้ และถา่ ยไปเรอื่ ยๆ
จนพอใจ เมื่อได้ footage มาจนพอใจ ผู้ก�ากับภาพยนตรก์ จ็ ะดูแลงานใน
ขั้นการตัดต่อล�าดับภาพ การแต่งดนตรีประกอบ การท�าไตเต้ิล เอฟเฟค
พิเศษ การบันทึกเสียง และการเลือกและแต่งสีภาพยนตร์ จนภาพยนตร์
สา� เรจ็ ออกมา

๕๔ แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์ส้ัน

54 แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสรา้ งสรรค์ ต่อตา้ นการทุจริตผ่านส่อื ภาพยนตร์สั้น

ว๑ัด๓ค. วแาบมบรทู้ คดวสาอมบเขา้ ใจ

เรือ่ ง คณุ ลกั ษณะ ๕ ประกำรของโรงเรียนสุจรติ
ชือ่ นักเรยี น....................................................................................
โรงเรียน.........................................................................................
ชั้น.................................................................................................

lllllll

ค�ำช้ีแจง : แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนในเรื่อง
คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจริต มีจ�านวน ๑๐ ข้อ ข้อละ
๑ คะแนน ขอ้ ท่ถี กู ทีส่ ุดใหใ้ ช้ (คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน)

จดุ ประสงค์ : เพ่อื ตอ้ งการวัดความรู้ ความเข้าใจ ของนกั เรยี นในเรอื่ ง
คุณลักษณะ ๕ ประการ ของโรงเรียนสุจริตก่อนที่จะด�าเนินการท�า
ภาพยนตรส์ ัน้ ตอ่ ต้านการทจุ ริต

๑. คุณลักษณะของโรงเรยี นสจุ รติ คือข้อใด
ก. มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อย่อู ย่างพอเพยี ง
ข. มีทกั ษะการคดิ มคี วามซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ มจี ติ สาธารณะ มนี ้�าใจ
ใฝ่เรยี นรู้
ค. มีทกั ษะการคดิ มวี ินยั มีความซ่อื สัตย์สจุ รติ อยู่อยา่ ง
พอเพยี ง มีจติ สาธารณะ
ง. รักชาติ ซ่อื สตั ย์ มีวินยั อย่อู ยา่ งพอเพียง มจี ติ สาธารณะ

แแนนววททาางงกกาารรดดำ��าเเนนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททจุ ุจรติริตผผ่าน่านสสื่อ่ือภภาพาพยนยนตรต์สร้ัน์สั้น 5๕5๕

๒. คุณลกั ษณะในข้อใดแสดงให้เห็นถึงควำมพอเพยี ง
ก. สุดานา� กระดาษ Reuse มาใชใ้ นการเขียนบทภาพยนตรส์ ัน้
ข. มานะเขยี นบทภาพยนตรส์ น้ั ใช้เวลาเช้าถงึ คา่�
ค. มานีและประภาใชก้ ล้องวีดิโอมอื สองบนั ทึก ไม่ชดั ไม่เป็นไร
ง. ถูกทกขอ้

๓. ทกั ษะกำรคดิ อยำ่ งมคี ณุ ธรรมทถ่ี กู ต้องหมำยถึง
ก. คิด วเิ คราะห์ แยกแยะว่าท�าแลว้ ไดอ้ ะไรบา้ ง
ข. คดิ ได้อยา่ งส�าเร็จดงั ทห่ี วัง
ค. คิด วิเคราะห์ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
ง. วเิ คราะห์จากเร่ืองทีป่ ฏิบตั ิ อ่านแล้วใช้ความรสู้ ึกตดั สนิ

๔. ข้อใดเป็นคณุ ลกั ษณะของกำรมีวนิ ยั
ก. มาท�างานสายแล้วกลับบา้ นค�่าทกุ วัน
ข. ร่วมคิด ร่วมทา� ไม่เป็นระบบ
ค. ท�างานอย่างมีขนั้ ตอน
ง. เขา้ แถวรับประทานอาหารตามล�าดับความสูงต่า�

๕. ทกั ษะกำรมีจิตสำธำรณะจะเกดิ ขนึ้ กบั ผู้ที่มคี ุณลกั ษณะ
ควำมสุจิตในขอ้ ใด
ก. มุง่ ท�างานให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม
ข. ประหยัดโดยการปลกู ผกั ท่ีริมรวั้ ไว้กินเอง
ค. รับรขู้ า่ วสาร สามารถแยกแยะได้วา่ ถูกหรอื ผดิ
ง. ชอบช่วยเหลืองานในหมบู่ ้าน

