¤Ó¢ÇÑÇѹà´ç¡
¹ÂÔ ÒÁ ¤ÇÒÁËÁÒÂÀÒÂãµéª´Ø ¤ÇÒÁÃÙé
¤Ó¢ÇÑÇѹà´ç¡
¹ÂÔ ÒÁ ¤ÇÒÁËÁÒÂÀÒÂãµéª´Ø ¤ÇÒÁÃÙé
ÊÒúÑ
àÃ×èͧ ˹éÒ
1. àÃ§Ô ³Ã§¤ì 梯 ¡ÅÑ´ 6105610627 1-4
6105680364 5-8
2. ÊظҷԾÂì à¢ÕÂÇËÇÒ¹ 6105680489 9 - 10
6105681065 11 - 12
3. ªÔɳªØ Ò ÊÇØ ÒÃÑ¡Éì 6105681214 13 - 15
6105681644 16 - 17
4. ³ÀѷþÔÁ ǧÈâÀªÂì 6105681677 18 - 19
6119615048 20 - 23
5. ÁÔµÃÒÀÒ àÃ×ͧÃÑ¡Éì 6205490029 24 - 27
6205610089 28 - 30
6. ¤Ñ¸ÃÔ¹·Ãì ºÑǷͧ 6205610220 31 - 33
6205610287 34 - 38
7. ¾ÔÁ¾ªì ¹¡ ´ÇÅãËè 6205610311 39 - 42
6205680835 43 - 46
8. ÇÃóÇäÔ Å ¡Ôè§ÁÐÅÔ 6402460049 47 - 48
6402460486 49 - 50
9. »Ñ·Á¾Ã ¹Ñ¹·Á§¤ÅªÑ 6402465121 51 - 52
6402465212 53 - 54
10. ¡ÑҾѪà ÈÃÕ·Ó¹Ò
11. »Ñ¨Ãѵ¹ì ¨Õ¹ÁËѹµì
12. »ÃÐÀÒ¾Ãó ¨ÔµªÒÇÔªÑÂ
13. ÈÈ»Ô ÃÐÀÒ ºÑǹÒö
14. ¸¹ÇѲ¹ì ¾Ñ¡ÇÑ´
15. ¤Ø³¡Ã ÊÔ·¸¾Ô Ò¹ªÔ ª¡ÅØ
16. àÍ໤ µµÂÔ Ò¡ÔµµÔ
17. ³Ñ°¹¹·ì ¹ÒÁǧÈì
18. ¹¸Ô ԳѰ ¾§È¸ì à¹È
adventure
Í͡Ẻ¤Ó¢ÇÑÇÑ¹à´¡ç µÒ ÁẺ©ºÑº¢Í§µÑÇàͧ
áÅéÇ͸ºÔ ÒÂÇèÒ ¹Ñ¡ÈÖ¡ÉҹӪش¤ÇÒÁÃÙéã´
ÁÒ»ÃСͺÊÃÒé §¤Ó¢ÇѴѧ¡ÅèÒÇ ?
