The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์สื่อภาพยนตร์ส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์สื่อภาพยนตร์ส

แนวดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์สื่อภาพยนตร์ส

แนวทางการดา� เนนิ กิจกรรม
สรา้ งสรรค์ต่อต้านการทุจริต

ผ่านสือ่ ภาพยนตร์ส้ัน

(แนวทางการด�าเนนิ กิจกรรมภาพยนตร์ส้นั )

แนวทางการดาํ เนินกจิ กรรมสรา งสรรค
ตอ ตา นการทุจรติ ผานส่อื ภาพยนตรส ั้น

(แนวทางการดําเนินกิจกรรมภาพยนตรสัน้ )

ISBN 978-616-395-654-5

พิมพครง้ั แรก กธนัุมวภาาคพมันธ๒์ ๒๕๕๘๕๙
จํานวนพมิ พ ๓,๐๐๐ เลม

ผู้รับผิดชอบ โครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
การจดั พิมพ์ “ปองกนั การทจุ ริต” (โครงการโรงเรียนสจุ ริต)
สํานักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

พิมพท์ ี่ โรงพมิ พส าํ นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง ชาติ
๓๑๔-๓๑๖ ซอยบา นบาตร แขวงบานบาตร
เขตปอมปราบศัตรพู า ย กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐
โทรศัพท ๐๒-๒๒๓-๓๓๕๑

คา� นา�

ปัจจุบันโรงเรียนที่เข้าโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและ
ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกนั การทจุ รติ ” (โครงการโรงเรียนสจุ ริต)
ไดด้ า� เนนิ การจดั กจิ กรรมเพอ่ื ปลกู ฝงั ใหน้ กั เรยี นเกดิ คณุ ลกั ษณะ 5 ประการ
ของโรงเรียนสุจริต ได้แก่ ทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซ่ือสัตย์สุจริต
อย่อู ยา่ งพอเพยี ง และจติ สาธารณะ ซง่ึ กจิ กรรมที่จดั ขนึ้ อยกู่ ับความพรอ้ ม
และบริบทของโรงเรียน เช่น กิจกรรมค่ายเยาวชน “คนดีของแผ่นดิน”
กจิ กรรมการเรยี นรทู้ บี่ รู ณาการในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมโครงงาน
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ต่างๆ เป็นต้น แต่มีกิจกรรม
หน่ึงซ่งึ เปน็ ท่ีนยิ มอย่างแพร่หลายเหมาะกบั คนทุกวัย ได้แก่ ภาพยนตร์สน้ั
ซึ่งเป็นสื่อที่บุคคลสามารถเห็นภาพประกอบได้ชัดเจน สอดแทรกความรู้
เก่ียวกบั คุณลักษณะต่างๆ ของโรงเรียนสุจรติ รวมถึงใหแ้ ง่คดิ ในเรอื่ งต่างๆ
ได้เป็นอย่างดี และเป็นการฝึกทักษะกระบวนการคิดให้แก่นักเรียนต้ังแต่

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรรา้้างงสสรรรรคค์์ ตตอ่่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรริติตผผ่า่านนสสื่อ่ือภภาาพพยยนนตตรร์ส์ส้ันั้น ( ก(ก))

การศึกษาปัญหาของหัวข้อท่ีจะผลิตภาพยนตร์ส้ัน การเขียนบท
ภาพยนตร์ส้ันการถา่ ยท�า การแสดง การหาสถานทีถ่ ่ายทา� และการตัดต่อ
จนเปน็ ภาพยนตรส์ น้ั ทนี่ า� มาเผยแพรแ่ ละแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ บั โรงเรยี นอน่ื ๆ
ไดเ้ ปน็ อย่างดี

ส�านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ส�านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เห็นความส�าคัญของการปลูกฝังคุณลักษณะ
5 ประการของโรงเรียนสุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์ส้ัน จึงได้จัดท�าเอกสาร
แนวทางการดา� เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสรรคต์ อ่ ตา้ นการทจุ รติ ผา่ นสอื่ ภาพยนตร์
สั้นข้ึน เพ่ือให้โรงเรียนและผู้เก่ียวข้องน�าไปใช้เป็นแนวทางในการ
จดั กจิ กรรมใหแ้ กน่ ักเรียนตอ่ ไป

สา� นกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา
ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

( ก(ข)) แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำเเนนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้าา้ นนกกาารรททจุุจรรติิตผผา่่านนสสอื่ื่อภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สั้นั้น

สารบัญ

ค�าน�า ก
สารบัญ ค
คา� ชี้แจง จ
กรอบแนวคดิ ๑
แผนภมู ิการดา� เนินกิจกรรม ๒
วตั ถปุ ระสงค์ ๓
แนวทางการดา� เนินกจิ กรรม ๓
การวัดผลและประเมนิ ผล ๔
ความสอดคล้องกับคณุ ลักษณะ 5 ประการของโรงเรยี นสุจริต ๖
การรายงานผล ๘
การประกวดกจิ กรรม/แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ๘
บรรณานกุ รม ๑๕
ภาคผนวก ๑๗
๒๐
๑. คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นสุจริต ๒๐
๕ ประการ ๒๔

๒. แนวการเขียนบทภาพยนตร์สัน้ จากเรอื่ งสั้น
๓. เทคนคิ การถา่ ยวิดโี อ

แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เนเนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้าา้ นนกกาารรททุจุจรริติตผผา่่านนสส่อื่ือภภาาพพยยนนตตรร์ส์สัน้ ้ัน ( ข(ค))

๔. ขนาดภาพและมมุ กล้อง ๒๖
๕. การเคลอ่ื นกล้อง ๓๓
๖. การจัดแสง ๓๕
๗. บคุ ลากรส�าคญั ส�าหรับภาพยนตร์ส้ัน ๔๐
๘. การหาสถานท่ีถ่ายท�า ๔๓
๙. ขอ้ ควรคา� นงึ ในการหาสถานท่กี ารถา่ ยท�า ๔๔
๑๐. ความเหมะสมในแง่ศลิ ปะ ๔๕
๑๑. การคดั เลือกผแู้ สดง ๔๗
๑๒. การกา� กับภาพยนตร์ ๕๐
๑๓. แบบทดสอบวดั ความรู้ ความเขา้ ใจ ๕๕
๑๔. แบบประเมนิ ผลงานการเขียนเรื่องสน้ั ๕๙
๖๑
ต่อตา้ นการทุจรติ ๖๕
๑๕. แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ

ในการจัดทา� สือ่ ภาพยนตรส์ ั้น
๑๖. แบบประเมินผลงานการจัดท�า

ภาพยนตร์สนั้ ต่อตา้ นการทจุ ริต

(ง) แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสร้างสรรค์ ตอ่ ต้านการทจุ รติ ผ่านสอ่ื ภาพยนตรส์ ั้น

คา� ช้แี จง

สา� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ตระหนักถึงความส�าคัญของการป้องกันการทุจริต
จึงมอบหมายให้ ส�านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
ด�าเนินงานโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธร รมาภิบาล ใน
สถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) เพ่ือปลูก
จิตส�านึกให้นักเรียน สังกัดส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ทุกคนมีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีทักษะกระบวนการคิด มีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และจิตสาธารณะ ยึดม่ันในคุณธรรม
จรยิ ธรรม ควบคกู่ บั การพฒั นาครู ผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรทางการศกึ ษา โดย
ให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการด�าเนินงาน เพื่อให้เกิดความ
โปร่งใส เสมอภาคและเปน็ ธรรม รวมทั้งการฝึกปฏบิ ตั ิ ใหน้ ักเรียนมที ักษะ
กระบวนการคิด เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
อนั จะนา� มาซ่งึ การปลกู ฝัง ให้นักเรียนเปน็ คนทม่ี คี วามซ่ือสตั ยส์ ุจริต

ส�านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาได้ด�าเนินโครงการเสริมสร้าง
คณุ ธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “ป้องกันการทุจริต”
(โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ) ตงั้ แตป่ งี บประมาณ ๒๕๕๖ โดยไดด้ �าเนนิ กจิ กรรม
เพอื่ พฒั นาผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู นกั เรยี นและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางของ “ปฏญิ ญาโรงเรยี นสจุ รติ ”
ท้ัง ๓ ด้านได้แก่ ดา้ นการปอ้ งกัน ด้านการปลูกฝัง และดา้ นการสรา้ งเครือ
ข่ายให้กบั โรงเรียนสุจรติ ต้นแบบ จ�านวน ๒๒๕ โรงเรียน และดา� เนินการ
ขยายเครอื ขา่ ยโรงเรยี นสุจรติ เพม่ิ ขึ้นร้อยละ ๑๐ ในปงี บประมาณ ๒๕๕๗

แแนนววททาางงกกาารรดด�ำ �าเนเนนิ ินกิจกกิจรกรรมรมสรส้ารง้าสงรสรรคร์คต์ ่อตต่อา้ตน้ากนากราทรจุทรุจติ รผิตา่ ผน่าสนือ่ สภ่ือาภพายพนยตนรตส์ ร้ัน์ส้ัน ((จง) )

ส�าหรับปีงบประมาณ ๒๕๕๘ จะขยายเครือข่ายโรงเรียนสุจริตเพ่ิมขึ้นอีก
รอ้ ยละ ๒๐ ของจา� นวนโรงเรยี นในสงั กดั สา� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขัน้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ จะขยายเครอื ข่ายโรงเรยี นสจุ รติ เพ่ิมข้ึน
อกี รอ้ ยละ ๓๐ นอกจากน้ี ในปงี บประมาณ ๒๕๖๐ สา� นกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานกา� หนดเปา้ หมายทจี่ ะขยายเครอื ขา่ ยใหท้ กุ โรงเรยี นใน
สงั กดั เขา้ รว่ มโครงการโรงเรยี นสจุ รติ ครบทกุ โรงเรยี น รวมทงั้ ส�านกั งานเขต
พน้ื ทก่ี ารศกึ ษาทกุ เขต จะตอ้ งเขา้ รว่ มโครงการสา� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
สุจริตตามนโยบาย “สพฐ. ใสสะอาด ปราศจาก คอร์รัปชนั ” และจะตอ้ ง
รบั การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดา� เนนิ งานของหนว่ ยงาน
ภาครัฐ (ITA) จากส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ
ส�านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
(สา� นกั งาน ป.ป.ช.)