๕๖ 56แนวทางแกนาวรทดา�างเนกาินรกดิจ�ำ กเนรรนิ มกสจิ รก้ารงรสมรสรรค้า์ งตส่อรตร้าคน์ ตก่อาตรทา้ นุจกริตารผท่าจุนรสิตื่อผภ่าานพสยือ่ นภตารพ์สย้ันนตรส์ ้ัน

๖. ขอ้ ใดแสดงถึงควำมซอื่ สตั ยส์ จุ ริตที่ถกู ต้อง
ก. ทา� งานตั้งใจ เสร็จเมอ่ื ไหร่กไ็ ด้
ข. พูดความจริง
ค. หวังดีหยิบกระเป๋าเพอื่ นไปเก็บให้
ง. จริงจังกบั การทา� งานไม่หลับไมน่ อน

๗. คณุ ลักษณะ ๕ ประกำรของโรงเรียนสจุ ริต ขอ้ ใด
คือพ้ืนฐำนของควำมดี
ก. มีวินัย
ข. มีความซือ่ สตั ย์สุจริต
ค. อยู่อยา่ งพอเพียง
ง. มจี ิตสาธารณะ

๘. คณุ ลกั ษณะของโรงเรียนสจุ ริตข้อใดเปน็ นสิ ัยพื้นฐำน
ที่จ�ำเปน็ ต้องฝึกใหเ้ ปน็ นสิ ยั
ก. มีจิตสาธารณะ
ข. มีวนิ ัย
ค. มีทักษะกระบวนการคิด
ง. อย่อู ย่างพอเพยี ง

๙. ข้อใดคือหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ก. ความรู้ คุณธรรม ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง
ข. มเี หตุผล มีความพอประมาณ สร้างภูมคิ มุ้ กนั ทด่ี ี

แแนนววททาางงกกาารรดด�ำ �าเนเนินินกจิกกิจรกรรมรมสรสา้รง้าสงรสรรคร์คต์ ่อตต่อ้าตน้ากนากราทรจุทรุจิตรผิตา่ ผน่าสน่อื สภ่ือาภพายพนยตนรต์สรนั้ ์ส้ัน 5๕7๗

ค. มมมคงคีคีคี ..วณวุ าามมมธมมคีคีีครรพวุณวรู้าาอมธมมปรรพรรมู้ อะมีคมปวารามณะมคี มรวมู้าาณเีมอหรยตมู้แู่ ผุ ีเอบหลยบตแู่มพผุ บภี อลบูมเพมพิคภียีมุ้องมูกเพคินั ซียุม้ท่ืองก่ดี สันี ซัตมทอ่ืยีค่ีดส์ุณี ตัมมธยคีีวร์นิุณรมัยมธวี รนิ รยัม
ง.

๑๐.๑อขกงค.๐...ยวใปถูแ่.ชาขงกคอูกบฏ้ทง....ยทิบบแรวถใปแู่กุัตพผชพั าูกบฏขิตน้ทงอยทอ้ิบบนแกราเกุพตัพผัพกแาขติรนลียรอยอ้เอนะงกาเรพยตกแาียห่ารดัลียรนมงเอะสงบรปำยตินยีนหยรา่ดันใพะมถงจสบหป้ืนงึดำนิ นอยยรฐ้วใพะัดะยาถจหนไื้นคงึดรคอยควฐว้ ้มุ าดัะยวาคมนไาครค่ามรควมุ้อราวคู้บมาา่มรคอรอู้บบคอบ

ข้อเฉขลอ้ ยเ๕๓๑๒๔ฉ.....ลยคคกงค๒๔๓๕๑..... ค ๑๖๙๘๗.๐... .ขกขค๑๙๖๗๘ง...๐. .ขคขกง





๕๘ ๕5๘8แนวทาแงแนกนวาทวรทดาง�าาเกงนกาินราดรกด�าิจเำ�กนเนรินรนิ กมกิจสจิกรกร้ารรงรมสมสรสรรรค้าา้ง์ งตสส่อรรรตรค้าค์น์ตตก่อ่อาตรต้าท้านนุจกรกาิตารรผทท่าุจนุจรรสิติตื่อผผภ่าา่ านนพสสยื่อื่อนภภตาารพพ์สยย้ันนนตตรร์ส์ส้ัน้ัน

๑๔. แบบประเมนิ ผลงาน
การเขยี นเร่อื งสนั้ ตอ่ ต้าน
การทุจรติ

เรื่อง คุณลกั ษณะ ๕ ประกำรของโรงเรียนสจุ รติ
ชอื่ นกั เรยี น....................................................................................
โรงเรยี น.........................................................................................
ช้นั .................................................................................................