adventure
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 1
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
เริงณรงค์ สุขกลดั 6105610627
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“¡ÒÃÈÖ¡ÉÒËÒãªè¡ÒÃÈÖ¡äÁè à˵Ø䩹µÍé §áºè§á¡ᵡÊÁÒ¹
à¸Í¡ç¤¹ ©Ñ¹¡¤ç ¹ äÁèµèÒ§¡Ñ¹ ÁÒÃèÇÁÊÃÃÊÃéÒ§Êѧ¤Áã˧é Í¡§ÒÁ”
หากกล่าวถึงปัญหาทางการศึกษาหลักๆ ในประเทศไทยน้ันต้องยอมรับว่า ปัญหาหน่ึงซ่ึงเป็น
ปัญหาสําคัญท่ีคอยเซาะกร่อนนักเรียนนักศึกษาของไทยน้ันคงไม่พ้นปัญหาความเหล่ือมล้ําทางการ
ศึกษาอันมีอยู่ในทุกซอกมุม ทุกระดับช้ัน และทุกพ้ืนท่ีการศึกษา ดังเช่น ปัญหาความแตกต่างของ
คุณภาพการเรียนการสอนในเมืองหลวงและต่างจังหวัด ปัญหาข้อจํากัดทางเศรษฐกิจ ปัญหาการ
เดินทาง ปัญหาการข้ึนมามีบทบาทสําคัญทางการศึกษาของสถาบันกวดวิชา ฯลฯ อันถูกจัดเป็น
ประเภทของความเหลอ่ื มล้าํ ท้งั ส้ิน
ท่ีผ่านมาภาครัฐซ่ึงเป็นองค์กรหลักซ่ึงรับผิดชอบดูแลงานการศึกษาต่างมุ่งพยายามแก้ไขปรับปรุง
ปัญหาดังกล่าวตลอดมา เช่น การออกนโยบายเรียนฟรี 15 ปี นโยบายพัฒนาคุณภาพครูอาจารย์
นโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ดิจิทัล ฯลฯ ซ่ึงถือเป็นนิมิตหมายอันดีท่ีภาครัฐให้ความสนใจและพยายามแก้
ไข้ปัญหาเหล่าน้ี แต่อย่างไรก็ดีหากมาพิจารณาในทางงปฏิบัติแล้วนโยบายเหล่าน้ียังมีปัญหาอยู่มาก
ดังเช่น นโยบายการเรียนฟรีท่ีมีค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ แอบแฝง อย่างค่าเส้ือผ้า อุปกรณ์การเรียน ค่าบํารุง
การศึกษา ค่าเรียนคอมพิวเตอร์และจัดจ้างครูต่างชาติท่ีผู้ปกครองต้องรับผิดชอบจ่าย เป็นต้น หรือ
นโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ดิจิทัลท่ีข้ึนมามีบทบาทสําคัญในยุคการระบาดของโควิด-19 ก็เผชิญปัญหา
ท่ีว่าเด็กนักเรียนกระท่ังคุณครูผู้สอนน้ันขาดแคลนอุปกรณ์เทคโนโลยีสําหรับการเรียนการสอนและ
ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายเหล่าน้ันเอง หากผู้ปกครองไม่สามารถแบกรับภาระดังกล่าวได้ ก็ต้องจํายอม
พักการศึกษาไวห้ รอื นาํ เรอ่ื งราวมาสื่อสารผา่ นแพลตฟอรม์ ตา่ ง ๆ เพ่ือขอรับบริจาคเอง
ท่ีกล่าวมาท้ังหมดน้ีเป็นเพียงปัญหาหลักๆ ท่ีเด็กนักเรียนผู้ถือสัญชาติไทยมักคุ้นชินกันเป็น
อย่างดี แต่หากเป็น “เด็กข้ามชาติล่ะ ?” แน่นอนว่าพวกเขาย่อมไม่สามารถหลีกหนีปัญหาเหล่าน้ีได้
พ้น ซ้ําร้ายกว่าน้ันคือพวกเขาต่างต้องเผชิญปัญหาความเหล่ือมล้ําน้ีในมิติท่ีหลากหลายย่ิงกว่า โดย
ในบทความช้ินน้ีจะมุ่งอธิบายประเด็นความเหล่ือมล้ําทางการศึกษาในมิติของเด็กข้ามชาติเป็นหลัก
ผ่านการสังเคราะห์จากมุมมองของแรงงานข้ามชาติท่ีเข้าร่วมแลกเปล่ียนในงานประชุม การศึกษาไทย
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 2