เพอื่ เปน็ การเตรยี มการรองรบั การขยายตวั ของเครอื ขา่ ยโรงเรยี นสจุ รติ
และสา� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาสจุ รติ ทจี่ ะเพม่ิ ขนึ้ สา� นกั พฒั นานวตั กรรม
การจัดการศึกษา จึงด�าเนินการจัดท�าเอกสารคู่มือแนวทางการด�าเนิน
กิจกรรม ตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ใน
สถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) เพ่ือใช้
เป็นเคร่ืองมือในการชี้แจงและสร้างความเข้าใจให้กับบุคลากรทุกคนใน
โรงเรียนและส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาท่ีเข้าร่วมเป็นเครือข่ายโรงเรียน
สจุ รติ ไดศ้ กึ ษาและใชเ้ ปน็ แนวทางในการดา� เนนิ งานเพอ่ื ปลกู ฝงั ใหน้ กั เรยี น
และบุคลากรทางการศกึ ษาเกดิ คณุ ลักษณะ ๕ ประการ ของโรงเรยี นสุจริต
ไดแ้ ก่ ทักษะกระบวนการคิด มวี ินยั ซอ่ื สัตย์สจุ รติ อยู่อย่างพอเพยี ง และ
จติ สาธารณะ
( (จฉ)) แแนนววททางางกการารดด�า�ำเนเนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์ ์ ตต่อ่อตต้าา้ นนกกาารรททุจจุ รริติตผผ่าา่ นนสสื่ออื่ ภภาาพพยยนนตตรร์ส์สน้ั้ัน

เอกสารคู่มือแนวทางการด�าเนินกิจกรรมตามโครงการเสริมสร้าง
คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “ป้องกันการทุจรติ ”
(โครงการโรงเรียนสุจริต) ประกอบด้วยเอกสารด�าเนินกิจกรรมส�าหรับ
ส�านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสุจริตจ�านวน ๔ เรื่อง เอกสารการด�าเนิน
กิจกรรมส�าหรับโรงเรยี นทีเ่ ข้าโครงการโรงเรยี นสุจรติ จา� นวน ๙ เรื่อง และ
เอกสารประกอบการประเมินส�านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสุจริตและ
โรงเรยี นสจุ ริต จ�านวน ๓ เร่อื ง ดงั น้ี

๑. เอกสารแนวทางการด�าเนินกิจกรรมส�าหรับส�านักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาสจุ ริต ประกอบด้วย

๑.๑ แนวทางการด�าเนนิ งานส�านกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
สุจรติ

๑.๒ แนวทางการด�าเนนิ กิจกรรมเกณฑม์ าตรฐานส�านกั งาน
เขตพื้นท่ีการศกึ ษาสจุ รติ

๑.๓ แนวทางการด�าเนินกจิ กรรม ป.ป.ช. สพฐ. จังหวัด
๑.๔ แนวทางการดา� เนนิ กจิ กรรมสง่ เสริมและพัฒนา

สา� นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาสุจริต
๒. เอกสารแนวทางการดา� เนินกิจกรรมส�าหรับโรงเรยี นสจุ ริต

ประกอบด้วย
๒.๑ แนวทางการด�าเนินงานโรงเรยี นสุจรติ
๒.๒ แนวทางการดา� เนินกจิ กรรมเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน

สุจริต
๒.๓ แนวทางการด�าเนินกิจกรรม ป.ป.ช. สพฐ. น้อย/

ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน

แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านสื่อภาพยนตร์สั้น ( (ฉช))
แนวทางการดำ�เนินกจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ตอ่ ตา้ นการทจุ ริตผ่านสื่อภาพยนตร์สัน้

๒.๔ แนวทางการด�าเนินกจิ กรรมถอดบทเรียน
(Best Practice)

๒.๕ แนวทางการดา� เนินกจิ กรรมค่ายเยาวชน
“คนดีของแผน่ ดนิ ”

๒.๖ แนวทางการด�าเนนิ กจิ กรรมบรษิ ัทสรา้ งการดี
๒.๗ แนวทางการดา� เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสา� นกึ พลเมอื ง

(Project Citizen)
๒.๘ แนวทางการดา� เนินกิจกรรมสร้างสรรคต์ อ่ ตา้ น

การทจุ ริตผา่ นสอ่ื ภาพยนตร์ส้ัน
๒.๙ แนวทางการดา� เนินกิจกรรม การวิจยั ตามรปู แบบการพฒั นา
สถานศึกษา โครงการโรงเรียนสุจริต
๓. เอกสารคมู่ อื ทใี่ ชใ้ นการประเมินสา� นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
สจุ รติ และโรงเรยี นสุจริต ประกอบด้วย
๓.๑ คู่มอื การประเมนิ มาตรฐานสา� นกั งานเขตพืน้ ท่กี าร

ศึกษาสจุ ริต/โรงเรียนสุจรติ
๓.๒ คูม่ ือการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการ

ดา� เนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity &
Transparency Asscessment : ITA)
๓.๓ ค่มู อื การประเมินโรงเรียนพระราชทานความโปรง่ ใส
( ช ) แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์ส้ัน

(ซ) แนวทางการดำ�เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ต่อตา้ นการทจุ ริตผา่ นสอื่ ภาพยนตร์ส้ัน

๑. กรอบแนวความคดิ

ปจั จบุ นั ภาพยนตรน์ บั เปน็ สอ่ื บนั เทงิ ทก่ี า� ลงั ไดร้ บั ความนยิ มเปน็ อยา่ งมาก
เพราะเปน็ สอ่ื ทสี่ ามารถ เขา้ ถงึ บคุ คลไดท้ กุ เพศทกุ วยั อกี ทง้ั ยงั สามารถสอด
แทรกสาระความรู้ รวมถึงให้แง่คิดในเร่ืองต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งกว่าท่ี
ภาพยนตร์เร่ืองหน่ึงจะประสบความส�าเร็จได้น้ัน ต้องอาศัยการส่ังสม
ประสบการณ์ในการท�างานของผ้ผู ลิต ผกู้ า� กับ โดยหลายตอ่ หลายเรอื่ งได้
กลายมาเป็นภาพยนตร์ฟอร์มใหญ่ได้รับการยกย่องว่าประสบความส�าเร็จ
เด็กไทยในปัจจุบันนิยมการท�าภาพยนตร์สั้น ที่เราเรียกว่า “คลิป VDO”
เปน็ อยา่ งมากและแพรห่ ลายในหมวู่ ยั รนุ่ เนอื่ งจากเดก็ ไทยไมม่ วี ฒุ ภิ าวะใน
การใชส้ อ่ื แตค่ วามสามารถในการแบง่ ปนั ขอ้ มลู กนั สงู ทา� ใหเ้ กดิ ปญั หาสงั คม
ตามมา ซึง่ ขณะนส้ี ังคมเขา้ สูย่ คุ การหลอมรวมสอ่ื ทกุ ประเภท โดยผา่ นทาง
อินเตอร์เน็ต ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงได้ง่ายมาก โดยเฉพาะการถ่ายคลิป
วิดโี อ ถือเปน็ วฒั นธรรมใหม่ทีไ่ ดร้ ับความนิยมอย่างมาก

ส�านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา โดยโครงการเสริมสร้าง
คุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต”
(โครงการโรงเรียนสุจริต) ตระหนักถึงปัญหาท่ีเกิดข้ึนในหมู่วัยรุ่น จึงได้
กระตนุ้ และผลกั ดนั ใหน้ กั เรยี น ไดร้ ว่ มกนั คดิ ผลติ ภาพยนตรส์ นั้ ทสี่ รา้ งสรรค์
เพอื่ แสดงผลงานในโครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล
ในสถานศึกษา “ป้องกนั การทุจรติ ” (โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ) โดยเนน้ การ
สอดแทรกแนวคิดด้านการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม รวมถึงการปลูกฝัง
จิตส�านึกให้รักและหวงแหนศิลปวัฒนธรรมของชาติ ลงไปในเน้ือหาของ
ภาพยนตร์ อีกทั้งเพื่อเป็นเวทีในการแสดงออกของนักเรียนสร้างสรรค์

แแนนวทวทางากงการาดรด�าเ�ำ นเนินินกกิจจิกกรรรรมมสสรร้าา้งงสสรรรรคค์ ์ตต่อ่อตต้าา้ นนกกาารรททุจจุ รริตติ ผผ่า่านนสส่ืออ่ื ภภาาพพยยนนตตรร์ส์สั้นัน้ ( ๑1 )

ภาพยนตร์สน้ั ให้มพี ืน้ ทใ่ี นการนา� เสนอผลงานสสู่ าธารณชนอยา่ งเสรี เปน็
เวทีให้มวลชนและผู้ชมภาพยนตร์ได้มีทางเลือกในการชมภาพยนตร์ที่มี
เน้ือหาแตกต่างกนั อย่างหลากหลาย

