The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประอบการอบรมครู Active Learning

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เอกสารประอบการอบรมครู Active Learning

เอกสารประอบการอบรมครู Active Learning

-

เอกสารประกอบการฝึกอบรมครู
การจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning)

กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

คำนำ

สบื เนือ่ งจากกระทรวงศกึ ษาธิการมีนโยบายพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมการ
จัดการเรยี นรู้ผา่ นการเรยี นการสอนที่เนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนมสี ว่ นรว่ มและปฏสิ ัมพันธก์ บั กจิ กรรมการเรียนรผู้ า่ นการ
ปฏบิ ัตทิ ห่ี ลากหลายรปู แบบ (Active Learning) มกี ารวดั และประเมนิ ผลช้นั เรยี น เพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้
และสรรถนะของผเู้ รียน (Assessment for Learning) ทกุ ระดับที่มุ่งเนน้ การสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้
อยา่ งมีความหมาย ให้ผูเ้ รยี นมบี ทบาทในการเรยี นรู้มากข้ึน ครลู ดบทบาทการสอนดว้ ย การบอกเลา่ การให้
ขอ้ ความรแู้ ก่ผู้เรียนโดยตรง ไปเป็นการจดั กระบวนการเรยี นรู้ และกิจกรรมทจี่ ะทา ให้ผู้เรียนเกิดความ
กระตือรอื รน้ ในการเรียนรู้และปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรยี นรู้อย่างหลากหลาย ผู้สอน ตอ้ งเป็นครูแบบ Actively
Teach คอื สอนแบบมสี ว่ นร่วม จัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนอยากเรยี นรตู้ ลอดเวลา เปน็ การจัดการเรียนร้เู ชงิ รกุ
(Active Learning) โดยผู้สอนสามารถจดั การเรียนรูเ้ ชงิ รุกไปใชใ้ นกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามมาตรฐาน
และตัวช้วี ดั ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกรายวิชา รวมถึง นาไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น และ
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรูอ้ ่นื

เพอื่ เป็นการสง่ เสริม สนับสนุนการนเิ ทศ ติดตามครูผ้สู อนในการนาหลกั การ รปู แบบ และลกั ษณะ
กิจกรรมการเรยี นรู้เชิงรกุ ไปใช้จัดการจัดการเรยี นการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ สานกั งานเขต
พน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 จึงได้จัดทาเอกสารประกอบการการฝกึ อบรมครูการจัดกิจกรรม
การเรยี นร้เู ชิงรกุ (Active Learning) เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือส่งเสรมิ พฒั นา ติดตาม ช่วยเหลอื แนะนาการจดั
กจิ กรรมการเรียนรูเ้ ชงิ รุก (Active Learning) สาหรบั ครูในสงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
สรุ ินทร์ เขต 2

คณะผูจ้ ดั ทา

สำรบญั หนา้
1
ส่วนที่ 1 บทนำ 1
หลักการและเหตุผล 2
วัตถุประสงค์ 2
เปา้ หมาย 3
3
ส่วนท่ี 2 ความรพู้ ื้นฐานการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) 3
แนวคดิ ของการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) 3
ความหมายของการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning) 4
ความสาคัญของการจัดการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning) 4
ลักษณะของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 5
การบริหารจัดการเมอ่ื ใช้การเรียนการสอนแบบ Active learning 5
บทบาทของผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning 6
ข้อดีของการจัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning
ข้อจากัดของการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning 7
7
สว่ นท่ี 3 รูปแบบ วธิ สี อน เทคนิคกำรสอน และส่อื กำรเรยี น 8
ในกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นร้เู ชิงรกุ (Active Learning) 25
รปู แบบการสอน วธิ ีสอน เทคนคิ การสอน 28
รูปแบบการสอน วิธีสอน เทคนิคการสอน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชงิ รกุ 28
สื่อการเรยี นรู้ 28

ส่วนท่ี 4 กำรออกแบบกำรจัดกำรเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning) 31
ความหมายของการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ 37
แนวคดิ ในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) 43
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้และแผนการจดั การเรยี นรู้ท่เี นน้ การจดั การเรียนรู้เชงิ รุก 45
(Active Learning) 45
แผนการจดั การเรยี นรู้ 45
การประเมินผลกิจกรรมการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active learning) 60
62
ส่วนท่ี 5 กำรนิเทศเพอ่ื พฒั นำและสง่ เสรมิ กำรจดั กำรเรียนรูเ้ ชงิ รุก (Active Learning) 63
กรอบแนวคิดการนเิ ทศ 71
การนเิ ทศการจดั การเรยี นรู้ 76
81
บรรณำนกุ รม 85
ภำคผนวก

ตวั อย่างแบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้
ตัวอยา่ งแผนการจัดการเรียนร้เู ชิงรกุ (วชิ าคณติ ศาสตร์)
ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก (วิชาภาษาไทย)
ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรุก (วิชาภาษาอังกฤษ)
คณะทำงำน

1

สว่ นที่ 1
บทนำ

หลกั กำรและเหตุผล
พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาตพิ ุทธศกั ราช 2543 แก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พุทธศักราช 2545

หมวด 4 มาตราที่ 22 กาหนดไว้ว่าการจดั การศึกษาต้องยึดหลกั ผู้เรยี นทุกคนมีความสามารถเรยี นรูแ้ ละ
พฒั นาตนเองได้และถือวา่ ผู้เรียนมีความสาคญั ที่สุด การจัดการศึกษาต้องสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพและมาตราท่ี 24 ดังน้ี

1. จัดเนื้อหาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจและความถนัดของผเู้ รียน โดย
คานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

2. ฝึกทกั ษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชญิ สถานการณแ์ ละการประยุกต์ความรู้มาใช้
เพ่ือป้องกันและแก้ไขปญั หา

3. จดั กิจกรรมใหผ้ เู้ รียน ไดเ้ รียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏิบตั ใิ ห้ทาได้คิดเป็น ทาเป็น
รักการอา่ นและเกิดการใฝ่ร้อู ย่างตอ่ เนื่อง

ซ่ึงคุณลักษณะดังกลา่ วเปน็ ความสามารถของผู้เรยี นท่ีทาให้สามารถเรยี นร้ไู ด้ตลอดชวี ติ เป็นการ
สง่ เสรมิ ผเู้ รยี นให้เรยี นรู้ดว้ ยสมอง ด้วยกาย และด้วยใจ สามารถสรา้ งองค์ความร้ผู ่านกระบวนการคดิ ด้วย
ตนเอง ผู้เรียนรจู้ ักเรียนรูใ้ นเรื่องที่สอดคล้องกับความสามารถและความตอ้ งการของตนเองและได้พัฒนา
ศกั ยภาพของตนเองอยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2555 : 97) แนวคดิ การจดั การศึกษาน้ี
เป็นรากฐานจากปรัชญาการศึกษาและทฤษฎีการเรยี นรตู้ ่าง ๆ ท่ไี ด้ พัฒนามาอย่างตอ่ เน่ืองเป็นแนวทางท่ี
ได้รับการพิสูจนว์ ่าสามารถพัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะตาม ตอ้ งการอยา่ งได้ผล" (วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข์,
2550 : 79) การเรยี นรู้แบบมีสว่ นร่วม (Active Learning) ทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญส่งผลใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ
และมคี วามสาคญั ต่อการพัฒนาพฤติกรรม การเรยี นและผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรขู้ องผู้เรยี นในทกุ ดา้ น ซ่ึง
จะนาไปสู่ความเปน็ คนเกง่ คนดีและมีความสุข ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งขาติ พุทธศักราช 2542
ในหมวดที่ 4 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 22 ทก่ี ล่าวไว้ว่า"การจัดการศึกษาต้องยึดหลกั ว่า ผเู้ รยี นทุก
คนมคี วามสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้และถือวา่ ผูเ้ รียนมีความสาคัญท่สี ดุ กระบวนการจัดการศกึ ษา
ตอ้ งสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ศักยภาพ" ซึ่งเป็นนิยามเก่ียวกบั "การเรียนรเู้ ชงิ
รุก (Active Learning)" ซง่ึ เปน็ รปู แบบการจดั การเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ทีเ่ นน้ การจดั การเรียนรูใ้ หม้ ี
ทกั ษะและความพร้อมทางการเรยี นรตู้ ลอดไป

การจดั การเรียนรตู้ ามหลกั สูตรสถานศึกษาตอ้ งมงุ่ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้เชงิ รุกใหค้ รสู ามารถบูรณาการ
ความรู้และประสบการณ์ทไี่ ด้จากการจัดการเรยี นรมู้ าใช้ในการพัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพมากขนึ้ การจดั การ
เรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) เปน็ การจดั การเรยี นร้ใู ห้ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในกระบวนการคิดการได้รับการ
ปรึกษาชี้แนะ การนาความรูไ้ ปใช้ การถอดบทเรยี น การสะทอ้ นคิดรวมทงั้ การมี ปฏสิ ัมพนั ธ์และการ
แลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ับผ้อู ื่น เกิดแรงบนั ดาลใจ เกิดทกั ษะในการเรยี นรูด้ ้วยตนเองสามารถสร้างความรู้ ความ
เข้าใจ ความเชย่ี วชาญได้ตามความถนัดของตน ทั้งนีโ้ ดยคานงึ ถึงการจัดการเรียนรู้ ตามระดบั ชว่ งวัย จะเห็น
ได้วา่ การจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรุก(Active Learning) เป็นกระบวนการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนทจ่ี ะตอ้ งใช้ท้งั การคดิ
การลงมือทา การแลกเปล่ียนเรยี นรู้กบั ผู้อ่นื แต่จะต้องเปน็ ผู้มบี ทบาทหรือมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้
อย่างตื่นตวั (Active Participation) ซ่งึ ตรงกบั ความหมายท่ี ราชบณั ฑติ ยสถาน(2551) ไดใ้ หไ้ วว้ ่า

2

"การเรยี นรเู้ ชงิ รุก คอื การจัดการเรยี นรทู้ ี่ผเู้ รียนมบี ทบาทในกิจกรรมการเรยี นรอู้ ยา่ งมีชีวติ ชวี าและอย่าง
ตืน่ ตัว" และ ทิศนา แขมมณี (2555) ไดข้ ยายความแนวคดิ ของคาว่า "Active Participation" ไวว้ ่า
หมายถงึ การมสี ว่ นรว่ มอยา่ ง ต่นื ตวั ศัพท์ภาษาอังกฤษ คอื Active Participation หมายถึง การมีสว่ นรว่ ม
ท่ผี ูเ้ รียนร้เู ป็นผู้จดั กระทาตอ่ ส่ิงเรา้ ส่งิ ที่เรยี นรู้ มใิ ช่เพยี งรับสิ่งเรา้ หรอื การมสี ว่ นร่วมอย่างเปน็ ผู้รับเท่าน้ัน

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 2 ไดก้ าหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 โดยยดึ หลักพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีโอกาสเสมอภาคในการได้รับการศึกษาอยา่ งเท่าเทยี มกัน นาไปสู่
คุณภาพทง้ั ผเู้ รียน ครแู ละผบู้ ริหาร ควบคู่กับการพฒั นาคุณธรรมและยดึ ม่นั ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เป็นแนวทางในการจดั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏริ ปู ประเทศ ดา้ นการศึกษา แผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2565) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
และมุ่งสู่ Thailand 4.0 นโยบาย 3 สร้างของผู้อานวยการสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการจดั การศึกษาประถมศึกษา
สรุ ินทร์ เขต 2 ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย สร้างโอกาส (Opportunity) สร้างคณุ ภาพ (Quality) สรา้ งคณุ ธรรม
(Moral) ซึ่งได้เนน้ การจัดกระบวนการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นกระบวนการจดั การเรยี นรตู้ าม
แนวคดิ การสร้างสรรค์ทางปญั ญา (Constructivism) ทเี่ นน้ กระบวนการเรียนรู้มากกวา่ เน้อื หาวิชา เพื่อช่วย
ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเชอ่ื มโยงความรู้ หรือสรา้ งความรู้ใหเ้ กิดขึ้นดว้ ยตนเอง ด้วยการลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ ผ่านสอ่ื
หรอื กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีมีครูผู้สอนเปน็ ผูแ้ นะนา กระตุ้น หรอื อานวยความสะดวก ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรู้
ข้นึ โดยกระบวนการคิดขั้นสงู (Higher order thinking) กล่าวคือ ผู้เรยี นมีการวิเคราะห์สงั เคราะห์ และ
การประเมินค่าจากสิ่งท่ีไดร้ ับจากกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทาให้การเรียนรู้เปน็ ไปอยา่ งมีความหมาย และนาไปใช้
ในสถานการณ์อ่นื ๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ไดป้ ระกาศ
จดุ เน้นประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ทเ่ี ชอื่ มโยงกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการประจาปีงบประมาณ
2565 ฉบับลงวนั ท่ี 25 มิถนุ ายน 2564 วา่ ดว้ ยจุดเนน้ ที่ 6 สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ ผา่ นกระบวนการเรียน
การสอนทเี่ น้นใหผ้ ้เู รยี นมสี ว่ นร่วมและมีปฏสิ มั พันธ์กับกจิ กรรมการเรยี นรผู้ า่ นการปฏบิ ตั ิท่หี ลากหลาย
รูปแบบ (Active Learning) มกี ารวัดและประเมินผลในชั้นเรยี น เพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของ
ผเู้ รียน (Assessment for Learning) ทุกระดบั
วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อเป็นเอกสารประกอบการอบรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับครูใน
สังกัด สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2

2. เพอ่ื เปน็ แนวทางการนเิ ทศเพ่ือพฒั นา สง่ เสรมิ และนเิ ทศ ตดิ ตาม ครูในการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก
(Active Learning)
เปำ้ หมำย

เชงิ ปริมำณ
ครูในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ทกุ คน

เชงิ คณุ ภำพ
ครผู สู้ อนได้รบั การพัฒนา และไดร้ บั การนเิ ทศ ติดตามแนะนา ชว่ ยเหลือ ให้สามารถบูรณาการ

การจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning) ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เช่อื มโยงนโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จุดเนน้ สพฐ. และ นโยบาย 3 สรา้ ง ของผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2

3

ส่วนท่ี 2
ความรู้พ้ืนฐานการจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning)

แนวคิดของการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning)
การจดั การเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active learning) เป็นกระบวนการเรียนการสอนทสี่ ง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมีส่วน

ร่วมในชน้ั เรียน สร้างปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างครผู สู้ อนกับผ้เู รียน ม่งุ ให้ผเู้ รยี นลงมอื ปฏิบตั ิ โดยมีครเู ปน็ ผู้อานวย
ความสะดวก (Facilitator) สร้างแรงบันดาลใจ ใหค้ าปรึกษา ดแู ล แนะนา ทาหนา้ ทเ่ี ป็นโคช้ และ พ่ีเลย้ี ง
(Coach & Mentor) แสวงหาเทคนคิ วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ และแหลง่ เรยี นรู้ท่ีหลากหลาย ใหผ้ เู้ รียน ได้
เรยี นรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful learning) ผเู้ รยี นสรา้ งองค์ความรไู้ ด้ มีความขา้ ใจในตนเองใช้
สติปญั ญา คดิ วิเคราะห์ สรา้ งสรรคผ์ ลงานนวตั กรรมทบ่ี ่งบอกถึงการมีสมรรถนะสาคัญในศตวรรษที่ 21 มี
ทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะวิชาชีพ บรรลุเป้าหมายการเรียนร้ตู ามระดับช่วงวยั
ความหมายของการจัดการเรยี นร้เู ชงิ รกุ (Active Learning)

การจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) คอื การเรียนที่เนน้ ให้ผูเ้ รียนมปี ฏิสมั พันธ์กบั การเรยี น
การสอน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดขั้นสูง (Higher-Order Thinking) ดว้ ยการวิเคราะห์
สงั เคราะหแ์ ละประเมินค่า ไม่เพยี งแต่เปน็ ผู้ฟัง ผเู้ รยี นตอ้ งอ่าน เขียน ตัง้ คาถาม และถาม อภปิ รายร่วมกัน
ผู้เรยี นลงมือปฏบิ ตั จิ ริง โดยตอ้ งคานึงถึงความร้เู ดิมและความตอ้ งการของผเู้ รียนเป็นสาคัญ ทัง้ นี้ ผู้เรยี นจะ
ถกู เปล่ยี นบทบาทจากผู้รับความรไู้ ปสกู่ ารมสี ่วนรว่ มในการสรา้ งความรู้
ความสาคญั ของการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning)

1. Active Learning สง่ เสริมการมีอสิ ระทางดา้ นความคดิ และการกระทาของผเู้ รยี นการมี
วิจารณญาณ และการคิดสรา้ งสรรค์ ผูเ้ รยี นจะมีโอกาส มีสว่ นร่วมในการปฏิบัตจิ ริงและมีการใช้วจิ ารณญาณ
ในการคิดและตดั สินใจในการปฏิบตั กิ จิ กรรมนั้น มงุ่ สรา้ งให้ผูเ้ รียนเป็นผู้กากบั ทิศทางการเรยี นรู้ ค้นหาสไตล์
การเรยี นรู้ของตนเอง สกู่ ารเป็นผู้ร้คู ดิ ร้ตู ัดสนิ ใจด้วยตนเอง (Metacognition) เพราะฉะน้ัน Active
Learning จงึ เป็นแนวทางการจัดการเรียนรทู้ มี่ ุ่งใหผ้ ้เู รียนสามารถพฒั นาความคิดขนั้ สูง (Higher order
thinking) ในการมีวิจารณญาณ การวเิ คราะห์ การคดิ แกป้ ัญหา การประเมนิ ตัดสินใจ และการสร้างสรรค์

2. Active Leaning สนับสนุนสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งความร่วมมือ
ในการปฏิบัติงานกลุ่มจะนาไปส่คู วามสาเร็จในภาพรวม

3. Active Learning ทาใหผ้ ้เู รยี นทุ่มเทในการเรียน จูงใจในการเรียน และทาใหผ้ เู้ รยี นแสดงออก
ถึงความรู้ความสามารถ เมอื่ ผู้เรียนไดม้ ีส่วนร่วมในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมอยา่ งกระตือรือร้นในสภาพแวดลอ้ ม
ท่ีเอื้ออานวย ผา่ นการใชก้ ิจกรรมทคี่ รจู ดั เตรียมไวใ้ หอ้ ย่างหลากหลาย ผเู้ รียนเลอื กเรยี นรู้กิจกรรมต่าง ๆ
ตามความสนใจและความถนัดของตนเอง เกดิ ความรบั ผดิ ชอบและทุ่มเทเพอ่ื มงุ่ สู่ความสาเรจ็

4. Active Learning ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ท่กี ่อใหเ้ กิดการพฒั นาเชิงบวกท้ังตวั ผู้เรียนและตัว
ครู เปน็ การปรับการเรียนเปล่ยี นการสอน ผเู้ รียนจะมโี อกาสได้เลือกใช้ความถนดั ความสนใจ ความสามารถ
ที่เปน็ ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) สอดรบั กบั แนวคิดพหปุ ญั ญา (Multiple
Intelligence) เพ่ือแสดงออกถึงตวั ตนและศักยภาพของตัวเอง ส่วนครผู ูส้ อนตอ้ งมีความตระหนักทจี่ ะ
ปรบั เปลย่ี นบทบาท แสวงหาวธิ กี าร กิจกรรมทีห่ ลากหลาย เพ่ือชว่ ยเสริมสรา้ งศักยภาพของผู้เรียนแตล่ ะคน
สง่ิ เหล่าน้ี จะทาให้ครเู กดิ ทักษะในการสอนและมีความเชี่ยวชาญในบทบาท หนา้ ที่ทร่ี ับผิดชอบ เปน็ การ
พัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนาผเู้ รียนไปพร้อมกัน

4

ลกั ษณะของการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)
ลกั ษณะของการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก มดี ังน้ี
1. เป็นการพฒั นาศักยภาพการคิด การแก้ปญั หา และการนาความร้ไู ปประยุกต์ใช้
2. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรยี นรู้ และสรา้ งองคค์ วามรูโ้ ดยมีปฏิสมั พนั ธ์รว่ มกันใน

รูปแบบของความรว่ มมือมากกว่าการแข่งขัน
3. เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนมสี ่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สงู สุด
4. เปน็ กิจกรรมท่ีใหผ้ เู้ รียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ สู่ทักษะการคดิ วเิ คราะห์และ

ประเมินค่า
5. ผูเ้ รยี นได้เรียนรู้ความมีวนิ ยั ในการทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืน
6. ความรเู้ กดิ จากประสบการณ์ และการสรปุ ของผู้เรียน
7. ผสู้ อนเปน็ ผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนเป็นผปู้ ฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง

จากลกั ษณะการเรียนรแู้ บบ Active Learning ดังกล่าว มกี ระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกัน ดังน้ี
1. จัดการเรียนรทู้ ่พี ฒั นาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคดิ การแกป้ ัญหาและการนาความรไู้ ป

ประยกุ ต์ใช้
2. จดั การเรียนรูท้ เี่ ปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนมีส่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรสู้ งู สุด
3. จดั ใหผ้ ู้เรยี นสร้างองค์ความรูแ้ ละจัดกระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
4. จดั ให้ผู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรียนรู้ ทั้งในด้านการสรา้ งองค์ความรู้ การสรา้ งปฏสิ มั พนั ธร์ ่วมกัน

สร้างความร่วมมือกนั มากกว่าการแขง่ ขนั
5. จัดให้ผูเ้ รียนเรียนรู้เรื่องความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั การมีวินยั ในการทางานและการแบง่ หนา้ ที่ความ

รับผดิ ชอบในภารกจิ ต่าง ๆ
6. จดั กระบวนการเรียนท่ีสรา้ งสถานการณใ์ ห้ผู้เรยี นอ่าน พูด ฟงั คิดอย่างลมุ่ ลึก ผูเ้ รียนจะเป็นผู้

จัดระบบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
7. จัดกิจกรรมการจดั การเรยี นร้ทู เ่ี นน้ ทักษะการคดิ ขน้ั สูง
8. จัดกจิ กรรมทเ่ี ปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร หรอื สารสนเทศและหลกั การ

ความคิดรวบยอด
9. ผสู้ อนจะเป็นผอู้ านวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรยี นเป็นผู้ปฏิบัตดิ ว้ ยตนเอง
10. จัดกระบวนการสร้างความร้ทู ีเ่ กิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้และการสรุปทบทวน

ของผู้เรียน
การบริหารจัดการเม่ือใชก้ ารเรียนการสอนแบบ Active learning

1. พิจารณาจดุ ประสงค์ เนื้อหา ทตี่ อ้ งการใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรู้
2. ออกแบบกจิ กรรมทช่ี ว่ ยสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้ได้อย่างแทจ้ ริง
3. ใชก้ จิ กรรมการเรียนเชิงรุก เพอื่ กระตุน้ ใหผ้ เู้ รยี นเรียน
4. ประเมินผลการเรียนอยู่เสมอ เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรยี นเรียนรู้อะไรบา้ งและมปี ระเดน็ ใดทผ่ี ู้เรยี น
ยังสงสยั
5. หลกี เลี่ยงการสอนเพอื่ ให้ครบใหท้ ัน รีบเร่ง เพราะจะทาให้ผ้เู รียนไมอ่ ยากเรียน

5

บทบาทของผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning
จดั ให้ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรียนการสอน กจิ กรรมต้องสะทอ้ นความตอ้ งการในการพฒั นา

ผ้เู รยี นและเนน้ การนาไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตจรงิ ของผ้เู รียน
1. สรา้ งบรรยากาศของการมีสว่ นร่วม และการเจรจาโต้ตอบทส่ี ง่ เสริมให้ผู้เรยี นมปี ฏิสมั พันธ์ทด่ี ี

กบั ผู้สอนและเพื่อนในชนั้ เรียน
2. จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้เป็นพลวัต สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมีส่วนรว่ มในทกุ กิจกรรมรวมทงั้

กระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสาเรจ็ ในการเรียนรู้
3. จัดสภาพการเรยี นรูแ้ บบร่วมมอื ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การรว่ มมือในกลุ่มผูเ้ รียน
4. จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหท้ ้าทาย และใหโ้ อกาสผ้เู รียนได้รับวธิ ีการสอนท่ีหลากหลาย
5. วางแผนเกย่ี วกับเวลาในจัดการเรยี นการสอนอย่างชัดเจน ทงั้ ในส่วนของเน้ือหา และกจิ กรรม
6. ครผู ูส้ อนต้องใจกว้าง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของทผ่ี ู้เรียน

บทบาทของผู้เรยี นในการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู บบ Active Learning
ในทานองเดยี วกนั กบั การจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ผเู้ รยี นไม่ได้เปน็ ผนู้ ่งั ฟังผูส้ อนบรรยาย

อยา่ งเดียว แต่เป็นผู้ที่มบี ทบาทสาคัญในการขับเคล่อื นกจิ กรรมเพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ดงั น้ี
1. มีความรบั ผิดชอบ เตรียมตัวลว่ งหนา้ ให้พรอ้ มทจี่ ะเรยี นรู้ ศกึ ษา และปฏิบตั งิ านในสง่ิ ท่ีผู้สอน

มอบหมายให้ศกึ ษาล่วงหน้า
2. ใหค้ วามรว่ มมือกบั ผสู้ อนในการจัดการเรียนรู้ เรม่ิ จากการวางแผนการจัดการเรียนรู้ การดาเนิน

กจิ กรรม และการประเมินผล
3. มีสว่ นร่วมในการทากิจกรรมอยา่ งกระตือรือร้น
4. มปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างผสู้ อนกับผู้เรยี น เพอื่ สร้างองคค์ วามร้ใู หม่ การทางานเปน็ ทีม และการ

ยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผู้อน่ื
5. มคี วามกระตือรือรน้ ทจี่ ะเรียนร้ไู ด้ลงมือปฏบิ ตั ิ ในสถานการณจ์ ริงด้วยตนเองเพื่อใหเ้ กิดการ

เรียนรู้ด้วยตนเอง
6. มกี ารใช้ความคิดเชงิ ระบบ ไดแ้ ก่ การคดิ วเิ คราะห์ การคิดเชงิ เหตุผล การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ

การคิดเชอ่ื มโยง และการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์
7. มีทศั นคติที่ดีต่อการเรียนรู้ เพราะการเรยี นร้ไู มใ่ ชเ่ ร่ืองท่นี ่าเบ่ือ แต่เปน็ การเรียนแบบสนกุ สนาน

มีชวี ิตชีวา
ขอ้ ดขี องการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning

1. เปน็ แรงขับทท่ี าให้ผู้เรียนอยากเรียนรใู้ นเน้ือหาวชิ า
2. สง่ เสริมและพฒั นาทักษะการสร้างการทางานเป็นทีม สร้างความแขง็ แกร่งของเครือข่ายการ
เรยี นรู้ การเรยี นรแู้ บบมสี ่วนรว่ มทาให้ผเู้ รียนเห็นคุณค่าในตนเอง ทาใหเ้ กิดการแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์
3. ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ด้วยการค้นพบแนวคิดและการสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง
4. สง่ เสริมการเรียนให้สนุกนานมีแบบการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย เหมาะสมกับผู้เรียนท่มี ีความ
แตกต่างกนั ในรปู แบบการเรียนรูข้ องแตล่ ะคน ทาใหก้ ารเรียนสนุก และสงิ่ แวดล้อมการเรียนรู้ท่ีตน่ื ต้นเสรมิ
พลังทางบวก และการมีส่วนร่วมของผู้เรยี นอยา่ งมีชีวติ ชีวา
5. สามารถนาเน้ือหาทเี่ รียนไปประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบัติจริง
6. เพม่ิ ช่องทางการสื่อสารกบั ผเู้ รียนทมี่ ีความแตกตา่ งกัน

6

7. ชว่ ยสร้างความคงทนในการจดจาขอ้ มูล และสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
8. เปน็ การเตรียมเส้นทางใหผ้ ู้เรยี นเหน็ คุณค่า ยอมรบั และได้รับส่งิ ตอบแทน
ข้อจากดั ของการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning
1. ตอ้ งใช้เวลาจึงอาจทาใหผ้ สู้ อนไมส่ ามารถจัดการเวลาท่ีมีอยกู่ บั จานวนเน้ือหาหลกั สตู รทีม่ ากได้
2. ต้องใชเ้ วลาในการเตรียมการ ดงั น้ันหากผู้สอนท่ีมีภาระงานสอนมากจะไม่สามารถใชก้ ารจดั การ
เรียนรู้แบบ Active Learning ได้
3. การใชก้ ารเรยี นร้แู บบ Active Learning ในหอ้ งเรียนทม่ี ีขนาดใหญ่ จานวนผู้เรียนมากอาจมี
ขอ้ จากัดในการดแู ลควบคุมใหผ้ เู้ รยี นดาเนินกจิ กรรมไปในทศิ ทางท่ีผสู้ อนวางแผนได้ยาก
4. ผู้สอนท่ีมคี วามเช่ือมนั่ ในตนเองสูงคิดวา่ ตนเองเปน็ ผูบ้ รรยายทดี่ จี ะไม่ยอมรบั วธิ กี ารเรียนรู้
แบบ Active Learning ทีใ่ หค้ วามสาคัญกับกระบวนการมากกว่าผสู้ อน
5. ความตอ้ งวสั ดุอุปกรณจ์ าเป็นอย่างย่ิงสาหรับการสอน Active Learning ในห้องเรยี นตอ้ งมี
ความพร้อมในเรื่องวัสดอุ ปุ กรณ์
6. ผู้เรียนต่อต้านวิธีการสอนที่ไม่ใช่การบรรยาย เน่ืองจากผเู้ รยี นจะคุ้นชินกบั การเรยี นโดยวิธีการ
มารับความรจู้ ากผ้สู อนมากกวา่ การเรียนโดยการลงมือปฏบิ ัติดว้ ยตนเองตามคาแนะนาของผู้สอนเพื่อใหเ้ กิด
การเรียนรู้