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ในเด็กข้ามชาติ ท่ีจัดข้ึนโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับมูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิต
แรงงาน (LPN) วนั ท่ี 31 สิงหาคม 2564 ทผ่ี เู้ ขยี นไดม้ โี อกาสเขา้ ร่วมและจดบนั ทึกขอ้ มูลไว้ ดังน้ี
ตามมติคณะรัฐมนตรีและกระทรวงศึกษา ปี 2548 ท่ีกล่าวถึงการจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มี
หลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย อันเป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้เด็กทุกคนได้
เรียนฟรี ไม่ว่าจะมีสัญชาติไทย ถือสัญชาติอ่ืน กระท่ังไร้สัญชาติ ท้ังในปัจจุบันท่ีมีกองทุนเพื่อความ
เสมอภาคทางการศึกษาซ่ึงร่วมสนับสนุนการจัดการศึกษาแก่ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์หรือโอกาสรวมถึง
เด็กข้ามชาติและไร้สัญชาติ ด้วยเหตุน้ีจึงทําให้อัตราการเข้าเรียนในโรงเรียนรัฐบาลของเด็กกลุ่มน้ี
เพ่ิมข้ึนอย่างเห็นได้ชัด ดังเช่นในปี 2562 ประเทศไทยมีนักเรียนข้ามชาติในโรงเรียนรัฐบาลท่ัวประเทศ
ถึง 145,379 คน อยู่ในกศน. 2,562 คน และอยู่ในการเรียนรู้แบบศูนย์ 16,350 คน ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ี
น่ายินดีอย่างย่ิง แต่ในทางหน่ึงเราก็ยังมีจํานวนของเด็กข้ามชาติท่ีไม่ได้เข้าสู่ระบบการศึกษากว่าอีก
200,000 คน ท่ีถูกประมาณการไว้ ซ่ึงในความเป็นจริงหากผนวกเด็กไร้สัญชาติท่ีไม่ได้มีเอกสาร
พิสูจน์อัตลักษณ์บุคคลย่อมมีจํานวนสูงกว่าน้ีอย่างแน่นอน ซ่ึงจํานวนดังกล่าวน้ันสะท้อนถึงปัญหา
ทางการศึกษาต่าง ๆ ท่ีพวกเขากําลังเผชิญไม่ต่างจากเด็กไทยน่ันคือ ปัญหาการขาดแคลนทุนทรัพย์
ท่ีนโยบายการเรียนฟรีมีการค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ แอบแฝงอยู่ ท้ังยังมีปัญหาการโยกย้ายถ่ินฐานเพื่อ
เปล่ียนงานของผู้ปกครองอันทําให้เด็กต้องออกจากระบบการศึกษา ปัญหาหลักสูตรท่ีไม่ได้ออกแบบ
มาเพ่ือพวกเขา ปัญหาการไม่เช่ือมโยงกันของการจัดการสอนในรูปแบบศูนย์การเรียนรู้กับระบบ
การศึกษาของรัฐ และอ่ืน ๆ โดยปัญหาเหล่าน้ีอาจกล่าวในใจความได้ว่ารัฐน้ันมีความพยายามท่ีจะ
ออกหลักการต่าง ๆ อย่างครอบคลุม แต่ในทางปฏิบัติแล้วกลับยังมีช่องว่างอยู่มาก ซ่ึงผู้เขียนจะ
ขยายความช่องว่างเหล่านต้ี อ่ ไป
ในย่อหน้าแรกผู้เขียนได้ยกตัวอย่างช่องว่างนโยบายทางการศึกษาของรัฐ ได้แก่ นโยบาย
เรียนฟรี 15 ปี และนโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ดิจิทัล อันเป็นปัญหาท่ีท้ังเด็กไทยและเด็กข้ามชาติต่าง
เผชิญร่วมกันไปแล้ว สําหรับปัญหาต่อไป ได้แก่ ปัญหาการเข้าถึงการศึกษาของเด็กข้ามชาติภายใน
สถานศึกษาของรัฐหรือในอีกช่ือหน่ึงคือการศึกษาในระบบ ท่ีตามหลักการอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กท่ี