แผนภมู กิ ารดา� เนินกิจกรรม
แนวทางการด�าเนนิ กจิ กรรมสร้างสรรคต์ ่อตา้ นการทุจรติ
ผา่ นสื่อภาพยนตร์สั้น

การผลติ ภาพยนตร์สั้น

ศึกษาสภาพปญหาของหัวขอทจ่ี ะผลติ ภาพยนตร์สนั้

ไมส มบูรณ์ ครูและนกั เรียน
รว มกันวิเคราะห์

สมบรู ณ์
ผลิตภาพยนตรส์ ้นั

ไมสมบรู ณ์ การแลกเปล่ียน สง ประกวด
เรยี นรู ระดบั เขต
ไมส ง ประกวด ระดบั ภาค
สมบูรณ์ ระดบั ประเทศ

เกยี รตบิ ตั ร

เผยแพรใ นโรงเรียน เกยี รติบตั ร
เกียรตบิ ัตร
เผยแพร
โล

๒2 แแนนววททางางกกาารรดด�าำ�เนเนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่ออ่ ตต้าา้ นนกกาารรททุจุจรริติตผผ่าา่ นนสสื่อือ่ ภภาาพพยยนนตตรร์ส์สัน้ั้น

๒. วัตถปุ ระสงค์

๒.๑ เพอื่ พฒั นาความสามารถและสง่ เสรมิ ศกั ยภาพของนกั เรยี นในการ
ผลติ สื่อภาพยนตรส์ ั้นตามคณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจริต

๒.๒ เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะพ้ืนฐานในการผลิตสื่อภาพยนตร์ส้ันที่ก่อ
ให้เกิดคณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสจุ รติ

๒.๓ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นรกู้ ระบวนการผลติ ภาพยนตรส์ น้ั ตาม
คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ รติ

๒.๔ เพ่ือเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลงานส่ือภาพยนตร์ส้ัน ตาม
คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ ริตตอ่ สาธารณชน

๓. แนวทางการด�าเนนิ กจิ กรรม

๓.๑ นักเรียนศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียนและชุมชน
เพื่อน�ามาเปน็ ข้อมลู ในการผลติ ส่ือภาพยนตรส์ น้ั

๓.๒ ครูและนักเรียนวิเคราะห์ สภาพปัญหาที่นักเรียนศึกษาเพื่อ
ตรวจสอบความครบถ้วนและความเหมาะสมของเน้ือหา เพื่อน�าไปผลิต
ส่ือภาพยนตร์ส้ันต่อไป ในกรณีที่เน้ือหายังไม่สมบูรณ์ให้นักเรียน
กลับไปศึกษาขอ้ มูลใหม่

๓.๓ น�าขอ้ มลู ทค่ี รบถว้ นสมบูรณ์มาเขียนเป็นเร่ืองส้ัน เพื่อน�ามาผลิต
เปน็ สือ่ ภาพยนตร์ส้ัน

๓.๔ ศึกษาองค์ความรู้เก่ียวกับการผลิตส่ือภาพยนตร์สั้น
(รายละเอียดตามภาคผนวก)

แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตตอ่่ ตตา้ นกกาารรททจุจรริติตผ่า่ นนสสอื่ ่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สัน้ ้ัน ๓3

๓.๕ น�าภาพยนตร์ส้ันมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในโรงเรียน เพื่อคัด
เลือกไปสู่ระดบั เขตพ้นื ท่ี ระดับภมู ิภาคและระดบั ประเทศ

๓.๖ ระดับโรงเรยี น ระดับเขตพนื้ ที่การศึกษา ระดบั ภมู ิภาค จะไดร้ บั
เกยี รตบิ ัตร สว่ นในระดับประเทศ ผ้ไู ดร้ บั รางวลั ๑-๓ จะไดร้ ับโล่

๓.๗ ภาพยนตร์สั้นท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเขตพื้นที่
ระดับภูมิภาค และระดับประเทศจะได้รับการเผยแพร่สู่โรงเรียนและ
ชมุ ชนต่อไป

๔. การวดั ผลและประเมินผล

เอกสารแนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ต่อต้านการทุจริตผ่าน
สอ่ื ภาพยนตรส์ น้ั จดั ทา� ขน้ึ เพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อนนา� ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการพฒั นา
นกั เรยี นใหม้ คี วามสามารถและสง่ เสรมิ ศกั ยภาพของนกั เรยี นในการผลติ สอ่ื
ภาพยนตร์ส้ันต่อต้านการทุจริตและสามารถน�าผลงานการผลิตไปใช้
ประโยชนใ์ นอนาคตได้ และกระบวนการจดั กจิ กรรมดงั กลา่ วนจี้ ะตอ้ งมกี าร
วัดผลและประเมินผล ตามกิจกรรมท่ีด�าเนินการ ซึ่งได้มีการวัดผลและ
ประเมินผล ๓ ประการ ดงั น้ี

๑. แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในคุณลักษณะ ๕ ประการของ
โรงเรียนสจุ ริต

๒. แบบประเมินผลงาน การเขยี นภาพยนตรส์ ้ัน
๓. แบบประเมินการจดั ทา� ภาพยนตรส์ ้ัน

๔4 แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำเนเนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์ ์ ตต่ออ่ ตต้าา้ นนกกาารรททุจจุ รริตติ ผผ่าา่ นนสสื่อือ่ ภภาาพพยยนนตตรรส์์สน้ัั้น

วตั ถุประสงค์ วธิ วี ัด เคร่อื งมือวดั เกณฑ์

๑. เพอ่ื พัฒนาความสามารถและส่งเสรมิ ทดสอบ แบบทดสอบ ผ่านร้อยละ ๘๐
ศกั ยภาพของนักเรียนในการผลิตส่ือ แบบประเมนิ
ภาพยนตร์ส้ันตามคณุ ลักษณะ
๕ ประการของโรงเรียนสจุ รติ ผลงาน
๑.๑ นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ
คุณลักษณะ ๕ ประการของ
โรงเรยี นสุจรติ
๑.๒ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสามารถเขยี นบท
ภาพยนตรส์ ้นั ตามคณุ ลกั ษณะ
๕ ประการ ของโรงเรยี นสุจริต

๒. เพื่อให้นักเรยี นมีทักษะพนื้ ฐานในการผลติ
ภาพยนตร์สั้น ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดคณุ ลักษณะ
๕ ประการของโรงเรียนสุจรติ
๒.๑ นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ
ในการใชเ้ ทคโนโลยี การ ทดสอบ แบบประเมนิ ผา่ นรอ้ ยละ ๘๐
ท�าภาพยนตรส์ ัน้ การเขียน ผลงานการเขยี น
บทภาสพัน้ ยนตร์ บทภาสพั้นยนตร์
๒.๒ นกั เรียนสามารถเขียนบท
ภาพยนตรส์ ัน้

๓. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้เกิดการเรยี นรกู้ ระบวนการ ตรวจผลงาน แบบตรวจผลงาน -

ผลิตภาพยนตร์ส้ันตามคุณลักษณะ ภาพยนตรส์ นั้ ภาพยนตร์ส้ัน
๕ ประการของโรงเรียนสจุ รติ

๔. เพ่ือเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลงาน ส่อื - - -
ภาพยนตร์สนั้ ตามคุณลักษณะ ๕ ประการ
ของโรงเรียนสุจริตตอ่ สาธารณชน

แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์สั้น ๕

แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ตอ่ ต้านการทจุ รติ ผ่านส่อื ภาพยนตรส์ ้ัน 5

ความสอดคลอ้ งกบั คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ ริต
การด�าเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้เป็นสุจริตชนโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
ในรปู แบบของการสรา้ งสรรคภ์ าพยนตรส์ น้ั และเพอ่ื ปลกู ฝงั คณุ ลกั ษณะ ๕
ประการของโรงเรยี นสจุ รติ คอื ทกั ษะกระบวนการคดิ มวี นิ ยั ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ
อยู่อย่างพอเพียง และจิตสาธารณะ โดยให้มีความสอดคล้อง ดังตาราง
ต่อไปนี้

คณุ ลักษะ ๕ ประการ กจิ กรรม หมายเหตุ
ของโรงเรยี นสุจริต ๑. การวิเคราะห์คณุ ลักษณะ ๕ ประการของ
๑. ทกั ษะกระบวนการคดิ
๒. มวี ินัย โรงเรียนสุจรติ สกู่ ารจดั ท�าภาพยนตรส์ ้ัน
๒. การเขยี นเรือ่ งและการผลติ ภาพยนตรส์ ัน้
๓. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ ๓. ความรู้ ความเขา้ ใจในเรอื่ งการใชเ้ ทคโนโลยี

ความปลอดภัย และความคิดสร้างสรรค์
๑. ประชมุ สร้างความตระหนักในนโยบายให้

ทุกคนรบั ทราบ และปฏิบัติร่วมกัน
๒. มคี วามรบั ผิดชอบทีไดร้ ับมอบหมาย
๓. ความมวี นิ ยั รบั ผดิ ชอบของการเปน็ คนสจุ รติ

ร่วมกันตอ่ ตา้ น การทุจรติ ทกุ รูปแบบ
๔. การเขยี นเร่อื งสัน้ ทีถ่ กู ต้องตามรปู แบบ
๕. การมวี นิ ยั มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ การรว่ มกนั

เขยี นเร่อื งสนั้ และภาพยนตรส์ นั้
๖. การด�าเนินงานจัดกิจกรรมการประกวด
๑. องค์ความรใู้ นการจัดท�าเร่ืองสัน้ และ