7

สว่ นท่ี 3
รูปแบบ วิธีสอน เทคนคิ การสอน และส่ือการเรียน
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชงิ รุก(Active Learning)

รูปแบบการสอน วิธีสอน เทคนคิ การสอน
รูปแบบการสอน วิธสี อน เทคนิคการสอน เปน็ สิ่งจาเปน็ ที่ครูตอ้ งทราบและนาสง่ิ เหลา่ น้ี ไปใช้ในการ

สอน เพ่ือช่วยใหน้ ักเรียนเรยี นเข้าใจ มคี วามรู้และประสบผลสาเร็จในการเรยี น การเลือกวธิ ีการหรือ
กิจกรรมทีเ่ หมาะสมกบั การเรียนร้ใู นหน่วยน้นั ๆ และทส่ี าคัญ คือ ต้องเปน็ วธิ กี ารที่สอดคลอ้ งกบั สภาพ
ผเู้ รียน ผู้สอนจึงต้องเลอื กใชร้ ูปแบบการสอน วธิ ีสอน เทคนิคการสอน อยา่ งหลากหลาย เพ่อื ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี น
ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่นจนบรรลุตัวชว้ี ดั ทกุ ขอ้

รูปแบบการสอน เป็นลาดับ ขั้นตอน การเตรียมการ การจัดกิจกรรมและการประเมนิ ผล ของการจดั
กิจกรรมหรือประสบการณ์การเรียนรู้ให้กบั ผ้เู รียน ตามเปา้ หมายหรือผลทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ของรปู แบบการ
สอนน้นั ๆ รูปแบบการสอน เป็น สภาพหรอื ลักษณะของการ จัดการเรียนการสอนท่ีจัดข้ึนอยา่ งมรี ะบบ
ระเบยี บ มแี บบแผนตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลกั การ แนวคดิ หรือความเชื่อตา่ งๆ โดยอาศยั วิธีสอนและ
เทคนคิ การสอนตา่ งๆ เข้ามาชว่ ยใหส้ ภาพการเรยี นการสอนน้ันเป็นไปตามหลักการทย่ี ึดถือ (ทิศนา แขมมณ.ี
2550 : 3-4) การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน จงึ ควรเป็นวิธีการและขั้นตอนฝกึ ปฏิบตั ิทส่ี ่งเสริมหรือ
กระตุ้นใหผ้ ้เู รยี นสามารถคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ เชน่ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รปู แบบการ
สอนโดยใช้การคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รปู แบบการเรียนการสอน
ตามวฏั จักรการเรยี นรู้ แบบ 4MAT รูปแบบการเรยี นการสอนแบบรว่ มมอื เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI,
TGT รูปแบบการสอน 5steps รูปแบบการสอนแบบค้นพบ รปู แบบการเรยี นร้โู ดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน
(Activity-Based Learning) รูปแบบการเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน(Project-Based Learning)เป็นตน้

วธิ ีสอน เปน็ วธิ ีการท่ีครใู ชใ้ นการสอนใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนร้ตู ามวัตถุประสงค์ (ทิศนา แขมมณ.ี
2555 : 321) ในการสอนควรเลอื กใช้วธิ กี ารสอนทสี่ อดคล้องกับเนื้อหาของบทเรยี น ความถนัด ความสนใจ
และสภาพปญั หาของผเู้ รียน วธิ ีสอนทด่ี ีจะช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถบรรลผุ ลการเรยี นรู้ตามในระดบั ผลสมั ฤทธิ์
ทสี่ ูง เช่น วิธกี ารสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภปิ รายกลุ่มยอ่ ย การแสดงบทบาทสมมติ
การใช้กรณีตวั อย่าง การใชส้ ถานการณ์จาลอง การใชศ้ นู ย์การเรยี น การใชบ้ ทเรียนแบบโปรแกรม การ
แสดงละคร แบบระดมสมอง (Brainstorming) แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) แบบแลกเปลย่ี น
ความคิด (Think - Pair - Share) แบบสะท้อนความคิด (Student's Reflection) แบบนริ นยั (Deduction)
แบบอปุ นยั (Induction) เปน็ ตน้

เทคนคิ การสอน เป็นกลวิธตี า่ งๆทใี่ ชเ้ สรมิ กระบวนการสอน ขัน้ ตอนการสอน วิธีสอน หรือการ
ดาเนนิ การทางการสอนใดๆ เพอ่ื ช่วยใหก้ ารสอนมคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพมากขน้ึ มีเทคนิคการสอนที่
หลากหลายวิธีท่ีเหมาะสมกับเนอ้ื หาสาระ ความสนใจและความตอ้ งการของ ผเู้ รยี นและสามารถเอื้อให้
ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรูแ้ ละบรรลุจุดมุ่งหมายท่ีกาหนด (ทศิ นา แขมมณี. 2555 : 478) ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนควรเลอื กใช้เทคนคิ การสอนทีส่ อดคลอ้ งกับวิธีการสอน และช่วยให้ผ้เู รียนเข้าใจเนอ้ื หาใน
บทเรียนไดง้ ่ายขนึ้ สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจใหผ้ เู้ รียนรว่ มปฏิบัติกิจกรรมการเรยี นรอู้ ย่างมี
ประสทิ ธิภาพ เช่น เทคนคิ การใชผ้ ังกราฟกิ (Graphic Organizers) เทคนคิ การเลา่ นิทาน การเลน่ เกม
เทคนิคการใช้คาถาม การใช้ตัวอย่างกระตุน้ ความคดิ การใช้เพลง การเลา่ เร่ือง การเสริมแรง การใชส้ อ่ื การ
เรยี นรทู้ ่นี า่ สนใจ เปน็ ต้น

8

รูปแบบการสอน วิธสี อน เทคนิคการสอน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ ชิงรกุ
รปู แบบการสอน วธิ ีสอน เทคนิคการสอน มีวิธกี ารจัดการเรยี นรู้ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เชงิ รกุ

มีหลากหลายรปู แบบซงึ่ ครูตอ้ งจัดให้เหมาะสมกับความแตกต่างตามลกั ษณะของผเู้ รยี น ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มใน
ช้ันเรยี น สร้างปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างครูผสู้ อนกบั ผเู้ รยี น มงุ่ ให้ผูเ้ รยี นลงมือปฏบิ ัติ โดยมคี รูเป็นผสู้ ร้างแรง
บนั ดาลใจ ใหค้ าปรกึ ษา ดูแล แนะนา แสวงหาเทคนิควธิ ีการจดั การเรยี นรู้ และแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
ให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้อย่างมีความหมาย ผเู้ รียนสร้างองคค์ วามรไู้ ด้ มคี วามเข้าใจในตนเองใชส้ ติปัญญา คิด
วิเคราะห์ สรา้ งสรรคผ์ ลงานนวัตกรรมท่บี ่งบอกถงึ การมีสมรรถนะสาคัญในศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะวชิ าการ
ทักษะชีวิต และทักษะวชิ าชีพ บรรลเุ ป้าหมายการเรยี นรู้ตามระดบั ช่วงวัย โดยจะเสนอรูปแบบการสอน วธิ ี
สอน เทคนิคการสอน ดงั นี้

1. รูปแบบการจัดจกิ รรมการเรียนรดู้ ้วยกระบวนการเรยี นรู้ 5 ขัน้ ตอน (5 STEPs)
การจัดการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 มงุ่ หวังในการพฒั นาเด็กไทยหรือคนไทยใหเ้ ปน็ ผูเ้ รียนรตู้ ลอด
ชีวติ และอย่างมีคุณคา่ ดังนน้ั ครูผสู้ อนต้องยึดนักเรยี นเปน็ ศูนย์กลางและเปน็ สาคัญ โดยมีการใช้กระบวน
การเรยี นรู้ เคร่ืองมอื และเทคโนโลยที หี่ ลากหลายในการจดั การเรยี นรู้ ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นมกี ารเรยี นรู้ตลอด
ชวี ติ อยา่ งมคี ุณภาพดว้ ยตนเอง ดงั นน้ั จงึ เปน็ ทม่ี าของการนา กระบวนการเรยี นรู้ 5 ข้นั ตอน (5STEPs) มาใช้
ในการจดั การเรยี นรู้ในปจั จบุ ัน กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) มีการใช้ชื่อเรยี กอืน่ เชน่ การ
เรียนรู้แบบ บันได 5 ขนั้ QSCCS หรือ Big five learning เปน็ ต้น ซึ่งเปน็ แนวการจดั การเรียนการสอนโดย
ใช้ วธิ ีการสบื สอบหรอื วิธีสอนแบบโครงงาน ซ่ึงประกอบด้วยขัน้ ตอนการจัดกิจกรรม คอื การ ระบคุ าถาม
การแสวงหาสารสนเทศ การสร้างความรู้ การสื่อสาร และการตอบแทนสงั คม ท้ังหมดนีจ้ ะเปน็ ตวั ช่วย
พัฒนาครใู ห้มีประสิทธภิ าพ และสามารถทาใหเ้ ด็กไทยสามารถเรียนรไู้ ด้ตลอดชวี ิต อยา่ งมคี ุณภาพอีกดว้ ย
พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์และพเยาว์ ยินดสี ุข (2558) กลา่ ววา่ กระบวนการเรยี นรู้ 5 ขน้ั ตอน หมายถงึ แนว
ทางการจัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญโดยใช้วิธกี ารสอนแบบโครงงาน หรือวธิ กี ารสบื สอบ ซง่ึ ได้
พฒั นามาจากวฏั จกั รการเรียนรู้ 5 ข้นั ตอน (5E)
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขนั้ ตอน ประกอบดว้ ยขนั้ ตอนและกิจกรรมการเรยี นรูด้ ังตอ่ ไปน้ี (พมิ พนั ธ์
เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดสี ุข, 2558 : 81)
ขนั้ 1 การเรยี นรรู้ ะบุคาถาม (learning to question) เปน็ ขั้นตอนที่ใหน้ กั เรียนสงั เกตส่ิง ตา่ ง ๆ
เพ่อื กระตุน้ ให้เกดิ ความสงสยั แลว้ ฝกึ ใหต้ ้ังคาถาม เพ่ือให้นักเรยี นตง้ั สมมตุ ฐิ านของคาถามท่ีตอ้ งการหา
คาตอบ ซึ่งเปน็ แนวทางการออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้น 2 การเรยี นรแู้ สวงหาสารสนเทศ (learning to search) เป็นขน้ั ตอนท่ีให้นกั เรยี นวางแผนเพอื่
รวบรวมข้อมูล พิสจู น์สมมตฐิ านทกี่ าหนด แลว้ รวบรวม/ทดลองเก็บขอ้ มลู เพ่ือวเิ คราะห์ผล สือ่ ความหมาย
ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ และสรปุ ผล
ข้ัน 3 การเรยี นรู้เพื่อสรา้ งความรู้ (learning to construct) เปน็ ขัน้ ตอนท่ีใหน้ กั เรียน สร้าง
คาอธิบายจากผลการทาโครงงานตามความสนใจ ซงึ่ เปน็ ความรู้ใหม่ทงั้ ของนกั เรยี น
ขน้ั 4 การเรียนรเู้ พื่อสื่อสาร (learning to communicate) เป็นขน้ั ตอนทใี่ หน้ กั เรียนนาเสนอ
ผลงานตอ่ หนา้ ช้นั เรียนและต่อครูผ้สู อน และปรับปรงุ แกไ้ ขเพือ่ สรุปคาอธบิ าย หรือความรใู้ หม่ท่ีคน้ พบ
ข้ัน 5 การเรียนรเู้ พื่อตอบแทนสังคม (learning to service) เปน็ ข้ันตอนทใี่ ห้นกั เรยี นนาโครงงาน
ท่ีได้ไปเผยแพรภ่ ายในโรงเรียน กลุม่ โรงเรียน โดยการจดั แผงโครงงาน และมีการสะท้อนความคดิ

9

2. รูปแบบการเรียนการสอนของสถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ได้เสนอรปู แบบการจดั การเรียนการสอนสอนคณิตศาสตร์ระดบั ประถมศึกษาในแตล่ ะเนื้อหาโดยให้คานงึ ถึง
ข้ันตอนการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น เปน็ ไปตามลาดบั ขัน้ ดงั นี้ (กรมวชิ าการ. 2538 : 18)

1. ข้ันทบทวนความรู้พ้ืนฐานเดมิ เป็นข้ันทนี่ าความรู้เดิมท่ีนักเรียนไดเ้ รยี นมาก่อนแลว้ มาเปน็
พ้นื ฐานในการหาความรูใ้ หม่ท่ีกาลังจะสอน

2. ขั้นสอนเน้อื หาใหม่ เป็นข้ันเรียนรู้เนือ้ หาใหม่ซ่ึงควรเริม่ จาก
2.1 การใช้ของจรงิ เปน็ การนาเอาสง่ิ ท่ีเปน็ รปู ธรรมมาจดั ประสบการณ์ให้นักเรยี นสามารถ

สรุปไปสนู่ ามธรรมได้
2.2 การใชร้ ปู ภาพของจาลอง และสอ่ื ตา่ ง ๆ เปน็ การเปลี่ยนเครอื่ งช่วยคิดจากของจริงมา

เปน็ รูปภาพหรอื ใชข้ องจาลอง และสื่อตา่ ง ๆ
2.3 การใชส้ ัญลักษณ์ หลงั จากท่ีนกั เรยี นเรยี นรู้การใช้ของจริง รปู ภาพ ของจาลอง และส่อื

ตา่ ง ๆ โดยครเู ป็นผู้อธิบายการใชส้ ญั ลักษณแ์ ทนสอื่ ตา่ ง ๆ เหล่าน้ัน
3. ขนั้ สรุปหลกั การคิดลดั เป็นขั้นทีค่ รู – นกั เรียนชว่ ยกันสรปุ หาวิธกี ารคดิ ท่ีเรว็ กวา่ การคดิ ปกติ

ในรปู ของสตู ร ทฤษฎี ซงึ่ มจี ุดประสงคเ์ พอ่ื ความสะดวกในการนาไปใช้คราวต่อไป
4. ขน้ั ฝึกทกั ษะการคานวณ เปน็ ขั้นท่ใี หน้ ักเรยี นนาสูตร ทฤษฎหี รือท่ีสรปุ มาฝกึ ทักษะการคดิ

คานวณตวั เลขเพื่อให้เกดิ การคดิ เลขเร็ว ซึ่งอาจฝึกทกั ษะจากแบบฝึกหดั จากหนงั สือเรยี น และบตั รงาน
5. ขน้ั นาความร้ไู ปใช้ เป็นขนั้ โยงตวั เลขให้สมั พนั ธก์ บั โจทย์ปัญหาเพื่อนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั

และใช้ในวิชาอืน่ ทเี่ กย่ี วข้อง
6. ข้ันการประเมนิ ผล เป็นข้นั ทค่ี รูประเมนิ ผลการเรียนรูข้ องนกั เรียนวา่ ผ่านตามจุดประสงค์

หรือไม่ ถา้ ผ่านก็ให้นักเรยี นเรียนเนอ้ื หาต่อไป ถา้ ไมผ่ า่ นต้องสอนซ่อมเสริม
3. รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model กระบวนการสอนทเ่ี นน้ ให้ผู้เรยี นเกดิ ความรู้ ความคดิ

และการตัดสนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ สามารถสร้างความรู้ ค้นพบความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง นกั เรียนมบี ทบาทมากใน
กิจกรรมการเรยี นการสอน และผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ได้ โดยมขี ้ันตอนการจดั กิจกรรม 7
ขัน้ ดังนี้ (ทศิ นา แขมมณ.ี 2555 : 282-284)

1. ขน้ั ทางทวนความรูเ้ ดิม
2. ข้นั การแสวงหาความรูใ้ หม่
3. ข้ันการศึกษาทาความเขา้ ใจข้อมูล/ความรใู้ หม่และเชอื่ มโยงความใหม่กบั ความรู้เดมิ
4. ข้นั การแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกบั กลุ่ม
5. ขั้นการสรุปและการจดั ระเบยี บความรู้
6. ขน้ั การแสดงผลงาน
7. ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้
4. รูปแบบการเรียนการสอนตามวฏั จักรการเรยี นรู้ แบบ 4MAT เป็นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่
เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ทุกคนมีโอกาสในการเรียนรู้อย่างเท่าเทียมกัน ตามความถนัดของตน เนน้ ความ
แตกตา่ งระหวา่ งบุคคล มีความสขุ ในการเรียนรู้ เสริมสร้างทักษะทางสงั คม ผู้เรียนสามารถคน้ พบความรูไ้ ด้
ดว้ ยตนเองจากการจัดกจิ กรรมที่หลากหลาย สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ได้จรงิ อนั เปน็ การ
พฒั นาสมองของผเู้ รยี นท้งั ซีกซา้ ยและซีกขวาอย่างสมดลุ โดยมขี ั้นตอนการจัดกิจกรรม ดังน้ี (วมิ ลรัตน์
สนุ ทรโรจน.์ 2554 : 243-256)

10

ขนั้ ที่ 1 การสร้างประสบการณ์
ขั้นท่ี 2 การวิเคราะหป์ ระสบการณ์ หรอื สะท้อนความคดิ จากประสบการณ์
ขั้นท่ี 3 การพัฒนาประสบการณ์เป็นความคิดรวบยอดหรือแนวคดิ
ข้นั ที่ 4 การพฒั นาความรู้ความคิด
ขั้นที่ 5 การปฏบิ ัติตามแนวคิดที่ไดเ้ รยี นรู้
ขั้นที่ 6 การสรา้ งชิน้ งานดว้ ยตนเอง
ขน้ั ที่ 7 การวเิ คราะหผ์ ลงานและแนวทางในการนาไปประยุกต์ใช้
ขน้ั ท่ี 8 การแลกเปล่ียนความรคู้ วามคิด
5. การจดั การเรยี นรู้แบบ KWL Plus เป็นเทคนิคการจัดการเรยี นรู้ที่สามารถนามาใช้ในการพัฒนา
ทักษะการคิด วเิ คราะห์ โดยผา่ นการอา่ น เพราะแต่ละขนั้ ตอนจูงใจใหน้ ักเรียนอา่ นรวมถึงสามารถพัฒนา
ทักษะการ เขยี นสรุป ความได้เช่นเดยี วกนั จากขน้ั การเขยี นสรุปความจากแผนภูมิรูปภาพความคดิ การ
สรา้ งแผนภมู ริ ปู ภาพความคดิ (Mind Mapping หรือ Concept Mapping) ต่อท้าย KWL ช่วยในการจัด
องค์ความรใู้ หม่จากเรือ่ งที่อา่ น แสดงสาระหลกั สาระรอง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสาระต่าง ๆ เปน็ การสรา้ ง
แผนผังคาสาคัญกับลายเสน้ แสดงออกถงึ ความเข้าใจ อยา่ งแท้จริง แล้วนามาเขยี นสรุปความ ใช้เทคนคิ
KWL Plus ภายใต้การแนะนาช่วยเหลอื และการถาม คาถามให้ศษิ ย์ของครู นอกจากนัน้ นักเรยี นยัง
สามารถนาเทคนิคน้ีไปใชใ้ น การเรียนรู้สาระอ่ืน ๆ ต่อไป (วัชรา เล่าเรยี นดี. 2553 : 144 - 145)
วชั รา เลา่ เรยี นดี (2553 :146 - 147) ไดจ้ ดั ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรู้แบบ KWL Plus ดังน้ี
1. ข้ัน K (Know) ร้อู ะไรจากเร่ืองท่ีอา่ น หรอื จากหัวเรือ่ งที่กาหนด ก่อนท่คี รจู ะให้ ผเู้ รียนอา่ น
รายละเอียดของเร่อื งทก่ี าหนดให้ ครอู าจเสนอชื่อเรื่อง คาสาคัญของเรอื่ ง เพื่อถามคาถาม วา่ รอู้ ะไรจากคา
หรอื ชื่อเรอื่ ง เพื่อจะให้ทราบว่านักเรยี นมีความร้เู ตม็ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั เรอ่ื งท่อี ่านใหน้ ักเรยี น ระดมสมองหา
คาตอบ หรือให้ระบุคาต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั ช่ือเร่อื ง คา และความคดิ รวบยอดทร่ี ะบุ
2. ขั้น W (What do we learn) เราอยากรู้อะไรจากคาต่าง ๆ ทร่ี ะบุในข้นั K โดยให้ นักเรียนตั้ง
คาถามจากคาที่นาเสนอ ซึ่งคาถามจะมาจากความสนใจ ใครรขู้ องนักเรยี นเองโดยทีน่ กั เรียน ตอ้ งเลอื กตอบ
ลงในตารางช่อง W ต่อจากน้ันให้นักเรยี นอ่านเรื่องหรือบทอา่ นที่กาหนดโดยละเอยี ด ตรวจสอบคาตอบ
ข้อเทจ็ จรงิ ท่ไี ด้จากการอ่าน ระหวา่ งอ่านอาจมีคาถามเพ่ิมและมีการตอบโดยกลมุ่
3. ขน้ั L1 (What did we learn) เราได้เรยี นรูอ้ ะไรบ้างนักเรยี นเขยี นคาตอบลงใน ตาราง L
ตรวจสอบวา่ มคี าถามใดบ้างท่ียงั ไม่มีการตอบ
4. ข้ัน L2 สรา้ งแผนผงั ความคดิ นกั เรียนต้องกลับไปอ่านทบทวนจากข้ัน K เพอ่ื ทจ่ี ะ ไดจ้ ดั ประเภท
ของสงิ่ ท่ีเรยี นร้โู ดยเขียนคาสาคัญไวต้ รงกลางแผนผังความคิดหลกั
5. ขั้น L3 ขั้นสรปุ นกั เรยี นเขียนหมายเลขกากบั ลาดบั ความคดิ รวบยอด แผนผงั ความคิด เพอื่
เขยี นสรุป การสรุปข้นั นี้เปน็ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนักเรยี นซึง่ จะบอกถงึ ความ เขา้ ใจของ เรื่องท่ีอา่ น
ของนักเรียน
ดังนนั้ สามารถสรุปไดว้ า่ การจัดการเรยี นรูแ้ บบ KWL Plus สามารถนามาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้
ทุกกลุม่ สาระโดยเฉพาะในเร่อื งท่ีนักเรยี นต้องอา่ น คดิ และทาความเข้าใจ เร่อื งที่อ่านไว้ สาหรับฝกึ ฝน
ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ทกั ษะการแกป้ ัญหา และการคิดแบบตา่ ง ๆ ไดโ้ ดยคงสาระและ ข้ันตอนการจัด
กจิ กรรมตามขัน้ ตอน ของ KWL โดยเพิม่ เติมในส่วนของการทาแผนผังความคิด (Mapping) และการสรุป

11

ใจความสาคัญของ เรื่องที่อ่าน เพอื่ ให้นักเรยี นเกดิ ความคิดรวบยอดในเรือ่ งที่ อ่านและนาความรู้ทีไ่ ดร้ บั จาก
การอา่ นไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อไป

6. รปู แบบการเรียนร้แู บบรว่ มมือ (cooperative learning)
รปู แบบการเรยี นร้แู บบร่วมมือเป็นรูปแบบที่เนน้ การเรยี นรู้ของผ้เู รียนในด้านเน้อื หาสาระตา่ ง ๆ
ด้วยตนเองโดยอาศัยความร่วมมอื ชว่ ยเหลือจากเพื่อน ๆ ในกลุ่ม นอกจากน้ีผู้เรียนยงั ได้พัฒนาทกั ษะทาง
สังคมทเี่ น้นทักษะการทางานร่วมกับผอู้ ื่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการสร้างปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล และ
การยอม รบั ความแตกตา่ งของบคุ คล นอกจากนั้นผูเ้ รยี นยงั ไดพ้ ัฒนาทกั ษะการคดิ และการแก้ปัญหา
ลักษณะสาคัญของรูปแบบการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมอื เน้นการทางานแบบร่วมมอื กัน โดยออกแบบงาน
(cooperative task) ซงึ่ ต้องอาศัยการทางานแบบรว่ มมือของสมาชิกทุกคนในกลมุ่ งานนนั้ จงึ จะสาเร็จได้
และการจัดโครงสรา้ งของการให้รางวลั (reward structure) กบั กลุ่มจากการทสี่ มาชิกทุกคนในกลุ่มมีส่วน
ชว่ ยกันให้ประสบความสาเร็จ หรือรางวลั ทใ่ี หส้ าหรบั ผลการพัฒนาของสมาชิกทุกคนในกลุ่มรวมกนั ขน้ั ตอน
การเรยี นการสอน หลักการของการเรียนรู้แบบร่วมมือได้นาไปใชใ้ นการออกแบบรปู แบบการเรียนการสอน
แบบร่วมมอื หลายรูปแบบ ซึง่ จะกล่าวถึงในที่น้ี 4 รูปแบบ แต่ละรูปแบบมีขัน้ ตอนการเรียนการสอน ดังน้ี
6.1 รปู แบบจกิ ซอ 2 (jigsaw II) เป็นรปู แบบการเรยี นการสอนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยศึกษา
จากเอกสารความรู้ท่นี ามาให้อา่ น โดยผู้เรียนห้องจะไดร้ บั การจดั เข้ากล่มุ ย่อย กล่มุ ละ 4 คน เรยี กกลมุ่ นี้วา่
กลมุ่ ศกึ ษา (study group) สมาชิกในกลุ่มไดม้ าจากการสุ่มจากผู้เรียนท่ีมีความสามารถแตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่
กลุ่มท่ีมีความสามารถสูง กลุ่มทม่ี ีความสามารถสงู กวา่ ระดบั ปานกลาง กลมุ่ ที่มคี วามสามารถปานกลาง และ
กลมุ่ ทม่ี ีความสามารถต่า รปู แบบจิกซอ 2 มขี ัน้ ตอนในการจดั การเรยี นการสอน ดงั น้ี

ขน้ั ท่ี 1 แนะนารปู แบบการเรียนการสอนจกิ ซอ 2 ครอู ธิบายวิธกี ารเรียนรูแ้ ละการทางานตาม
รูปจิกซอ 2 ใหผ้ ู้เรยี นในหอ้ งทราบ โดยใหส้ มาชิกในกลมุ่ ศึกษา อ่านเอกสารความรใู้ นหน่วย การเรียนที่ครู
มอบหมาย สมาชิกแตล่ ะคนในกลุม่ ศกึ ษาจะต้องรบั ผิดชอบการศึกษาคนละ 1 หวั ข้อในหนว่ ย การเรยี นร้ใู ห้
ดที ี่สดุ เพื่อนาความรู้ท่ีได้ไปศึกษามาถา่ ยทอดให้กับสมาชกิ ในกลมุ่ ไดอ้ ย่างชดั เจน ซ่ึงจะมีผลต่อคะแนน
ทดสอบของสมาชิกแต่ละคน และคะแนนของกลมุ่ ดว้ ย กลุ่มทไ่ี ดร้ ับคะแนนสูงสุดจะไดร้ ับการประกาศให้
เปน็ ยอดทีม ซงึ่ จะเปน็ ท่ีทราบทัง้ โรงเรยี น

ขน้ั ที่ 2 จดั กลมุ่ ศกึ ษาแบบคละความสามารถ ครูจดั ผู้เรยี นเขา้ กลุม่ แบบคละความสามารถ
กลุ่มละ 4 คน และมอบหมายงาน พร้อมทง้ั อธบิ ายกติกาในการทางานที่มีหลกั การสาคญั คือ สมาชกิ จะไม่
สามารถเปลย่ี นกลุ่มไดจ้ นกวา่ งานของกล่มุ จะสาเร็จ สมาชิกในกลมุ่ จะต้องรับผดิ ชอบตอ่ งานท่ไี ด้รับ
มอบหมายใหส้ าเร็จ หากสมาชิกคนใดไมเ่ ขา้ ใจงานที่ทาสมาชกิ คนอื่น ๆ จะต้องชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกัน
กอ่ นที่จะขอความช่วยเหลอื จากครู

ขัน้ ท่ี 3 จัดกล่มุ เชี่ยวชาญ หลงั จากท่สี มาชกิ ในกลุ่มศึกษาได้อา่ นทาความเข้าใจสาระความรู้
จากเอกสารที่ครูจัดเตรยี มไวใ้ หแ้ ล้ว ครจู ัดให้สมาชิกในกล่มุ ศึกษาที่ศึกษาในหวั ข้อเดยี วกันจากกล่มุ อน่ื มา
ศึกษารว่ มกันในประเดน็ ปัญหาทคี่ รูมอบหมายให้เพ่ิมเติมในหวั ขอ้ นน้ั เรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่มเชยี่ วชาญ (expert
group) สมาชกิ ในกลุ่มเช่ียวชาญน้ีจะต้องศึกษารว่ มกันเพื่อหาคาตอบในประเดน็ ท่ีไดร้ ับมอบหมายจนมี
ความเข้าใจเป็นอย่างดี และวางแผนในการท่จี ะนาความรทู้ ่ีไดไ้ ปเผยแพร่ใหส้ มาชิกในกลุ่มศกึ ษาของตนได้
เขา้ ใจ

12

ขน้ั ท่ี 4 ผเู้ ชยี่ วชาญสอนความรู้ให้แกส่ มาชิกในกลมุ่ สมาชิกในกล่มุ ศึกษาทไี่ ปศกึ ษาเพ่ิมเติมจน
มคี วามเชยี่ วชาญในหัวข้อของตนเองอย่างดแี ลว้ จงึ นาความรไู้ ปสอนให้กับสมาชกิ ในกลุ่มศึกษาของตนได้
เขา้ ใจและสมาชิกแต่ละคนจะผลัดกนั สอนใหแ้ กส่ มาชิกในกลุม่ จนครบทกุ หวั ข้อ