เกิดข้ึนในปี พ.ศ. 2532 ท่ีได้รับการรับรองจาก 196 ประเทศ รวมถึงประเทศไทยว่าจะให้ความคุ้มครอง
ดูแลอย่างเต็มความสามารถและเท่าเทียมกัน โดยปราศจากการแบ่งแยก อายุ เพศ เช้ือชาติ ชนช้ัน
ฯลฯ อันเป็นหลักในการร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก 2546 ข้ึนซ่ึงมีการกล่าวถึงการห้ามเลือก
ปฏิบัติต่อเด็กเช่นกัน รวมถึงมีมติคณะรัฐมนตรี 2548 ให้มีการรับเด็กข้ามชาติและไร้สัญชาติเข้าใน
โรงเรียนรัฐก็ตาม แต่ในความเป็นจริงการปฏิบัติต่อพวกเขากลับแตกต่างกันไปตามแต่ละพ้ืนท่ี
แล้วแต่ผู้บริหารหรือคณะครูอาจารย์ภายในโรงเรียนน้ัน ๆ จะคิดเห็น กล่าวคือ ผู้อํานวยการ และ
คุณครูบางคนมีการปฏิเสธรับเด็กข้ามชาติเข้ารับการศึกษา โดยมักอ้างถึงการไม่มีเอกสารสําคัญ
ต่าง ๆ หรือการอ้างถึงกําแพงทางภาษาท่ีโรงเรียนไม่มีบุคลากรท่ีมีทักษะภาษาน้ัน ๆ ซ่ึงเป็นเหตุให้
เด็กกลมุ่ น้ตี ้องผละตัวเองออกจากระบบการศึกษา
ปัญหาถัดมาคือปัญหาของการออกแบบหลักสูตรท้ังในระหว่างห้วงการศึกษาจนถึงหลัง
สําเร็จการศึกษาซ่ึงไม่สอดคล้องกับความต้องการของเด็กข้ามชาติ ซ่ึงผู้เขียนจะนิยามปัญหาน้ีในช่ือ
“Study’s not for all” หรอื “การศึกษาท่ไี ม่ได้ออกแบบมาสําหรับทกุ คน” โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 3
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เป้าหมายท่ัวไป ของการศึกษาสําหรับเด็กข้ามชาติในประเทศไทยน้ันคือการแสวงหาชีวิตท่ี
ดีกว่า คือ การมีเงินเดือนท่ีสูงข้ึน ได้ทํางานท่ีดีอยู่ในตําแหน่งดี ๆ มีความรู้ความสามารถเพ่ือใช้
ทํางาน กระท่ังการจบการศึกษาระดับปริญญาตรีเพ่ือขอสัญชาติไทย โดยความต้องการเหล่าน้ีใน
มุมมองของคนไทยก็อาจดูเป็นความต้องการพ้ื นฐานท่ัวไปท่ีบรรลุได้หากประคองตนให้อยู่ในระบบ
การศึกษา แต่สําหรับเด็กข้ามชาติแล้วความต้องการเหล่าน้ีล้วนถูกขวางด้วยอุปสรรคต่าง ๆ จนใน
บางครง้ั อาจดเู ป็นไปไม่ไดเ้ ลยสําหรับพวกเขา คอื
1. แม้ตามพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับ4) 2551 ท่ีกล่าวถึงผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
จะสามารถย่ืนขอสัญชาติไทยได้ แต่ในทางปฏิบัติแล้วยังมีข้ันตอนต่าง ๆ อีกมากมายท่ีผู้ย่ืน
ขอมีสัญชาติต้องปฏิบัติ ต้องติดต่อและจัดเตรียมเอกสารอีกจํานวนมากอันแลกมาด้วยเวลา
และค่าใช้จ่าย โดยท่ีถึงแม้จะมีครบก็ใช่ว่าจะได้รับสัญชาติไทยอย่างแน่นอนเพราะข้ึนอยู่กับการ
พิจารณาของเจ้าหน้าท่ีรัฐ ซ่ึงข้ันตอนต่าง ๆ จะทวีความยากข้ึนหากเป็นเด็กข้ามชาติท่ีไม่ได้
เกิดในประเทศไทย อย่างไรก็ดีสิ่งท่ีกล่าวมาน้ียังไม่ได้พู ดถึงความเป็นไปได้ท่ียากสําหรับเด็ก
ข้ามชาติท่ีจะข้ามอุปสรรคต่าง ๆ จนเข้ามาเรียนได้ถึงในระดับปริญญาตรี ด้วยข้อจํากัดของ
การเดินทาง โยกย้ายถ่นิ ฐานและค่าใชจ้ ่ายทางการศึกษา