ภาพยนตร์ส้ัน
๒. การดา� เนนิ งานรว่ มกนั ในการเขยี นเรอ่ื งสน้ั และ

ภาพยนตร์สัน้

๖6 แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เนเนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตต่ออ่ ตต้าา้ นนกกาารรททุจุจรริิตตผผา่่านนสสือ่่ือภภาาพพยยนนตตรรส์์สั้นั้น

คุณลักษะ ๕ ประการ กจิ กรรม หมายเหตุ
ของโรงเรยี นสุจริต ๓. การด�าเนินงานจดั กจิ กรรมการประกวด
๔. อยู่อยา่ งพอเพียง ๔. การเผยแพรผ่ ลงาน
๕. การมอบรางวลั เชิดชเู กยี รติ
๕. จิตสาธารณะ ๑. การใชท้ รพั ยากรในการดา� เนนิ กิจกรรมทกุ

กระบวนการอย่างประหยดั คุ้มคา่ เกดิ
ประโยชน์สงู สุด
๒. การใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งปลอดภยั เปน็ ภมู คิ มุ้ กนั
อย่างดี
๓. วิเคราะห์การสรา้ งภาพยนตรส์ ้นั โดยใช้
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จนแล้วเสรจ็
๑. การแบง่ ปันความรู้
๒. ชว่ ยเหลือกล่มุ ในการเขยี นเรื่องสั้นและการ
จดั ท�าภาพยนตรส์ ั้น
๓. การชว่ ยเหลอื เพ่อื นในการจดั กิจกรรมการ
จัดทา� ภาพยนตรส์ ้นั
๔. การช่วยเหลือจติ บริการในการจัดกิจกรรม
ประกวดการจัดท�าภาพยนตร์สน้ั
๕. ช่วยเหลือในการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์
ผลงาน

แแนนววททางากงากราดรำ�ดเ�านเนนิ ินกิจกกิจรกรรมรสมรสา้ รง้าสงรสรรคร์ คต์ อ่ ตต่อา้ ตน้ากนากราทรจุ ทรุจติ รผิตา่ ผน่าสนือ่ สภ่ือาภพายพนยตนรส์ตัน้ร์ส้ัน 7๗

๕. การรายงานผล

๕.๑ ใหโ้ รงเรยี นรายงานผลการดา� เนนิ งานกจิ กรรมผลติ สอื่ ภาพยนตร์
สั้น ตามแบบที่ก�าหนดไปยังส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ภายในเดือน
ตุลาคม

๕.๒ การจัดท�ารายงานให้จัดส่งรายงานเป็นรูปเล่มเอกสาร ปกสัน
ห้ามเย็บ พรอ้ ม ไฟล์ขอ้ มูล

๕.๓ การรายงานผล ควรเชอื่ มโยงและสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ อง
กจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรียนสุจรติ ท่ดี า� เนนิ การ

๖. การประกวดกิจกรรม/แลกเปล่ียนเรียนรู้

การด�าเนินงานการแลกเปลีย่ นเรียนร้ขู องโรงเรียนและ สพป./สพม. ท่ี
เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลใน
สถานศกึ ษา “ป้องกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) มีแนวทางการ
ดา� เนนิ งานดงั น้ี

ระดบั โรงเรียน

โรงเรยี นทเี่ ขา้ รว่ มโครงการใหด้ า� เนนิ งานการแลกเปลยี่ นเรยี นรตู้ ามราย
ละเอียด ดังนี้

๑. ใหผ้ ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครู และบคุ ลากรทุกคน ศกึ ษาความรจู้ าก
เอกสารแนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ต่อต้านการทุจริตผ่านสื่อ
ภาพยนตร์สั้นที่ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดท�า
พร้อมทงั้ ทา� ความเขา้ ใจทกุ ขั้นตอน แลว้ ดา� เนินการจัดทา� ภาพยนตรส์ น้ั

๘8 แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เนเนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์ ์ ตต่อ่อตต้าา้ นนกกาารรททุจุจรริตติ ผผ่าา่ นนสส่ืออ่ื ภภาาพพยยนนตตรรส์์สัน้ั้น

๒. ดา� เนนิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรภู้ าพยนตรส์ นั้ ภายในสถานศกึ ษา โดย
ก�าหนดรูปแบบของกิจกรรมตามความเหมาะสมและความพร้อมของ
โรงเรยี น เชน่ การจดั ตลาดความรู้ การจดั นิทรรศการ ประชมุ แลกเปลยี่ น
เรียนรู้ ฯลฯ

๓. ท�าการรายงานผลตามแนวทางการรายงานผล (ตามรายละเอียด
ดงั แนบในภาคผนวก)

๔. คัดเลือกภาพยนตรส์ ั้นตามเกณฑก์ ารคดั เลือกภาพยนตร์ส้ัน ระดบั
โรงเรยี น (ตามรายละเอยี ดดงั แนบในภาคผนวก)

๕. ด�าเนินการส่งผลงาน ภาพยนตร์สั้น ท่ีผ่านเกณฑ์และได้รับ
การคดั เลอื กจากสถานศกึ ษา ไปยงั สพป./สพม. พรอ้ มแนบเอกสารหลกั ฐาน
ประกอบเพ่ือเข้ารับการแลกเปล่ียนเรียนรู้และพิจารณาคัดเลือกจาก
สพป./สพม. ตอ่ ไป

๖. กรณีภาพยนตร์ส้ัน ไม่ผ่านเกณฑ์ให้แจ้งเจ้าของผลงานเพื่อน�าไป
ปรับปรงุ แกไ้ ขตอ่ ไป

๗. ภาพยนตรส์ ้นั ท่ผี ่านเกณฑ์และได้รับการคัดเลอื กจากสถานศึกษา
จะไดร้ บั รบั รางวลั – เกียรติบัตร

ระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา (สพป./สพม.)

๑. สพป./สพม. ดา� เนนิ การจดั กจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรภู้ าพยนตรส์ น้ั
ในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาที่มีลักษณะของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย เช่น การจัดประชุม สัมมนา (workshop/symposium)
การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อ่ืน
ตามที่ สพป./สพม เห็นสมควร

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรรา้้างงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตตา้้านนกกาารรททุจุจรริติตผผา่ ่านนสส่อื ื่อภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สนั้ ้ัน ๙

9

๒. รายงานผลการผลิตส่อื ภาพยนตรส์ ัน้ ตามรปู แบบที่ สพฐ. ก�าหนด
(ตามรายละเอียดดังแนบในภาคผนวก)

๓. คดั เลือกภาพยนตร์สั้นตามเกณฑก์ ารคัดเลอื กภาพยนตรส์ ้ัน ระดับ
สพป./สพม. (ตามรายละเอยี ดดังแนบในภาคผนวก)

๔. ด�าเนินการส่งผลงานภาพยนตร์สั้น ที่ผ่านเกณฑ์และได้รับ
การคัดเลือกจาก สพป./สพม. ไปยังระดับภูมิภาค พร้อมแนบเอกสาร
หลักฐานประกอบเพื่อเข้ารับการแลกเปล่ียนเรียนรู้และพิจารณาคัดเลือก
จากระดับภมู ิภาค ต่อไป

๕. กรณีผลงานภาพยนตรส์ ้นั ทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑใ์ หแ้ จง้ เจา้ ของผลงานเพอ่ื
นา� ไปปรับปรงุ แกไ้ ขตอ่ ไป

๖. ภาพยนตร์ส้ันผ่านเกณฑ์และได้รับการคัดเลือกจาก สพป./สพม.
จะไดร้ บั รับรางวลั – เกียรติบตั ร

ระดับภูมิภาค

๑. ระดบั ภมู ภิ าค ดา� เนนิ การจดั กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรภู้ าพยนตรส์ น้ั
ในระดับภูมิภาค มีลักษณะของการแลกเปล่ียนเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น
การจดั ประชมุ สมั มนา (workshop/symposium) การจดั นทิ รรศการแสดง
ผลงาน การจดั กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรอู้ ื่นตามที่ ภูมภิ าคเห็นสมควร

๒. รายงานผลการผลิตส่ือภาพยนตรส์ ั้นตามรูปแบบที่ สพฐ. กา� หนด
(ตามรายละเอยี ดดังแนบในภาคผนวก)

๓. คดั เลอื กภาพยนตร์สน้ั ตามเกณฑก์ ารคัดเลอื กภาพยนตรส์ นั้ ระดับ
ภูมภิ าค (ตามรายละเอยี ดดังแนบในภาคผนวก)

๔. ด�าเนินการส่งผลงานภาพยนตร์สั้น ท่ีผ่านเกณฑ์และได้รับ
๑1๐0 แแนนววททางางกกาารรดด�า�ำเนเนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่ออ่ ตต้า้านนกกาารรททุจุจรริติตผผ่า่านนสสื่อ่ือภภาาพพยยนนตตรร์ส์สนั้ั้น

การคัดเลือกจากระดับภูมิภาคไปยังระดับประเทศ พร้อมแนบเอกสาร
หลักฐานประกอบเพ่ือเข้ารับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพิจารณาคัดเลือก
จากระดับประเทศ ตอ่ ไป

๕. กรณผี ลงานภาพยนตรส์ น้ั ท่ไี มผ่ ่านเกณฑใ์ ห้แจง้ เจา้ ของผลงานเพื่อ
นา� ไปปรบั ปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป

๖. ภาพยนตร์สั้นผ่านเกณฑ์และได้รับการคัดเลือกจาก สพป./สพม.
จะไดร้ บั รบั รางวลั – เกยี รตบิ ตั ร