ขัน้ ท่ี 5 ข้ันประเมนิ ผลและประกาศผลความสาเร็จของกลุ่ม หลังจากกระบวนการเรยี นรูใ้ นขน้ั
ท่ี 4 เสร็จส้นิ แลว้ สมาชิกทุกคนจะไดร้ บั การทดสอบความรู้ ซึ่งผลการทดสอบของสมาชกิ แตล่ ะคนจะนาไป
เปรยี บเทยี บกับผลการทดสอบก่อนเรียน เพื่อดูคะแนนทเ่ี พ่ิมข้ึนของสมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ นาคะแนน ที่
เพิ่มข้ึนน้ีไปเปรยี บเทยี บเป็นค่ารอ้ ยละของคะแนนพัฒนาการ คะแนนพฒั นาการของสมาชกิ ในกลุ่มศึกษาใด
ทีเ่ พิ่มขึน้ มากทส่ี ดุ กลมุ่ น้นั จะไดร้ ับการประกาศและยกย่องเปน็ ยอดทีมใหท้ ราบท้ังโรงเรียน

6.2 รูปแบบการเรยี นการสอนแบบรว่ มมอื เทคนคิ TGT (Team games tournament)
เป็น การเรียนแบบทมี แขง่ ขนั (Team games tournament: TGT) เป็นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ทีใ่ หผ้ เู้ รียนไดร้ วมกลุ่ม เพื่อทางานร่วมกนั และชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกนั สมาชิกในแตล่ ะทีมจะประกอบดว้ ย
สมาชิกทมี่ คี วามสามารถแตกต่างกนั คือ ความสามารถสูง ปานกลาง และต่า มารวมกลุ่มกนั ในอัตรา
1:2:1 ซ่งึ สมาชกิ ของทีมจะได้แขง่ ขันในเกมเชิงวชิ าการ โดยความสาเร็จของทมี จะขึน้ อยู่กับความสามารถ
ของแตล่ ะบุคคลสาคญั โดยมีข้นั ตอนการจดั กจิ กรรมดังนี้ (วิมลรัตน์ สนุ ทรโรจน.์ 2554 : 98-109)

ข้ันที่ 1 ครูทบทวนบทเรยี นทเี่ รียนมาแล้ว (กิจกรรม brain gym ใช้เทคนคิ เกม เพลง เป็นตน้ )
ขั้นที่ 2 จดั กลุ่มแบบคละกนั (โดยให้คละกันทง้ั เพศและความสามารถ)
ข้นั ท่ี 3 ครอู ธิบายเนื้อหา แต่ละทมี ศึกษาหัวข้อที่เรียน (เลอื กใช้วิธกี ารสอนและเทคนิคการ
สอนตามบริบทของนกั เรยี น และเนือ้ หาทส่ี อน)
ขนั้ ที่ 4 การแขง่ ขันทาโจทย์ (ใชโ้ จทย์คณิตศาสตร,์ ใชโ้ จทย์จากโปรแกรม Quizizz ,
แบบฝึกหัดจาก Google Form และอนื่ ๆ ตามบรบิ ทของนักเรยี น)
ขน้ั ที่ 5 รวมคะแนนประกาศผชู้ นะ
รูปแบบการแขง่ ขนั เปน็ ทมี มลี ักษณะพิเศษในการจัดทีมแข่งขันท่ีใหผ้ ู้เรยี นทีม่ ีความสามารถใน
ระดับเดียวกันแข่งขันกัน ซง่ึ จะเพิ่มการจงู ใจให้แก่สมาชกิ ในกลุ่มท่มี ลี ักษณะคละความสามารถมากขนึ้ ทา
ใหส้ มาชิกมคี วามรู้สึกทา้ ทายและรว่ มมือกันมากข้นึ ชว่ ยให้สมาชิกมีเจตคติท่ดี ตี ่อการทางานเป็นกล่มุ
6.3 รปู แบบการเรียนการสอนแบบร่วมมอื เทคนิค TAI เปน็ การจดั กจิ กรรมท่แี บ่งผ้เู รยี นท่มี ี
ความสามารถแตกต่างกนั ออกเป็นกลุ่มเพ่อื ทางานรว่ มกัน เนน้ การเรียนร้แู ตล่ ะบุคคลมากกว่าการเรยี นร้ใู น
ลกั ษณะกล่มุ ผ้เู รียนแตล่ ะคนจะเรียนรูแ้ ละทางานตามระดบั ความสามารถของตน ผ้เู รยี น มีโอกาสได้
ปฏสิ ัมพนั ธ์กันในกลุ่มได้พูดคุยปรกึ ษาหารือ และแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นประสบการณ์ เป็นรปู แบบการจดั
กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่เี หมาะสาหรบั การสอนคณิตศาสตรว์ ธิ ีหนึ่ง โดยมขี ัน้ ตอนการจัดกจิ กรรมดงั นี้ (วมิ ลรัตน์
สนุ ทรโรจน์. 2554 : 115-116)
1. ขนั้ เตรยี ม
2. ข้นั สอน
3. ขนั้ ทากิจกรรมกลุ่ม
4. ขน้ั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ
5. ขน้ั สรุปบทเรยี นและประเมินผลการทางานกลุ่ม
6.4 รปู แบบการเรียนการสอนแบบรว่ มมือ เทคนิค STAD (Student Team Achievement
Division) เป็นการจดั การเรียนร้แู บบรว่ มมือรูปแบบหนง่ึ คล้ายกับเทคนิค TGT ที่แบ่งผูเ้ รียนทมี่ ี

13

ความสามารถแตกตา่ งกันออกเป็นกลุ่มเพ่อื ทางานรว่ มกัน กลุ่มละประมาณ 4-5 คน โดยกาหนดใหส้ มาชกิ
ของกลมุ่ ได้เรียนรู้ในเน้อื หาสาระทผี่ ้สู อนจัดเตรียมไว้แล้ว และใหท้ าการทดสอบความร้ทู ี่ได้รบั คะแนนทไ่ี ด้
จากการทดสอบของสมาชิกแต่ละคนนาเอามาบวกเปน็ คะแนนรวมของทีม ผสู้ อนจะตอ้ งใช้วธิ เี สริมแรง เชน่
ใหร้ างวลั คาชมเชย ยกย่อง สมาชกิ กลมุ่ จะต้องมีการกาหนดเป้าหมายรว่ มกันและช่วยเหลือซ่งึ กนั และกนั
โดยมีข้ันตอนการจดั กจิ กรรมดงั นี้ (วมิ ลรตั น์ สนุ ทรโรจน.์ 2554 : 110-113)

ข้นั ท่ี 1 การนาเสนอข้อมูล (Class presentation)
ขัน้ ที่ 2 การทางานรว่ มกัน (Teams)
ขน้ั ที่ 3 การทดสอบ (Quizzes)
ขั้นที่ 4 การปรบั ปรุงคะแนน(Individual improvement scores)
ขนั้ ท่ี 5 การตัดสินผลการเรยี นของกลุ่ม (Team recognition)
TGT และ STAD เป็นรปู แบบท่มี ีผนู้ ิยมนาไปประยุกตใ์ ช้มากทส่ี ดุ และนาไปใช้รว่ มกันกับการสอน
เนื้อหาสาระต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลายในทุกระดับช้นั อยา่ งไรก็ตามการนารปู แบบการเรียนการสอนแบบ
ร่วมมือไปใชน้ น้ั ผูส้ อนควรคานึงถงึ การจดั โครงสรา้ ง ของเน้ือหาในบทเรยี นให้เหมาะสมด้วย นอกจากนน้ั
รปู แบบการเรยี นการสอนนจ้ี ะมปี ระสิทธภิ าพดีต่อเมื่อผเู้ รียนไดร้ ับการสอนสาระจากครเู ทา่ ท่จี าเปน็ มาแล้ว
6.5 รูปแบบการเรยี นการสอนแบบรว่ มมือ เทคนิค Think-Pair-Share
สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา (2545) ได้กลา่ วถงึ รปู แบบเทคนิคเพ่อื นค่คู ดิ ว่าเปน็ รปู แบบ
ของกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้ผู้เรยี นทางานเปน็ กลุ่ม โดยเรมิ่ จากการจับค่กู นั คิดแล้วนา ความคดิ
ของท้ังคู่มาอภปิ รายในกลุ่มเพ่ือให้ได้ความคิดของกลุ่มเปน็ กิจกรรมทเ่ี น้นใหผ้ ู้เรียนได้พัฒนาพฤติกรรมทาง
สงั คม ควบคู่กับความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องทเ่ี รียน
พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2551) เทคนิคเพ่ือนคคู่ ิด (Think -Pair -Share) เร่มิ
จากการต้ังปัญหาหรอื โจทย์คาถาม แลว้ ให้สมาชิกแตล่ ะคนคดิ หาคาตอบดว้ ยตนเองก่อน แล้วนาคาตอบไป
อธิบายกับเพื่อนเป็นคู่ จากนั้นนาคาตอบของตน หรือเพื่อนทเ่ี ป็นคู่ มาเลา่ ให้เพ่ือน ๆ ท้ัง ห้องฟัง
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542) ลาดับข้ันตอนการจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมือด้วยเทคนิคเพื่อน
คู่คดิ จะมขี น้ั ตอน ดังน้ี

1. ขั้นเตรยี ม ผแู้ นะนาทกั ษะในการเรยี นแบบคู่คิด การจบั คู่ของนักเรียนบอกวตั ถปุ ระสงค์
ของบทเรยี น และบอกวตั ถุประสงคข์ องการทางานรว่ มกนั

2. ขั้นสอน ผู้นาเสนอเนอื้ หาหรือบทเรยี นใหม่ดว้ ยวิธีสอนท่ีเหมาะสมแล้วใหง้ าน
3. การทางานกลุ่ม เมื่อได้รับคาถามจากครู นักเรยี นต้องหาคาตอบดว้ ยตนเองก่อนจึงนา
คาตอบไปปรึกษาคู่ของตนเพื่ออภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเห็นซ่งึ กันและกนั เพอื่ หาคาตอบทดี่ ีทีส่ ุด
4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ

4.1 ตรวจผลงาน ครูดจู ากงานกลุ่มท่แี ตล่ ะคสู่ ง่ ไป และครูส่มุ บางค่มู าเสนอคาตอบใน
ชนั้ เรยี น ขณะที่ฟงั ผนู้ าเสนอแล้วผู้เรียนในห้องเรียนสามารถยกมือเพื่อแสดงความคิดเหน็ ตอ่ คาตอบ
หรือเสนอคาตอบของตนได้

4.2 ทดสอบนกั เรียนเป็นรายบคุ คลโดยไม่มกี ารชว่ ยเหลือกัน เพื่อตรวจผลการสอบ
แลว้ ทาการคานวณคะแนนเฉลยี่ ของกลุ่มให้นกั เรียนทราบ และถือวา่ เปน็ คะแนนของนักเรยี นแต่ละคนใน
กลุ่มด้วย

14

5. ข้นั สรปุ บทเรียนและประเมินผลการทางานของกลุ่ม ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกนั สรปุ
บทเรียน ถา้ มสี ่ิงท่นี ักเรยี นยังไม่เข้าใจครูควรอธบิ ายเพ่มิ เติม ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั ประเมินผลการ
ทางานของกลุ่ม โดยอภิปรายถงึ ผลงานของนกั เรยี น และวธิ ีการทางานของนักเรียน รวมถึงวิธีการ
ปรบั ปรงุ การทางานของกล่มุ ด้วย ซ่งึ จะทาให้นักเรียนรู้ความกา้ วหนา้ ของตนเองทางด้านวชิ าการและ
ดา้ นสงั คม

การเรยี นร้แู บบรว่ มมือด้วยเทคนิค Think-Pair-Share จึงเป็นเทคนคิ การสอนท่ชี ว่ ยสง่ เสรมิ การมี
ปฏิสัมพันธจ์ ากการทากจิ กรรมร่วมกัน ทาใหน้ ักเรียนได้มีการแลกเปลี่ยน อธบิ ายความคิดหรือความรู้ท่ี
เชือ่ มโยงมาใชใ้ นการแก้ปญั หาใหเ้ พ่ือนฟงั นับวา่ เป็นเทคนิคการสอนแบบร่วมมือโดยแบ่งผู้เรยี นออกเป็นค่ๆู
ซึ่งจะมีขนั้ ตอนทส่ี าคญั อยู่ 3 ขนั้ ตอน คือ การคดิ (Think) เป็นขนั้ ตอนแรกที่ครจู ะกระตนุ้ ดว้ ยปัญหาเพือ่ ให้
ผเู้ รียนหาคาตอบ และการจับคู่ (Pair) เปน็ ขน้ั ตอนทสี่ องท่จี ะให้ผูเ้ รยี นจับคูเ่ พื่ออภปิ รายปัญหาและวิธีการ
หาคาตอบของปญั หา สว่ นขนั้ ตอนสุดท้ายคอื การแลกเปลยี่ น (Share) เป็นข้นั ตอนสุดท้ายท่ีจะให้ผเู้ รียน
แลกเปล่ยี นและนาเสนอความรทู้ ี่ได้จากการค้นหาคาตอบ

7. รูปการสอนแบบ SQ4R
สุคนธ์ สนิ ธพานนท์ (2545: 287-291) ได้ให้ความหมายของวิธกี ารสอนแบบ SQ4R สรปุ ได้ว่า

เป็นการอา่ นอยา่ งคร่าว ๆ เพื่อให้ได้คาตอบดงั ทตี่ ้ังไว้ ลักษณะการสอนจะเน้นให้ผ้เู รียนได้ศึกษาด้วยตนเอง
แต่ความชานาญจะขนึ้ อยกู่ ับการฝึกฝนและความรเู้ ดิมของผู้เรยี น ดังนั้นผู้สอนจะต้องตระหนกั ถึงความรูเ้ ดมิ
ของผเู้ รียนหรือจะต้อง มีการปพู น้ื ฐานเดิมให้กับผเู้ รียนก่อนทจี่ ะถึงบทเรยี น และผสู้ อนจะต้องคานงึ ดว้ ยวา่
การอ่านเป็นการอา่ นเพื่อหาเน้ือหาสาระ มิใช่สนใจท่ตี วั ภาษา รตั นภัณฑ์ เลิศคาฟู (2547: 30) ได้ให้
ความหมายของวธิ กี ารสอนแบบ SQ4R สรปุ ไดว้ า่ วธิ ีการสอนอา่ นแบบ SQ4R เปน็ วิธกี ารสอนประเภท การ
สอนอา่ นเพ่อื ส่ือสาร ถงึ แมก้ ารสอนจะเน้นทักษะการอ่าน แต่ผ้สู อนจะต้องสอนแบบการสอนภาษาเพ่ือการ
สื่อสารประกอบดว้ ย การฟงั การพูด การอา่ น และการเขยี น สุคนธ์ สนิ ธพานนท์ (2545: 289-290) ได้
เสนอการจัดกจิ กรรการเรียนรู้โดยใช้วธิ สี อนแบบ SQ4R วา่ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

1. ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน
2. ขน้ั สอน ซ่ึงกระทาการสอนตามระบบของวิธกี ารสอนแบบ SQ4R มี 6 ขัน้ ตอน คือ

2.1 Survey (S) อา่ นอยา่ งคร่าว ๆ
2.2 Question (Q) การต้ังคาถาม
2.3 Read (R) การอ่านข้อความในบทหรือตอนน้ัน ๆ ซ้าอยา่ งละเอียด
2.4 Record (R) ให้ผเู้ รียนจดบนั ทกึ ข้อมลู ตา่ ง ๆ ทไี่ ด้อา่ นจากขั้นตอนท่ี 3
2.5 Recite (R) ใหผ้ ู้เรียนเขยี นสรปุ ใจความสาคัญ
2.6 Reflect (R) ใหผ้ ู้เรยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ บทอ่านที่ผู้เรียนไดอ้ ่าน
3. ข้ันสรุปและประเมินผล
เมื่อจบขั้นตอนการสอนแบบ SQ4R แลว้ ถา้ ผู้สอนจะต้องมีการวัดผลและประเมินผลวา่ ผู้เรยี นได้
ความรตู้ ามจุดประสงค์หรือไม่ เปน็ การประเมินความสามารถเพ่ือนาผลมาพัฒนาผูเ้ รียนและช่วยผู้ท่ีเรยี น
อ่อน โดยอธบิ ายเพ่มิ เติม ให้แบบฝึกมากขน้ึ หรือสาหรบั ผู้ที่เรียนดีก็อาจจะใหแ้ บบฝึกเสริมให้มที ักษะ
เพิ่มขน้ึ อีกกไ็ ด้

15

8. รูปแบบการเรียนรูโ้ ดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning)
การเรยี นรู้โดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน เปน็ วธิ กี ารจดั การเรยี นรทู้ ีพ่ ัฒนามาจากแนวคดิ ในการจดั การ

เรยี นการสอนทเ่ี ผยแพร่ในปลายศตวรรษท่ี 20 ทเ่ี รียกว่า การเรียนรทู้ เี่ น้นบทบาท และการมีสว่ นร่วมของ
ผเู้ รยี น หรอื “การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ” (Active Learning) ซึ่งหมายถึง รปู แบบการเรยี นการสอน ทม่ี งุ่ เนน้
สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรยี นรู้และบทบาทในการเรยี นรูข้ องผ้เู รียน"ใช้กจิ กรรมเปน็ ฐาน" หมายถงึ
นากิจกรรมเปน็ ทีต่ ง้ั เพ่ือที่จะฝึกหรอื พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์หรือเป้าหมายท่ี
กาหนด การเรยี นรู้โดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐานเปน็ กระบวนการเรยี นรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นตัวกระตุน้ ใหผ้ ู้เรียน
ตง้ั สมมตฐิ าน สาเหตแุ ละกลไกของการเกดิ ปญั หานั้น รวมถึงการคน้ คว้าความรพู้ น้ื ฐานทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ปัญหา
เพือ่ นาไปสู่การแก้ปญั หาตอ่ ไป โดยผู้เรยี นอาจไม่มีความรู้ในเรื่องน้ัน ๆ มาก่อน แต่อาจใช้ความรทู้ ี่ผ้เู รียนมี
อยู่เดมิ หรือเคยเรยี นมา นอกจากนีย้ ังมงุ่ ให้ผู้เรยี นใฝ่หาความรู้เพ่อื แกไ้ ขปญั หา ได้คดิ เป็นทาเปน็ มกี าร
ตัดสินใจท่ดี ี และสามารถเรียนรูก้ ารทางานเปน็ ทมี โดยเน้นให้ผูเ้ รียนไดเ้ กิดการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง และ
สามารถนาทักษะจากการเรียนมาชว่ ยแก้ปัญหาในชีวิต การเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน เปน็ การเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน มีลาดบั ข้ันดงั นี้

ขั้นที่ 1 กาหนดปญั หา
ข้นั ท่ี 2 ทาความเข้าใจกบั ปญั หา
ขั้นที่ 3 ดาเนินการศึกษาคน้ ควา้
ข้นั ที่ 4 สงั เคราะหค์ วามรู้
ขน้ั ที่ 5 สรปุ และประเมินคา่ หาคาตอบ
9. รปู แบบการเรียนร้โู ดยใช้โครงงานเป็นฐาน ( Project-Based Learning )
การเรยี นร้โู ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ( Project-Based Learning ) หมายถงึ การเรียนรู้ที่จัด
ประสบการณ์ในการปฏบิ ัติงานใหแ้ กผ่ ้เู รียนเหมือนกบั การทางานในชีวติ จรงิ อย่างมีระบบ เพ่ือเปิดโอกาสให้
ผูเ้ รยี นได้มีประสบการณ์ตรง ไดเ้ รยี นรวู้ ธิ กี ารแกป้ ัญหา วิธีการหาความรูค้ วามจรงิ อย่างมีเหตุผล ไดท้ าการ
ทดลอง ไดพ้ สิ ูจนส์ ่งิ ตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง รจู้ ักการวางแผนการทางาน ฝึกการเป็นผู้นา ผูต้ าม ตลอดจนได้
พัฒนากระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดข้ันสงู และการประเมนิ ตนเอง โดยมคี รเู ปน็ ผู้กระตุ้นเพ่ือนาความ
สนใจทีเ่ กดิ จากตวั ผู้เรียนมาใช้ในการทากิจกรรมค้นคว้าหาความรูด้ ว้ ยตัวเอง นาไปสกู่ ารเพม่ิ ความรู้ทีไ่ ดจ้ าก
การลงมอื ปฏบิ ตั ิ การฟัง และการสงั เกตจากผรู้ ู้ โดยผู้เรยี นมกี ารเรียนร้ผู ่านกระบวนการทางานเป็นกลุ่มท่ี
จะนามาสกู่ ารสรปุ ความรใู้ หม่ มกี ารเขยี นกระบวนการจดั ทาโครงงานและไดผ้ ลการจดั กจิ กรรมเปน็ ผลงาน
แบบรปู ธรรมนอกจากน้ีการจดั การเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ยงั เน้นการเรียนรูท้ ี่ใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ับ
ประสบการณ์ชวี ิตขณะทีเ่ รียน ได้พฒั นาทักษะตา่ ง ๆ ซึ่งสอดคลอ้ งกับหลกั พฒั นาการตามลาดับข้นั ความรู้
ความคิดของบลูมท้ัง 6 ขนั้ คือ ความร้คู วามจา ความเขา้ ใจ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์
การประเมนิ คา่ และการคดิ สร้างสรรค์ การจัดการเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ถือได้วา่ เปน็ การจัดการ
เรยี นรูท้ ี่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั เนอื่ งจากผ้เู รียนไดล้ งมือปฏิบัตเิ พื่อฝึกทักษะต่าง ๆ ด้วยตนเองทุกข้นั ตอน
โดยมีครูเปน็ ผใู้ หก้ ารสง่ เสรมิ สนับสนนุ
โครงงานทแ่ี บง่ ตามลกั ษณะกิจกรรม
1) โครงงานเชิงสารวจ (Survey Project)
2) โครงงานเชิงการทดลอง (Experiential Project)
3) โครงงานเชิงพัฒนาสร้างสิ่งประดิษฐ์แบบจาลอง (Development Project)

16

4) โครงงานเชงิ แนวคิดทฤษฎี (Theoretical Project)
5) โครงงานด้านบริการสงั คมและส่งเสรมิ ความเปน็ ธรรมในสังคม
(Community Service and Social Justice Project)
6) โครงงานด้านศิลปะและการแสดง (Art and Performance Project)
7) โครงงานเชิงบรู ณาการการเรยี นรู้
กระบวนการและขั้นตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐานการจดั การเรียนรแู้ บบใช้
โครงงานเปน็ ฐาน ทีไ่ ดจ้ ากโครงการสร้างชุดความร้เู พือ่ สร้างเสรมิ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21ของเดก็ และ
เยาวชน:จากประสบการณ์ความสาเรจ็ ของโรงเรียนไทย ของดษุ ฎี โยเหลา และคณะ (2557) มี 6 ขั้นตอน
ดังน้ี

6. ขัน้ นาเสนอผลงาน

5. ข้นั สรุปสิ่งทีเ่ รียนรู้

4. ขัน้ แสวงหาความรู้

3. ขนั้ จัดกลมุ่ ร่วมมือ

2. ขัน้ กระตุ้นความสนใจ

1. ขนั้ ให้ความรู้
พ้นื ฐาน
ขนั้ ตอนการจดั การเรียนรแู้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน
(ปรบั ปรงุ จาก ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ, 2557 : 20-23)

1. ขัน้ ใหค้ วามรูพ้ ้นื ฐาน ครูใหค้ วามรู้พนื้ ฐานเกีย่ วกบั การทาโครงงานก่อนการเรียนรู้ เนอื่ งจาก
การทาโครงงานมรี ูปแบบและขนั้ ตอนทชี่ ดั เจนและรดั กมุ ดังนน้ั ผเู้ รยี นจึงมคี วามจาเป็นอยา่ งยิง่ ทีจ่ ะต้องมี
ความรู้ เกย่ี วกับโครงงานไว้เป็นพ้ืนฐาน เพ่ือใชใ้ นการปฏิบัติขณะทางานโครงงานจรงิ ในขั้นแสวงหาความรู้

2. ขั้นกระตนุ้ ความสนใจ ครูเตรียมกิจกรรมทจี่ ะกระตุ้นความสนใจของผเู้ รียน โดยต้องคิดหรือ
เตรียมกจิ กรรมทด่ี ึงดูดให้ผเู้ รียนสนใจ ใครร่ ู้ ถงึ ความสนุกสนานในการทาโครงงานหรอื กิจกรรมรว่ มกนั โดย
กิจกรรมนนั้ อาจเปน็ กิจกรรมท่ีครูกาหนดขนึ้ หรอื อาจเปน็ กจิ กรรมท่ผี ูเ้ รียนมคี วามสนใจตอ้ งการจะทาอยู่
แลว้ ท้งั น้ีในการกระตุ้นของครูจะตอ้ งเปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นเสนอจากกจิ กรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านการจดั การ
เรียนร้ขู องครูท่เี ก่ียวข้องกบั ชุมชนทีผ่ ูเ้ รยี นอาศยั อยหู่ รอื เป็นเรอื่ งใกล้ตวั ทีส่ ามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง

3. ขน้ั จัดกลุ่มร่วมมือ ครใู หผ้ เู้ รยี นแบง่ กล่มุ กันแสวงหาความรู้ ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการ
วางแผนดาเนินกิจกรรม โดยนกั เรยี นเปน็ ผู้รว่ มกันวางแผนกจิ กรรมการเรยี นของตนเอง โดยระดมความคดิ
และหารอื แบง่ หนา้ ที่เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัตริ ว่ มกนั หลงั จากท่ีได้ทราบหัวข้อสิ่งที่ตนเองตอ้ งเรียนรู้ในภาค
เรยี นน้ัน ๆ เรยี บร้อยแลว้

17

4. ขนั้ แสวงหาความรู้ ในขั้นแสวงหาความรูม้ แี นวทางปฏิบัตสิ าหรับผเู้ รียนในการทากจิ กรรม
ดงั น้ี

4.1 นักเรียนลงมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมโครงงานตามหัวข้อท่ีกลุ่มสนใจผู้เรียนปฏิบัติหน้าทีข่ องตน
ตามข้อตกลงของกลุ่ม พร้อมทั้งร่วมมอื กันปฏิบัติกจิ กรรม โดยขอคาปรึกษาจากครูเปน็ ระยะ เมื่อมีขอ้ สงสัย
หรือปญั หาเกิดขึน้

4.2 ผูเ้ รยี นร่วมกนั เขียนรปู เล่ม สรุปรายงานจากโครงงานท่ีตนปฏิบัติ
5. ขัน้ สรปุ ส่ิงทเ่ี รยี นรู้ ครใู หผ้ ้เู รยี นสรปุ สงิ่ ทเี่ รียนรจู้ ากการทากิจกรรม โดยครใู ชค้ าถาม ถาม
ผเู้ รียนนาไปสกู่ ารสรปุ ส่ิงทเี่ รยี นรู้
6. ขั้นนาเสนอผลงาน ครใู ห้ผเู้ รียนนาเสนอผลการเรยี นรู้ โดยครอู อกแบบกจิ กรรม หรือจดั เวลา
ให้ผู้เรียนไดเ้ สนอสงิ่ ทต่ี นเองไดเ้ รยี นรู้ เพื่อให้เพ่ือนร่วมชนั้ และผูเ้ รยี นอนื่ ๆ ในโรงเรียนไดช้ มผลงานและ
เรยี นรู้กิจกรรมท่ผี ้เู รยี นปฏิบตั ิในการทาโครงงาน
10. รปู แบบการเรยี นร้โู ดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Problem -Based Learning)
การเรียนรโู้ ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem-based learning หรอื PBL) เปน็ รปู แบบการเรยี นรู้
ที่เกดิ ข้ึนจากแนวคดิ ตามทฤษฎกี ารเรยี นรแู้ บบสร้างสรรคน์ ิยม (Constructivism) โดยให้ผูเ้ รียนสร้าง
ความรใู้ หม่ จากการใช้ปญั หาทเ่ี กดิ ขึน้ จริงในโลกเป็นบรบิ ทของการเรยี นรู้ (Learning Context) เพื่อให้
ผู้เรียนเกดิ ทกั ษะในการคิดวเิ คราะห์และคดิ แก้ปญั หา รวมทั้งได้ความรูต้ ามศาสตรใ์ นสาขาวิชาทตี่ นศกึ ษา
ไปพร้อมกันด้วย การเรยี นร้โู ดยใชป้ ัญหาเป็นฐานจงึ เป็นผลมาจากกระบวนการทางานท่ีต้องอาศัยความ
เขา้ ใจและการแกไ้ ขปญั หาเป็นหลัก ถ้ามองในแง่ของยุทธศาสตร์การสอน PBL เปน็ เทคนิคการสอน ท่ี
ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี นได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เผชญิ หนา้ กบั ปญั หาด้วยตนเอง จะทาให้ผเู้ รียนไดฝ้ ึกทักษะใน
การคิดหลายรูปแบบ เชน่ การคิดวจิ ารณญาณ คิดวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ สรา้ งสรรค์ ฯลฯ
(ไพศาล สุวรรณน้อย. 2558, 3) ขน้ั ตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบพืน้ ฐานที่มี 7 ขั้นตอนหลกั มี
ลกั ษณะสาคัญของกจิ กรรมการเรียนร้ใู นแตล่ ะขนั้ ตอนมีดังน้ี
1. Clarifying unfamiliar terms กลุ่มผเู้ รยี นทาความเข้าใจคาศพั ท์ ข้อความที่ปรากฎอย่ใู น
ปัญหาให้ชดั เจน โดยอาศัยความรู้พน้ื ฐานของสมาชิกในกลุ่มหรอื การศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารตาราหรือสื่อ
อ่นื ๆ
2. Problem definition กลุ่มผูเ้ รยี นระบปุ ัญหาหรือข้อมลู สาคัญรว่ มกัน โดยทกุ คนในกลมุ่ เขา้ ใจ
ปญั หา เหตุการณ์ หรือปรากฏการณใ์ ดที่กล่าวถงึ ในปัญหาน้ัน
3. Brainstorm กล่มุ ผเู้ รียนระดมสมองวเิ คราะห์ปญั หาต่างๆ และหาเหตผุ ลมาอธิบาย โดยอาศยั
ความรู้เดิมของสมาชิกกลมุ่ เป็นการช่วยกนั คดิ อย่างมเี หตุมีผล สรุปรวบรวมความรู้และแนวคิดของกลุ่ม
เก่ยี วกับกลไกการเกดิ ปัญหา เพือ่ นาไปสู่การสรา้ งสมมตฐิ านทส่ี มเหตุสมผลเพ่ือใช้แก้ปัญหานนั้
4. Analyzing the problem กลุ่มผูเ้ รียนอธิบายและต้ังสมมติฐนทเ่ี ช่อื มโยงกันกบั ปัญหาตามที่
ไดร้ ะดมสมองกัน แลว้ นาผลการวิเคราะหม์ าจัดลาดับความสาคญั โดยใชพ้ ืน้ ฐานความรู้เดิมของผเู้ รียน การ
แสดงความคิดอย่างมเี หตผุ ล
5. Formulating learning issues กลมุ่ ผ้เู รียนกาหนดวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ เพ่ือคน้ หาขอ้ มูลท่ี
จะอธิบายผลการวิเคราะห์ทตี่ ั้งไวผ้ ้เู รยี นสามารถบอกไดว้ ่าความร้สู ่วนใดรู้แล้ว สว่ นใดต้องกลบั ไปทบทวน
ส่วนใดยังไม่รูห้ รือจาเป็นต้องไปคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ

18

6. Self-study ผเู้ รียนค้นคว้ารวบรวมสารสนเทศจากสอ่ื และแหลง่ การเรยี นร้ตู ่างๆ เพื่อพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง (Self-directed learning)

7. Reporting จากรายงานข้อมลู สารสนเทศใหมท่ ี่ได้เข้ามา กลมุ่ ผูเ้ รยี นนามาอภปิ ราย วิเคราะห์
สังเคราะห์ ตามวตั ถุประสงค์ที่ต้งั ไว้ แลว้ นามาสรปุ เป็นหลักการและแนวทางเพื่อนาไปใช้โอกาสตอ่ ไป

การเรยี นรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานยังเปน็ การตอบสนองตอ่ แนวคิด constructivism โดยให้ผูเ้ รยี น
วเิ คราะห์หรอื ตั้งคาถามจากโจทยป์ ัญหา ผา่ นกระบวนการคิดและสะท้อนกลับ เน้นปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ ง
ผู้เรยี นในกลุ่ม เน้น active learning และ collaborative learning นาไปสูก่ ารคน้ คว้าหาคาตอบหรือสรา้ ง
ความรใู้ หมบ่ นฐานความรูเ้ ดมิ ทีผ่ เู้ รยี นมมี าก่อนหน้าน้ี

วิธีสอน
วิธีสอนมหี ลายสบิ วธิ ี ซงึ่ แต่ละวิธกี ็มีคุณสมบตั ิสาคัญแตกตา่ งกนั ออกไป วธิ ีการสอนเปน็ วิธที ่คี รใู ชใ้ น
การสอนผเู้ รียนให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ (ทิศนา แขมมณี, 2558) วิธกี ารสอนที่ ทิศนา แขมมณี นาเสนอใน
หนงั สอื ศาสตรแ์ ละการสอนมี 14 วิธี ได้แก่
1. วธิ สี อนโดยใชก้ ารบรรยาย (Lecture)

วธิ สี อนโดยใช้การบรรยาย คือ กระบวนการท่ีผ้สู อนใช้ในการช่วยผเู้ รียนการเรียนร้ตู าม
วัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการเตรียมเนือ้ หาสาระ แล้วบรรยายคือ พดู บอก เล่า อธบิ ายเน้อื หาสาระ
หรือส่งิ ท่ีต้องการสอนแก่ผู้เรยี น

2. วธิ ีสอนโดยใชก้ ารสาธติ (Demonstration)
วิธีสอนโดยใช้การสาธติ คอื กระบวนการที่ผ้สู อนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นเรียนร้ตู าม

วัตถปุ ระสงค์ท่กี าหนด โดยการแสดงหรือทาสงิ่ ทต่ี ้องการให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ ใหผ้ เู้ รยี นสงั เกต ทาให้เกดิ
ความรคู้ วามเข้าใจในเรื่องน้นั ชัดข้ึน

3. วธิ ีสอนโดยใชก้ ารทดลอง (Experiment)
วธิ สี อนโดยใช้การทดลอง คือ กระบวนการที่ผูส้ อนใชใ้ นการช่วยให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นเรียนรตู้ าม

วัตถปุ ระสงค์ที่กาหนด โดยการทีผ่ ู้สอนหรอื ผูเ้ รยี นกาหนดปัญหาและสมมตฐิ านในการทดลอง ผู้สอนให้
คาแนะนาแก่ผูเ้ รียนและใหผ้ ูเ้ รียนลงมอื ทดลองปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนด จากน้นั เกบ็ รวบร่วมข้อมลู
วิเคราะห์ข้อมลู สรปุ อภิปรายผลการทดลองและสรุปการเรียนร้ทู ่ไี ด้รบั จากการทดลอง

4. วธิ ีสอนโดยใชก้ ารนริ นยั (Deduction)
วธิ ีสอนโดยใช้การนริ นยั คือ กระบวนการทีผ่ ู้สอนใชใ้ นการช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนเรยี นรตู้ าม

วตั ถปุ ระสงค์ทก่ี าหนด โดยการช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับทฤษฎหี ลักการ กฎหรือข้อสรุป
ในเรอ่ื งท่ีเรียน แล้วจงึ ให้ตัวอย่างการใช้ทีห่ ลากหลาย เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นฝึกนาทฤษฎี หลักการ กฎหรือขอ้ สรปุ ไป
ใชใ้ นสถานการณ์ที่แตกต่างออกไป เปน็ การสอนจากหลกั การไปสตู่ วั อย่างย่อย

5. วิธีสอนโดยใช้การอปุ นยั (Induction)
วธิ ีสอนโดยใชก้ ารอปุ นยั คือ กระบวนการท่ผี ู้สอนใชใ้ นการชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นเรียนร้ตู าม

วัตถปุ ระสงค์ที่กาหนด โดยการตวั อยา่ ง ข้อมลู ความคิด เหตุการณ์ ที่มหี ลักการหรือแนวคิดในเรือ่ งท่ี
ตอ้ งการจะสอนใหแ้ ก่ผเู้ รยี นมาใหผ้ เู้ รยี นศึกษาวเิ คราะหจ์ นดึงเอาหลักหลักการหรือแนวคิดที่แฝงอยู่ออกมา
เป็นการสอนใหผ้ ูเ้ รียนสรุปหลักการจากตวั อยา่ งด้วยตัวเอง

19

6. วิธีสอนโดยใชก้ ารไปทัศนศึกษา (Field Trip)
วธิ ีสอนโดยใช้การไปทัศนศึกษา คือ กระบวนการทีผ่ ู้สอนใช้ในการชว่ ยใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียน

เรยี นรตู้ ามวตั ถุประสงค์ท่ีกาหนด โดยผสู้ อนและผเู้ รยี นร่วมกนั วางแผนและเดินทางไปศึกษาเรียนรู้ ณ
สถานทีท่ ่ีเปน็ แหล่งความรนู้ นั้ ตามที่ไดว้ างแผนกนั และทาการอภิปรายและสรปุ การเรียนร้จู ากขอ้ มูลท่ไี ดไ้ ป
ศกึ ษามา

7. วิธสี อนโดยใช้การอภปิ รายกลุ่มยอ่ ย (Small Group Discussion)
วิธีสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย คือ กระบวนการทผ่ี ูส้ อนใชใ้ นการช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี น

เรียนรู้ตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่กาหนด โดยการจดั ผู้เรียนเปน็ กลุ่มเล็กๆ และให้ผ้เู รียนพดู คุยแลกเปลย่ี นข้อมูล
ความคดิ เหน็ และประสบการณ์ และสรุปผลการอภิปรายเป็นข้อสรุปของกลุ่ม

8. วธิ ีสอนโดยใชก้ ารแสดงละคร (Dramatization)
วิธีสอนโดยใชก้ ารแสดงละคร คือ กระบวนการทีผ่ ูส้ อนใชใ้ นการช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นเรียนรู้

ตามวตั ถปุ ระสงค์ที่กาหนด โดยการใหผ้ ู้เรยี นแสดงละคร ซ่ึงเป็นเรอื่ งราวทต่ี ้องการใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รียนร้ตู าม
เน้อื หา สามารถทาให้ทั้งผ้ชู มและผ้แู สดงเกิดความเข้าใจและจดจาเร่ืองน้ันไดน้ าน

9. วิธีสอนโดยใชก้ ารแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing)
วิธีสอนโตยใช้การแสดงบทบาทสมมุติ คือ กระบวนการทีผ่ ู้สอนใช้ในการช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดการ

เรยี นเรยี นร้ตู ามวตั ถุประสงค์ทีก่ าหนด โดยการให้ผ้เู รียนสวมบทบาทในสถานการณซ์ ึง้ มีความใกลเ้ คียงกับ
ความเปน็ จรงิ และแสดงออกตามความรู้สกึ นึกคิดของตน และนาเอาการแสดงของผูแ้ สดงท้ังดา้ นความรู้
ความคดิ ความรู้สึก และพฤติกรรมทสี่ ังเกตพบมาเปน็ ข้อมูลในการอภิปราย

10. วิธีสอนโดยใช้กรณตี วั อย่าง (Case)
วธิ สี อนโดยใชก้ รณตี วั อยา่ ง คือ กระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนเรยี นรู้

ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่กาหนด โดยการใหผ้ ู้เรยี นศึกษาเร่ืองทส่ี มมติขนึ้ มาจากความเปน็ จริงและตอบคาถาม
เกีย่ วกับเรอื่ งน้นั แลว้ นาคาตอบและเหตผุ ลท่ีมาของคาตอบนัน้ มาใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการอภปิ ราย

11. วิธสี อนโดยใช้เกม (Game)
วิธสี อนโดยใช้เกม คอื กระบวนการทีผ่ ู้สอนใชใ้ นการช่วยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนเรียนรู้ตาม

วัตถุประสงค์ทกี่ าหนด โดยการใหผ้ ู้เรยี นเลน่ เกมตามกตกิ า และนาเนอ้ื หาและขอ้ มลู ของเกมพฤตกิ รรมการ
เลน่ เกม วิธีการเลน่ และผลของการเล่นเกมของผเู้ รยี นมาใชใ้ นการอภิปราย

12. วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จาลอง (Simulation)
วิธสี อนโดยใช้สถานการณ์จาลอง คือ กระบวนการท่ผี ู้สอนใช้ในการช่วยให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรยี น

เรียนรตู้ ามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนด โดยการใหผ้ เู้ รียนเข้าไปเลน่ ในสถานการณ์ท่มี ีบทบาท ข้อมลู และกตกิ า
การเลน่ ท่สี ะท้อนความเป็นจริง และมปี ฏิสมั พันธก์ ับสง่ิ ตา่ งๆทอี่ ย่ใู นสถานการณน์ นั้ ๆ โดยใช้ขอ้ มูล ในการ
ตัดสนิ ใจหรือแก้ปญั หาตา่ งๆ

13. วิธีสอนโดยใชศ้ ูนย์การเรียน (Learning Center)
วธิ ีสอนโดยใชศ้ นู ย์การเรียน คือ กระบวนการท่ผี สู้ อนใช้ในการช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นเรียนรู้

ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่กาหนด โดยผูส้ อนให้ผู้เรียนศกึ ษาหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากศนู ย์การเรียนร้ซู ง่ึ ผ้สู อนได้
จดั เตรยี มเนื้อหาสาระและกจิ กรรมทีใ่ ช้สอื่ การสอนท่ีหลากหลาย ผเู้ รยี นจะหมนุ เวียนกนั เขา้ ศูนยต์ ่างๆจน
ครบ และผสู้ อนทาการประเมินผลการเรียนรู้

20

14. วิธสี อนโดยใชบ้ ทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Intruction)
วธิ ีสอนโดยใชบ้ ทเรียนแบบโปรแกรม คือ กระบวนการทผ่ี ู้สอนใช้ในการชว่ ยใหผ้ ้เู รียนเกดิ การ

เรียนเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการใหผ้ ู้เรียนศึกษาจากบทเรยี นสาเรจ็ รปู ด้วยตนเองผู้เรียนจะทา
การเรยี นรู้และตรวจสอบผลการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง

เทคนิคการสอน
1. เทคนคิ การใช้ผงั กราฟิก (Graphic Organizers)

ทิศนา แขมมณี (2558) ไดอ้ ธิบายความหมายของแผน่ ผังกราฟกิ ไว้วา่ แผนผังกราฟิกเป็นแผนผัง
ทางความคิด ประกอบไปด้วยความคิดหรือข้อมูลสาคญั ๆ ที่เช่ือมโยง กนั อยใู่ นรูปแบบต่าง ๆซึง่ ทาให้เหน็
โครงสรา้ งของความรู้ หรือเน้ือหาสาระนัน้ ๆ เป็นเทคนิคท่ี ผ้เู รียนสามารถนาไปใช้ในการเรยี นรเู้ นือ้ หาสาระ
ตา่ ง ๆ จานวนมาก เพ่ือช่วยใหเ้ กิดความเข้าใจในเน้ือหาสาระนัน้ ไดง้ ่ายขึ้น เรว็ ข้ึนและจดจาไดน้ าน

ประเภทผงั กราฟิก
1. ผงั กราฟกิ เพื่อพฒั นาความคดิ รวบยอด เปน็ ผังความคดิ ที่เสนอกระบวนการคดิ ที่บอกเนื้อหา
หรอื เร่ืองราว บอกลาดบั ข้ันของข้อมลู เช่ือมโยงกับข้อเท็จจริงสแู่ นวคดิ การแสดงองค์ประกอบสาคญั
เชื่อมโยงขอ้ มลู ท่ีเก่ียวข้องกัน หรืออธิบายคุณสมบัตติ า่ งๆ ผังกราฟิกประเภทนไ้ี ดแ้ ก่

1.1 ผังความคดิ (Mind Mapping) เปน็ ผังกราฟิกที่ใช้สรปุ ประเดน็ แสดงความสัมพนั ธ์ของ
สาระ รายละเอยี ดทีเ่ ชือ่ มโยงกัน แสดงองค์ประกอบสาคัญ หรือความคิดต่างๆให้เห็นเปน็ โครงสร้างใน
ภาพรวม ใช้แยกแยะองค์ประกอบหรือสว่ นประกอบต่างๆของข้อมูล ใช้แยกแยะ จัดระบบ และจัดลาดับ
ข้อมลู ท่สี ัมพนั ธ์ต่อกนั โดยใช้ตาแหน่ง ระยะห่างจากจุดศูนย์กลาง สี เคร่ืองหมาย รูปทรง เรขาคณติ และ
ภาพแสดงความหมายและเชือ่ มโยงของความคิดหรือสาระน้นั ๆ

1.2 ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เปน็ ผังกราฟกิ ทีแ่ สดงมโนทัศน์หรือความคิดรวบ
ยอดใหญ่ไว้ตรงกลางและแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความคิดรวบยอกหลกั และความคดิ รวบยอดยอ่ ยๆ เป็น
ลาดับข้ัน ดว้ ยเสน้ เชื่อมโยง และมีคาเช่ือม

2. ผังกราฟิกแสดงความสมั พันธ์ เปน็ ผังกราฟิกทน่ี าเสนอกระบวนการคิดท่แี ยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ
แสดงความเหมือนกัน แสดงประเดน็ สาคัญ และความเกี่ยวข้องกัน ผังกราฟกิ ประเภทนไี้ ดแ้ ก่

2.1 เวนน์ไดอะแกรม (Venn Diagram) เป็นผงั กราฟิกทเี่ ป็นผงั วงกลมทบั ซ้อนกัน 2 วงหรือ
มากกวา่ ท่ีใชแ้ สดงความสมั พันธข์ ององค์ประกอบตา่ งๆของขอ้ มลู แสดงการแยกแยะข้อมูลออกเป็น
องคป์ ระกอบย่อยๆ แสดงความสัมพันธ์หรือไม่สมั พนั ธ์กนั ของข้อมลู แสดงการเปรยี บเทยี บข้อมูล เป็นผัง
กราฟิกทีเ่ หมาะสาหรบั การนาเสนอสงิ่ 2 สง่ิ ซ่ึงมีความเหมือนและความแตกตา่ ง

2.2 ทีชารต์ (T-Chart) เปน็ ผงั กราฟิกทีแ่ สดงความแตกตา่ งของสง่ิ ที่ศกึ ษา ออกเปน็ ตารางทีม่ ี
สองคอลัมน์

2.3 แผนภูมิวงกลม (Pie Chart) เปน็ แผนผังกราฟิกรูปทรงกลมทแี่ สดงการเปรยี บเทียบข้อมูล
โดยเปน็ การแสดงสัดส่วนของขอ้ มลู ใช้กบั ข้อมลู ทีเ่ ป็นเชงิ คณิตศาสตร์ ทีถ่ ูกคานวณออกมาเป็นเปอร์เซน็ ต์
หรือร้อยละ

2.4 แผนภมู แิ ทง่ (Bar Chart) เปน็ ผงั กราฟกิ ที่แสดงใหเ้ หน็ และเขา้ ใจความสมั พันธข์ อง
ตัวแปรต่างๆ ไดช้ ัดเจน เป็นการแสดงความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปร 2 ตวั โดยตวั แปรนน้ั มคี ่าไมต่ อ่ เน่ือง

2.5 ตารางเปรียบเทยี บ (Matrix Diagram) เป็นผังกราฟิกที่เสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง

21

ช่วยให้เข้าใจไดง้ ่าย เพราะจัดขอ้ มูลไวเ้ ป็นหมวดหมู่ ซึง่ ข้อมูลท่เี สนอนน้ั อาจเป็นการเปรยี บเทยี บความ
เหมือนกันหรือต่างกันของข้อมลู ใชเ้ พ่ือพิจารณาผล ทาความเข้าใจในเร่ืองราวท่ีเปล่ียนแปลง ใช้
ประกอบการตัดสินใจในเร่อื งใดเรอ่ื งหนึ่ง

3. ผงั กราฟกิ แสดงความเกย่ี วเนอื่ งเช่ือมโยงของสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น เป็นแผนผังกราฟิกสาหรบั
นาเสนอเนอื้ หาสาระที่มคี วามสัมพันธ์เชงิ ความเป็นเหตุเป็นผลหรือแนวโนม้ ของเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์
ที่จะเกิดข้นึ ตัวอยา่ งผงั กราฟิกแบบนี้ไดแ้ ก่

3.1 ผงั กางปลา (Fish bone Map) เป็นผังกราฟกิ ทน่ี าเสนอข้อมูลให้เป็นถึงสาเหตุและผล
ของเรื่องใดเรื่องหนง่ึ เริ่มจากสาเหตไุ ปสู่ปญั หา ซง่ึ ในสว่ นของสาเหตสุ ามารถแตกข้อมูลจากสาเหตหุ ลักที่
เปน็ เสน้ ตรงกลางไปส่สู าเหตุรองทเี่ ป็นกิ่งที่แตกออกมาจากเสน้ สาเหตหุ ลกั ได้

3.2 ผงั ใยแมงมุม (Spider Map) เปน็ ผงั กราฟกิ ท่ีใชแ้ สดงมโนทัศน์แบบหนึ่ง โดยแสดง
ความคิดรวบยอดใหญไ่ วต้ รงกลาง และเส้นทแ่ี ยกออกจากความคิดรวบยอดใหญจ่ ะแสดงรายละเอียดของ
ความคดิ นัน้

3.3 ผังแสดงเหตผุ ล (Cause and Effect Diagrams) เป็นแผนผงั กราฟิกทแ่ี สดงความสัมพันธ์
ระหว่างขอ้ มลู ท่ีเปน็ เหตุและเป็นผลกนั สามารถใช้แสดงเหตุหรอื ผลทมี่ ีรว่ มกนั มากกว่าหนึง่ อย่างได้ดี

4. ผงั กราฟกิ ทน่ี าเสนอขอ้ มลู ท่มี ีการเรียงลาดับข้อมูล โดยสัมพนั ธ์กับระยะเวลา พัฒนาการ
กระบวนการ ขัน้ ตอน หรือความพนั ธใ์ นลักษณะตา่ งๆ ตวั อยา่ งผังกราฟิกแบบน้ีได้แก่

4.1 ผังลูกโซ่ (Chain Diagram) ใชแ้ สดงลาดับขนั้ ตอนของส่งิ ตา่ งๆ เหตกุ ารณต์ ่างๆ หรือ
กระบวนการต่างๆ

4.2 ผังวัฏจกั ร (Cycle Diagram) เป็นผงั กราฟิกทแ่ี สดงลาดบั ขนั้ ตอนที่ต่อเน่ืองกันเปน็
วงกลม หรอื เป็นวัฏจกั รท่ีไมแ่ สดงจุดสน้ิ สุดหรือจดุ เริ่มต้นที่แน่นอน

4.3 เสน้ เวลา (Time Line / Continuum Diasram) เปน็ แผนผังกราฟิกทใ่ี ช้จักเรียงลาดบั
เหตุการณท์ เ่ี กิดขึ้นตามลาดับเวลา โดยการกาหนดช่วงของระยะเวลาจะเปน็ แบบสากล เช่น ปี, เดอื น
,สัปดาห์, วัน, ชวั่ โมง อย่างใดอยา่ งหน่งึ ไต้ โตยมีข้อกาหนดวา่ แตล่ ะช่วงระยะเวลาต้องมีระยะหา่ งเท่าๆกนั
จากนั้นใหบ้ นั ทึกข้อมูลทเ่ี ปน็ เหตุการณ์ เร่ืองราวลงไปตามระยะเวลานัน้ ๆ

5. ผังกราฟกิ ที่นาเสนอข้อมลู ท่ีเปน็ การจดั หมวดหมู่ หรือจาแนกประเภท เปน็ ผงั กราฟกิ ทีใ่ ช้
นาเสนอเน้อื หาสาระในลกั ษณะของความสัมพนั ธเ์ ชิงจัดกลุ่มขอ้ มลู หรอื แบง่ ข้อมลู ตา่ งๆในภาพรวมโดย
แสดงการแยกสว่ นประกอบต่างๆ ตัวอยา่ งผงั กราฟิกแบบน้ีไดแ้ ก่

5.1 ผงั การจาแนกประเภทของข้อมลู (Branching Diagram) เป็นผังกราฟิกที่ใชแ้ สดงการ
จัดข้อมลู ตา่ งๆท่ตี ้องการศึกษาออกเป็นหมวดหมู่ โดยจัดสิ่งท่ีมสี มบตั ิบางประการร่วมกนั ใหอ้ ยู่ในกลุ่ม
เดียวกนั สรุปใหเ้ ห็นองค์ประกอบของข้อมลู ตา่ งๆในภาพรวม โดยแสดงการแยกสว่ นประกอบต่าง เพ่ือใช้ใน
การเปรียบเทียบขอ้ มูล ซ่ึงในการจาแนกประเภทของส่ิงท่ีศึกษานนั้ ต้องมีเกณฑ์ทีใ่ ช้ในการจาแนกเสมอ

5.2 แผนภมู ติ น้ ไม้ (Tree Chart) เปน็ ผงั กราฟิกทใี่ ชแ้ สดงแนวคิด หรือข้อมลู รายละเอยี ดที่
สามารถจดั ลาดบั ได้ โดยมีจุดเร่มิ ตน้ อยู่ข้างบนสุด แลว้ แตกออกเป็นลาดบั ช้ันทีเ่ ท่าๆกนั เพอื่ ให้สามารถย้อน
ถงึ ทีม่ าหรือเทยี บลาดับชน้ั ของขอ้ มูลได้

2. เทคนคิ การใชน้ ทิ าน ในการพฒั นากระบวนการคดิ แนวทางหนึง่ ในการใช้นิทานพัฒนากระบวน
การคิดของนักเรยี นคือการกระตุน้ ใหน้ ักเรยี นคิด โดยพฒั นากิจกรรมในการเล่านทิ านและใช้คาถาม

22

ข้ันที่ 1 เลือกเร่ืองตามความสนใจใหน้ กั เรียนเลือกโดยใช้เสยี งสว่ นมากหรือจับฉลากหรอื ถาม
ความสนใจอ่าน อยากฟังนทิ านเก่ยี วกบั อะไร

ขน้ั ที่ 2 ฟงั นทิ านฟังจากการเลา่ การอ่าน หรอื การฟงั จากเทปบันทึกเสียง
ข้นั ที่ 3 แสดงความคิดเหน็

- นกั เรียนเลอื กตวั ละครหรือเหตกุ ารณ์ใดเหตุการณ์หนึง่ ในนิทานท่นี ักเรียนประทบั ใจมาก
ทีส่ ุดไว้พร้อมท้ังเหตผุ ลที่ประทบั ใจ

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกบั เพอื่ น
- เข้ากลุ่มอภปิ ราย กลมุ่ ละประมาณ 5-7 คน เป็นการอภิปรายถงึ ลกั ษณะพฤตกิ รรมของ
ตัวละครทุกตวั และเหตุการณใ์ นนิทาน
ข้นั ท่ี 4 คดิ มมุ กลับ คิดตา่ ง กระตุ้นให้นักเรยี นมีความคดิ กวา้ งขวางขึ้นโดยใชค้ าถามให้คิดยอ้ น
คนละทางกับเหตุการณ์ในนิทาน เช่น กาหนดให้เหตุการณห์ รอื พฤติกรรมของตวั ละครต่างไปจากท่ปี รากฏ
ในนทิ าน ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั คดิ และใหเ้ หตุผล
ขั้นท่ี 5 สรุปผลนักเรยี นรว่ มกันลงขอ้ สรปุ พฤติกรรมและเหตกุ ารณท์ ่ีดี และที่ควรแก้ไขจาก
เรื่องในนทิ านตลอดจนลงข้อสรปุ ส่ิงทคี่ วรนาไปปฏบิ ัติ ส่ิงที่สนับสนุนใหม้ ีกระบวนการคิด คือ การผกู เร่อื ง
และการใช้คาถามในการให้คิด คิดแก้ปญั หา คดิ หาเหตุผลตามเหตุการณ์ ถ้าเหตุการณ์ไมเ่ ปน็ ไปตาม
ท้องเรื่อง ประโยชนท์ ่ีได้รับในการใชน้ ทิ านพัฒนากระบวนการคดิ นักเรียนได้พัฒนาการคิด การใชเ้ หตุผล
ทัง้ ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมตลอดจนทกั ษะกระบวนการ ครูมแี นวทางในการพฒั นาการคิด การแกป้ ญั หา
การใชเ้ หตผุ ลของนักเรียนโดยใชน้ ทิ านอนั เป็นส่ิงท่ีเดก็ ชอบและจัดทาไดไ้ ม่ยาก พัฒนาหรือจัดทาได้ทุกกลุม่
ประสบการณ์
3. เทคนคิ การใชเ้ กมประกอบการสอน หมายถงึ กลวิธตี ่างๆทค่ี รใู ชใ้ นการดาเนนิ การจัดกจิ กรรม
การเรยี นการสอน โดยใหน้ กั เรียนไดเ้ ลน่ เพ่ือความสนุกสนานและมีกติกากาหนดไว้ใหน้ ักเรียนเกดิ การพฒั นา
ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องเกมที่ตั้งไว้ ขน้ั ตอนของการใช้เกมประกอบการสอน มดี ังน้ี
1) ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น เป็นข้ันเรา้ ความสนใจใหน้ ักเรยี นสนใจบทเรยี น และมีความพร้อมในการ
เรยี น
2) ขัน้ ดาเนนิ กิจกรรม ครู อธบิ ายวธิ ีการเล่น หรอื กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ใหเ้ ด็กเข้าใจ ทดลองเล่นก่อนจะ
ดาเนนิ การเลน่ จริง
3) ขัน้ ประเมินผล นาผลจากเลน่ เกมมาวิเคราะห์เพอ่ื ดูวา่ การใชเ้ กมประกอบการสอนได้ผลตรง
ตามจดุ มงุ่ หมายเพยี งใด
4) ขั้นสรุป ชแ้ี นะใหน้ ักเรยี นเหน็ สว่ นเสยี ของตน ยา้ ความเข้าใจ เก่ยี วกับเนอ้ื หาท่ีเรียนอีกครัง้
หนง่ึ
4. การตัง้ คาถามโดยใชเ้ ทคนิค 5W1H
การตง้ั ประเดน็ ถามตอบเพ่ือใหน้ กั เรยี นไดบ้ รรลุตามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ โดยใช้ คาถาม 5 W1H
ซ่งึ เป็นส่วนหนึง่ ของคาถาม 6 ประเภทตามความคดิ ของบลมู (Bloom) วิทวัฒน์ ขตั ตยิ ะมาน และ
อมลวรรณ วรี ะธรรมโม (2549: 85-86) ไดก้ ล่าวไว้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดังน้ี
1. Who (ใคร) บคุ คลสาคญั ที่เปน็ ตัวประกอบหรือผูท้ ่เี กีย่ วขอ้ งทจ่ี ะไดร้ บั ผลกระทบ ทง้ั ด้านบวก
และดา้ นลบ เช่น ใครอยู่ในเหตุการณ์บา้ ง ใครนา่ จะเกยี่ วข้องกับเหตุการณ์เชน่ นบ้ี า้ ง ใครน่าจะเปน็ คนที่ทา
ให้เกิดเหตกุ ารณ์เชน่ นมี้ ากทีส่ ุด