lllllll

คำ� ชแี้ จง : แบบประเมนิ ผลงานการเขยี นเรอ่ื งสน้ั ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ
ของนักเรยี น เพื่อตอ้ งการทราบวา่ นกั เรียนสามารถเขียนเรือ่ งสนั้ ได้ถูกตอ้ ง
ตามหลักเกณฑแ์ ละสอดคล้องกับการต่อตา้ นการทจุ ริต และ คุณลกั ษณะ
๕ ประการของโรงเรียนสุจริตหรือไม่ อยู่ในระดับคุณภาพใด โดยมีเกณฑ์
การวดั ระดับคุณภาพ ดังน้ี

ระดับ ๕ หมายถึง เขยี นเรอ่ื งสั้นมีคุณภาพมากท่ีสุด
ระดบั ๔ หมายถงึ เขียนเรื่องสนั้ มคี ุณภาพมาก
ระดับ ๓ หมายถึง เขยี นเรื่องสั้นมคี ณุ ภาพปานกลาง
ระดบั ๒ หมายถึง เขียนเรือ่ งส้นั มคี ณุ ภาพนอ้ ย
ระดับ ๑ หมายถงึ เขียนเรอ่ื งสน้ั มีคณุ ภาพน้อยทส่ี ดุ

แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสรา้ งสรรค์ ตอ่ ต้านการทุจรติ ผ่านสอื่ ภาพยนตร์สัน้ 59

ลำ� ดับที่ รำยกำรประเมิน ระดับคณุ ภำพ หมำยเหตุ
๕๔๓๒๑

๑ เร่อื งส้นั ทเี่ ขียนถูกตอ้ งตามรปู แบบและหลักเกณฑ์
๒ สามารถเขยี นเรอ่ื งสนั้ ได้สอดคล้องกับประเด็นการ

ต่อตา้ นการทจุ รติ
๓ สามารถเขยี นเรอื่ งสัน้ ไดส้ อดคลอ้ งกับคุณลักษณะ

๕ ประการของโรงเรยี นสจุ ริต
๔ สามารถเขียนเรอื่ งสน้ั ไดใ้ จความและสอ่ื สารไดช้ ัดเจน
๕ รปู แบบการเขยี นเรื่องสั้นถูกตอ้ ง
๖ มกี ารใช้ภาษาในการเขียนทถ่ี ูกตอ้ งและชัดเจน
๗ เน้อื หาการเขยี นมคี ุณประโยชน์ตอ่ การเสริมสรา้ ง

ความสจุ รติ และการต่อต้านทจุ ริต
๘ เน้ือหาการเขยี นเรือ่ งสนั้ มีความคดิ สรา้ งสรรคท์ ่ีดี
๙ มคี วามสะอาด เรียบร้อย
๑๐ เสร็จเรียบรอ้ ยภายในเวลาทกี่ า� หนด

๖๐ แแนนววททางางกกาารรดด�าำ�เนเนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์ ์ ตต่ออ่ ตต้า้านนกกาารรททุจจุ รริติตผผ่าา่ นนสสื่ออ่ื ภภาาพพยยนนตตรร์ส์ส้นั้ัน

60

๑๕. แบบทดสอบความรู้
ความเขา้ ใจในการจดั ท�าสอื่
ภาพยนตร์สน้ั

ค�ำช้ีแจง : ให้เลือกค�าตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว แล้วท�า
เครอ่ื งหมาย x ลงในกระดาษคา� ตอบ

๑. องค์ประกอบสำ� คญั ทข่ี ำดไม่ได้ของภำพยนตร์
คอื ขอ้ ใด
ก. ตวั ละคร สถานท่ี และเวลา
ข. บทละคร สถานที่ และเวลา
ค. ตัวละคร บทละคร และเวลา
ง. ตวั ละคร สถานท่ี และบทละคร

๒. ขอ้ ใดแสดงถึงบทถ่ำยทำ� (shooting script)
ก. บทภาพยนตรท์ ่เี ปน็ ขั้นตอนสุดท้ายของการเขียน
ข. บทภาพยนตรป์ ระเภทหนงึ่ ทอ่ี ธิบายด้วยภาพคล้าย
หนังสือการ์ตนู ใหเ้ ห็นความต่อเน่อื งของชอ็ ตตลอดท้งั เร่อื ง
ค. บทภาพยนตรท์ มี่ โี ครงเรอื่ ง บทพดู เปน็ การเลา่ เรอ่ื งทไี่ ดพ้ ฒั นา
มาแล้วอย่างมีขั้นตอน
ง. ถูกทกุ ข้อ

แนวทางการด�ำ เนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ตอ่ ต้านการทุจริตผ่านสอ่ื ภาพยนตรส์ น้ั 61

๓. ขน้ั ตอนกำรเขยี นบทภำพยนตรม์ ีกีข่ ้ันตอน
ก. ๔ ขน้ั ตอน
ข. ๕ ข้ันตอน
ค. ๖ ขั้นตอน
ง. ๗ ขั้นตอน