ระดับประเทศ

๑. ด�าเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภาพยนตร์ส้ันในระดับ
ประเทศ ทม่ี ลี กั ษณะของการแลกเปลยี่ นเรียนรทู้ ี่หลากหลาย เช่น การจัด
ประชุม สัมมนา (workshop/symposium) การจัดนิทรรศการแสดง
ผลงานภาพยนตรส์ นั้ หรอื การจดั กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรอู้ น่ื ตามที่ สพฐ.
เหน็ สมควร

๒. เกณฑก์ ารคัดเลอื กผลงานภาพยนตรส์ ัน้ (ตามรายละเอียดดงั แนบ
ในภาคผนวก)

๓. ด�าเนนิ การคดั เลือกผลงานภาพยนตร์สัน้
๔. ผลงานที่ผ่านเกณฑแ์ ละไดร้ ับการคดั เลือกจะไดร้ ับรบั โล่รางวลั
๕. ดา� เนินการเผยแพร่ผลงานภาพยนตรส์ น้ั

แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรรา้้างงสสรรรรคค์์ ตตอ่่อตตา้ ้านนกกาารรททจุ ุจรริติตผผา่ ่านนสสื่อ่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สั้นั้น 1๑1๑

คุณสมบัตขิ องผูเ้ ขา้ ประกวด

๑. นกั เรียนระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖
๒. นกั เรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๓
๓. นักเรยี นระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ – ๖
๔. แขง่ ขนั เป็นทมี ทีมละไม่เกนิ ๕ คน
๕. ใชโ้ ปรแกรมท่ี สพฐ. กา� หนด
๖. สอื่ ภาพยนตรส์ น้ั ความยาว ๕-๗ นาที (รวม Title และ End Credit)
และบทภาพยนตรส์ น้ั ภายใตค้ ุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสจุ รติ

เกณฑ์การคดั เลอื กผลงานภาพยนตร์สนั้

รายการพจิ ารณา เพอื่ คดั เลือกผลงาน จ�านวน ๔ รายการ มคี ะแนน
รวม ๑๐๐ คะแนน ดังน้ี

รายการที่ ๑ ความสา� คัญของเนอื้ หา ๒๕ คะแนน
รายการที่ ๒ เทคนคิ ของภาพยนตร์ ๒๕ คะแนน
รายการที่ ๓ คุณภาพของผลงาน ๔๐ คะแนน
รายการที่ ๔ การนา� เสนอผลงาน ๑๐ คะแนน

เกณฑค์ ณุ ภาพผลงาน
การพิจารณาคะแนนรวมทกุ รายการ มเี กณฑค์ ณุ ภาพผลงาน ดงั นี้
- ผลงานทีม่ ีคุณภาพดีเย่ียม ได้คะแนน ตัง้ แต่ ๘๑ - ๑๐๐ คะแนน
- ผลงานที่มีคุณภาพดี ไดค้ ะแนน ตง้ั แต่ ๖๐ - ๘๐ คะแนน
- ผลงานที่มีคุณภาพพอใช้ ไดค้ ะแนน นอ้ ยกว่า ๖๐ คะแนน

๑1๒2 แแนนวทวทางากงการาดรด�าเำ�นเนินินกกิจจิกกรรรมมสสรร้าา้งงสสรรรรคค์ ์ตต่ออ่ ตต้าา้ นนกกาารรททุจุจรริติ ผ่านสื่อภาพยนตร์สั้น

คณะกรรมการในการคดั เลือก

คณะกรรมการในการคัดเลือกสื่อภาพยนตร์ส้ัน จะประกอบด้วย
ผทู้ รงคุณวุฒิ จ�านวน ๓-๕ ท่าน เชน่

๑. ผทู้ รงคุณวุฒดิ า้ นการเขยี นบทภาพยนตร์
๒. ผู้ทรงคณุ วุฒดิ ้านการแสดงภาพยนตร์
๓. ผู้ทรงคุณวุฒดิ ้านการแต่งกาย
๔. ผู้ทรงคุณวุฒดิ า้ นการถา่ ยท�าภาพยนตร์
๕. ผู้ทรงคุณวุฒดิ า้ นการตดั ตอ่ ภาพยนตรห์ รือด้านอ่ืนๆ ตามที่

เหน็ สมควร
แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนิ กจิิจกรรมมสรรา้้างงสสรรรรคค์ ์ ตตอ่ ่อตตา้ ้านนกกาารรททุจุจรริติตผผา่ ่านนสสื่อื่อภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สน้ั ้ัน 1๑3๓

๑๔14 แนวแทนาวงทกาางรกดา�ารเดน�ำ ินเนกินิจกกจิ รกรรมรสมรส้ารง้าสงสรรรรคค์ ์ตต่ออ่ ตต้าา้ นนกกาารรททุจุจรริติตผผา่ ่านนสสอ่ื ่ือภภาาพพยยนนตรตส์ รั้น์ส้ัน

บรรณานกุ รม

แนแนวทวาทงากงากราดร�าดเ�ำ นเนิ นิกกิจจิกกรรรมมสสรร้า้างงสสรรรคค์ ์ตต่ออ่ ตต้า้านนกกาารรททุจุจรริตติ ผผ่าา่ นนสส่ืออื่ ภภาาพพยยนนตร์ส้ัน ๑1๕5

บรรณานุกรม

วินัย บุญคง. (๒๕๕๑). เกณฑ์การประเมินคุณค่าภาพยนตร์สั้น
นกั ศกึ ษารางวลั ชา้ งเผอื กและรางวลั สพุ รรณหงส.์ วทิ ยานพิ นธม์ หาบณั ฑติ ,
มหาวทิ ยาลัยรงั สิต.

อัศวพร แสงอรณุ เลศิ . (๒๕๕๑). การใช้ภาพยนตรเ์ พือ่ พฒั นาทกั ษะ
การเขยี นภาษาองั กฤษและการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณของนกั เรยี นระดบั
ก้าวหน้า. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษา
อังกฤษ, มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.

GERALD MILLER SON. Video Production Handbook. Great
Britain: Focal Press. ๑๙๙๒.

PETER W. REA AND DAVID K. IRVING. Producing and Directing
the Short Film and Video. Focal Press. ๑๙๙๕.

www.oscars.org/ awards/academyawards/rule ๑๙. html

๑1๖6 แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตต่ออ่ ตตา้้านนกกาารรททจุุจรรติิตผผ่า่านนสสอื่ื่อภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สัน้ ้ัน

ภาคผนวก

แนแวนทวาทงากงากราดร�าดเน�ำ เินกนิ ิจกกจิ รกรรมรสมรส้ารง้าสงรสรคร์คต์ ่ตอ่อตต้าน้านกการารททุจจุรริติตผผ่า่านนสส่ืออื่ ภภาาพพยยนนตตรร์ส์ส้ัน้นั ๑1๗7

รายลระายเละอเอยีียดใดนภใาคนผนวภก าคผนวก

1๑8๘ แแนนววททาางงกกาารรดด�ำ�าเเนนนิ ินกกจิ ิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ตต่อ่อตตา้ ้านนกการารททุจุจริตริตผผ่าน่านสือ่ส่ือภภาพาพยนยนตรต์สร้นั์สั้น

องคค์ วามรู้ประกอบการเรยี นรู้
การจัดทา� สื่อภาพยนตรส์ น้ั

๑. คณุ ลักษณะของโรงเรียนสุจรติ ๕ ประการ
๒. แนวการเขียนบทภาพยนตร์สั้นจากเร่อื งสั้น
๓. เทคนคิ การถ่ายวิดโี อ
๔. ขนาดภาพและมุมกลอ้ ง
๕. การเคลื่อนกลอ้ ง
๖. การจดั แสง
๗. บคุ ลากรส�าคัญส�าหรับภาพยนตรส์ น้ั
๘. การหาสถานท่ถี า่ ยทา�
๙. ข้อควรคา� นึงในการหาสถานที่การถา่ ยทา�
๑๐.ความเหมาะสมในแงศ่ ลิ ปะ
๑๑.การคดั เลือกผแู้ สดง
๑๒.การกา� กับภาพยนตร์
๑๓.แบบทดสอบวดั ความรู้ ความเข้าใจ เร่ืองคณุ ลักษณะ

๕ ประการของโรงเรียนสุจริต
๑๔.แบบประเมินผลงานการเขยี นเรอื่ งส้ันต่อต้านการทจุ รติ
๑๕.แบบทดสอบวดั ความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดท�าสือ่

ภาพยนตร์ส้ัน
๑๖.แบบประเมินผลงานการจัดท�าภาพยนตรส์ น้ั ต่อต้าน

การทจุ ริต

แแนนววททาางการด�า�ำ เนินกิจกรรมสรา้ งสรรค์ ต่อตา้ นกกาารรททจุ ุจรริติตผผ่า่านนสสื่อื่อภภาาพพยยนนตตรรส์ ์ส้นั ั้น ๑1๙9

๑. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นสจุ รติ ๕ ประการ คอื

๑. ทกั ษะกระบวนการคิด
๒. มวี นิ ยั
๓. ซ่ือสัตยส์ ุจรติ
๔. อย่อู ย่างพอเพยี ง
๕. จิตสาธารณะ