23

2. What (อะไร) ปัญหาหรอื สาเหตุทีเ่ กดิ ขน้ึ เช่น เกดิ อะไรขึ้นบ้าง มอี ะไรเก่ียวข้อง กับเหตกุ ารณ์นี้
หลกั ฐานทสี่ าคัญที่สดุ คืออะไร สาเหตุท่ีทาให้เกิดเหตกุ ารณ์นคี้ อื อะไร

3. Where (ทไี่ หน) สถานทีห่ รือตาแหนง่ ท่เี กดิ เหตุการณ์ เชน่ เรอื่ งน้เี กดิ ขึ้นทีไ่ หน เหตุการณน์ ้ี
นา่ จะเกดิ ขึน้ ทใ่ี ดมากท่ีสดุ

4. When (เมื่อไร) เวลาที่เหตุการณ์นั้นได้เกิดขนึ้ หรอื จะเกดิ ข้นึ เช่น เหตกุ ารณ์น้นั นา่ จะเกิดขนึ้
เมอื่ ไร เวลาใดบา้ งทส่ี ถานการณเ์ ชน่ นจ้ี ะเกดิ ขึน้ ได้

5.Why (ทาไม) สาเหตุหรือมูลเหตุท่ที าให้เกิดข้ึน เชน่ เหตุใดต้องเป็นคนนี้ เป็นเวลานี้ เปน็ สถาน
ทนี่ ี้ เพราะเหตใุ ดเหตุการณน์ ี้จึงเกิดข้นึ ทาไมจงึ เกิดเรื่องน้ี

6. How (อยา่ งไร) รายละเอียดของสงิ่ ท่ีเกิดขน้ึ แล้วหรือกาลงั จะเกิดขน้ึ ว่ามีความ เป็นไปได้ใน
ลกั ษณะใด เช่น เขาทาสิง่ น้ี ไดอ้ ย่างไร ลาดับเหตุการณ์นด้ี ูว่าเกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไร เหตุการณน์ ี้เกิดขึ้นได้อย่างไร
มหี ลกั ในการพิจารณาคนดีอย่างไรบ้าง

ความสาคญั ของการใช้คาถาม
ทศิ นา แขมมณี (2550 : 407) ให้ขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกับข้อควรคานงึ และพงึ ระวงั ใน การใชค้ าถาม
ดังนี้
1. ถามคาถามทีละคาถาม ไม่ควรถามหลายคาถามติดต่อกัน
2. คาถามแต่ละคาถาม ไมค่ วรมปี ระเดน็ มากเกนิ ไป
3. คาถามควรชดั เจน ถา้ คาถามกว้างเกินไป ผู้เรียนตอบไมต่ รงประเด็น ควรปรบั คาถามให้
เฉพาะเจาะจงมากขึน้
4. คาถามไมค่ วรยาวเกินไป ผู้เรียนหรือผตู้ อบจะจาประเดน็ ไม่ได้ หรอื อาจจะหลง ประเด็นไปได้
5. ควรใชน้ า้ เสียงและทา่ ทางที่เหมาะสมประกอบการถาม
6. เมือ่ ถามคาถามแลว้ ควรใหเ้ วลาผูเ้ รียนคิด (Wait Time) พอสมควร
7. ไมค่ วรทวนคาถาม และไม่ควรทวนคาตอบของผเู้ รียนบอ่ ย ๆ
8. ผสู้ อนควรให้คาชมแก่ผู้เรยี นบ้าง แตไ่ ม่บอ่ ยเกินไป ควรเปน็ ไปตามความต้องการ ของผ้เู รียน
แตล่ ะคน และควรพยายามค่อย ๆ เปลีย่ นการเสริมแรงจากภายนอกไปสกู่ ารเสรมิ แรง ภายใน
9. หลกี เลยี่ งการชมประเภท ดี... แต่
10. การชมต้องมฐี านจากความเป็นจรงิ และความจรงิ ใจ
11. ถามผเู้ รยี นและให้โอกาสผู้เรียนในการตอบอยา่ งทั่วถึงให้ความเสมอภาคแกผ่ เู้ รียน ท้ังชาย
และหญิง ท้ังเกง่ และอ่อน ท้งั ทีส่ นใจและไมส่ นใจ
12. เม่ือถามคาถามแล้ว ผสู้ อนควรเรยี กให้ผู้เรียนตอบเปน็ รายบุคคล ไม่ควรใหผ้ ู้เรยี น ตอบพร้อม
กนั
13. เมื่อถามแล้วไม่มีผูใ้ ดตอบได้ ควรต้ังคาถาม ใหม่ โดยใชค้ าถามท่งี ่ายขน้ึ หรือ อธิบายขยาย
ความ หรอื ให้แนวทางในการตอบการใช้คาถามเปน็ เทคนิคอย่างหนึง่ ทชี่ ว่ ยให้นกั เรยี น ค้นหาแนวคดิ ได้
คาถามมหี ลายประเภท คาถามบางประเภทกระตนุ้ ให้นักเรียนคดิ บางคาถาม ปลกุ ให้ตื่น หรอื เรา้ ให้
นกั เรียนเกิดความสนใจเพื่ออ่านสารตามท่คี รูไดแ้ นะนาหรอื มอบหมาย
ประเภทของคาถาม ไดแ้ บ่งประเภทของคาถามออกเป็น 3 ประเภท ดงั น้ี
1. คาถามเพอ่ื ค้นหาข้อเท็จจริงเก่ยี วกับเร่ืองใดเร่ืองหนง่ึ เช่น มเี หตกุ ารณ์อะไรบ้าง
2. คาถามเพอ่ื ให้เกิดความคดิ ไดห้ ลากหลาย เชน่ จะนาไปใช้ทาอะไรได้บ้าง

24

3. คาถามเพื่อตรวจสอบวา่ เปน็ ความคิดที่ถูกทาง เช่น เกดิ ประโยชน์อะไร
4. คาถามเพอ่ื หาความคิดทีเ่ ป็นเหตเุ ปน็ ผล เช่น ทาไมจึงทาอย่างนั้น
5. คาถามเพื่อหาความคิดลกึ ซ้ึง เชน่ สิ่งท่ีเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กนั อย่างไร
6. คาถามเพอื่ หาความคิดท่กี ว้างไกล เช่น เรื่องน้ีมีความหมายอย่างไร
7. คาถามเพื่อให้เกิดความคิดทชี่ ัดเจน เช่น เร่อื งนม้ี คี วามหมายอย่างไร
8. คาถามเพอ่ื ให้เกิดความคดิ อย่างละเอียด เช่น เรอ่ื งนี้มรี ายละเอยี ดอะไรท่สี าคัญ
5. เทคนคิ การสอนการคิด
การคิดเป็นทกั ษะท่ีค่อนข้างมีความซับซ้อนเพราะประกอบดว้ ยทักษะหลายทักษะประกอบกัน แม้
จะยงั มีความไม่เข้าใจในเรอื่ งการศึกษาเกีย่ วกับกระบวนการภายในสมองและองคป์ ระกอบต่าง ๆ แต่นกั
การศึกษาและสงั คมกเ็ ช่ือวา่ การคดิ นัน้ เปน็ ทกั ษะท่สี ามารถสอนได้ และโรงเรยี นควรท่ีจะสอนดว้ ย พวก
เขาเช่ือว่าการสอนทักษะของการคดิ น้นั เรง่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาจิตใจและสรา้ งนักเรยี นใหเ้ ปน็ ผทู้ ่ีสามารถ
พ่ึงตนเอง มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ และเป็นมคี ุณลกั ษณะเป็นผผู้ ลติ (Myers. 1995 : 424) ซง่ึ ตวั อย่างของ
ทักษะการคดิ ได้แก่ การแกป้ ัญหา (Problem soving) การสร้างมโนทัศน์ (Conceptualizing) ซ่ึงการคิด
ท้ังสองแบบนเี้ กิดข้นึ ในชีวิตของมนุษยต์ ลอดเวลา ในท่นี จี้ ะเสนอเทคนิควธิ ีการสอนคิดแบบแกป้ ัญหาซ่ึงมี
รายละเอียดสรุปไดด้ งั นี้
การแกป้ ัญหา (Problem soving) คอื การทีค่ นตอ้ งเผชิญกับส่งิ ทีส่ รา้ งความยุ่งยากและจะต้อง
แก้ไขให้ผ่านพ้น โดยการแก้ปญั หานัน้ เป็นเรอ่ื งท่สี ามารถสอนได้ และคนสามารถพัฒนาได้ดว้ ยการฝึกหัด
ดงั นัน้ การแก้ปัญหาจึงสามารถสอนในโรงเรยี นได้ ซง่ึ จะมีลักษณะคือ ครูนาเสนอปัญหาแกน่ ักเรียนและ
มุ่งพิจารณาวา่ นกั เรียนคิดต่อปญั หาน้ันอยา่ งไรมากกว่าท่ีจะพิจารณาวา่ นกั เรยี นคิดอะไร โดยครูใช้
ธรรมชาติเก่ียวกับความต้องการของนักเรยี นทีเ่ ปน็ แรงจงู ใจ และช่วยใหน้ ักเรียนตคี วามปัญหาในหนทางท่ี
สอดคลอ้ งกบั ตวั นักเรยี นเอง แลว้ พฒั นาสมมติฐานเกี่ยวกับวิธแี ก้ ทดสอบ และประเมนิ ผล ครจู งึ เปน็ ผนู้ า
ทางปัญญานักเรียนและสนบั สนุนจนิ ตนาการใหน้ กั เรยี นสามารถมีความคิดรบั มือกับสถานการณ์ใหม่ๆได้
(Myers. 1995 : 426)
6. เทคนคิ การจดั บรรยากาศหอ้ งเรยี น
การจัดบรรยากาศห้องเรยี นมีความสมั พนั ธโ์ ดยตรงกับการประสบความสาเร็จของผเู้ รยี น การ
จัดระบบรปู แบบทผ่ี ลคอื นักเรียนมีความรสู้ กึ ว่ากระทาได้ รวมท้งั มคี วามร้สู ึกปลอดภัยน้ัน ดเู หมือนวา่
สามารถสรา้ งนักเรียนผู้ทจี่ ะประสบความสาเรจ็ มากย่งิ ข้นึ ห้องเรียนที่มบี รรยากาศดงั กล่าวจะต้องมี
ลักษณะดังน้ี (Jacobsen Paul และ Dulaney. 1981: 234)
1.จะตอ้ งรักษาความสมดลุ ระหว่างคาส่งั หรอื วิธกี ารของครูกบั ทางเลือกของนักเรยี น ตวั อยา่ งเช่น
ครมู ีจุดประสงคใ์ หน้ ักเรยี นพูดสุนทรพจนใ์ หไ้ ด้ แตก่ ารพูดสุนทรพจนเ์ ป็นการพูดข้นั สงู ดังน้ันครคู วรเปิด
โอกาสให้นักเรียนฝึกพูดเบ้ืองตน้ เสยี ก่อน และใหน้ ักเรียนไดเ้ ลือกตามความสนใจ เชน่ พดู แนะนาตวั พดู
แนะนาสินค้า กล่าวต้อนรับ กลา่ วขอบคุณ เป็นตน้ จากนั้นจึงพฒั นาการพูดไปสู่การพูดสนุ ทรพจน์
2. มกี ารเตรียมวธิ ีการทเี่ ฉพาะเจาะจงและมีความชัดแจง้ คอื เปน็ ห้องเรยี นที่มีสอื่ และอุปกรณ์
พร้อม สามารถนาเสนอและทากิจกรรมได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ในการเตรียมน้ีหมายรวมถงึ การออกแบบ
กิจกรรมการเรยี นรทู้ ีม่ วี ธิ ีการเฉพาะและชดั เจนในทกุ ขั้น ยกตัวอย่างในการสอนตอ้ งระบุวา่ จะใช้การสอน
แบบใด เชน่ การสอนสัมมนาภาษาไทยปจั จบุ ัน การอภิปรายกลมุ่ ย่อย ซึ่งต้องมีใบงานกาหนดขน้ั ตอนการ
ทางานท่ชี ดั เจน

25

3. มกี ารรกั ษาความอิสระจานวนมากสาหรบั นักเรียนท่ีจะคิดและมีวธิ กี ารอนั เปน็ ทางเลอื กท่ี
หลากหลาย ครตู อ้ งยอมรับความคดิ ที่ค่อนข้างอสิ ระของนักเรยี น โดยเฉพาะจะปรากฏเมอ่ื ตอบคาถาม
เชน่ นกั เรยี นอาจไม่ยอมรับความสัมพันธ์ระหวา่ งพระอภยั มณีและนางเงือก หรอื เห็นวา่ ขนุ แผนเปน็ ผู้นา
ครอบครัวที่ใชไ้ ม่ได้ เปน็ ต้น สว่ นในเรอ่ื งวธิ ีคดิ นัน้ อาจปรากฏในการทากิจกรรม เช่นการทาโครงการคติ
ชนเก่ยี วกบั ความเชื่อในชุมชน นกั เรียนอาจเลือกใชว้ ิธีศึกษาจากเอกสาร สอบถาม สมั ภาษณ์ หรอื สงั เกต
ข้อมูลทส่ี นใจศกึ ษาตามความถนดั และความสนใจได้

4. มีการเตรยี มการอบรมทกั ษะระหวา่ งบุคคลกบั บุคคล ทาใหห้ อ้ งเรียนเป็นสถานที่ทีน่ ักเรียนจะ
บรรลเุ ป้าหมายและไดเ้ รียนร้เู ก่ยี วกบั ค่านิยม ซึ่งในช้ันเรียนภาษาไทยเอง ควรส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนไดท้ า
กจิ กรรมเปน็ กล่มุ เพื่อใหน้ ักเรยี นไดเ้ รียนร้เู ก่ียวกบั ความสัมพันธ์และรู้จักจดั การความสัมพันธข์ องตนอยา่ ง
เป็นระบบ รว่ มทั้งยังสามารถใช้วรรณคดีและวรรณกรรมต่าง ๆ มาใชเ้ ป็นบทสาหรับสงั เกตประสบการณ์
และขยายโลกทัศนข์ องผเู้ รยี น ทจี่ ะเชอ่ื มโยงจากตนเองไปสสู่ ังคมและการเปล่ียนแปลงของโลก ซ่งึ จะย่ิงทา
ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถใชป้ ระโยชน์จากประสบการณท์ างภาษาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ย่างเต็มท่ี

เทคนคิ การสอนเทา่ ท่ีไดก้ ลา่ วมาเบอ้ื งตน้ เปน็ เพยี งตวั อย่างสว่ นหน่ึงของเทคนคิ การสอนอีกเปน็
จานวนมากการศึกษาและการนาเทคนิคเหล่านี้ไปใชใ้ นการเรียนการสอน จะชว่ ยสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพการ
เป็นครูให้ก้าวส่คู วามเป็นวชิ าชีพมากยิง่ ข้ึน แทท้ ี่จริงแล้วการสอนภาษาไทยได้เปรียบอยู่มากตรงที่เป็นการ
สอนที่ม่งุ เน้นให้เกดิ ทกั ษะสัมพันธ์ทางภาษา ซ่ึงผูเ้ รียนมีโอกาสขยายประสบการณ์ได้อย่างกว้างขวางหากครู
ใส่ใจ โดยคาวา่ ใสใ่ จ ในท่นี ี้ คือ การสนใจในรายละเอียดเล็กน้อย ๆ ทีเ่ กิดข้ึนกับนักเรียน ไมว่ ่าจะเป็นการ
สนทนา การตอบคาถาม การตอบสนองและความสนใจ เป็นตน้ ด้วยรายละเอียดเหล่าน้ีแทจ้ ริงแลว้ กค็ ือ
ประสบการณ์ท่เี กดิ ขึน้ ในชีวิตของนักเรียนเพียงครง้ั เดียวเท่าน้ัน หากครูใส่ใจนักเรียนก็จะทาให้นักเรยี น
ไดร้ บั ประสบการณท์ ่ีน่าทรงจาและเกดิ เปน็ การเรียนรู้อยา่ งถาวร

สอ่ื การเรียนรู้
ความหมายของสื่อการเรียนรู้

สื่อการเรยี นรู้ หมายถงึ ส่ิงใด ๆ ก็ตามเปน็ เครอื่ งช่วยถ่ายทอดความรจู้ ากบทเรียนไปสผู่ เู้ รยี น ซึ่งจะ
ชว่ ยทาให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรอู้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
ประเภทของสือ่ การเรียนรู้

ส่ือการเรียนรู้ มิไดม้ คี วามหมายเฉพาะ ส่ือที่ครแู ละนักเรียนนามาใช้ในกระบวนการเรยี นรู้ใน
หอ้ งเรียนที่เรียกว่า สือ่ การเรียนรู้ เทา่ นัน้ แต่หมายถึงทกุ สิ่งทกุ อยา่ งรอบตัวผูเ้ รยี นไมว่ ่าจะเป็นคน สัตว์
สง่ิ ของ เหตุการณ์หรือความคิดก็ตาม ขนึ้ อยูว่ ่าได้เรยี นรู้จากสง่ิ น้ัน ๆ หรือนาสงิ่ เหลา่ นน้ั เข้ามาสกู่ ารเรยี นรู้
ของผ้เู รียนหรอื ไม่ ปัจจบุ ันส่ือมอี ยู่หลายประเภท จาแนกออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ไดด้ งั นี้

1. สื่อส่ิงพิมพ์ มีท้งั ส่งิ พิมพท์ จ่ี ัดทาขนึ้ เพอื่ สนองการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รโดยตรง เชน่ หนงั สือเรยี น
คู่มือครู แผนการเรยี นรู้ หนังสืออ้างอิง หนงั สืออา่ นเพิม่ เดิม แบบฝึกกจิ กรรม ใบงาน ใบความรู้ ฯลฯ และ
ส่งิ พมิ พ์ทั่วไปที่สามารถนามาใช้ในกระบวนการเรียนรู้ เช่น วารสาร นิตยสาร จุลสาร หนงั สือพิมพ์ จดหมาย
ข่าว โปสเตอร์ แผน่ พบั แผน่ ภาพ เป็นตน้

2. สือ่ บุคคล หมายถึง ตวั บุคคลท่ีทาหนา้ ทถ่ี ่ายทอดสาระความรู้ แนวคิด และวิธีปฏบิ ตั ติ นไปส่บู คุ คล
อืน่ นับเปน็ ส่อื การเรียนร้ทู ่ีมีบทบาทสาคัญโดยเฉพาะในด้านการโน้มนา้ ว จิตใจของผู้เรียน สื่อบคุ คลอาจ
เป็นบุคลากรท่ีอยู่ในสถานศึกษา เช่น ผูบ้ รหิ าร ครูผ้สู อน บคุ ลากร ทางการศึกษา นกั การ ภารโรง คนขาย

26

ของ คนทาอาหาร หรอื ตัวผู้เรียนเอง หรืออาจเปน็ บคุ ลากรภายนอกที่มคี วามเชย่ี วชาญในสาขาต่าง ๆ เชน่
แพทย์ พยาบาล ตารวจ นกั กีฬา แมค่ ้า พ่อคา้ เป็นตน้ ซึง่ สามารถเชิญมาเปน็ วิทยากรเพ่อื เสริมสร้างการ
เรยี นรู้ให้กับผู้เรียนได้

3. ส่อื วสั ดุ เปน็ ส่ือที่เกบ็ สาระความรอู้ ยใู่ นตวั เอง จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1) วัสดปุ ระเภทท่ีสามารถถา่ ยทอดความรไู้ ดด้ ว้ ยตวั เอง โตยไมจ่ าเปน็ ต้องอาศยั อปุ กรณช์ ่วย เชน่

รูปภาพ ห่นุ จาลอง เป็นต้น
2) วัสดปุ ระเภทที่ไมส่ ามารถถ่ายทอดความรไู้ ด้ด้วยตวั เองจาเปน็ ต้องอาศัยอุปกรณ์ อืน่ ชว่ ย เช่น

สไลด์ ฟลิ ์มภาพยนตร์ เทปบันทึกเสยี ง ซดี รี อม แผน่ ดิสก์ เป็นตน้
4. สือ่ อปุ กรณ์ หมายถงึ ส่งิ ท่เี ป็นตวั กลางหรือตัวผ่าน ทาให้ขอ้ มูลหรือความรู้ท่ีบันทึกในวสั ดสุ ามารถ

ถา่ ยทอดออกมาใหเ้ ห็นหรอื ได้ยิน เชน่ เครอ่ื งฉายแผน่ โปร่งใส เคร่ืองฉายสไลด์ เครอื่ งฉายภาพยนตร์ เครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ เครื่องบนั ทกึ เสียง เปน็ ต้น

5. สื่อบรบิ ท เป็น สอื่ ทีส่ ่งเสริมหรอื สนับสนุนการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ สภาพแวดลอ้ ม และ
สถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร แหลง่ วิทยาการหรือแหลง่ เรยี นรู้อนื่ ๆ เช่น บุคคล
ห้องสมดุ ชมุ ชน สังคม วัฒนธรรม เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ หรอื เปน็ สิง่ ท่ีเกดิ ขนึ้ เอง ตามธรรมชาตใิ นรูปของ
สิ่งมีชีวิต เชน่ พืชผัก ผลไม้ สตั วช์ นดิ ต่าง ๆ หรอื อย่ใู นรูปของ ปรากฏการณห์ รอื เหตุการณ์ทีม่ ีอยหู่ รือเกิดข้นึ
รอบตัว ตลอดจนข่าวสารด้านตา่ งๆ เปน็ ต้น

6. ส่ือกิจกรรม เป็นกิจกรรมหรือกระบวนการที่จัดขึน้ เพ่ือเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ การเรียนรู้ให้กับ
ผเู้ รยี น ได้แก่ การแสดงละคร บทบาทสมมุติ การสาธติ สถานการณจ์ าลอง การจัดนิทรรศการ การไปทศั น
ศึกษานอกสถานที่ การทาโครงงาน ฯลฯ
ประโยชนข์ องส่ือการเรียนรู้

สอ่ื การเรยี นรู้มีประโยชนต์ ่อทั้งตัวผู้เรียน ผสู้ อน และต่อกจิ กรรมการเรียนการสอนเปน็ อย่างมาก
ดงั น้ี

ประโยชนต์ ่อผู้เรียน
1. ช่วยให้ผู้เรียนเขา้ ใจบทเรยี นไดง้ า่ ยและชดั เจน
2. ชว่ ยให้คุณภาพของการเรยี นรู้ดขี น้ึ เกิดมโนภาพทถ่ี ูกตอ้ ง
3. ช่วยให้ผเู้ รียนเรยี นรู้ได้มากข้ึนในเวลาทีจ่ ากดั
4. ช่วยกระตุ้นความสนใจของผ้เู รียนและมีสว่ นร่วมในการเรียนอย่างแข็งขนั
5. ผ้เู รยี นสามารถนาประสบการณเ์ ดิมมาสัมพนั ธก์ บั ประสบการณ์ใหม่ได้อยา่ ง
6. ช่วยใหผ้ ู้เรยี นมพี ฒั นาการทางความคิดอย่างต่อเนื่อง
7. ชว่ ยให้ผู้เรียนจดจาบทเรียนได้เร็ว จาได้นาน ประทบั ความรูส้ ึก และทาอะไรได้
8. ช่วยเสริมทกั ษะการใชภ้ าษา และเพ่ิมทกั ษะการอา่ น
9. ชว่ ยสร้างบรรยากาศท่ดี ใี นการเรียนรแู้ ละไม่เครยี ด
10. ผ้เู รียนมีเจตคติที่ดตี ่อบทเรียนและครูผ้สู อน
11. ชว่ ยให้ประสบการณ์ท่เี ป็นรปู ธรรมแกผ่ เู้ รยี น
12. เปน็ การให้ข้อเทจ็ จริงแก่ผู้เรียน ทาใหเ้ กิดความอยากรู้อยากเห็นต่อไป
13. ชว่ ยขจัดสิ่งทคี่ ลุมเครือหรือสงสัยใหห้ มดไป
14. ช่วยประหยัดเวลาในการเรยี น

27

15.ชว่ ยใหส้ ามารถเรียนร้ใู นสิง่ ท่ศี ึกษาไดย้ ากลาบากและทาให้การสอนง่ายขนึ้ เชน่
ประโยชน์ต่อผู้สอน

1. ชว่ ยให้ความสะดวกแก่ครใู นการสอน การสอนเป็นไปด้วยดี
2. ชว่ ยผ่อนแรงในการอธิบาย อธิบายได้ตรงประเด็น
3. ช่วยประหยดั เวลาในการสอน
4. ช่วยให้ผสู้ อนละผู้เรยี นมีความเขา้ ใจตรงกันช่วยให้ผสู้ อนสังเกตปฏิกริ ยิ าผู้เรยี นได้
6. ชว่ ยให้ผู้สอนมคี วามม่นั ใจในการสอนมากข้นึ ไมป่ ระหมา่
7. ช่วยใหผ้ ู้สอนเหนือ่ ยน้อยลง
ประโยชน์ต่อกจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ทาใหก้ ิจกรรมการเรยี นรนู้ ่าสนใจมากยงิ่ ขึน้ มคี ุณคา่ มากย่ิงขึ้น
2. ทาให้กจิ กรรมการเรียนร้คู าเนนิ ไปตามแผนท่กี าหนดไว้ และบรรลุจดุ มงุ่ หมายได้ง่ายข้ึน

28

ส่วนที่ 4
การออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

การออกแบบ เป็นการถา่ ยทอดจากรูปแบบความคิด ออกมาเป็นผลงานท่ีผอู้ ่ืนสามารถมองเหน็
รับรู้ หรือสัมผสั ได้ การออกแบบตอ้ งใชท้ ้ังศาสตร์แห่งความคดิ และศิลป์ เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หรอื ปรับปรงุ
พัฒนาสิง่ เดมิ ให้ดขี นึ้

การออกแบบการเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการวางแผนการสอนอย่างมีระบบ โดยมกี ารวิเคราะห์
องค์ประกอบการเรยี นรู้ ทฤษฎกี ารเรียนการสอน ส่ือ กจิ กรรมการเรยี นรู้ รวมถงึ การประเมนิ ผล เพอ่ื ให้
ผสู้ อน สามารถถา่ ยทอดความรสู้ ผู่ เู้ รยี น และใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียนรไู้ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ การออกแบบ
การจดั การ เรยี นรู้ทด่ี ี จะชว่ ยผูส้ อนวางแผนการสอนอย่างมรี ะบบ บรรลจุ ดุ มุ่งหมาย โดยมหี ลกั การ
ออกแบบการเรยี นรู้ ดังนี้

1. การออกแบบและพัฒนาการเรียนรู้นน้ั เพื่อใคร ใครเปน็ ผู้เรยี นหรอื ใครเป็นกลมุ่ เปา้ หมาย
ผู้ออกแบบควรมีความเขา้ ใจ และรจู้ กั กลุ่มผเู้ รียนท่ีเป็นเปา้ หมาย

2. ตอ้ งการให้ผู้เรียนเรียนรู้อะไร มคี วามรคู้ วามเข้าใจ มีความสามารถอะไร ผ้สู อนต้องกาํ หนด
จดุ ม่งุ หมายของการเรยี นร้ใู ห้ชดั เจน

3. ผู้เรียนจะเรียนรเู้ นื้อหาในรายวิชานน้ั ๆ ได้ดที ีส่ ุดอย่างไร ควรใช้วิธกี ารและกิจกรรมการเรยี นรู้
อะไร ท่จี ะชว่ ยให้ผ้เู รยี นเรยี นรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสม และมปี ัจจัย ส่ิงใดท่ีต้องคํานึงถงึ บา้ ง

4. เมื่อผเู้ รยี นเขา้ สกู่ ระบวนการเรียนรู้ ผู้สอนจะทราบได้อย่างไรว่าผูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นร้ขู ึ้น และ
ประสบผลสาํ เรจ็ ในการเรียนรู้ และจะใชว้ ธิ กี ารใดในการประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รียน

สรปุ ได้ว่า การออกแบบการเรียนรู้ ควรมีการวางแผนเพ่ือพิจารณาว่าผเู้ รยี นเป็นใคร มีลักษณะ
พื้นฐานอยา่ งไร จะกาํ หนดจุดมุ่งหมายในการสอนครัง้ น้นั อย่างไร จะใชว้ ธิ ีการเรียนการสอน กจิ กรรม การ
เรยี นรู้ และวิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี นอย่างไรบา้ ง จงึ จะสามารถทําให้การเรยี นรู้นน้ั บรรลุเป้าหมาย คอื
ภายหลงั เรียนรแู้ ล้วผูเ้ รยี นเขา้ ใจ จดจํา นาํ ไปใช้ ทําได้ สร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่ได้ เปน็ ต้น ดังนัน้ ส่งิ ที่ควร
พิจารณา ในการออกแบบการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ตัวผู้เรียน จดุ มุ่งหมาย รูปแบบการสอน วิธีสอน เทคนิคการ
สอน การกิจกรรมการเรยี นรู้ และการประเมินผล

ความหมายของการออกแบบการจดั การเรยี นรู้
คาํ วา่ “การออกแบบ” และ “การจัดการเรียนรู้” เม่อื นาํ มารวมกันเป็นการออกแบบ การจัดการ