๔. ข้ันตอนแรกในกำรเริ่มเขียนบทภำพยนตร์สั้น คอื
ก. การก�าหนดประโยคหลักส�าคัญ (premise)
ข. การคน้ คว้าหาขอ้ มลู (research)
ค. การเขยี นเรื่องย่อ (synopsis)
ง. การเขยี นโครงเรื่องขยาย (treatment)

๕. ข้อใดกลำ่ วผดิ เกยี่ วกับบทภำพ (storyboard)
ก. เปน็ บทภาพยนตร์ประเภทหน่งึ ทอ่ี ธบิ ายดว้ ยภาพ
คลา้ ยหนงั สอื การต์ ูน
ข. มีความต่อเนือ่ งของชอ็ ตตลอดทัง้ เรอื่ งมคี า� อธบิ าย
ภาพประกอบ เสยี งต่างๆ
ค. เปน็ การเลา่ เร่อื งท่ไี ด้พัฒนามาแลว้ อยา่ งมีข้นั ตอน
ประกอบ ดว้ ยตัวละครหลกั
ง. ผิดทุกขอ้

62 แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์สั้น

62 แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ตอ่ ต้านการทจุ ริตผา่ นสื่อภาพยนตรส์ นั้

๖. บคุ คลส�ำคัญในกำรผลติ ภำพยนตร์สั้นมกี ่ตี �ำแหน่ง
ก. ๑
ข. ๒
ค. ๓
ง. ๔

๗. ขอ้ ใดเปน็ ขน้ั ตอนแรกกำรท�ำงำนของผู้จดั กำรสร้ำง
(Producer)
ก. เสนอโครงการต่อแหล่งทุน
ข. จดั หาทมี งาน
ค. คิดโครงการ
ง. จดั หาและคดั เลอื กผู้แสดง

๘. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ เทคนคิ กำรถ่ำยภำพ
ก. ถา่ ยแชไ่ ว้นานๆ เพ่อื ให้ไดภ้ าพทีส่ มบรู ณ์
ข. มองหาจดุ เด่นท่นี า่ สนใจ เพอื่ จะไดไ้ ม่พลาดเหตกุ ารณ์สา� คญั
ค. หาจุดจบทีท่ �าใหส้ นใจ
ง. ถอื กล้องน่งิ ๆ กลน้ั หายใจ ขณะกด Record

แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์ส้ัน ๖๓

แนวทางการดำ�เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ตอ่ ต้านการทุจรติ ผา่ นสอ่ื ภาพยนตร์สัน้ 63

๙. ข๙้อ.ใดขค้อวใดรค�ำวนรคงึ ใ�ำนนกึงำใรนหกำสรหถำนสทถำถ่ี นำ่ ทยทถี่ ำ�่ ยท�ำ
ก. ใกล. ้ทใกี่ทลา� ้ทงาที่ นา� งาน
ข. มขีค.วามมคี หวลามากหหลลากายหลาย
ค. มคคี .วามมคี สวะาดมวสกะดวก
ง. ถงูก.ทถุกกูขทอ้ ุกข้อ

๑๐.๑ข๐้อใ.ดขเอ้ ปใน็ ดขเปัน้ น็ ตขอ้ันตแอรกนกแำรรกทกำ� งรำทนำ� ขงำอนงผขูก้อ�ำงกผับกู้ �ำภกำับพภยำนพตยรน์ ตร์
ก. วกิเค. รวาิเะคหรภ์าะมู หิ ภ์ลมูังติหัวลลังะตควั รละคร
ข. เขข้า.ใจเขบา้ ทใจอบยทา่ งอแยต่ากงฉแาตนกฉาน
ค. กคา� .หนกดา� หรูปนแดบรปูบแขบอบงงขาอนงงาน
ง. แงบ.ง่ บแทบเ่งปบ็นทชเปว่ งน็ ช่วง

ขอ้ เฉขลอ้ ยเฉลย ๖. ๖ข. ข
๑. ๑ง. ง ๗. ๗ค. ค
๒. ๒ง. ง ๘. ๘ก. ก
๓. ๓ง. ง ๙. ๙ง. ง
๔. ๔ข. ข ๑๐.๑ข๐. ข
๕. ๕ง. ง

6๔ 66๔4แนวทาแงแนกนวาทรวดทา�างาเกงนกาินราดรกด�าิจเ�ำกนเรนินรินมกกิจสิจกรกร้ารงรรมสมรสสรคร้าา้์งงตสส่อรรตรรค้าคน์ ์ตกต่อา่อตรต้าท้านุจนกรกาิตารผรทท่าุจนจุ รรสิติต่ือผผภ่า่าานนพสสย่ือื่อนภภตาารพพ์สยยั้นนนตตรร์ส์ส้ัน้ัน

๑๖. แบบประเมินผลงาน
การจัดท�าภาพยนตร์สั้น
ตอ่ ตา้ นการทุจริต

ชื่อผู้รับกำรประเมิน.......................................................................
โรงเรียน.........................................................................................
สงั กดั ..............................................................................................