๒. แนวการเขียนบทภาพยนตรส์ น้ั จากเร่ืองสนั้

การเขียนบท อาจเป็นเรื่องที่น�ามาจากเรื่องจริง เรื่องดัดแปลง ข่าว
เรอื่ งท่ีอยู่รอบๆ ตัว นวนิยาย เรอ่ื งสัน้ หรอื ไดแ้ รงบันดาลใจจากความประทับใจ
ในเร่อื งราวหรือบางสิง่ ทค่ี นเขียนบทได้สมั ผัส เช่น ดนตรี บทเพลง บทกวี
ภาพเขียน และอ่ืนๆ หรืออะไรท่ีท�าให้เกิดความคิด จินตนาการ
การสร้างสรรค์ คือ การน�าเร่ืองราวมาประสมประสานกันให้เป็นเรื่องข้ึนมา
ความพยายามเทา่ นนั้ ทา� ใหเ้ กดิ ความสา� เรจ็ ขอใหศ้ กึ ษาในบทภาพยนตรต์ อ่ ไป

๒2๐0 แแนนววททางางกกาารรดด�าำ�เนเนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่อ่อตต้าา้ นนกกาารรททุจจุ รริตติ ผผ่าา่ นนสสื่อื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์สนั้้ัน

ขัน้ ตอนส�าหรบั
การเขียนบทภาพยนตส์ ้นั

๑. การค้นควา้ หาข้อมูล (research)

เปน็ ขน้ั ตอนการเขยี นบทภาพยนตรอ์ นั ดบั แรกทตี่ อ้ งทา� ถอื เปน็ สงิ่ สา� คญั
หลังจากเราพบประเด็นของเรื่องแล้ว จึงลงมือค้นคว้าหาข้อมูล
เพ่ือเสริมรายละเอียดเร่ืองราวที่ถูกต้อง จริง ชัดเจน และมีมิติมากขึ้น
คุณภาพของภาพยนตร์จะดีหรือไม่จึงอยู่ที่การค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่า
ภาพยนตร์นน้ั จะมีเนื้อหาใดก็ตาม

๒. การก�าหนดประโยคหลกั สา� คญั (premise)

หมายถึง ความคิดหรือแนวความคิดท่ีง่ายๆ ธรรมดา สว่ นใหญม่ ักใช้
ตงั้ คา� ถามวา่ “เกิดอะไรขึ้นถา้ …” (what if) ตัวอยา่ งของ premise ตามรูป
แบบหนังฮอลลีวู้ด เช่น เกิดอะไรข้ึนถ้าเรื่องโรเมโอ & จูเลียต
เกดิ ข้นึ ในนิวยอรค์ คือ เร่ือง West Side Story, เกดิ อะไรขนึ้ ถา้ มนษุ ย์ดาว
องั คารบุกโลก คอื เร่ือง The Invasion of Mars, เกิดอะไรข้ึนถา้ กอ็ ตซลิ ล่า
บุกนิวยอรค์ คอื เร่ือง Godzilla, เกดิ อะไรข้ึนถ้ามนุษย์ต่างดาวบกุ โลก คอื
เร่ือง The Independence Day, เกิดอะไรขน้ึ ถา้ เรอ่ื งโรเมโอ & จูเลียต
เกิดขนึ้ บนเรือไททานคิ คือเรอื่ ง Titanic เปน็ ตน้

๓. การเขียนเรือ่ งย่อ (synopsis)

คอื เรอ่ื งยอ่ ขนาดสน้ั ทสี่ ามารถจบลงได้ ๓-๔ บรรทดั หรอื หนง่ึ ยอ่ หนา้
หรอื อาจเขยี นเปน็ story outline เป็นร่างหลังจากทเ่ี ราคน้ ควา้ หาข้อมูล
แลว้ ก่อนเขยี นเปน็ โครงเรอ่ื งขยาย (treatment)

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรริติตผผา่่านนสส่อืื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์สั้น้ัน ๒2๑1

๔. การเขียนโครงเรอื่ งขยาย (treatment)

เป็นการเขียนค�าอธิบายของโครงเรื่อง (plot) ในรูปแบบของเรื่องส้ัน
โครงเรื่องขยายอาจใช้ส�าหรับเป็นแนวทางในการเขียนบทภาพยนตร์ท่ี
สมบูรณ์ บางครั้งอาจใช้ส�าหรับยื่นของบประมาณได้ด้วย และการเขียน
โครงเร่ืองขยายที่ดตี ้องมีประโยคหลกั สา� คัญ (premise) ทีง่ า่ ย ๆ นา่ สนใจ

๕. บทภาพยนตร์ (screenplay)

สา� หรบั ภาพยนตรบ์ นั เทงิ หมายถงึ บท (script) ซเี ควนสห์ ลกั (master
scene/sequence) หรือ ซีนาริโอ (scenario) คือ บทภาพยนตร์ที่มี
โครงเรอื่ ง บทพดู แตม่ คี วามสมบรู ณน์ อ้ ยกวา่ บทถา่ ยทา� (shooting script)
เปน็ การเลา่ เรื่องที่ได้พฒั นามาแลว้ อยา่ งมขี ้นั ตอน ประกอบ ดว้ ยตวั ละคร
หลักบทพูด ฉาก แอ็คช่ัน ซีเควนส์ มีรูปแบบการเขียนที่ถูกต้อง เช่น
บทสนทนาอยกู่ ่ึงกลางหน้ากระดาษฉาก เวลา สถานที่ อยชู่ ิดขอบหน้าซา้ ย
กระดาษ ไม่มีตัวเลขกา� กบั ช็อต และโดยหลกั ทวั่ ไปบทภาพยนตร์หนึ่งหน้า
มีความยาวหนึง่ นาที

๖. บทถา่ ยทา� (shooting script)

บทภาพยนตร์ท่ีเป็นข้ันตอนสุดท้ายของการเขียนบทถ่ายท�าจะบอก
รายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ จากบทภาพยนตร์ (screenplay) ไดแ้ ก่ ตา� แหนง่ กลอ้ ง
การเช่ือมชอ็ ต เช่น คทั (cut) การเลอื นภาพ (fade) การละลายภาพ หรอื
การจางซอ้ นภาพ (dissolve) การกวาดภาพ (wipe) ตลอดจนการใช้ภาพ
พเิ ศษ (effect) อืน่ ๆ เป็นตน้ นอกจากนี้ยงั มเี ลขล�าดบั ช็อตกา� กับเรียงตาม
ลา� ดับตง้ั แต่ช็อตแรกจนกระทั่งจบเรือ่ ง
๒2๒2 แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์์ ตต่ออ่ ตต้าา้ นนกกาารรททุจุจรริติตผผา่่านนสสื่อื่อภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สั้นั้น

๗. บทภาพ (storyboard)

บทภาพยนตรป์ ระเภทหนง่ึ ทอ่ี ธบิ ายดว้ ยภาพ คลา้ ยหนงั สอื การต์ นู ให้
เห็นความตอ่ เนอื่ งของช็อต ตลอดทง้ั ซเี ควนสห์ รือทัง้ เรอ่ื งมีค�าอธบิ ายภาพ
ประกอบ เสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงประกอบฉาก และเสียงพูด
เปน็ ตน้ ใชเ้ ปน็ แนวทางสา� หรบั การถา่ ยทา� หรอื ใชเ้ ปน็ วธิ กี ารคาดคะเนภาพ
ลว่ งหนา้ (pre-visualizing) กอ่ นการถา่ ยท�าวา่ เมื่อถา่ ยทา� ส�าเรจ็ แล้ว หนงั
จะมรี ปู รา่ งหนา้ ตาเปน็ อยา่ งไร ซง่ึ บรษิ ทั ของ Walt Disney นา� มาใชก้ บั การ
ผลติ ภาพยนตรก์ ารต์ นู ของบรษิ ทั เปน็ ครงั้ แรก โดยเขยี นภาพ เหตกุ ารณข์ อง
แอ็คช่ันเรียงติดต่อกันบนบอร์ด เพ่ือให้คนดูเข้าใจและมองเห็นเร่ืองราว
ล่วงหน้าได้ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่วนใหญ่บทภาพจะมีเลขที่ล�าดับช็อต
ก�ากับไว้ ค�าบรรยายเหตุการณ์ มมุ กล้อง และอาจมีเสียง ประกอบด้วย

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนนิินกกจิิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททจุ ุจรริติตผผ่า่านนสส่อื ่ือภภาาพพยยนนตตรร์ส์สน้ั ั้น 2๒3๓

๓.เทคนิคการถา่ ยวดิ โี อ

ปัจจุบนั กล้องวดิ โี อมีอยหู่ ลายประเภท เชน่ แบบ Handycam (กล้อง
ขนาดเล็ก) กล้องแบบมืออาชีพ(ขนาดใหญ่) แต่หลักการและเทคนิคการ
ถ่ายจะเหมอื นๆ กนั

กอ่ นอนื่ เรามาทราบถงึ ประเภทของสอื่
ที่ใช้บันทึกภาพของกล้องวิดีโอก่อนว่า
ปจั จุบนั มีอยูก่ ่แี บบ

๑. แบบใช้ม้วนเทป ปัจจุบันเหลือ
เพยี ง miniDV เป็นส่วนใหญ่

๒. แบบใชแ้ ผน่ ซงึ่ จะใชแ้ ผน่ mini
DVD เป็นตวั เกบ็ ขอ้ มูล

๓. แบบใช้ Hard Disk ปจั จบุ นั มใี หเ้ ลอื กหลายขนาด
ของความจุ เชน่ ๓๐ GB, ๖๐ GB ต้น