เรียนรู้” (Instructional design) ได้มนี กั การศกึ ษาดา้ นการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ ใหค้ วามหมายไว้ว่า
การออกแบบการเรยี นรู้ เป็นกระบวนการท่เี ป็นระบบ ท่ีนาํ มาใชใ้ นการศึกษาความต้องการ ของผเู้ รยี นและ
ปัญหาการเรียนการสอน เพื่อแสวงหาแนวทางท่จี ะชว่ ยแก้ปญั หาการจดั การเรยี นรู้ ซ่ึงอาจเป็น การปรบั ปรงุ
ส่งิ ที่มอี ยู่ หรือสรา้ งสง่ิ ใหม่ โดยนาํ หลักการเรยี นรู้และหลักการสอนมาใช้ เป้าหมายของการ ออกแบบการ
จดั การเรยี นรู้ คอื การพฒั นาการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น

แนวคิดในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning)
การออกแบบกิจกรรมการเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning) เพอ่ื เชอ่ื มโยงกิจกรรมลดเวลา เรยี น

เพมิ่ เวลารู้ มเี ป้าหมายเพ่ือให้ผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่เนน้ ใหผ้ ้เู รยี นลงมอื ปฏบิ ัติ เรียนรดู้ ้วยตนเอง โดย
มแี นวคดิ ทฤษฎที ่ีเกยี่ วข้อง ดังนี้

29

แนวคดิ ของ บลมู (Bloom's Taxonomy)
บลูม ( Benjamin S. Bloom.1976) นกั การศึกษาชาวอเมริกนั เชอื่ วา่ การเรียนการสอน ทีจ่ ะ

ประสบความสาํ เรจ็ และมปี ระสิทธิภาพนนั้ ผู้สอนจะต้องกาํ หนดจดุ มงุ่ หมายใหช้ ัดเจน เพื่อให้ผ้สู อน กาํ หนด
และจดั กิจกรรมการเรียน รวมทั้งวัดประเมินผลไดถ้ ูกต้อง โดยได้จาํ แนกจุดมงุ่ หมายทางการศึกษา ที่เรยี กว่า
Taxonomy of Educational Objectives (Bloom. 1976 : 18) ออกเป็น 3 ดา้ น คือ ดา้ นพุทธิพิสัย ด้าน
จิตพิสัย และดา้ นทกั ษะพิสัย

1. ดา้ นพทุ ธพิ ิสยั (Cognitive Domain) หมายถึง การเรยี นร้ทู างด้าน ความรู้ ความคดิ การ
แกป้ ญั หา จดั เป็นพฤติกรรมด้านสมองเก่ยี วกบั สตปิ ัญญา ความคดิ ความสามารถในการคดิ เรอ่ื งราวต่าง ๆ
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยแอนเดอรส์ ันและแครทโวทล์ (Anderson & Krathwohl) ได้ปรับปรงุ การจาํ แนก
จดุ มงุ่ หมายทางการศกึ ษาตามแนวคดิ ของ บลูม ขึ้นใหม่ มีการปรับเปลยี่ นระดับพฤติกรรม เป็น 6 ระดบั
ดังนี้

1.1 จํา (Remember) หมายถึง ความสามารถในการดึงเอาความรู้ท่ีมีอยใู่ นหนว่ ยความจาํ ระยะ
ยาวออกมา แบ่งประเภทย่อยได้ 2 ลักษณะคอื จาํ ได้ (Recognizing) ระลึกได้ (Recalling)

1.2 เข้าใจ (Understand) หมายถึง ความสามารถในการกําหนดความหมายของคําพูด ตวั อักษร
และการสื่อสารจากส่อื ต่างๆ ทีเ่ ป็นผลมาจากการสอน แบง่ ประเภทย่อยได้ 7 ลักษณะ คือ ตีความ
(Interpreting) ยกตวั อย่าง (Exemplifying) จําแนกประเภท (Classifying) สรุป (Summarizing) อนมุ าน
(Inferring) เปรียบเทยี บ (Comparing) อธิบาย (Explaining)

1.3 ประยุกตใ์ ช้ (Apply) หมายถึง ความสามารถในการดําเนนิ การหรอื ใชร้ ะเบียบวิธีการ ภายใต้
สถานการณ์ท่กี าํ หนดให้ แบง่ ประเภทยอ่ ยได้ 2 ลกั ษณะคือ ดาํ เนนิ งาน (Executing) ใช้เป็นเคร่ืองมอื
(Implementing)

1.4 วิเคราะห์ (Analyze) หมายถงึ ความสามารถในการแยกสว่ นประกอบของสงิ่ ตา่ งๆ และ
ค้นหาความสมั พันธ์ระหว่างส่วนประกอบ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างของส่วนประกอบกบั โครงสรา้ งรวมหรือ
สว่ นประกอบเฉพาะ แบ่งประเภทย่อยได้ 3 ลกั ษณะคือ บอกความแตกตา่ ง (Differentiating) จดั โครงสร้าง
(Organizing) ระบุคุณลักษณะ (Attributing)

1.5 ประเมินค่า (Evaluate) หมายถึง ความสามารถในการตดั สนิ ใจโดยอาศยั เกณฑห์ รือ
มาตรฐาน แบ่งประเภทย่อยได้ 2 ลักษณะคือ ตรวจสอบ (Checking) วิพากษว์ ิจารณ์ (Critiquing)

1.6 สรา้ งสรรค์ (Create) หมายถงึ ความสามารถในการรวมส่วนประกอบต่างๆเข้าดว้ ยกัน ดว้ ย
รปู แบบใหม่ๆ ที่มคี วามเชื่อมโยงกนั อยา่ งมีเหตผุ ลหรือทําให้ได้ผลติ ภณั ฑ์ทเ่ี ป็นตน้ แบบ แบ่งประเภทย่อย ได้
3 ลกั ษณะคือ สร้าง (Generating) วางแผน (Planning) ผลิต (Producing)

2. ดา้ นจิตพสิ ัย (Affective Domain)
พฤติกรรมด้านจิตพิสยั เปน็ ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึง้ ทัศนคติ ความเช่อื ความสนใจ และ
คณุ ธรรม พฤตกิ รรมด้านนีอ้ าจไม่เกิดขนึ้ ทันที ดงั นนั้ การจัดกิจกรรมการเรียนรดู้ ้วยการจัดสภาพแวดลอ้ ม ท่ี
เหมาะสม และสอดแทรกสง่ิ ที่ดงี ามตลอดเวลา จะทําให้พฤติกรรมของผูเ้ รียนเปลีย่ นไปในแนวทางท่ีพ่งึ
ประสงค์ได้ จิตพิสยั ประกอบดว้ ยพฤติกรรม 5 ระดับ ได้แก่
2.1 การรับรู้ (Receiving/Attending) เป็นความรู้สึกทีเ่ กดิ ข้ึนตอ่ ปรากฏการณ์ หรือส่ิงเร้า อยา่ ง
ใดอยา่ งหน่งึ ซง่ึ เป็นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสง่ิ เรา้ นัน้ ว่าคืออะไร แล้วจะแสดงออกมาใน
รูปของความรสู้ ึกทเี่ กดิ ขนึ้

30

2.2 การตอบสนอง (Responding) เปน็ การกระทาํ ทีแ่ สดงออกมาในรปู ของความเต็มใจ ยนิ ยอม
และพอใจต่อสิ่งเรา้ นน้ั ซ่ึงเปน็ การตอบสนองทเี่ กิดจากการเลอื กสรรแล้ว

2.3 การเกดิ ค่านยิ ม (Valuing) การเลือกปฏบิ ัติในส่งิ ท่เี ป็นท่ียอมรบั กันในสงั คม การยอมรบั นบั
ถือในคณุ ค่าน้ัน ๆ หรอื ปฏิบัติตามในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง จนกลายเปน็ ความเช่อื แลว้ จงึ เกิดทศั นคติทีด่ ีในส่งิ นน้ั

2.4 การจดั ระบบ (Organizing) การสร้างแนวคิด จดั ระบบของค่านยิ มที่เกิดขึน้ โดยอาศยั
ความสมั พันธ์ ถ้าเข้ากนั ได้กจ็ ะยึดถือต่อไปแต่ถา้ ขัดกันอาจไมย่ อมรบั อาจจะยอมรบั ค่านิยมใหม่โดยยกเลกิ
ค่านยิ มเก่า

2.5 บุคลิกภาพ (Characterizing) การนาํ คา่ นิยมที่ยดึ ถือมาแสดงพฤตกิ รรมทเี่ ปน็ นิสยั ประจาํ ตวั
ให้ประพฤติปฏบิ ัตแิ ต่สง่ิ ที่ถูกต้องดีงาม พฤตกิ รรมดา้ นน้จี ะเกยี่ วกับความรู้สึกและจติ ใจ ซ่งึ จะเรมิ่ จากการ
ได้รับร้จู ากสิ่งแวดล้อม แล้วจงึ เกิดปฏกิ ิรยิ าโต้ตอบ ขยายกลายเปน็ ความรสู้ ึกดา้ นตา่ งๆ จนกลายเปน็
ค่านิยม และยังพัฒนาต่อไปเปน็ ความคิด อดุ มคติ ซึ่งจะเป็นการควบคุมทิศทางพฤติกรรมของคน

3. ดา้ นทักษะพสิ ัย (Psychomotor Domain)
พฤติกรรมดา้ นทักษะพิสยั เปน็ พฤติกรรมที่บ่งบอกถงึ ความสามารถในการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่าง
คล่องแคล่ว ชาํ นาญ ซึง่ แสดงออกมาได้โดยตรง โดยมเี วลาและคุณภาพของงานเปน็ ตวั ชรี้ ะดับของทักษะ
ประกอบด้วย 5 ข้นั ดงั นี้
3.1 การรบั รู้ เลียนแบบ ทําตาม (Imitation) เปน็ การให้ผ้เู รยี นไดร้ ับรูห้ ลักการปฏบิ ตั ิท่ี ถูกต้อง
หรือ เปน็ การเลือกหาตวั แบบท่ีสนใจ
3.2 การทาํ เอง การปรับใหเ้ หมาะสม (Manipulation) เป็นพฤติกรรมทผี่ เู้ รยี นพยายามฝึก ตาม
แบบทีต่ นสนใจและพยายามทําซํ้า เพ่ือท่จี ะให้เกิดทักษะตามแบบทตี่ นสนใจให้ได้ หรือ สามารถปฏิบัติงาน
ได้ตามขอ้ แนะนาํ
3.3 การหาความถูกต้อง (Precision) พฤติกรรมสามารถปฏบิ ตั ไิ ดด้ ้วยตนเอง โดยไม่ต้อง อาศยั
เครอ่ื งชี้แนะ เม่ือได้กระทาํ ซํา้ แล้วก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบตั ิ
3.4 การทําอย่างต่อเนอื่ ง (Articulation) หลงั จากตัดสนิ ใจเลอื กรปู แบบท่เี ปน็ ของตัวเอง จะ
กระทาํ ตามรูปแบบนน้ั อยา่ งต่อเน่ือง จนปฏิบตั งิ านทยี่ ุ่งยากซบั ซ้อนไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถูกต้อง คล่องแคล่ว การ
ทผ่ี เู้ รียนเกิดทักษะได้ ต้องอาศยั การฝกึ ฝนและกระทาํ อยา่ งสม่ําเสมอ
3.5 การทาํ ได้อยา่ งเป็นธรรมชาติ (Naturalization) พฤติกรรมที่ไดจ้ ากการฝึกอยา่ ง ต่อเน่อื งจน
สามารถปฏิบตั ิ ได้คล่องแคลว่ วอ่ งไวโดยอตั โนมัติ เป็นไปอย่างธรรมชาตซิ ง่ึ ถือเปน็ ความสามารถของ การ
ปฏิบตั ใิ นระดับสูง
สเี่ สาหลกั ของการศึกษา (Four Pillars of Education)
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรอื ยเู นสโก ไดศ้ กึ ษา แนว
ทางการจดั การศึกษาท่ีเหมาะสมในศตวรรษที่ 21 โดยเสนอสเี่ สาหลกั ของการศึกษา (Four Pillars of
Education) ประกอบด้วยการเรียนรู้ 4 ลักษณะ ไดแ้ ก่ การเรยี นเพื่อรู้ (Learning to know) การเรยี นรู้
เพ่ือปฏบิ ัติได้จริง (Learning to do) การเรียนรู้เพื่อท่จี ะอยูร่ ่วมกัน และการเรียนรู้ท่จี ะอยรู่ ่วมกบั ผ้อู น่ื
(Learning to Live together) และการเรยี นรู้เพื่อชีวติ (Learning to be)
Learning to know : หมายถึง การเรยี นเพ่ือรู้ทุกส่งิ ทุกอย่าง อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ไป ได้แก่
การแสวงหาให้ได้มาซ่งึ ความรู้ท่ีต้องการ การต่อยอดความรู้ท่ีมอี ยู่ รวมทั้งการสร้างความรขู้ นึ้ ใหม่ เป็นการ
จัดการเรยี นรูท้ ม่ี ่งุ พัฒนากระบวนการคดิ กระบวนการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้ และวิธีการเรยี นรู้ ของ

31

ผ้เู รียน เพือ่ ให้สามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองไดต้ ลอดชีวติ กระบวนการเรยี นรูเ้ นน้ การฝกึ สติ สมาธิ
ความจาํ ความคดิ ผสมผสานกับสภาพจรงิ และประสบการณ์ในการปฏิบตั ิ

Learning to do : หมายถงึ การเรียนเพื่อการปฏิบตั หิ รือลงมอื ทํา มงุ่ พัฒนาความสามารถ และ
ความชาํ นาญ รวมท้งั สมรรถนะทางด้านวิชาชพี สามารถทาํ งานเปน็ หมู่คณะ ปรบั ประยุกตอ์ งค์ความรู้ ไปสู่
การปฏิบัตงิ านและอาชีพ กระบวนการเรยี นร้เู น้นบรู ณาการระหว่างความรภู้ าคทฤษฎีและการฝึก
ปฏิบตั งิ านท่ีเนน้ ประสบการณ์ต่าง ๆ ทางสังคม ซ่งึ อาจนาํ ไปสู่การประกอบอาชีพจากความรทู้ ไ่ี ด้ศกึ ษามา
รวมทง้ั การปฏิบัตเิ พ่ือสรา้ งประโยชนใ์ หส้ งั คมท่สี ามารถทํางานได้หลายอย่าง

Learning to live together : หมายถึง การเรยี นรู้เพื่อการดาํ เนนิ ชีวิตอยรู่ ว่ มกบั ผู้อื่นได้ อยา่ ง
มีความสุข ท้ังการดาํ เนนิ ชีวิตในการเรยี น ครอบครวั สังคม และการทาํ งาน เปน็ การดํารงชีวิตอย่างมี
คณุ ภาพดว้ ยการสรา้ งสรรค์ประโยชน์ใหส้ งั คม การจัดการเรยี นรู้มุ่งใหผ้ ู้เรยี นดํารงชีวติ อยู่ร่วมกบั ผ้อู ื่นใน
สงั คม พหวุ ฒั นธรรมได้อยา่ งมีความสขุ มคี วามตระหนักในการพง่ึ พาอาศัยซ่งึ กันและกนั การแกป้ ญั หา การ
จัดการ ความขดั แย้งดว้ ยสนั ติวิธี มคี วามเคารพสิทธิและศักดิ์ศรคี วามเปน็ มนษุ ย์ เขา้ ใจความแตกต่าง และ
หลากหลาย ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี ความเช่อื ของแต่ละบุคคลในสงั คม

Learning to be : หมายถงึ การเรยี นรเู้ พ่ือใหร้ จู้ ักตวั เองอย่างถอ่ งแท้ รู้ถึงศกั ยภาพ ความ ถนดั
ความสนใจ ของตนเอง สามารถใช้ความรู้ ความสามารถของตนเองให้เกดิ ประโยชนต์ ่อสังคม เลอื ก แนว
ทางการพัฒนาตนเองตามศกั ยภาพ วางแผนการเรียนต่อ การประกอบอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพ
ตนเองได้ การจดั การเรยี นรมู้ ุ่งพัฒนาผเู้ รียนทุกดา้ นท้งั จติ ใจและร่างกาย สติปัญญา ใหค้ วามสาํ คัญกบั
จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ภาษา และวฒั นธรรม เพอ่ื พฒั นาความเป็นมนษุ ย์ทส่ี มบูรณม์ คี วาม
รบั ผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดลอ้ ม

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้และแผนการจัดการเรียนรทู้ ่ีเนน้ การจดั การเรียนรูเ้ ชิงรกุ (Active
Learning)

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้และแผนการจัดการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ การจดั การเรียนเชิงรุก (Active
Learning) ครผู ู้สอนจะมกี ารพิจารณาตรวจสอบโครงสร้างรายวิชาท่สี อนก่อน จงึ ดําเนนิ การออกแบบ
หนว่ ยการเรียนรูแ้ ละแผนการจัดการเรียนรู้ทเ่ี นน้ การจัดการเรียนเชงิ รุก (Active Learning) ให้สอดคล้อง
กับ หลกั สตู รในแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ า

โครงสรา้ งรายวชิ า
โครงสรา้ งรายวชิ า เป็นการกาํ หนดขอบขา่ ยของรายวิชาทีจ่ ะจัดสอนเพ่ือช่วยให้ผู้สอนและ

ผู้เก่ยี วข้อง เห็นภาพรวมของแตล่ ะรายวชิ าวา่ ประกอบด้วย หน่วยการเรยี นรู้ จาํ นวนเท่าใด เร่ืองใดบ้าง แต่
ละหนว่ ยพัฒนาให้ผเู้ รียนบรรลุตัวชวี้ ดั ใด เวลาท่ใี ช้จดั การเรยี นการสอน และสัดส่วนการเก็บคะแนนของ
รายวิชานั้นเปน็ อยา่ งไร กระบวนการจัดทําโครงสรา้ งรายวิชา และหนว่ ยการเรยี นรู้ อาจดําเนนิ การ โดยมี
ข้ันตอนเร่ิมต้น หรอื ลงทา้ ยที่แตกต่างกันได้หลายวิธี

การจัดทาํ โครงสร้างรายวชิ าจะชว่ ยใหค้ รผู สู้ อนเห็นความสอดคล้องเชือ่ มโยงของลาํ ดับการ
เรียนรขู้ องรายวิชาหนึง่ ๆ ว่าครจู ะสอนอะไร ใช้เวลาสอนเรื่องน้นั เท่าไร และจดั เรยี งลําดบั สาระการเรยี นรู้
ตา่ ง ๆ อยา่ งไร ทาํ ให้มองเหน็ ภาพรวมของรายวิชาอยา่ งชัดเจน

32

โครงสร้างรายวิชา มีองคป์ ระกอบหลัก ๆ ดังน้ี
- มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ัด ทเี่ ปน็ เป้าหมายในการพฒั นาผูเ้ รียนสาํ หรบั หน่วยนั้น ๆ

มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั อาจมีการสอนหรอื ฝึกซํา้ ให้เกิดความชํานาญ และมีความรู้กวา้ งขวางข้นึ ใน
หนว่ ยการเรยี นรู้มากกวา่ 1 หนว่ ยได้

- สาระสาํ คญั เป็นความรคู้ วามคดิ ความเขา้ ใจที่ลกึ ซง้ึ หรือความรทู้ ่ีเป็นแก่น เปน็ หลักการ ของ
เรอื่ งใดเร่ืองหน่ึง ท่ีเกดิ จากการหลอมรวมของมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั ในหนว่ ยการเรยี นรู้

- ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ จะต้องสะทอ้ นให้เห็นสาระสาํ คัญของหน่วยการเรียนรู้ น่าสนใจ เหมาะสม
กบั วัย มีความหมายและสอดคลอ้ งกับชีวิตจริงของผ้เู รียน

- เวลา การกาํ หนดเวลาเรียนควรมคี วามเหมาะสมและเพยี งพอกับการจดั กิจกรรม การเรียนรู้
เพ่ือพฒั นาให้นักเรียนมีความสามารถตามท่รี ะบุไวใ้ นมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัด และ ควรพิจารณาใน
ภาพรวมของทุกหนว่ ยการเรยี นร้ใู นรายวชิ านั้น ๆ อยา่ งเหมาะสม

- นาํ้ หนกั คะแนน การกําหนดนํ้าหนักคะแนนเปน็ สว่ นชว่ ยให้เห็นทิศทาง การจัดเวลา การจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมนิ ผล ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสําคญั ของมาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ในหน่วย การ
เรยี นรู้นนั้ วา่ เป็นมาตรฐานและตัวช้วี ัด ที่เป็นความรู้ ประสบการณ์พ้ืนฐานในการต่อยอดความรู้หรือ
พัฒนาการเรยี นรูใ้ นเร่ืองอนื่ ๆ หรอื พจิ ารณาจากศักยภาพผเู้ รยี น ธรรมชาตวิ ชิ า ฯลฯ

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ อิงมาตรฐาน
หนว่ ยการเรยี นรู้องิ มาตรฐาน คือ หน่วยการเรียนรทู้ ่ีมมี าตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชวี้ ัด เป็น
เปา้ หมายของหนว่ ย และองค์ประกอบภายในหน่วยการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวดั
สาระสาํ คัญ สาระการเรยี นรู้ ช้นิ งานหรือภาระงานท่กี าํ หนดให้ผู้เรยี นปฏิบตั ิ กจิ กรรมการเรียนการสอนและ
เกณฑ์การประเมินผล ทกุ องค์ประกอบของหน่วยการเรยี นรู้ จะตอ้ งเชื่อมโยงกับมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ที่เป็น
เป้าหมายของหน่วย
การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้อิงมาตรฐาน เปน็ ขัน้ ตอนสําคัญทสี่ ุดของการจดั ทําหลกั สตู ร
สถานศกึ ษา เพราะเป็นส่วนที่นํามาตรฐานการเรียนรู้ไปสู่การปฏบิ ัติในการเรยี นการสอนอย่างแท้จริง
นักเรยี นจะบรรลมุ าตรฐานหรือไม่ อย่างไร ขนึ้ อย่กู บั ขนั้ ตอนน้ี
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้ Backward Design เป็นการออกแบบที่ ยดึ
เป้าหมายการเรยี นรูแ้ บบยอ้ นกลบั โดยเริม่ จากการกาํ หนดเป้าหมายปลายทางทเ่ี ป็นคุณภาพผู้เรยี นที่
คาดหวังเปน็ จดุ เร่มิ ตน้ แลว้ จงึ คดิ ออกแบบองคป์ ระกอบอ่นื เพ่ือนาํ ไปส่ปู ลายทาง และทุกข้ันตอนของ
กระบวนการออกแบบตอ้ งเชื่อมโยงสมั พันธ์กันอยา่ งเปน็ เหตเุ ป็นผล ในการนาํ Backward Design มาใชใ้ น
การ ออกแบบหน่วยการเรียนรอู้ งิ มาตรฐาน มีขั้นตอนท่ีสําคัญ 3 ข้ันตอน ดังนี้
ขน้ั ตอนท่ี 1 กําหนดเป้าหมายการเรียนรูท้ ส่ี ะทอ้ นมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ช้ีวดั หรือผล การ
เรียนรู้ ซง่ึ บอกใหท้ ราบว่าต้องการใหน้ กั เรียนรู้อะไร และสามารถทาํ อะไรได้ เมือ่ จบหนว่ ยการเรยี นรู้
ข้นั ตอนท่ี 2 กําหนดหลักฐาน รอ่ งรอยการเรยี นรทู้ ชี่ ัดเจนและแสดงใหเ้ หน็ วา่ ผเู้ รยี นเกดิ ผล การ
เรยี นร้ตู ามเปา้ หมายการเรยี นรู้ มกี ารกาํ หนดใหผ้ ู้เรียนมีการทดสอบก่อนและหลังการเรียนรปู้ ระจาํ หนว่ ย
การเรียนรู้ ที่เปน็ ข้อสอบได้มาตรฐานสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ัด และสัมพนั ธก์ ับข้อสอบ
มกี ารกาํ หนดเกณฑ์การผ่านการสอบและเกณฑก์ ารผ่านของผ้เู รียนทร่ี องรบั ข้อมูลจากผลการวิเคราะห์
ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล

33

ข้ันตอนที่ 3 ออกแบบกระบวนการ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีช่วยพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพตาม
เป้าหมายการเรียนรู้ ที่มุ่งคํานึงถึงการออกแบบ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่เี นน้ การจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรกุ (Active
Learning)

ตวั อยา่ งการจดั ทาํ หนว่ ยการเรียนรู้
กาํ หนดมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ัด
การสรา้ งหน่วยการเรียนรวู้ ธิ นี ใี้ ชว้ ธิ กี ารหลอมรวมตวั ช้วี ัดต่าง ๆ ทปี่ รากฏอยู่ในคําอธบิ าย รายวิชา

แผนภมู ิ แสดงการจัดทาํ หนว่ ยการเรยี นรู้

* คุณลักษณะหมายรวมถึงคณุ ลักษณะที่ปรากฏอยใู่ นมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชวี้ ัด และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

เป้าหมายของหนว่ ยการเรยี นรู้ คือ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วัด ซง่ึ แตล่ ะหนว่ ยการ เรียนรู้
อาจระบุมากกว่าหนง่ึ มาตรฐานและตวั ช้วี ัด แตไ่ มค่ วรมากเกนิ ไป และควรมมี าตรฐานและตวั ช้ีวดั ที่
หลากหลายลกั ษณะ เช่น มาตรฐานท่ีเปน็ เนือ้ หา มาตรฐานท่เี ปน็ กระบวนการ เพ่ือชว่ ยให้การจัดกจิ กรรม
การ เรียนรมู้ คี วามหมายต่อผเู้ รียน สามารถสรา้ งเป็นแกน่ ความร้ไู ดช้ ดั เจนข้นึ และนําไปปรับใช้กับ
สถานการณ์จริง ได้ ทงั้ นี้ขนึ้ อยูก่ ับความเหมาะสมของธรรมชาติกล่มุ สาระการเรียนรู้

เนื่องจาก หนว่ ยการเรียนรหู้ นึ่งอาจมีมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั มากกว่า 1 มาตรฐาน การ
เรยี นรแู้ ละตัวชีว้ ดั จงึ ควรหลอมรวมแล้วเขียนเป็นสาระสําคญั ที่จะพฒั นาให้เกดิ คุณภาพเป็นองค์รวม แก่
ผเู้ รยี น และเพ่ือใหก้ ารวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรสู้ อดคล้องกบั แตล่ ะมาตรฐานและตัวชีว้ ัด จึงควร
วเิ คราะห์และแยกแยะเปน็ 3 สว่ น คือ ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะ ท้ังน้ี มาตรฐาน การ
เรียนรู้และตวั ช้ีวดั บางตวั อาจมไี ม่ครบท้ัง 3 สว่ น ผ้สู อนสามารถนําเนื้อหาจากแหล่งอ่ืน เช่น สาระทอ้ งถน่ิ
และคุณลักษณะอันพึงประสงคท์ ี่กําหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาเพมิ่ เติม เสริมได้

34

ชนิ้ งาน หรอื ภาระงานท่ีนักเรียนปฏิบตั ิ
ชิ้นงานหรอื ภาระงาน หมายถึง สง่ิ ตอ่ ไปน้ี
ช้นิ งาน ไดแ้ ก่
1. งานเขียน เช่น เรยี งความ จดหมาย โคลงกลอน การบรรยาย การเขยี นตอบ ฯลฯ
2. ภาพ แผนภูมิ เช่น แผนผัง แผนภมู ิ ภาพวาด กราฟ ตาราง ฯลฯ
3. สิ่งประดษิ ฐ์ เช่น งานประดิษฐ์ งานแสดงนทิ รรศการ หุ่นจาํ ลอง ฯลฯ
ภาระงาน ไดแ้ ก่
การพูด/รายงานปากเปลา่ เช่น การอ่าน กลา่ วรายงาน โต้วาที ร้องเพลง สมั ภาษณ์ บทบาท
สมมติ เลน่ ดนตรี การเคล่ือนไหวร่างกาย ฯลฯ
งานทมี่ ลี กั ษณะผสมผสานกันระหวา่ งชนิ้ งาน ภาระงาน ได้แก่ การทดลอง การสาธติ ละคร วดี ิ
ทัศน์ ฯลฯ
ชน้ิ งานและหรือภาระงานเป็นหลกั ฐาน/รอ่ งรอย ว่านกั เรียนบรรลมุ าตรฐานการเรยี นรู้และ
ตวั ช้วี ัดในหนว่ ยการเรยี นร้นู ั้น ๆ อาจเกดิ จากผู้สอนกําหนดให้ หรืออาจใหผ้ ู้เรียนร่วมกันกําหนดขน้ึ จากการ
วเิ คราะห์ตัวชี้วดั ในหน่วยการเรียนรู้ หลักการกําหนดชนิ้ งานและหรอื ภาระงาน มีดังนี้
1. ดูจากมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ในหน่วยการเรยี นรู้ ระบไุ ว้ชดั เจนหรอื ไม่
2. ภาระงานหรือชนิ้ งานครอบคลมุ ตัวชว้ี ัดที่ระบุไวห้ รือไม่ อาจระดมความคดิ จากเพ่ือนครูหรือ
ผู้เรยี น หรอื อาจปรับเพ่มิ กิจกรรมใหเ้ กดิ ชนิ้ งานหรือภาระงานทคี่ รอบคลุม
3. ชิน้ งานชน้ิ หน่งึ หรือภาระงาน 1 อย่าง อาจเช่ือมโยงกับมาตรฐานการเรยี นร้เู ดยี วกันและ/หรอื
ตวั ชี้วดั ต่างมาตรฐานการเรยี นรูก้ นั ได้
4. ควรเลอื กตวั ช้วี ัดที่จะใหเ้ กิดงานที่จะสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนได้พฒั นาสติปัญญาหลายๆ ด้านไปพร้อม
กัน เช่น การแสดงละคร บทบาทสมมติ เคลื่อนไหวรา่ งกาย ดนตรี เป็นต้น
5. เลือกงานทผี่ ้เู รยี นมีโอกาสเรียนรแู้ ละทาํ งานทช่ี อบใชว้ ธิ ีทาํ ที่หลากหลาย
6. เปน็ งานทใี่ หท้ างเลือกในการประเมนิ ผลท่หี ลากหลาย โดยบคุ คลตา่ ง ๆ เช่น ผู้ปกครอง ผูส้ อน
ตนเอง เป็นต้น
ชิน้ งานและหรอื ภาระงานที่แสดงใหเ้ ห็นถงึ พัฒนาการของผู้เรียนทีไ่ ดร้ ับการพัฒนาการเรียนรู้ ของ
แต่ละเร่ือง หรือแตล่ ะขัน้ ตอนของการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้นาํ สกู่ ารประเมนิ เพ่ือปรบั ปรุงเพมิ่ พนู คุณภาพ
ผูเ้ รียน/วธิ สี อนสูงขน้ึ อยา่ งต่อเนอ่ื ง
การประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินโดยใช้รูบริค (rubric) เป็นการประเมนิ ที่เนน้ คณุ ภาพของชิ้นงานหรือภาระงานท่ี
ชีใ้ หเ้ ห็นระดบั ความรู้ ความสามารถของผ้เู รียน การประเมินโดยใชร้ บู ริค (rubric) ช่วยในการสือ่ สารอีกทาง
หน่ึง ให้ผ้เู รยี นมองเห็นเป้าหมายของการทาํ ชิ้นงานหรือภาระงานของตนเอง และได้รบั ความยุตธิ รรมในการ
ใหค้ ะแนนของผูส้ อน ตามคณุ ภาพของงาน อย่างไรกต็ ามการประเมนิ ช้ินงานหรือภาระงานอาจใชว้ ธิ ีการอื่น
ได้ ตามความเหมาะสมกับธรรมชาตขิ องช้นิ งานหรือภาระงาน เช่น การทาํ แบบ check list การทดสอบ
เปน็ ตน้
การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้
การเรยี นรูเ้ ป็นหวั ใจสําคัญทีจ่ ะช่วยให้นักเรียนเกดิ การพฒั นา ทาํ ให้นกั เรยี นมีความรูแ้ ละ ทักษะ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วัดชน้ั ปีทกี่ าํ หนดไวใ้ นแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ รวมทัง้ ช่วยในการปลกู ฝัง