ระดับการประเมนิ
ระดับโรงเรยี น
ระดับเขต
ระดบั ภูมภิ าค
ระดบั ประเทศ
ค�ำชี้แจง : แบบประเมินผลงานการจัดท�าภาพยนตร์สั้นต่อต้านการ
ทจุ รติ ของนกั เรยี นระดบั คณุ ภาพของผลงานในการจดั ทา� ภาพยนตรส์ นั้ โดย
มเี กณฑป์ ระเมนิ ดงั น้ี
- ผลงานที่มีคณุ ภาพดีเยยี่ ม ไดค้ ะแนน ตัง้ แต่ ๘๑ – ๑๐๐ คะแนน
- ผลงานที่มีคุณภาพดี ได้คะแนน ต้งั แต่ ๖๐ – ๘๐ คะแนน
- ผลงานทีม่ ีคุณภาพพอใช้ ได้คะแนน นอ้ ยกวา่ ๖๐ คะแนน

แแนนววททาางงกการด�า�ำ เนินกิจกรรมสรา้ งสรรค์ ต่อตา้ นกกาารรททุจุจรรติ ิตผผา่ ่านนสส่ือื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์ส้ัน้ัน ๖65๕

ที่ปรกึ ษำ คณะท�ำงำน

๑. นางรตั นา ศรเี หรญั .........................
๒. นายอนุสรณ์ ฟเู จริญ
๓. นายพธิ าน พน้ื ทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
๔. นายชวลติ โพธน์ิ คร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
ท่ีปรึกษา ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ผอู้ า� นวยการสา� นกั พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

คณะทำ� งำนจำกส�ำนกั งำน ป.ป.ช.

๑. นายอุทศิ บวั ศรี ผู้ช่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช.

๒. นายธติ ิ เมฆวณชิ ย์ ผ้อู �านวยการสา� นักป้องกันการทุจรติ ภาครฐั

๓. นายสมพจน์ แพง่ ประสิทธิ์ เจา้ พนักงานปอ้ งกันการทจุ รติ ช�านาญการพิเศษ

๔. นายภญิ โญยศ มว่ งสมมุข เจา้ พนักงานปอ้ งกนั การทจุ ริตปฏิบัตกิ าร

๕. นายเฉลมิ ชยั วงค์ บริรักษ์ เจา้ พนักงานป้องกนั การทุจริตปฏิบัติการ

๖. นายเทดิ ภูมิ ทัศนพิมล เจ้าพนกั งานป้องกันการทจุ ริตปฏบิ ตั กิ าร

คณะท�ำงำนจำก สพฐ. และ สพท.
๑. นายเดช ศิรนิ าม ผู้อ�านวยการ สพป.เชียงใหม่ เขต ๖

๒. นายโสธร บุญเลิศ รองผูอ้ �านวยการ สพม. เขต ๓๒

๓. นายอนริ ทุ ธ์ ล่ามพระยา รองผู้อ�านวยการ สพม. เขต ๓๔

๔. นายมณเฑียร มว่ งศรศี ักด์ิ รองผ้อู �านวยการ สพม. เขต ๓๙

๕. นางสาวสรรเสริญ สวุ รรณ์ ศึกษานิเทศก์ สพป.สิงห์บุรี

๖. นางสาวรชั นีวลั ย์ จุลบาท ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ศรีสะเกษ เขต ๓

๗. นายอินสวน สาธุเม ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.กาฬสนิ ธุ์ เขต ๑

6๖ แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านสื่อภาพยนตร์ส้ัน

66 แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสร้างสรรค์ ตอ่ ต้านการทุจริตผา่ นสือ่ ภาพยนตร์สนั้

๘. นางวันเพญ็ ศริ ิคง ศึกษานิเทศก์ สพป.นครสวรรค์ เขต ๓

๙. นายสมเกยี รติ ตงุ คะเสรรี กั ษ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๓

๑๐. นายศภุ กร มรกต ศึกษานิเทศก์ สพป.ราชบุรี เขต ๒

๑๑. นายนวิ ัฒน์ โชติสวัสดิ์ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๑

๑๒. นายอนันต์ แกว้ แจ้ง ศึกษานเิ ทศก์ สพป.พษิ ณโุ ลก เขต ๑

๑๓. นางจินดา ตุ่นหล้า ศกึ ษานิเทศก์ สพป.เชียงใหม่ เขต ๖

๑๔. นางธนพรรณ รอดกา� เหนดิ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.พจิ ติ ร เขต ๑