๔. แบบใช้ Memory card เช่น SD, Memory Stick, XDcard เป็นต้น

เทคนคิ การถา่ ย

๑. อยา่ ถ่ายแช่นานเกินไป
๒. อยา่ ยกกลอ้ งไปมาแทนสายตา
๓. ถา้ เหตกุ ารณน์ ้นั ยงั ไม่สน้ิ สดุ อยา่ หยดุ ถา่ ยกลางคนั
๔. อยา่ Zoom หรือ Pan ขณะถ่าย บอ่ ยเกนิ ไป
๕. หาจุดจบทีท่ า� ใหส้ นใจ
๖. พยายามมองหาจุดที่น่าสนใจรอบๆตัวเพื่อจะได้ไม่พลาดเหตุการณ์
สา� คัญหลกั การง่ายๆ แคน่ ี้ ท่านกจ็ ะได้ภาพที่ดดู ี ระดบั มอื อาชพี แล้ว
๒2๔4 แนแวนทวาทงากงากราดร�าดเ�ำนเินนนิกิจกกจิ รกรรมรมสรส้ารงา้ สงรสรรครค์ ต์ ต่ออ่ตต้านา้ นกกาารรททุจจุรริติตผผ่าา่นนสส่ือื่อภภาาพพยยนนตตรร์สส์ ั้นน้ั

๗. ถือกล้องให้น่ิง อย่าส่ัน เทคนิคง่ายๆ คือกล้ันหายใจ หรือหายใจ
เบาๆ ขณะที่กด record เทคนิคการถ่ายวิดีโอให้นิ่งที่สุด โดยไม่ใช้
ขาต้งั กล้อง

สว่ นใหญแ่ ลว้ ชา่ งภาพวดิ โี อมอื สมคั รเลน่ ทวั่ ไป จะชอบถอื กลอ้ งในแบบ
ที่ถนัดท่ีสุด แบบท่ีสบายที่สุด และแบบที่ถือแล้วไม่เม่ือย แต่มุมมอง
ท่ีออกมา ไม่ค่อยดีเท่าไหร่ แถมภาพสั่นยังกะอยู่ในคล่ืนกลางทะเล วิธีที่
จะท�าให้วีดีโอน้ันไม่สั่นก็ต้องใช้ขาตั้งกล้องนะครับ ขาตั้งกล้องช่วยได้มาก

ทเี ดยี ว และตอ้ งเปน็ หวั แพนดว้ ย ถา้ เปน็ หวั บอล
ใช้ส�าหรับกล้องถ่ายภาพน่ิงนะครับ แต่
ถ้าเกิดว่าเราไปเท่ียว ถือแค่กล้องถ่าย
วิดีโอไปตัวเดียว ไม่อยากเอาขาต้ังกล้อง
ไปด้วย มันใหญ่และเกะกะมากมี
เทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ที่จะท�าให้ได้
มุมมองท่ีสวย และจับถือได้นิ่งมากๆ
โดยไม่จ�าเป็น ต้องใช้ขาตั้งกล้องเลย

ข้ันตอนแรกนะ ให้จับกล้องด้วย ๒ มือ กุมกล้องไว้ในมือทั้ง ๒ จากน้ัน
ยืดแขนออกไปให้สุด เพื่อฟิตกล้ามเน้ือก่อน ซัก ๓-๕ รอบ แล้วก็เอา
กล้องมาชิดที่หน้าท้องติดหน้าท้องเลย ดันให้แน่นๆ เสยมุมกล้องขึ้นบน
นิดหน่อยพอสวยงาม จากนั้นก็บิดจอ LCD ขึ้นมาเล็กน้อยเพื่อให้
มองเห็นจอภาพถนัดๆ จากนั้นก็กด Record ได้เลย ในระหว่าง
ท่ีถ่ายอยู่ ต้องใช้มือท้ัง ๒ ท่ีกุมกล้องอยู่ ดันกล้องให้ติดหน้าท้องนะครับ
รับรองได้ว่า วิดีโอท่ีออกมา สวยและน่ิงใช้ได้เลยครับ แต่ถ่ายไปนานๆ

แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์ส้ัน ๒๕

แนวทางการด�ำ เนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทจุ รติ ผา่ นส่ือภาพยนตรส์ น้ั 25

จะร้สู กึ เม่ือย เพราะตอ้ งกดกล้องเข้าหาหนา้ ทอ้ งตัวเองอยู่ตลอดเวลา หาก
ถา่ ยนานๆใชข้ าตงั้ หรอื โตะ๊ หรือหาอะไรที่พอจะวางกล้องได้ ลองเอาเทคนิคนี้
ไปประยุกต์ใช้

๔. ขนาดภาพและมุมกลอ้ ง

การก�าหนดภาพของแต่ละ shot ในการถ่ายท�าภาพยนตร์ส้ัน
มลี ักษณะสา� คญั เพราะเป็นการ ใชก้ ลอ่ งโน้มนา้ วชักจงู ความสนใจของคนดู
และเพ่ือให้เกิดความหมายท่ีต้องการสื่อสารกับผู้ดู ซึ่งต้องพิจารณา
ใช้องค์ประกอบหลายอย่างในการก�าหนดภาพ เช่น ความยาวของ shot
ของแอ็คช่ันของผู้แสดง ระยะความสัมพันธ์ระหว่างคนดูกับผู้แสดง
หรือ subject มุมมอง การเคล่ือนไหวของกล้องและผู้แสดงตลอดจน
บอกหนา้ ที่ของ shot วา่ ท�าหนา้ ทอ่ี ะไร เช่น แทนสายตาใคร เป็นตน้

๒๖ แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์ส้ัน

26 แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจรติ ผ่านส่อื ภาพยนตร์สนั้

ขนาดภาพ

ภาพระยะไกลมากหรอื ระยะไกลสดุ (Extreme Long Shot/ELS)

ภาพระยะไกล (Long Shot/LS)
แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านส่ือภาพยนตร์ส้ัน ๒๗

แนวทางการดำ�เนนิ กจิ กรรมสร้างสรรค์ ตอ่ ตา้ นการทุจรติ ผ่านส่อื ภาพยนตรส์ น้ั 27

ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot/MLS)

ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot/MS)

๒๘ แแนนววททาางงกกาารรดดำ��าเเนนนิ ินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ตต่อ่อตตา้ ้านนกการารททจุ ุจริตริตผผ่าน่านส่ือส่ือภภาพาพยนยนตรตส์รัน้์สั้น

28

ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up/MCU)
ภาพระยะใกล้ (Close-Up )

แแนนววททาางงกกาารรดดำ��าเนเนินินกิจกกิจรกรรมรมสรส้ารง้าสงรสรรคร์คต์ ่อตต่อ้าตน้ากนากราทรจุทรุจิตรผิต่าผน่าสนอื่ สภื่อาภพายพนยตนรต์สรนั้ ์สั้น 2๒9๙

ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up/ECU หรือ XCU)

มมุ กล้อง

มมุ สายตานก (Bird’s-eye view)

๓3๐0 แนแวนทวาทงากงากราดร�าดเน�ำ เินนกินิจกกิจรกรรมรสมรส้ารง้าสงรสรรคร์คต์ ่อตต่อ้าตนา้ นกากราทรทุจรจุ ิตรติผผ่านา่ นสสื่อ่ือภภาพาพยยนนตตรร์สส์้ัน้นั

มมุ สูง (High-angle shot)
มุมระดบั สายตา (Eye-level shot)

แแนนววททาางงกกาารรดดำ��าเนเนนิ ินกจิกกิจรกรรมรมสรสา้รง้าสงรสรรคร์คต์ ่อตต่อา้ตน้ากนากราทรจุทรุจิตรผิตา่ ผน่าสนื่อสภ่ือาภพายพนยตนรต์สรน้ั ์สั้น 3๓1๑

มมุ ตา่� (Low-angle shot)
มุมสายตาหนอน (Worm’s-ey )
มมุ เอยี ง (Oblique angle shot)

๓3๒2 แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททจุุจรรติิตผผ่า่านนสสอื่ื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์ส้นั ้ัน

มมุ แทนสายตา (Point-of-view Camera Angles)

๕ การเคลอ่ื นกลอ้ ง

ภาพยนตรม์ คี วามแตกตา่ งจากภาพนง่ิ 2 ประการ คอื นอกจากสามารถ
ถา่ ยภาพเคล่อื นไหวได้ แลว้ ยังสามารถเคล่ือนทไ่ี ปได้ด้วยการเคลื่อนกลอ่ ง
ในขณะถา่ ยทา� แมม้ คี วามยงุ่ ยากซบั ซอ้ นและ เสยี เวลามากกวา่ การตง้ั กลอ้ ง
ถา่ ยนง่ิ ๆ (Static Shot) แตท่ า� ใหภ้ าพยนตรม์ คี วามโดดเดน่ ทางดา้ นอารมณ์
สูง จดุ ประสงค์หลักของการเคล่อื นกลอ้ ง คือ ติดตามผู้แสดง เปน็ การเชื่อม
กันระหวา่ งสองความคดิ และยังเป็นการสรา้ งอารมณ์ท่ีทรงพลัง ถา้ หากใช้
การเคลอ่ื นไหวกล้องแทนมมุ มองของผู้แสดง

การแพน (Panning) การทลิ ท์ (Tilt)

๑. เพอ่ื ครอบคลุมพืน้ ทที่ มี่ ขี นาดใหญ่ ไม่สามารถมองเห็นได้ทั่ว
ในเฟรมเดยี ว หรอื fixed frame

๒. ใช้ติดตามแอ็คช่นั ของผู้แสดง
๓. ใช้เช่อื มจุดสนใจของภาพ

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนินินกกิจจิ กกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรริติตผผา่ ่านนสส่อื ื่อภภาาพพยยนนตตรร์ส์สนั้ ั้น ๓33๓

๔. ใหค้ วามหมายของการเชอื่ มระหว่างจุดสนใจของภาพตง้ั แต่
๒ จดุ ข้ึนไป

การแทรค (Tracking)