35

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทพ่ี งึ ประสงค์ใหเ้ กดิ แก่ผเู้ รียน ดังนน้ั ผสู้ อนจงึ ควรทราบหลักการและ
ขัน้ ตอนใน การจัดกจิ กรรม ดังนี้

1. หลักในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
1.1 เป็นกจิ กรรมทีพ่ ฒั นานักเรียนไปส่มู าตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชวี้ ดั ช้ันปีที่กาํ หนดไวใ้ น หน่วย
การเรียนรู้
1.2 นาํ ไปสกู่ ารเกิดหลักฐานการเรยี นรู้ ชิ้นงานหรือภาระงานท่ีแสดงถึงการบรรลุมาตรฐาน การ
เรียนรูแ้ ละตวั ช้วี ดั ชั้นปขี องนักเรียน
1.3 นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
1.4 เปน็ กจิ กรรมทเี่ น้นนกั เรียนเปน็ สําคัญ
1.5 มีความหลากหลายและเหมาะสมกบั นักเรียนและเนื้อหาสาระ
1.6 สอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงค์
1.7 ชว่ ยใหน้ ักเรยี นเข้าส่แู หล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรยี นร้ทู หี่ ลากหลาย
1.8 เปิดโอกาสให้นักเรยี นไดล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ
2. ขัน้ ตอนในการจดั กจิ กรรม
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พื่อพฒั นานกั เรียนให้มีศักยภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้วี ัดท่ี
กาํ หนดเปา้ หมายการเรยี นร้ทู ่ีพงึ ประสงคไ์ วแ้ ล้วน้ัน ครผู สู้ อนตอ้ งคิดทบทวนย้อนกลับวา่ มี กระบวนการ
หรือข้ันตอนกจิ กรรม ตัง้ แต่ต้นจนจบอยา่ งไร จงึ จะทําใหผ้ ู้เรยี นมีขัน้ ตอนการพฒั นาความรคู้ วาม เข้าใจ
ทักษะ ความสามารถต่าง ๆ รวมถึงคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ จนบรรลเุ ป้าหมายการเรียนรู้ และเกดิ
หลักฐานของการเรยี นรูท้ ่ีกาํ หนด ดังแผนภาพต่อไปนี้

ความรูค้ วามเข้าใจที่ลึกซ้งึ อนั เปน็ ผลมาจากการสรา้ งความรขู้ องผเู้ รยี นดว้ ยการทาํ ความ เขา้ ใจ
หรือแปลความหมายในสิ่งท่ตี นเองไดเ้ รียนรู้ทง้ั หมดทุกแง่ทุกมุมตลอดแนว ด้วยวิธีการถามคาํ ถามการ
แสดงออก และการสะทอ้ นผลงาน ซ่ึงสามารถใช้ตัวช้ีวดั ดงั ต่อไปน้ีในการตรวจสอบวา่ ผ้เู รียนเกดิ การเรยี นรู้
จน กลายเปน็ ความรคู้ วามเขา้ ใจท่ีลกึ ซ้ึงแล้วหรอื ไม่

36

ความเข้าใจ 6 ดา้ น ได้แก่
• ผเู้ รยี นสามารถอธิบาย (Can explain) เรอื่ งราวตา่ ง ๆ ได้อยา่ งถูกต้อง มีหลักการ โดยแสดง

ให้เหน็ ถึงการใชเ้ หตุผล ข้อมลู ขอ้ เทจ็ จริง ปรากฏการณต์ ่าง ๆ ทีน่ า่ เช่อื ถือประกอบในการอ้างอิง เชื่อมโยง
กบั ประเดน็ ปัญหา สามารถคาดการณ์ไปสู่อนาคต

• ผเู้ รียนสามารถแปลความหมาย (Can interpret) เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมคี วามหมายทะลุ
ปรโุ ปร่ง ตรงประเด็น กระจา่ งชัด โดยอาจใชแ้ นวคดิ ทฤษฎี เหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ หรือมมุ มองของ
ตนเองประกอบการตีความและสะท้อนความคิดเห็น

• ผู้เรยี นสามารถประยกุ ตใ์ ช้ ความรู้ (Can apply) ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สร้างสรรคเ์ หมาะสม
กับสถานการณ์ คลอ่ งแคลว่ ยืดหย่นุ และสงา่ งาม

• ผู้เรียนสามารถมองจากมุมมองท่ีหลากหลาย มองเหน็ รับรู้ประเด็นความคดิ ตา่ งๆ (Have
perspective) และตัดสนิ ใจที่จะเช่ือหรอื ไมเ่ ช่ือ โดยผา่ นข้ันตอน การวพิ ากษ์ วิจารณ์ และมมุ มองในภาพ
กว้างโดยมแี นวคดิ ทฤษฎี ข้อมูล ขอ้ เท็จจรงิ สนบั สนุนการ รบั รู้ น้ัน ๆ

• ผู้เรียนสามารถเขา้ ใจความรู้สกึ ของผ้อู ่นื บอกคุณคา่ ในส่ิงต่าง ๆ ทคี่ นอน่ื มองไม่เหน็ (Can
empathize) หรอื คดิ ว่ายากท่ีจะเช่อื ถือได้ ด้วยการพิสจู นส์ มมติฐานเพ่ือทาํ ให้ ข้อเทจ็ จริงนน้ั ๆ ปรากฏมี
ความละเอยี ดอ่อนท่จี ะซึมซบั รบั ทราบความรู้สึกนึกคดิ ของ ผ้เู กีย่ วข้อง

• ผเู้ รียนรจู้ กั ตนเอง มคี วามตระหนกั รู้ถงึ ความสามารถทางด้านสตปิ ัญญา วิถชี ีวิต นสิ ัย ใจคอ
ความเป็นตวั ตน ของตนเอง (Have self-knowledge) ซึ่งคือเบา้ หลอมความ เข้าใจ ความหยง่ั รูใ้ น
เรอื่ งราวต่าง ๆ มีความตระหนกั วา่ มีส่ิงใดอีกท่ียังไมเ่ ข้าใจ และ สามารถสะท้อน ความหมายของสิง่ ที่ได้
เรียนรูแ้ ละมปี ระสบการณ์ ปรับตัวได้ รจู้ กั ใคร่ครวญ และมีความเฉลยี ว ฉลาด

ครูผูส้ อนสามารถใชต้ วั ชวี้ ดั ความรูค้ วามเข้าใจคงทน ทัง้ 6 ตัวช้วี ดั น้ี เป็นเครอ่ื งมือในการกําหนด
กจิ กรรมการเรียนร้แู ละวิธีการวัดประเมินผลเรยี นรู้ว่า ผ้เู รยี นบรรลผุ ลการเรียนรู้ตรงตามท่ีกาํ หนดไวใ้ น
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั และเปา้ หมายหลักของการจัดการเรยี นรู้หรือไม่

การจดั ทําแผนการจดั การเรยี นรใู้ นหน่วยการเรียนรู้
แผนภาพ แสดงความสัมพนั ธข์ องหน่วยการเรยี นรสู้ ู่การจดั ทาํ แผนการจัดการเรยี นรู้

37

จากแผนภาพ ภายหลงั การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้เสร็จส้ิน เพอื่ ให้การจัดการเรยี นรู้ สอดคล้อง
กับหนว่ ยการเรียนรู้ ครผู ู้สอนควรวางแผนจัดแบ่งเนื้อหาสาระ เวลา ให้ครอบคลุมหน่วยการเรียนรู้ จากนัน้
นาํ มาจัดทาํ แผนการจดั การเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับเวลา และการพฒั นาผเู้ รียน ในการจดั ทําแผนการจดั การ
เรยี นรู้ ครผู สู้ อนจะต้องกําหนดเป้าหมายสําหรับผู้เรยี นในการจัดการเรยี นรู้ โดยสามารถกาํ หนดเปน็
จุดประสงค์การเรียนรู้ของแผนการเรยี นรนู้ ั้น ๆ ซึง่ จุดประสงคก์ ารเรียนรูใ้ นแตล่ ะแผนการจัดการเรยี นรู้
ตอ้ ง นําพาผู้เรยี นไปส่มู าตรฐานการเรียนรู้ตัวช้ีวดั สมรรถนะสาํ คัญของผู้เรยี น และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ ที่กําหนดไวใ้ นหนว่ ยการเรยี นรู้ จากน้นั ต้องกําหนดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พื่อใหผ้ ้เู รยี นบรรลุ
เปา้ หมาย ครูควรใชเ้ ทคนคิ /วิธกี ารสอนท่หี ลากหลาย โดยพิจารณาเลือกนํากระบวนการเรยี นรู้ทจี่ ะพัฒนา
ใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ ทีเ่ น้นการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) ซ่ึงสามารถนํากระบวนการ
เรียนรดู้ ังตอ่ ไปนม้ี าใช้ ในการจดั การเรียนรูใ้ หเ้ หมาะสมกับธรรมชาติวิชา เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ กระบวนการสรา้ ง ความรู้ กระบวนการคดิ กระบวนการทางสงั คม ฯลฯ รวมทั้งให้ศึกษาการนํา
เทคนิควธิ ีการสอนมาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ดว้ ย และในการจดั การเรยี นรู้ ครูผสู้ อนต้องรู้จักเลือกใชส้ ่อื
แหล่งเรยี นรู้ ภมู ิปญั ญา ท้องถ่ิน มาใช้ในการจัดกจิ กรรม เพ่ือให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ สื่อทีน่ าํ มาใช้ต้อง
กระตุ้น สง่ เสริมให้ผู้เรยี นเกิด การเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยไมย่ ึดสอ่ื ใดส่ือหนงึ่ เป็นหลักในการ
จัดการเรียนรู้

ทงั้ น้ี กจิ กรรมในแต่ละแผนการจดั การเรยี นร้ตู อ้ งสง่ เสรมิ และพัฒนาใหผ้ เู้ รยี นมีความสามารถ ท่ี
จะทําช้ินงาน ภาระงาน เมือ่ ครบทกุ แผนการจัดการเรียนรู้ของหนว่ ยการเรยี นรู้น้ัน ๆ ผู้เรียนต้องสรา้ ง
ชน้ิ งาน ภาระงานของหน่วยการเรียนรู้ได้ นอกจากนีใ้ นการจัดการเรียนรตู้ ้องกําหนดว่าจะใช้เครื่องมือใดวัด
และประเมนิ ผลผู้เรียนให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีกาํ หนด ดงั น้ัน ในการวดั และประเมินผลครูผูส้ อนตอ้ ง
ประเมิน ผเู้ รียนตลอดการจัดการเรยี นรู้ โดยเลือกใชเ้ ครื่องมือทเี่ หมาะสมกบั ลกั ษณะกิจกรรมและสิง่ ท่ี
ตอ้ งการวัด นอกเหนือจากการประเมนิ ชิ้นงาน ภาระงาน

ในการจัดทําแผนการจัดการเรยี นรู้ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้เป็นไปตาม ท่ีโรงเรียน
กาํ หนด โดยควรมอี งค์ประกอบหลกั ท่ีสําคัญ คือ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้วี ัด จดุ ประสงค์การ เรียนรู้
สาระสําคัญ สาระการเรียนรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาํ คัญของผ้เู รยี น เจตคติ คุณลักษณะ อนั พงึ
ประสงค์ ภาระงาน ชนิ้ งาน กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล บันทึก ผล
หลังการจัดการเรยี นรู้ ความคิดเห็นของผู้บรหิ ารโรงเรียน และภาคผนวกแนบท้ายแผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจดั การเรียนร้เู ป็นเคร่ืองมือทมี่ ีความสําคัญในการศึกษา จึงมีความจาํ เป็นต้องศึกษาและทาํ

ความเขา้ ใจใหถ้ ่องแท้ก่อนท่จี ะนาํ ไปสร้างเป็นเครื่องมือในการศึกษาต่อไปซ่งึ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้
1. ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้
นักการศึกษาไดใ้ ห้ความหมายแผนการจดั การเรยี นรู้ไว้ ดงั น้ี
รุจิร์ ภสู่ าระ (2546 : 159) ได้ใหค้ วามหมายของการจดั การเรยี นร้ไู ว้ว่าแผนการจัดการเรียนรู้

เป็นเคร่อื งมอื แนวทางในการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ให้ผเู้ รียนตามท่กี ําหนดไวใ้ นสาระการเรียนรู้
อาภรณ์ ใจเทยี่ ง (2546 : 200-201) สรุปความหมายของแผนการจดั การเรยี นรู้ไวว้ ่าเป็นการ

เตรียมการอย่างเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรไวล้ ่วงหนา้ เพ่ือเปน็ แนวทางสําหรบั ครูอันจะชว่ ยให้การจดั กิจกรรม
การเรียนรู้บรรลจุ ดุ ประสงค์ที่กาํ หนดไว้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

38

ชวลิต ชูกําแพง (2553 : 94) ไดใ้ ห้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรไู้ ว้วา่ เป็นเอกสารท่ี
เปน็ ลายลกั ษณ์อักษรของครูผู้สอน ซ่ึงเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นแตล่ ะคร้งั โดยใช้สื่อและ
อปุ กรณ์การเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ เนื้อหา เวลา เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นให้
เป็นไปอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ

บญุ ชม ศรีสะอาด (2553: 57) ไดใ้ หค้ วามหมายของแผนการจัดการเรยี นรู้ หมายถึง แนวทาง
ปฏบิ ัติในการจดั การเรยี นการสอนซ่งึ ได้จากการกาํ หนดไวล้ ่วงหนา้ ว่าจะสอนใคร ในเนื้อหาใด เพ่ือใหเ้ กิด
อะไร สอนเมื่อใด สอนดว้ ยวิธใี ด (ใช้สอ่ื อะไร กิจกรรมชนิดใด การวัดและประเมนิ ผลอย่างไร)

วมิ ลรัตน์ สนุ ทรโรจน์ (2554 : 341) แผนการจัดการเรยี นรู้ หมายถงึ แผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน การใช้ส่ือ การวัดผลประเมินผลให้สอดคล้องกบั เน้ือหาและจดุ ประสงค์ท่ีกําหนดไว้ใน
หลักสูตร หรือกลา่ วอีกนัยหนง่ึ ได้วา่ เป็นแผนท่ผี ู้สอนจัดทําขน้ึ จากคู่มอื ครหู รือแนวการสอนของกรม
วิชาการ ทาํ ใหผ้ จู้ ดั การเรียนรู้ทราบวา่ จะจดั การเรียนรู้เน้ือหาใด เพอ่ื จดุ ประสงค์ใด จดั การเรียนรอู้ ยา่ งไร
ใชส้ ่อื อะไร และวดั ผลประเมินผลด้วยวธิ ีใด

สรปุ ได้ว่า แผนการจัดการเรยี นรู้ หมายถงึ แผนการจดั การเรยี นรเู้ พื่อให้นกเรียนได้เรยี นร้ตู ามสาระ
การเรยี นรู้ท่กี ําหนด มีความรู้ความสามารถ ท้ังทางด้านทักษะและกระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด และมาตรฐานการเรยี นรู้ของหลกั สตู ร โดยใชส้ ื่อและอุปกรณก์ ารเรยี น
การสอนใหส้ อดคล้องกับจดุ ประสงค์ มกี ารวัดและประเมินผลที่ชดั เจน เพ่อื พฒั นาการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นให้
เป็นไปอย่างเต็มศักยภาพ

2. ความสําคัญของแผนการจัดการเรยี นรู้
วมิ ลรตั น์ สุนทรโรจน์ (2554 : 342) กลา่ วว่า ความสาํ คัญของแผนการจดั การเรียนรู้ ดังน้ี
1. ทําให้เกดิ การวางแผนวิธจี ัดกิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ เี รียน ท่ีมคี วามหมายย่ิงขึน้ เพราะเป็น

การจัดทาํ อยา่ งมหี ลักการท่ีถูกตอ้ ง
2. ช่วยใหผ้ ูส้ อนมสี อื่ การเรียนรู้ที่ทําด้วยตนเอง ทําให้เกิดความสะดวกในการจัดกจิ กรรมการ

เรยี นรู้ และจัดกจิ กรรมการเรียนรไู้ ด้ครบถว้ นตรงตามหลักสตู ร
3. เป็นผลงานทางวชิ าการที่สามารถเผยแพร่เปน็ ตัวอย่างได้
4. ชว่ ยใหเ้ กดิ ความสะดวกแกค่ รูผู้สอนแทนในกรณที ีผ่ ู้สอนไม่สามารถเขา้ สอนได้

จากทกี่ ล่าวมาสรุปไดว้ ่าแผนการจดั การเรียนรู้มคี วามสาํ คัญ เพราะจะช่วยให้การจัดกจิ กรรมการ
เรยี นรมู้ ปี ระสิทธิภาพ ทาํ ใหน้ ักเรียนเกิดความเขา้ ใจบทเรยี นอย่างชดั เจน อนั สง่ ผลใหน้ กั เรียนเกดิ เจตคติทดี่ ี
ตอ่ ผสู้ อนและตอ่ วิชาทเี่ รยี น บรรลุวัตถปุ ระสงค์ ตัวชว้ี ัดของหลกั สูตร

3. ขั้นตอนการเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
รุจริ ์ ภู่สาระ (2546 : 159-160) กลา่ วถึงขนั้ ตอนการเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ไว้ ดังนี้
1. ทําความเขา้ ใจมาตรฐานการเรยี นร้ขู องกล่มุ สาระการเรียนรูร้ วมทัง้ แนวความคิด ขอบเขต

ของกลุ่มสาระการเรียนรนู้ ีม้ าเป็นกรอบในการทําแผนการจัดการเรยี นรู้
2. เขยี นจดุ ประสงค์การเรียนรใู้ นหน่วยการเรียนรู้เป็นจุดประสงคป์ ลายทางทีก่ ล่าวถึง
2.1 จุดประสงคข์ องกลุ่มสาระการเรียนรู้
2.2 จุดประสงคจ์ ากคาํ อธิบายรายวชิ า
3. เขียนโครงสรา้ งของกลุ่มสาระการเรียนร้ทู ั้งหมด ได้แก่
3.1 หัวขอ้ ย่อยจากคาํ อธิบายรายวิชา

39

3.2 จํานวนตามในแต่ละหัวข้อยอ่ ย
3.3 สาระสําคัญทเ่ี นน้ ความคิดรวบยอด หลกั การ ทกั ษะ และลกั ษณะนิสยั
3.4 จดุ ประสงค์นําทางตามหัวข้อย่อย
อาภรณ์ ใจเท่ียง (2546 : 218) กล่าวว่า การจัดทําแผนการจดั การเรียนรู้ มลี าํ ดับขน้ั ตอน ดงั น้ี
1. วิเคราะห์คาํ อธิบายรายวชิ า รายปี และหน่วยการเรยี นรู้ท่สี ถานศึกษาจดั ทาํ ขน้ึ เพือ่
ประโยชนใ์ นการเขยี นรายละเอยี ดของแตล่ ะหวั ขอ้ ของแผนการจัดการเรยี นรู้
2. วิเคราะหต์ วั ชีว้ ัดเพอื่ นาํ มาเขียนเป็นจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ โดยให้ครอบคลุมพฤติกรรมทัง้
ด้านความรู้ ทกั ษะและกระบวนการ เจตคติ และค่านิยม
3. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ โดยเลือกและขยายสาระทเี่ รียนรู้ใหส้ อดคล้องกับนักเรยี น
ชมุ ชน และท้องถ่นิ
4. วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยเลอื กรูปแบบการจดั การเรียนรู้ท่เี น้นนักเรยี นเป็น
สาํ คญั
5. วเิ คราะหก์ ระบวนการประเมนิ ผล โดยเลอื กใช้วิธีการวัดและประเมนิ ผลทสี่ อดคล้องกบั
มาตรฐานการเรยี นรู้
6. วเิ คราะหแ์ หล่งเรียนรู้ โดยคัดเลอื กสื่อการเรยี นรู้ และแหลง่ การเรยี นรู้ทง้ั ในและนอก
ห้องเรียน ใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกบั กระบวนการเรยี นรู้
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2554 : 350-361) กล่าวว่า การเขียนแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ตู อ้ ง
เขียนให้ถูกตอ้ งตามหลักการ สิ่งที่ควรเขยี นใหช้ ัดเจน ตามหัวขอ้ ต่อไปน้ี
1. ศกึ ษาและวเิ คราะหส์ าระการเรียนรทู้ จี่ ะสอน
1.1 จดุ ประสงค์ประจําวชิ า
1.2 ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง
1.3 คําอธิบายรายวชิ า
1.4 โครงสร้างของหลักสตู รสถานศกึ ษา
1.5 การวิเคราะหห์ นว่ ยการเรียนรู้
1.6 แผนการเรยี นรู้
2. ศกึ ษาแนวการสอนของกรมวิชาการ เพอื่
2.1 ศกึ ษารายละเอยี ดสาระการเรยี นร้กู ับผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั ในแตล่ ะดับชั้นว่ามี
ความสมั พันธ์กันหรือไม่ เพ่อื เพม่ิ เติมอีกใหส้ มบูรณ์
2.2 วเิ คราะห์ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวังสอดคล้องกับจุดประสงคก์ ารเรียนรใู้ นกลุ่มสาระการ
เรียนรูห้ รือไม่ถา้ ไม่สอดคล้องควรปรบั และนาํ มาเขียนในแผนการสอนให้ชดั เจนต่อไป
2.3 นาํ กิจกรรมในแนวการสอนมาพิจารณาประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียน
การสอนในการเขียนแผนการสอนต่อไป
3. ขน้ั เขียนแผนการจัดการเรียนรู้
3.1 ส่วนหวั เรือ่ ง เปน็ สว่ นแรกของแผนการจดั การเรยี นรู้ เป็นสว่ นท่บี อกรายละเอียด
เบอ้ื งตน้ มีแนวการเขยี น ดงั น้ี

3.1.1 ลาํ ดับท่ขี องแผนการเรียนรู้
3.1.2 ระบกุ ล่มุ สาระการเรียนรู้

40

3.1.3 ระบุชั้นที่จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
3.1.4 ระบุหวั ข้อเรอื่ ง
3.1.5 ระบเุ วลาท่ใี ช้จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
3.1.6 ระบุวันที่ เดือน ปี และช่วงเวลาในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
3.2 สาระสําคัญ คือ ขอ้ ความทเี่ ขียนเพ่อื ระบุให้เหน็ แก่นหรอื เห็นข้อสรุปท่ีตอ้ งการใหเ้ กิด
ขึ้นกับนกั เรยี นหลังจากเรยี นรู้เรือ่ งใดเรื่องหนง่ึ ทั้งด้านสาระ ความรู้ ทักษะ หรอื ดา้ นเจตคติ ซึง่ ขึ้นอยู่กบั
ลักษณะของเรื่องท่ีนําเสนอ สาระสาํ คญั เปน็ คาํ ที่ใช้ในความหมายเดียวกับความคดิ รวบยอด มโนทศั น์ และ
มโนมติ ขึ้นอยู่กบั หนว่ ยงานหรอื ความนยิ มใช้ มีแนวการเขียนดังต่อไปน้ี
3.2.1 เขียนในลักษณะของการสรปุ สาระความรู้ ทักษะ หรอื เจตคติทเี่ ปน็ เปา้ หมาย
ดว้ ยภาษาท่ีรัดกุมและชดั เจน
3.2.2 เขียนในลกั ษณะความเรยี งหรอื เขยี นเป็นขอ้ ในกรณีท่ีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ครง้ั นั้นมีมากกว่า 1 สาระสําคัญ
3.2.3 การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ชู น้ั ตน้ ๆ ควรมีสาระสําคัญเดยี วในการจดั กิจกรรมการ
เรียนรู้ครง้ั หน่ึง
3.3 จดุ ประสงค์ คือ ข้อความระบคุ ุณลักษณะด้านสาระความรู้ดา้ นทักษะ และด้านเจต
คติ ท่ตี ้องการให้เกิดข้ึนกับนกั เรยี นหลังจากทไ่ี ด้เรยี นรเู้ ร่ืองใดเรื่องหน่งึ ซ่ึงมีรายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี
3.3.1 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (Behavioral Objective) คอื จุดประสงคท์ ีบ่ ง่ ชถี้ ึง
พฤติกรรมที่นักเรยี นสามารถแสดงออกหลงั จากที่ได้เรยี นรู้ตามแผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ครกู าํ หนดไว้
จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมทีส่ มบรู ณ์ควรจะประกอบด้วยสว่ นสําคญั 3 ส่วน ไดแ้ ก่ สถานการณห์ รอื เง่ือนไขที่
ต้ังข้ึน (Condition) พฤติกรรมของนกั เรยี นท่ีคาดหวงั ให้แสดงออก(Terminal Behavior) และเกณฑ์บ่งช้ี
ความสามารถของนกั เรียนท่ีจะแสดงพฤติกรรม (Criteria)
3.3.2 จดุ ประสงคป์ ลายทางและจุดประสงคน์ ําทาง
3.3.2.1 จุดประสงค์ปลายทาง คือ ขอ้ ความที่ระบุถึงสิง่ ท่ีเป็นเป้าหมายสาํ คัญที่
ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนหลังจากทไ่ี ด้เรยี นรู้ในแตล่ ะแผนการจดั กิจกรรม การเรียนรู้หรอื แตล่ ะเร่ือง
ลักษณะของจดุ ประสงค์ปลายทางจะเป็นจุดประสงค์ทไ่ี ม่เฉพาะเจาะจงถึงรายละเอยี ดของพฤติกรรมที่
นักเรยี นแสดงออก
3.3.2.2 จุดประสงค์นาํ ทาง คอื จดุ ประสงค์ย่อยท่ีแตกออกจากจดุ ประสงค์
ปลายทางเพื่อแสดงให้เหน็ พฤติกรรมที่คาดหวงั ให้เกิดขึ้นกบั นกั เรียน เมอ่ื นักเรยี นแสดงพฤติกรรมไดต้ าม
กาํ หนดไวก้ ็จะบรรลตุ ามเป้าหมายของจุดประสงคป์ ลายทาง จดุ ประสงค์นําทางนิยมเขียนในรูปแบบของ
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
3.4 สาระการเรยี นรู้ เป็นองคป์ ระกอบท่ีทําให้ผู้สอนเห็นภาพของสง่ิ ท่จี ะต้องจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้โดยรวมประกอบด้วย ทฤษฎี หลักการ วิธีการ ขั้นตอน หรอื แนวปฏบิ ตั กิ ารระบุสาระในแผน
จดั การเรยี นรูม้ แี นวการเขยี น ดังน้ี
3.4.1 เขียนให้สอดคล้องกับสาระสาํ คญั และจุดประสงค์
3.4.2 กําหนดสาระการเรยี นรู้ของการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ตล่ ะคร้ังให้เหมาะสม
กบั ระยะเวลา วัย และความสามารถของนักเรยี น

41

3.4.3 เขียนสาระแบบย่อโดยสรปุ เป็นหวั ข้อ หรือประเด็น หากมสี าระมากให้ทาํ
เป็นใบความรู้ระบไุ ว้ในภาคผนวกท้ายแผนการจัดการเรยี นรู้

3.4.4 เขียนสาระการเรียนรู้ทีจ่ ะใหน้ ักเรียนเรียนรูไ้ วต้ ามลําดบั หากแบ่ง
เปน็ หัวข้อย่อยไดค้ วรแบ่งเพ่ือความชดั เจน

3.5 กจิ กรรมการเรยี นรู้ คือ สภาพการณ์ท่ีครูออกแบบเพ่ือนําเสนอสาระการเรยี นรู้
วิธกี ารหรอื การปฏบิ ัตใิ ห้นักเรียนเกิดการเรยี นรู้ มแี นวการเขยี นดงั นี้

3.5.1 เขียนใหส้ อดคล้องกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้และสาระการเรียนรวู้ ธิ ีการ
3.5.2 เขียนเป็นขอ้ ตามลําดับขัน้ ตอนของการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ หรอื เขียนโดย
แบง่ เปน็ ขน้ั ได้แก่ ขั้นนําเข้าสู่บทเรยี น ขน้ั ดาํ เนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และขัน้ สรปุ บทเรียนโดยเขียน
เปน็ ข้อเรยี งตามลาํ ดบั ขนั้ ตอนของการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นแตล่ ะขัน้ หากขัน้ ใดมีกจิ กรรมเดยี วไม่ต้องใส่
เลขลําดับหัวข้อ
3.5.3 เขียนโดยระบุใหร้ วู้ า่ กิจกรรมการเรยี นรูแ้ ต่ละขั้นใครเป็นผมู้ ีบทบาท
นักเรียน ผูส้ อน หรือทั้งผูส้ อนและนกั เรียนรว่ มกนั กระทาํ เปน็ ต้น
3.5.4 ไมค่ วรระบรุ ายละเอยี ดของคําพูดท้ังคาํ พูดของผสู้ อนและนักเรียน
3.6 สื่อและแหลง่ เรียนรู้ คอื ส่ิงทเี่ ป็นตัวกลางที่ชว่ ยใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพ มแี นวการเขยี น ดังตอ่ ไปนี้
3.6.1 ระบสุ อ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรียนรู้
3.6.2 ระบุเฉพาะสือ่ ที่ใชจ้ ริงในการจัดกจิ กรรมการเรยี น
3.6.3 ระบุชนดิ และรายละเอียดของสื่อการเรียนรู้
3.6.4 กรณีท่เี ปน็ สอ่ื ท่ใี ช้เพื่อทํากิจกรรมเปน็ รายกลุ่มหรือรายบคุ คลใหร้ ะบจุ าํ นวนชิ้น
ต่อกลมุ่ หรือต่อรายบุคคล
3.6.5 ไม่ควรระบุส่ิงที่มีอยู่แลว้ อย่างถาวรในห้องเรียนว่าเป็นส่ือการเรียนรู้
3.7 การวดั และการประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เปน็ การกระทําเพื่อตรวจสอบ
ว่านกั เรียนเกดิ การเรยี นรู้ตามจดุ ประสงค์การเรียนรทู้ ก่ี ําหนดไวห้ รอื ไม่ การวดั เป็นการรวบรวมขอ้ มลู โดยใช้
เครื่องมือและวิธีการตา่ งๆ มีแนวการเขยี นดงั ต่อไปนี้
3.7.1 ระบุวธิ ีการวัดและประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกบั
จดุ ประสงค์
3.7.2 ระบุวิธกี ารวดั และการประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนร้วู า่ จะใชว้ ธิ กี าร
ใดบ้าง
3.7.3 ระบุสาระการเรยี นรู้ที่ต้องการวดั และประเมินผล
สรปุ ไดว้ า่ ขนั้ ตอนการเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ จะต้องศกึ ษาหลักสูตร วเิ คราะห์หลกั สูตร จดั ทํา
กาํ หนดการสอน ศกึ ษารปู แบบ วธิ ีสอน เลือกวธิ สี อน การวัดผลประเมินผล เขียนแผนการจัดการเรียนรตู้ าม
หัวข้อที่กําหนดเพ่ือให้บรรลุจุดประสงค์ และตวั ชี้วัดของหลักสตู ร
4. องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
รุจิร์ ภู่สาระ (2546 : 160) กล่าวถงึ องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรูว้ ่าประกอบด้วย
1. ส่วนนํา ซง่ึ ประกอบดว้ ย แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ... หน่วยการเรียนรู้เรอ่ื ง... ชัน้ ... กลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ ... จํานวนคาบ ...