๑๕. นางณัฐพร พว่ งเฟือ่ ง ศึกษานเิ ทศก์ สพป.พษิ ณโุ ลก เขต ๓

๑๖. นายจีรศกั ด์ิ รสลอื ชา ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.สโุ ขทยั เขต ๒

๑๗. นางลาวลั ย์ ตรเี นตร ศึกษานเิ ทศก์ สพป.สมทุ รปราการ เขต ๑

๑๘. นางสาวกิ่งนภา สกลุ ต้งั ศึกษานเิ ทศก์ สพป.เลย เขต ๑

๑๙. นางสาวสภุ าภรณ์ กลั ยารตั น์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.มกุ ดาหาร

๒๐. นายพงษเ์ ทพ มนัสตรง ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ลา� พนู เขต ๑

๒๑. นายวินัย อสณุ ี ณ อยธุ ยา ศึกษานเิ ทศก์ สพป.อดุ รธานี เขต ๓

๒๒. นายอดุลย์ ผนิ โพ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.อบุ ลราชธานี เขต ๓

๒๓. นายธนบดีพิพัฒน์ ดา� นิล ครูโรงเรยี นบา้ นวงั คอไห สพป.ชยั นาท

๒๔. นายนิพนธ์ พรหมเมศร์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.สงขลา เขต ๒

๒๕. นางนปภา ศรเี อียด ศึกษานิเทศก์ สพป.ปัตตานี เขต ๑

๒๖. นางภาวนา นคั รามนตรี ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ปตั ตานี เขต ๒

๒๗. นางศริ งิ าม ภมู ทิ ัศน์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม. เขต ๑๑

๒๘. นายอานนท์ วงศ์วศิ ิษฏรงั สี ศกึ ษานิเทศก์ สพม. เขต ๒๙

๒๙. นายทวี บรรจง ศกึ ษานิเทศก์ สพม. เขต ๓๑

๓๐. นายพรี วฒั น์ เศวตพชั ร์ ศึกษานเิ ทศก์ สพม. เขต ๓๒

๓๑. นายทองคูณ หนองพร้าว ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม. เขต ๓๒

๓๒. นายวีระ อุตสาหะ ศกึ ษานิเทศก์ สพม. เขต ๓๔

แนวทางแกนารวดท�ำ าเนงกินากริจดก�ารเนรมินสกริจา้ กงรสรรมรคส์รต้า่องสตรา้ รนคก์ าตร่อทตุจ้ารนติ กผาา่ รนทสุจอื่ รภิตาผพ่ายนนสต่ือรภ์สา้ันพยนตร์ส6ั้น7 ๖๗