๑. การแทรคกล้องให้มีความเร็วเทา่ กับการเคลื่อนท่ีของ subject
๒. การแทรคกลอ้ งใหม้ คี วามเรว็ ไวหรอื ชา้ กวา่ การเคลอ่ื นทขี่ อง subject
๓. การแทรคกล้องเขา้ หาหรอื ออกจาก subject
๔. การแทรคกล้องหมนุ รอบ subject

การเครน (Craning)

การเครน คอื การถ่ายภาพท่กี ลอ้ งตัง้ อยู่บนแขนของดอลลขี่ นาดใหญ่
เรยี กวา่ cherry picker หรอื crane truck สามารถเคลอ่ื นทไ่ี ดห้ ลายทศิ ทาง
ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง โดยเคล่ือนกล้องให้สูงข้ึน เห็นเป็นภาพมุมกว้าง
ตอ่ เนอื่ งกนั หรอื ลดให้กลอ้ งตา�่ ลงรบั แอค็ ชนั่

ภาพทีไ่ ด้จากการเครนกลอ้ งให้ความรสู้ ึกทส่ี งา่ ผา่ เผย ตรึงความสนใจ
ของคนดู ทา� ใหล้ มื subject ไปชว่ั ขณะ เพราะความตะลงึ ในมมุ มองทแี่ ปลก
และระยะภาพทก่ี า� ลังเปล่ียนไป

การถอื กล้องถ่าย (Handheld Camera)

การถือกล้องถ่ายภาพเป็นการเคล่ือนที่กล้องที่ท�าให้ภาพไหวอยู่ตลอด
เวลา ลักษณะเป็นการถ่ายภาพที่ไม่เป็นแบบแผนเหมือนการเคลื่อนกล้อง
แบบอน่ื ๆ ซงึ่ ใหค้ วามรสู้ กึ วา่ คนดอู ยู่ ณ ทนี่ น้ั หรอื มสี ว่ นรว่ มในเหตกุ ารณน์ นั้
๓3๔4 แนแนวทวทางากงากราดรด�าเำ�นเนินนิ กกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ตต่ออ่ ตต้า้านนกกาารรททุจุจรริตติ ผผ่า่านนสสื่อ่อื ภภาาพพยยนนตตรร์ส์ส้ันน้ั

โดยใชก้ ลอ้ งถา่ ยทอดความสบั สนอลหม่าน ฉกุ เฉนิ รวดเรว็ ของแอ็คชน่ั แต่
อย่างไรก็ตาม การถือกล้องถ่ายภาพหากใช้ไม่ถูกกาลเทศะ อาจเป็นตัว
ท�าลายภาพยนตร์ได้

๖. การจัดแสง

การจดั แสงเพอ่ื ใชใ้ นการถา่ ยภาพ ไดก้ า� หนดจดุ มงุ่ หมาย เพอื่ ใหเ้ ปน็ ไป
ตามวตั ถุประสงคข์ องการจดั แสงมีหลายประการ คอื

๑. การจดั แสงในหลักการขนั้ พน้ื ฐานเพ่อื ชว่ ยในการบนั ทกึ ภาพ
๒. การจดั แสง เพื่อส่งเสรมิ ใหภ้ าพมีมิติทสี่ ามเกดิ ขน้ึ ซ่ึงสามารถมอง
เห็นส่วนลกึ ของวัตถุ
๓. การจดั แสง สามารถถา่ ยทอดอารมณ์ (MOOD) ของเหตกุ ารณต์ า่ งๆ
ภายในเนอื้ หาทตี่ อ้ งการนา� เสนอเปน็ ภาพไดด้ ยี ง่ิ ขึ้น
๔. การจดั แสง สามารถกา� หนดบรรยากาศของภาพ (ATMOSPHERE)
๕. การจดั แสง สามารถเสริมสรา้ งความงามใหเ้ กิดข้ึนในองคป์ ระกอบ
ภาพ (COMPOSITION) เชน่ ช่วยแก้ปัญหาในการขาดสมดุล (BALANCE)
ชว่ ยเนน้ จุดสนใจของภาพ (CENTER OF INTEREST) ให้สมบูรณย์ ่งิ ข้นึ

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตตอ่่อตตา้้านนกกาารรททจุ ุจรรติ ิตผผา่ ่านนสสื่อ่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สัน้ ั้น ๓35๕

การจดั แสงเพอ่ื การบนั ทกึ ภาพมแี สงทเ่ี ปน็ หลกั อยู่ ๔ อยา่ ง คอื

๑. ไฟหลกั (Key light/Main light)
๒. ไฟลบเงา/ไฟเสรมิ (Fill light)
๓. ไฟแยก (Separation light/Back light)
๔. ไฟฉาก (Background light)
๑. ไฟหลกั (KEY LIGHT OR MAIN LIGHT)
ท�าหน้าท่ีให้แสงสว่างกับส่ิงท่ีถ่าย ต�าแหน่งของไฟโดยทั่วๆ ไปจะอยู่
ใกล้กับกล้องถ่าย ภาพยนตร์ในทิศทางเดียวกัน จะห่างจากเส้นแกนของ
เลนส์ไม่เกิน 90 องศา ไฟหลักจะใชส้ ปอรต์ไลท์ เปน็ ตัวใหแ้ สงสวา่ ง ดงั น้นั
แสงทีเ่ กิดจากไฟดวงนีจ้ ึงเป็นเงาท่ีดา� เข้ม
๒. ไฟลบเงา/ไฟเสรมิ (FILL LIGHT)
เนอ่ื งจากแสงทเ่ี กดิ จากไฟหลกั เปน็ แสงทเี่ ขม้ จงึ ทา� ใหด้ า้ นทโ่ี ดนกบั แสง
จะสว่าง และด้านที่ไม่โดนแสงจะมืด นอกจากน้ันแล้ว จะท�าให้เกิดเงาที่
นา่ เกลยี ดบนวตั ถทุ ถ่ี า่ ย จงึ จ�าเปน็ ตอ้ งใชไ้ ฟลบเงา เขา้ ชว่ ย เพอื่ ท�าใหเ้ งาอนั
เกดิ จากไฟหลักจางลบไป อกี ท้งั ยงั ช่วยเพ่ิมแสงในด้านมดื ให้มีอตั ราสว่ นท่ี
พอเหมาะกบั ดา้ นสวา่ งดว้ ย เพอ่ื ชว่ ยใหบ้ นั ทกึ ภาพในสว่ นทมี่ ดื (ไฟหลกั สอ่ ง
ไม่ถึง) มีรายละเอียดของ ภาพเพ่ิมขึ้น ชนิดของไฟที่น�ามาใช้กับไฟส่วนน้ี
จะเป็นไฟทใ่ี หแ้ สงนมุ่ นวล
๓. ไฟแยก (SEPARATION LIGHT OR BACK LIGHT)
ไฟจากสองข้อแรกสามารถถ่ายภาพออกมาได้โดยมีรายละเอียดดี
พอควร แต่เพื่อเป็นการ เน้นให้สิ่งท่ีถ่ายเด่นข้ึน แยกตัวออกมาจากฉาก
จึงใช้ไฟดวงน้ีส่องไปยังส่ิงท่ีถ่ายอีกทางหนึ่ง ซึ่งจะช่วย ให้มิติท่ีสามของ
๓3๖6 แแนนววททาางงกกาารรดด�าำ�เเนนินนิ กกิจจิ กกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสรรรรคค์์ ตต่อ่อตต้าา้ นนกกาารรททจุุจรรติิตผผา่่านนสส่อื่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สน้ั ้ัน

สงิ่ ท่ถี ่ายมมี ากขึ้น ไฟดวงน้ีจะใชส้ ปอรตไ์ ลท์ทีม่ กี า� ลังไฟสูง โดยปกตจิ ะสงู
กวา่ ไฟหลกั (KEY LIGHT) อัตราสว่ นระหวา่ ง ๑/๒-๑/๖ ซง่ึ แล้วแตค่ วาม
ตอ้ งการของผถู้ า่ ย ตา� แหนง่ ของไฟกจ็ ะอยตู่ รงขา้ มกบั ไฟหลกั (KEY LIGHT)
คอื ส่องมาจากท่สี ูงด่านหลงั ของสิ่งทีถ่ ่าย

๔. ไฟฉาก (BACKGROUND LIGHT)
ไฟที่ส่องไปยังฉากเพื่อให้ฉากมีความสว่าง โดยปกติจะใช้ไฟประเภท
FLOOD LIGHT ซึง่ จะ ให้แสงทีน่ ่มิ นวล ชว่ ยสร้างบรรยากาศของฉากใหม้ ี
มากยิง่ ข้นึ ตามความประสงค์

แแนนววททาางงกกาารรดด�า�ำ เเนนินินกกจิิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์์ ตตอ่่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรรติ ิตผผา่ ่านนสสอ่ื ่ือภภาาพพยยนนตตรรส์ ์สน้ั ั้น 3๓7๗

ไฟ Back light
การจัดองค์ประกอบภาพ

๓3๘8 แนแนวทวทางากงากราดร�าดเำ�นเนินนิกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสรรรรคค์ ์ตต่อ่อตต้า้านนกกาารรททุจุจรริตติ ผผ่าา่ นนสสื่ออ่ื ภภาาพพยยนนตตรร์สส์ ั้น้นั

การจัดองคป์ ระกอบแบบน้ี เปอรเ์ ซ็นตท์ ีจ่ ะได้ภาพสวย มีมาก

แนวทางการด�าเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทุจริตผ่านสื่อภาพยนตร์สั้น ๓๙

แนวทางการดำ�เนนิ กจิ กรรมสร้างสรรค์ ต่อต้านการทจุ รติ ผา่ นสอื่ ภาพยนตร์ส้นั 39


Click to View FlipBook Version