42

2. สว่ นประกอบ มีดงั น้ี
2.1 สาระสาํ คญั
2.2 จดุ ประสงคป์ ลายทาง
2.3 จดุ ประสงคน์ ําทาง
2.4 เนือ้ หา
2.5 กิจกรรมการเรยี นการสอน
2.6 สอ่ื การเรยี นการสอน
2.7 การวัดและประเมินผล

อาภรณ์ ใจเท่ียง (2546 : 218) กล่าววา่ แผนการจัดการเรียนรปู้ ระกอบด้วยหัวข้อสาํ คัญ
ดังตอ่ ไปน้ี

1. ส่วนนํา เปน็ สว่ นท่กี ําหนดรายวิชา ชั้น ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ หรือชือ่ แผนการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้ จํานวนเวลาท่ีสอน

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3. สาระการเรยี นรู้
4. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
5. แหลง่ การเรียนรู้
6. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
วมิ ลรตั น์ สนุ ทรโรจน์ (2554 : 350-361) กล่าววา่ แผนการจดั การเรยี นรมู้ อี งคป์ ระกอบดังน้ี
1. กล่มุ สาระการเรียนรู้ หน่วยทสี่ อนและสาระสําคญั (ความคดิ รวบยอด) ของเรื่อง
2. จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
3. สาระการเรียนรู้
4. กจิ กรรมการเรียนการสอน
5. สอ่ื การเรยี นการสอน
6. วดั ผลประเมนิ ผล
กล่าวโดยสรุป แผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบดว้ ยหัวขอ้ ที่สําคัญดังน้ี 1) สว่ นหวั เรอื่ ง ดงั น้ี ลําดับ
ทข่ี องแผนการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ชนั้ ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ หัวข้อเร่ือง เวลาทใ่ี ชจ้ ัดกิจกรรม
การเรยี นรรู้ ะบุวนั ที่ เดือน ปี 2) มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด 3)สาระสาํ คัญ 4) จุดประสงค์ 5) สาระการ
เรยี นรู้ 6) กิจกรรมการเรียนรู้ 7) ส่อื และแหลง่ เรียนรู้ 8) การวัดและการประเมนิ ผล ทัง้ ด้านจุดประสงค์
การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ 9) บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้

43

การประเมินผลกิจกรรมการเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active learning)

การประเมินผลกจิ กรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning)

การประเมนิ ผลกิจกรรมการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ (Active learning)
การเรยี นรูเ้ ชิงรกุ (Active learning) ในการจดั กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ เปน็ กิจกรรมที่

ต้องการพัฒนาผูเ้ รียนรอบด้าน ผ้สู อนสามารถใชว้ ธิ กี ารประเมินผล ดงั นี้
1. การประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เปน็ การประเมินดว้ ยวธิ ีการที่

หลากหลายเพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลการประเมินทส่ี ะท้อนความสามารถที่แทจ้ รงิ ของผเู้ รียน จึงควรใช้การประเมนิ การ
ปฏิบตั ิ (Performance Assessment) ร่วมกบั การประเมินดว้ ยวิธีการอนื่ และกําหนดเกณฑใ์ นการประเมนิ
(Rrubrics) ใหส้ อดคล้องหรอื ใกล้เคยี งกบั ชวี ิตจริง

2. การประเมินการปฏิบัติ (Performance Assessment) เป็นวิธกี ารประเมินงานหรือ
กิจกรรมทผี่ ูส้ อนมอบหมายให้ผูเ้ รียนปฏิบตั ิงานเพือ่ ใหท้ ราบถงึ ผลการพัฒนาของผเู้ รยี น การประเมิน
ลักษณะนี้ ผู้สอนตอ้ งเตรียมสิ่งสําคญั 2 ประการ คือ ภาระงาน (Tasks) หรอื เกณฑ์การประเมินกจิ กรรมที่
จะให้ผู้เรียน ปฏบิ ัติ (Scoring Rubrics) การประเมินการปฏิบตั ิ จะชว่ ยตอบคาํ ถามท่ีทําให้เรารูว้ ่า “ผเู้ รยี น
สามารถนําสิง่ ทเี่ รยี นรู้ไปใชไ้ ด้ดีเพยี งใด” ดงั นนั้ เพอื่ ให้การปฏิบตั ิในระดบั ชั้นเรยี นเปน็ ไปอยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ ผู้สอนต้องทาํ ความเขา้ ใจท่ชี ดั เจนเกีย่ วกับประเด็นต่อไปน้ี

1) ส่งิ ท่ีเราต้องการจะวดั (พิจารณาจากมาตรฐาน/ตัวชี้วัด หรือผลลพั ธ์ท่ีเราตอ้ งการ)
2) การจดั การเรียนรทู้ ่เี อื้อต่อการประเมินการปฏิบตั ิ
3) รูปแบบหรือวิธีการประเมินการปฏบิ ัติ
4) การสร้างเครื่องมอื ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ
5) การกําหนดเกณฑ์ในการประเมิน (Rubrics)

44

3. การประเมนิ โดยการใช้คําถาม (Questioning) คําถามเป็นวธิ ีหนึ่งในการกระตุ้น ช้แี นะให้
ผ้เู รียนแสดงออกถึงพฒั นาการการเรียนร้ขู องตนเอง รวมถึงเปน็ เคร่อื งมอื วดั และประเมินเพ่ือพัฒนาการ
เรยี นรู้ ดังนน้ั เทคนิคการตง้ั คําถามเพอื่ ส่งเสริมการเรยี นรู้ของผู้เรียน จงึ เป็นเร่ืองสําคญั ยิ่งท่ผี ู้สอนตอ้ ง
เรยี นร้แู ละ นําไปใช้ให้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การต้งั คําถามเพ่ือพฒั นาผเู้ รยี นจึงเปน็ กลวธิ ีสําคญั ท่ีผูส้ อนใช้
ประเมนิ การ เรยี นรูข้ องผเู้ รียนรวมทงั้ เป็นเคร่ืองสะท้อนให้ผ้สู อนสามารถชว่ ยเหลอื ผู้เรียนให้บรรลุ
จดุ มุ่งหมายของการเรยี นรู้

4. การประเมนิ โดยการสนทนา( Communication) เป็นการส่ือสาร 2 ทางอีกประเภทหนึ่ง
ระหวา่ งผ้สู อนกับผูเ้ รยี น สามารถดาํ เนินการเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้ โดยทัว่ ไปมักใช้อย่างไมเ่ ปน็ ทางการ
เพือ่ ติดตามตรวจสอบวา่ ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้เพยี งใด เป็นข้อมูลสําหรบั พฒั นา วธิ กี ารนอ้ี าจใช้เวลา แต่มี
ประโยชน์ตอ่ การค้นหา วินิจฉัย ข้อปัญหา ตลอดจนเร่ืองอน่ื ๆ ทอ่ี าจเปน็ ปัญหา อุปสรรคตอ่ การเรียนรู้ เชน่
วิธกี ารเรียนรูท้ แี่ ตกตา่ งกัน เป็นต้น

5. การประเมนิ การสังเกตพฤติกรรม (Behavioral Observation) เปน็ การเก็บข้อมลู จากการ
ดู การปฏิบัตกิ จิ กรรมของผเู้ รียนโดยไม่ขดั จังหวะการทํางานหรือการคิดของผเู้ รยี น การสังเกตพฤติกรรม
เปน็ ส่งิ ที่ ทําได้ตลอดเวลา แต่ควรมีกระบวนการและจดุ ประสงค์ที่ชัดเจนว่าต้องการประเมนิ อะไร โดยอาจ
ใชเ้ ครื่องมือ เช่น แบบมาตราสว่ นประมาณค่า แบบตรวจสอบรายการ สมดุ จดบนั ทกึ เพ่ือประเมนิ ผเู้ รียน
ตามตัวชี้วดั และควรสงั เกตหลายคร้งั หลายสถานการณ์ และหลายชว่ งเวลา เพ่ือขจดั ความลําเอียง

6. การประเมินตนเองของผู้เรียน (Student Self-assessment) การประเมนิ ตนเอง นบั เป็น
ทง้ั เคร่อื งมือประเมินและเครื่องมือพฒั นาการเรียนรู้ เพราะทาํ ใหผ้ ้เู รียนไดค้ ดิ ใคร่ครวญวา่ ได้เรยี นรอู้ ะไร
เรียนรู้ อยา่ งไร และผลงานท่ีทาํ นนั้ ดีแล้วหรือยัง การประเมินตนเองจึงเป็นวิธีหน่ึงท่จี ะช่วยพัฒนาผเู้ รยี นให้
เป็นผ้เู รียน ทสี่ ามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง

7. การประเมนิ โดยเพ่ือน (Peer Assessment) เปน็ เทคนคิ การประเมินอกี รปู แบบหนึ่งทน่ี า่ จะ
นาํ ไปใช้เพ่ือพฒั นาผูเ้ รยี นให้เข้าถงึ คณุ ลกั ษณะของงานทีม่ ีคณุ ภาพ เพราะการทีผ่ ้เู รียนจะบอกไดว้ ่าชิ้นงาน
นัน้ เปน็ เชน่ ไร ผูเ้ รยี นตอ้ งมีความเขา้ ใจอย่างชัดเจนก่อนว่าเขากาํ ลังตรวจสอบอะไรในงานของเพือ่ น ฉะนัน้
ผู้สอน ตอ้ งอธิบายผลที่คาดหวงั ให้ผู้เรียนทราบก่อนทจี่ ะลงมือประเมนิ การทจ่ี ะสร้างความม่นั ใจว่าผูเ้ รยี น
เขา้ ใจการ ประเมินรปู แบบน้ี ควรมกี ารฝกึ ผเู้ รยี น

45

ส่วนท่ี 5
การนเิ ทศเพอ่ื พัฒนาและส่งเสรมิ การจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning)

กรอบแนวคิดการนเิ ทศ
การจดั การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) เปน็ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีเนน้

พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมบี ทบาทในการแสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ใช้ทักษะ เชื่อมโยง
และ สร้างองคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเอง เรยี นร้อู ยา่ งมปี ฏิสัมพนั ธส์ ามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการแกป้ ญั หา
หรอื ประกอบอาชีพในอนาคต สามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ค่า หรือสร้างสรรค์ส่ิงตา่ งๆ มที ักษะ
การคดิ เชิง ระบบและพัฒนาตนเองเตม็ ความสามารถ โดยในหลักการจดั การเรียนการสอนนัน้ ครูต้องลด
บทบาทในการ สอนและการใหข้ ้อความรู้แกผ่ ู้เรยี นโดยตรง แตไ่ ปเพมิ่ กระบวนการและกิจกรรมทจี่ ะทาํ ให้
ผ้เู รียน เกิดความ กระตอื รือร้นในการจะทํากจิ กรรมตา่ งๆ มากขึ้นและอยา่ งหลากหลาย จดั ประสบการณ์
การเรยี นร้ใู หผ้ ู้เรยี น ไดม้ ีโอกาสรว่ มอภปิ ราย มีโอกาสฝึกทักษะการสื่อสาร มีการนําเสนองานทางวิชาการ
เรยี นรู้ในสถานการณ์ จาํ ลอง รวมทัง้ มีการฝกึ ปฏิบตั ใิ นสภาพจริง มกี ารเชื่อมโยงกับสถานการณต์ ่าง ๆ จน
เกดิ เปน็ การเรยี นรู้อย่าง มีความหมาย (Meaningful Learning)
การนเิ ทศการจดั การเรยี นรู้

การนิเทศการจดั การเรียนรูห้ รอื การนเิ ทศการสอน เป็นเรือ่ งยอ่ ย (subset) ของการนเิ ทศ
การศกึ ษา การนิเทศการสอนเปน็ กระบวนการปรบั ปรงุ งาน พนั ธกจิ ในชน้ั เรยี น และกิจกรรมต่าง ๆ ที่
ดาํ เนินการในโรงเรยี น โดยเป็นการทํางานโดยตรงกับครผู ู้สอน การนิเทศการจัดการเรยี นรู้เป็นสว่ นหน่ึงของ
การบรหิ ารงานโรงเรียน จุดมุ่งหมายจะเนน้ ท่ีผลสมั ฤทธขิ์ องการเรยี นการสอน ซ่ึงเป็นความคาดหวงั ของ
โรงเรยี น การนเิ ทศการเรียนรู้ ไม่ใชห่ น้าทีข่ องศกึ ษานเิ ทศก์เพียงฝ่ายเดยี ว แต่เปน็ หน้าท่ีของผ้นู ําในการ
จัดการเรียนสอนทุกคน นบั ตงั้ แต่ผบู้ ริหารโรงเรียน ผชู้ ว่ ยฝ่ายวชิ าการ หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้
ผู้เช่ียวชาญดา้ นการสอน ตลอดจนครทู กุ คน ซงึ่ ต้องช่วยกันรับผิดชอบเพ่ือชว่ ยให้โรงเรยี นบรรลเุ ป้าหมาย
ตามทหี่ ลักสตู รกําหนดไว้

การนิเทศการจัดการเรยี นรู้ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การพฒั นาทางวิชาชีพ ดงั นี้
1. ช่วยให้ครเู ข้าใจวัตถุประสงคข์ องการจดั การศึกษา หน้าท่ีของโรงเรียนในการพฒั นา การศึกษา
ไปสู่วตั ถุประสงคน์ ั้น ภารกจิ ของศึกษานิเทศก์ และผบู้ รหิ าร มิใชค่ อยเน้นแตเ่ ร่อื งเทคนิคและ การสอน การ
คิดคน้ ระเบียบวธิ ีสอนเท่านน้ั หากแตย่ ังต้องมุ่งเสรมิ สร้างความเจรญิ เตบิ โตของนักเรียนโดย รอบดา้ น คือ
ดา้ นสตปิ ญั ญา ด้านอารมณ์ ด้านรา่ งกาย ด้านสงั คม ดา้ นสุนทรียภาพ ด้านมโนภาพ และด้าน สร้างสรรค์
ด้วยเหมอื นกนั
2. ชว่ ยใหค้ รไู ดเ้ ขา้ ใจในความต้องการของเยาวชนและปญั หาต่าง ๆ ของเยาวชน และชว่ ยจัด
สนองความต้องการของเยาวชนอย่างดีท่สี ุดเท่าท่ีจะทาํ ได้ ตลอดจนชว่ ยแกไ้ ข และป้องกันภยั อนั จะพึงมีแก่
เยาวชน ชว่ ยใหค้ รตู ระหนักถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คลของเด็ก ความต้องการของเด็กในแตล่ ะวยั ย่อม
แตกตา่ งกนั แนวความคดิ ของเด็กและผูใ้ หญ่มกั จะเดนิ สวนทางกนั เสมอ เพราะผใู้ หญ่เองกล็ มื สภาพของตน
เมอ่ื ตอนเปน็ เด็ก ผนู้ ิเทศจะต้องพยายามช่วยกระตุ้นเตอื นให้ครู ร้จู ักให้กาํ ลงั ใจแก่เด็กนักเรียน เขา้ ใจปัญหา
ของเด็กวัยตา่ ง ๆ และเข้าใจความต้องการของเด็กด้วย

46

3. ชว่ ยสรา้ งครูใหม้ ีคณุ ลักษณะเป็นผู้นํา ลักษณะผ้นู ําที่ดีคือชว่ ยเสรมิ สรา้ งความสามคั คี รู้จัก
ทํางานร่วมกัน สง่ เสรมิ ความเขา้ ใจอันดีระหว่างบา้ นกับโรงเรียน มีความรับผิดชอบมีความเพียรพยายาม
ทาํ งานในหน้าที่ให้สําเร็จลุลว่ งไปด้วยดี นอกจากน้ี ครูต้องมคี วามรใู้ นเรื่องต่อไปนี้

3.1 ปรัชญาการศึกษา วัตถุประสงค์ในการจดั การศึกษา
3.2 หลกั สูตรและประมวลการสอน
3.3 พฒั นาการของเด็กและจิตวิทยา
3.4 วธิ ีสอน
3.5 ประเมินผล
3.6 บริหารการศกึ ษาและนิเทศการศึกษา
4. ชว่ ยเสริมขวญั กาํ ลงั ใจของครใู หเ้ ขม้ แขง็ และรวมหม่คู ณะใหเ้ ป็นทีม เพ่ือปฏิบัติงาน ร่วมกัน
ดว้ ยกาํ ลงั สติปญั ญา เพ่ือบรรลุจดุ ประสงคเ์ ดียวกนั ขวญั และกาํ ลงั ใจเปน็ เรื่องของจิตใจ ด้านปรับปรงุ การ
สอนและส่งเสรมิ ความเจรญิ งอกงามของครู
5. ชว่ ยพจิ ารณาความเหมาะสมของงานใหต้ รงกบั ความสามารถของครูแตล่ ะคน เมื่อมอบ งาน
นั้น ๆ ให้ครู ก็ควรช่วยประคับประคองใหค้ รผู ูน้ นั้ ใช้ความสามารถของตนปฏบิ ัติงานให้กา้ วหนา้ ชว่ ยค้นหา
คุณลักษณะทดี่ ีเดน่ ในตวั ครูแล้วสง่ เสริมใหด้ ียิ่งข้ึน
6. ช่วยครใู ห้พัฒนาการสอนของตน สนับสนนุ ใหค้ รูได้พิจารณาวธิ ีสอนและกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่ใชว้ ่า
ตรงไหนเข้มแข็ง และตรงไหนเปน็ จดุ อ่อนซงึ่ จะต้องแก้ไข อันอาจใช้ Check List หรอื Rating form โดย
อาศยั หลกั เกณฑว์ ิชาหลกั การสอน สว่ นการเลือกเน้ือหา การสรา้ งโครงการสอน การทําและการใชอ้ ุปกรณ์
การสอน ตลอดจนเคร่ืองมือโสตทศั นศึกษา และส่อื การสอน การใช้ทรพั ยากรให้เปน็ ประโยชนใ์ นการเรยี นรู้
การใหง้ านและการควบคมุ นนั้ มีขอ้ ควรระวงั ดังนี้
6.1 ไม่พยายามยดั เยียดความคดิ เห็นแก่ครู ไม่พยายามฝนื ใหค้ รทู าํ ตามแบบที่ตนชอบ เพราะ
ครแู ตล่ ะคนต่างมีความคิดเห็นเป็นของตน และมีแบบอย่างการทํางานตามแบบของตนเอง ผนู้ เิ ทศจึง ควร
ทํางานร่วมกับครโู ดยให้ครูได้รู้จักใช้ความสามารถของตนเองเปน็ สาํ คัญ
6.2 หลกี เลยี่ งการกรอกคําแนะนําจํานวนมาก ในการพฒั นาปรบั ปรงุ การสอน จนครรู บั ไม่
ไหว คือ ทัง้ มากและยาก
7. ชว่ ยฝกึ ครูใหม่ให้เข้าใจงานในโรงเรยี น และงานอาชพี ครู ครูใหมแ่ มจ้ ะไดร้ บั การฝึกอบรม ทาง
วชิ าการมาเปน็ อยา่ งดี แตย่ งั ขาดประสบการณ์ในงานธุรการตา่ ง ๆ การช่วยฝึกครใู หม่ อาจจะทําก่อน
โรงเรียนเปิด ท้งั ด้านธรุ การ และการปกครองชั้น รวมทงั้ ดา้ นสงั คมและการทาํ งานรว่ มกัน
8. ช่วยประเมนิ ผลงานของครู โดยอาศยั ความเจริญงอกงามของเด็กไปตามแนวทางท่ีไดต้ กลง กนั
ไว้ การประเมนิ ผลงานของครูมีหลักเกณฑ์ เชน่ บันทกึ การสงั เกตหรอื สงั เกตในเวลาที่ครเู ขา้ ประชมุ
หลักฐานการแสดงความคิดริเร่มิ การวางตน ความขยันหมั่นเพียร ทศั นคตปิ ริมาณ และคณุ ภาพของงาน
เปน็ ต้นแบบให้ครวู ัดตนเอง หรอื นักเรียนวดั ครใู นด้านการสอนความม่งุ หมายในการวดั ผลเพอื่ จะได้ทราบวา่
8.1 อะไรบา้ งท่ีกา้ วหน้า และกา้ วหนา้ ไปในระยะใด
8.2 อะไรบา้ งที่หยุดน่ิง
8.3 อะไรบ้างท่ีถอยหลัง
ทั้งข้อ 8.2 และ 8.3 นาํ มาวิเคราะห์มลู เหตุ หาทางแก้ไข แต่ละมูลเหตุเพื่อให้การเรยี นรู้ของนักเรยี น
ดีขนึ้ ตามลําดับ

47

9. เพื่อชว่ ยครูค้นหาปัญหาในการเรียนรู้ของเด็กแต่ละคน ชว่ ยครวู างแผนการสอนให้ เหมาะสม
ในการสอนครงั้ หนง่ึ ๆ การเรียนร้ขู องเด็กในวชิ าเดยี วกัน ครสู อนอย่างเดยี วกัน การเรยี นร้ยู ่อม แตกตา่ งกัน
เปน็ คน ๆ ไป เดก็ ท่ีเรียนรไู้ ด้น้อยกว่าเด็กส่วนมากนน้ั เป็นเพราะอะไร ครบู างคนมองหาจุดแตกตา่ ง นี้ไม่พบ
หรอื บางทีกป็ ล่อยปัญหาของเด็กผ่านไปโดยไมค่ ิดจะหาวิธแี กไ้ ข สงิ่ นผ้ี ูน้ เิ ทศต้องชว่ ยครรู ว่ มกนั วาง แผนการ
สอนและแก้ไขปัญหาให้เหมาะสม

10. ช่วยในดา้ นประชาสัมพนั ธ์ บอกเลา่ และช้แี จงใหช้ มุ ชนและท้องถิ่นทราบถงึ ความ เคลอ่ื นไหว
ของการศึกษาท่โี รงเรียนไดด้ ําเนนิ การไปแลว้ ทง้ั นี้ เพ่ือให้สร้างความเข้าใจ และให้ความร่วมมอื ช่วยเหลอื
โรงเรยี น การประชาสมั พันธ์อาจจะเปน็ ได้ท้งั การติดต่อเป็นสว่ นตัว การเยี่ยมเยยี น การกีฬา อาศยั วดั (พระ)
การจดั ตั้งสมาคมครู ผปู้ กครอง จัดปาฐกถา ห้องสมดุ ประชาชนเมื่อชมุ ชนเขา้ ใจกจิ กรรมตา่ ง ๆ ที่ โรงเรียน
จัดขึน้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุตรหลานแลว้ ก็จะเกดิ ศรัทธา ให้ความรว่ มมือทัง้ กําลงั ใจ กําลังกาย
และกาํ ลงั ทรัพย์

11. ชว่ ยป้องกนั ครูให้พ้นจากการถกู ใช้งานจนเกนิ ขอบเขต และช่วยปอ้ งกนั ครูจากการถูก ตําหนิ
ตเิ ตียน หรอื ถูกลงโทษอย่างไมเ่ ปน็ ธรรม หนา้ ที่ของครูนอกจากหนา้ ทท่ี างการสอนแลว้ ยังจะต้องให้ ความ
ช่วยเหลืองานอืน่ ๆ หากการทาํ งานนน้ั โดยสมัครใจก็ไม่สูม้ ีปัญหา ถงึ กระน้ันก็อาจทาํ ให้เสยี เวลาท่ีจะ
ปฏบิ ัตงิ านสอนเดก็ และทรุดโทรมทงั้ กําลงั วงั ชา ทําให้การทํางานประจําคอื งานสอนพลอยบกพร่องไปด้วย

การนเิ ทศการเรยี นรู้ มีความสําคญั และสนับสนนุ การพฒั นาครู โดยมวี ัตถุประสงค์สําคัญ ดังนี้
1. การส่งเสริมความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางอาชีพ ได้แก่
1.1 การประชมุ ตา่ ง ๆ การจัดอบรม สัมมนา และจดั Workshop
1.2 การจดั กจิ กรรมต่าง ๆ ให้ครูได้มีโอกาสพบปะสงั สรรค์ในดา้ นวิชาการและ สง่ เสริมให้เกิด

การแลกเปล่ียนความคดิ ทางการศกึ ษา
1.3 การไปเยยี่ มชมสถาบนั อืน่ ๆ และศูนย์ฝกึ ทดลองต่าง ๆ
1.4 ทาํ การทดลองหลกั สูตร หนังสอื เรยี น และวธิ ีสอน

2. การสง่ เสรมิ ความก้าวหน้าในการพัฒนาอาชพี ของครู ได้แก่
2.1 ให้ครูไดม้ ีโอกาสศกึ ษาหาความรู้เพ่มิ เตมิ อยูเ่ สมอ
2.2 ใหท้ ดลองกิจกรรมต่าง ๆ ทีผ่ ู้สนใจอยากจะทํา
2.3 ให้เขา้ ร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมตา่ ง ๆ ที่เก่ียวกับอาชีพ (Professional Association)

เพอื่ ส่งเสรมิ ให้ครสู นใจในกิจกรรมของสมาคมอาชพี ครูเหลา่ นัน้ ทงั้ ภายในประเทศและนานา ประเทศ
2.4 สง่ เสริมครูที่มีความสามารถพเิ ศษในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ

3. การปรับปรงุ พัฒนาคุณภาพการสอนของครู ไดแ้ ก่
3.1 พิจารณาคัดเลอื กครทู ่ีมคี ุณภาพเข้าทาํ การสอน
3.2 มอบหมายงานทีต่ รงกับความสามารถของครู
3.3 ทําการสาธติ การสอนที่ดใี ห้แก่ครู
3.4 จดั ให้มโี อกาสได้สังเกตการสอน ประชมุ สมั มนา เพ่ือศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกยี่ วกบั การ

สอน ส่งเสรมิ การแลกเปล่ียนครแู ละสังเกตการสอนระหวา่ งโรงเรยี น
จุดมุ่งหมายปลายทางของการนเิ ทศการจดั การเรยี นรู้ ควรเป็นการนเิ ทศครูในห้องเรยี น โดยตรง


Click to View FlipBook Version