๓๓. นายแสนศักด์ิ มีสิทธิ์ นิตกิ ร สพป.นครศรธี รรมราช เขต ๔

๓๔. นางพศิ มยั สวุ รรณมาโจ นักวิชาการศกึ ษา สพป.นครพนม เขต ๒

๓๕. นายณัฐพล คุ้มวงศ์ นกั วชิ าการศกึ ษา สพป.มหาสารคาม เขต ๓

๓๖. นายวเิ ชยี ร ศิริคง ผู้อ�านวยการโรงเรยี นอนบุ าลตากฟา้

สพป.นครสวรรค์ เขต ๓

๓๗. นายเสวก บญุ ประสพ ผู้อ�านวยการโรงเรียนดงซ่อมวทิ ยาคม

สพป.ตาก เขต ๑

๓๘. วา่ ทร่ี อ้ ยโทกมั พล ผลพฤกษา ผอู้ า� นวยการโรงเรยี นบา้ นแกว้

สพป.จนั ทบรุ ี เขต ๑

๓๙. นายไกรสร พิมพป์ ระชา ผอู้ �านวยการโรงเรยี นบา้ นแบง

สพป.หนองคาย เขต ๒

๔๐. นายธนกฤติ พรมบตุ ร ผู้อ�านวยการโรงเรยี นบ้านโคกเฟือง

สพป.บุรีรมั ย์ เขต ๓

๔๑. นายวิโรจน์ ฉายชวู งษ์ ผู้อ�านวยการโรงเรยี นบา้ นแปรง

สพป.นครราชสีมา เขต ๕

๔๒. นายสทิ ธพิ งศ์ สงั่ ศร ผอู้ �านวยการโรงเรียนบา้ นตะครอ้

สพป.นครสวรรค์ เขต ๓

๔๓. นางเพญ็ ศรี ศรสี ุนารถ ผู้อ�านวยการโรงเรียนบา้ นเขวาทุ่ง

สพป.มหาสารคราม เขต ๒

๔๔. นายสมบูรณ์ ขนุ ไพชิต ผู้อา� นวยการโรงเรยี นสา� นักสงฆ์ศรวี ชิ ยั

สพป.สงขลา เขต ๑

๔๕. นายสมพร นาคพทิ ักษ์ ผอู้ �านวยการโรงเรียนบา้ นปงสนุก

สพป.ล�าปาง เขต ๑

๔๖. นายนุศษิ ย์ พรชวี โชติ ผูอ้ า� นวยการโรงเรยี นชุมชนบ้านเสิงสาง

สพป.นครราชสมี า เขต ๓

66๘8 แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททจุุจรรติิตผผ่า่านนสสอื่่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สัน้ ั้น

๔๗. นายพลธาวนิ วชั รทรธา� รงค์ ผอู้ า� นวยการโรงเรยี นวดั หนองบอนแดง

สพป.ชลบรุ ี เขต ๑

๔๘. นายวิชิต เตม็ นลิ ผูอ้ �านวยการโรงเรียนวดั บา้ นแหลมโตนด

สพป.พทั ลงุ เขต ๑

๔๙. วา่ ทรี่ อ้ ยตรี ประเสรฐิ รจุ ริ า ผอู้ า� นวยการโรงเรยี นบา้ นยางนา�้ กลดั ใต้

สพป.เพชรบรุ ี เขต ๑

๕๐. นายกนก จา� ปามลู ผู้อ�านวยการโรงเรียนหนองขามนาดี

สพป.นครราชสีมา เขต ๖

๕๑. นายสุพรรณ์ แก้วนสิ ยั ผู้อ�านวยการโรงเรยี นสมสะอาดพทิ ยาสรรพ์

สพป.กาฬสนิ ธ์ุ เขต ๓

๕๒. นายขวญั ใจ อุดมรตั น์ ผ้อู า� นวยการโรงเรยี นบา้ นแกวทิ ยาคม

สพป.กาฬสินธุ์ เขต ๒

๕๓. นายภานุพงศ์ นวลบญุ มา ผู้อา� นวยการโรงเรยี นบ้านผือ (สวสั ดริ์ าษฎรว์ ิทยา)

สพป.ขอนแกน่ เขต ๑

๕๔. นางนริ มล บัวเนียม ผู้อา� นวยการโรงเรยี นวดั เจา้ มลู

สพป. กรงุ เทพมหานคร

๕๕. นายอสิ มาน มวุ รรณสินธุ์ ผอู้ �านวยการโรงเรียนประชาบ�ารงุ

สพป.นราธวิ าส เขต ๓

๕๖. นางอา� พร สุทธงั ผูอ้ า� นวยการโรงเรียนชุมชนบ้านปลาขาว

สพป.อุบลราชธานี เขต ๕

๕๗. นางอมรรัตน์ เชงิ หอม ผอู้ า� นวยการโรงเรยี นบา้ นหาดแพง (หาดแพงวทิ ยา)

สพป.นครพนม เขต ๒

๕๘. นายนรงค์ โสภา ผู้อา� นวยการโรงเรยี นวัดศรสี าคร สพป.สิงหบ์ ุรี

๕๙. นายนิพนธ์ ยศดา ผู้อา� นวยการโรงเรยี นดงบังพสิ ัยนวการนุสรณ์

สพม.เขต ๒๖

แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรรา้้างงสสรรรรคค์ ์ ตตอ่ ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรริติตผผา่ ่านนสสื่อ่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สน้ั ั้น 6๖9๙

๖๐. นางสาวองั คณา นารีสาร รองผ้อู �านวยการโรงเรียนเมืองวทิ ยาคาร

สพม. เขต ๒๙

๖๑. นางพชั ภสั สร เสนทัพพระ รองผ้อู �านวยการโรงเรยี นสรุ นารีวทิ ยา

สพม. เขต ๓๑

๖๒. นายดลิ ก ราตรี ครู โรงเรียนดงยางวิทยาคม สพม. เขต ๒๙

๖๓. นายจ�าลอง นว่ มน่มุ ครู โรงเรยี นวดั ปากคลอง (ประปามหาราช) ๓

สพป.พระนครศรอี ยุธยา เขต ๑

๖๔. นายยรรยงค์ ดา� รงค์ศกั ด์ิ ครู โรงเรียนบ้านพันเสา สพป.พิษณุโลก เขต ๑

๖๕. นายวันเฉลมิ วุฒศิ ิษฏส์ กลุ ครู โรงเรียนบ้านนกงาง สพป.ระนอง

๖๖. นายอุดรพัฒน์ บุญมา ครู โรงเรยี นบ้านนาฟ่อน สพป.เชียงใหม่ เขต ๕

๖๗. นางอังสนา พไิ สยสามนตเ์ ขต

ครู โรงเรยี นราชวินิต มัธยม สพม. เขต ๑

๖๘. นายพงศธร ผา่ นสา� แดง ครู โรงเรยี นดงบงั พสิ ยั นวการนสุ รณ์ สพม. เขต ๒๖

๖๙. นายฉตั ยา สารวี ลั ย์ ครู โรงเรยี นวารินชา� ราบ สพม. เขต ๒๙

๗๐. นายมงคล ปญั ญารัตน์ ครู โรงเรยี นยุพราชวิทยาลัย สพม. เขต ๓๔

๗๑. นายอนรุ ักษ์ ปาทา ครู โรงเรยี นไชยปราการ สพม. เขต ๓๔

๗๒. นางสุนันท์ ธาราศกั ด์ิ ครู โรงเรยี นไชยปราการ สพม. เขต ๓๔

๗๓. นายไพทูรย์ ไวยธัญกจิ ครู โรงเรียนพระบางวิทยา สพม. เขต ๔๒

๗๔. นายสพลกิตติ์ สงั ขท์ ิพย์ ครู โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิ สพม. เขต ๔๒

๗๕. นายฐาปณฐั อุดมศรี ครู โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ สพม. เขต ๔๒

๗๖. นายศิวกร รัตติโชติ นกั ทรัพยากรบุคคล กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร

๗๗. นางสาวจฬุ าลกั ษณ์ ทรพั ยส์ ทุ ธิ

นกั วิชาการศกึ ษา กล่มุ พัฒนาระบบบริหาร

๗๘. นางวันดี จิตรไพวรรณ นักวิชาการศึกษาสา� นกั ติดตาม

และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา

๗7๐0 แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำเนเนินินกกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรริตติ ผผ่าา่ นนสสื่ออื่ ภภาาพพยยนนตตรร์ส์ส้ัน้ัน

๗๙. นายคู่บุญ สกุนตนาค นักวิชาการศึกษา

สา� นักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา

๘๐. นางเกศกญั ญา อนกุ ลู นกั วิชาการศึกษา

สา� นกั พัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา

๘๑. นายภูธร จนั ทะหงษ์ ปณุ ยจรัสธา� รง

ผู้อ�านวยการกล่มุ บริหารทั่วไป

สา� นกั พฒั นานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา

๘๒. นายจกั รพงษ์ วงคอ์ า้ ย นักวชิ าการศึกษา

ส�านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

๘๓. นางพิชชาภา วรวทิ ยาการ เจา้ พนักงานธุรการ

ส�านกั พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

๘๔. นายสุจติ รา พิชัย เจา้ พนักงานธุรการ

ส�านกั พัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา

๘๕. นายบุญช่วย เหมศกั ด ์ิ พนกั งานธุรการ

ส�านักพัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา

๘๖. นางสมลติ ร ไพรเถอ่ื น พนักงานธุรการ

ส�านกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา

๘๗. นางเนตรทราย แสงธปู พนักงานธุรการ

สา� นกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา

๘๘. นางสาวศรัญญา โชต ิ พนกั งานบันทึกข้อมูล

สา� นักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา

๘๙. นางจณิ ห์นิภา ด�าสนทิ พนักงานบันทึกขอ้ มูล

ส�านกั พัฒนานวตั กรรมการจดั การศึกษา

๙๐. นางวชั รนิ ทร ์ ทองวิลัย พนกั งานพิมพ์ดีด

สา� นกั พัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา

แนวทแางนกวาทราดง�ำ กเนารนิ ดก�าจิ เกนรินรกมิจสกรรา้ รงมสรสรรค้า์งตสอ่รตรค้าน์ ตก่อารตท้านจุ รกติาผรท่านุจสริตอ่ื ผภ่าานพสย่ือนภตารพ์สัน้ยนตร์ส้ัน71 ๗๑

๙๑. นายบดนิ ทร ์ วรวสุ พนกั งานพิมพด์ ดี
ส�านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา
๙๒. นางสาวจฑุ ารัตน ์ กอ๋ งคา� พนักงานพมิ พด์ ีด
สา� นกั พัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา
๙๓. นางสาวมณธิกา จติ ตส์ อาด เจา้ หนา้ ท่บี ริหารทัว่ ไป
ส�านักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
๙๔. นายสหสั พล ษรบัณฑติ เจา้ หน้าท่บี รหิ ารทว่ั ไป
ส�านักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา

๗7๒2 แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำเเนนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตต่ออ่ ตต้า้านนกกาารรททจุุจรริติตผผ่า่านนสส่อื่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สน้ั ั้น


Click to View FlipBook Version