2. ระบบการศึกษาไทยในโรงเรียนรัฐบาลออกแบบมาเพื่อเด็กสัญชาติไทยเท่าน้ัน กล่าวคือ
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนใช้ภาษาไทยเป็นภาษาหลักเท่าน้ัน เช่นเดียวกับการจัดการ
วัฒนธรรมหรือการให้คุณค่าย่อมยึดถือวัฒนธรรมไทยเป็นหลัก ในเร่ืองภาษาน้ันอาจเป็นเร่ือง
ท่ีเข้าใจได้หากมองในแง่ของบุคลากรท่ีมีอยู่อย่างจํากัด ส่วนในเร่ืองของการจัดการ
วัฒนธรรมคุณค่าน้ีหากส่ิงน้ันไม่เป็นการกดทับวัฒนธรรมอ่ืนก็อาจจะยอมรับได้ แต่หากส่ิง
ไหนมีการกดทับวัฒนธรรมอ่ืนอยู่ย่อมสมควรถูกปรับปรุง ดังเช่น ท่ีสะท้อนผ่านหลักสูตรการ
สอนวิชาประวัติศาสตร์ท่ีมักมีมีวาทกรรมชาตินิยมต่าง ๆ เช่น “พม่าเผากรุง” “พม่าเอาทองไป
ทําเจดีย์ชเวดากอง” ฯลฯ อันเป็นวาทกรรมท่ีมองข้ามบริบททางประวัติสาสตร์ ให้ข้อมูลเพียง
ด้านเดียว และช้ีนําไปสู่ความขัดแย้ง เป็นต้น และเม่ือองค์ประกอบของระบบการศึกษาเป็น
เช่นน้ีในทางปฏิบัติเด็กข้ามชาติจึงมีทางเลือกอยู่ไม่มาก อาทิ หากไม่ได้โชคดีท่ีได้พักอาศัยอยู่
ในบริเวณท่ีมีโรงเรียนสําหรับเด็กข้ามชาติ (มักเป็นโรงเรียนท่ีต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีมีแรงงานข้าม
ชาติเยอะ เช่น แนวชายแดนและจังหวัดอุตสาหกรรมต่าง ๆ ) พวกเขาก็อาจเลือกเข้ารับ
การศึกษานอกระบบซ่ึงดูเหมาะสมสอดคล้องกับจังหวะชีวิตของพวกเขาท่ีสุด แต่จากการ
สํารวจในปี 2562 เด็กข้ามชาติในกลุ่มน้ีกลับมีจํานวนเพียง 2,562 คนเท่าน้ัน รวมถึงแม้อยู่ใน
การศึกษานอกระบบ ปัญหากําแพงภาษาและวัฒนธรรมก็ไม่ได้หมดไป ดังน้ันทางเลือก
สุดท้ายสําหรับเด็กข้ามชาติผู้ฝักใฝ่การเรียนก็คือ เข้ารับการศึกษาในรูปแบบศูนย์การเรียนรู้
ซง่ึ แนน่ อนวา่ ยงั คงมปี ัญหาอยโู่ ดยจะกลา่ วในข้อถดั ไป
3. การไม่เช่ือมโยงกันระหว่างการเรียนในระบบและการเรียนแบบทางเลือก กล่าวโดยสรุปคือ
แม้ระบบการเรียนรู้แบบศูนย์การเรียนรู้โดยปกติจะถูกออกแบบมาเพื่อรองรับกลุ่มเปราะบาง
ต่าง ๆ รวมถึงเด็กข้ามชาติ แต่ประกาศนียบัตรหรือใบจบการศึกษาจากการศึกษาแบบศูนย์
น้ันจํานวนมากไม่สามารถนําไปใช้สมัครเรียนต่อการศึกษาในระบบได้ เพราะวางหลักสูตรไม่
เหมอื นกับการศึกษาในระบบ
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 4
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
จากท่ีกล่าวมาท้ังหมดจะเห็นได้ว่ามีช่องว่างทางการศึกษามากมายท่ีเด็กข้ามชาติจะต้องเผชิญ
ซ่ึงภาครัฐก็คล้ายจะมองเห็นและพยายามอุดช่องว่างเหล่าน้ันผ่านการออกนโยบายและกฎหมาย
รองรับ ขอเพียงแต่ภาครัฐเสริมความเข้มแข็งของการปฏิบัติไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มจํานวนบุคลากร
ส่งเสริมความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าท่ี รวมถึงปรับทัศนคติให้สอดคล้อง ฯลฯ เราก็จะเข้าใกล้
สังคมทเ่ี สมอภาคทางการศึกษาได้อกี กา้ วหน่งึ
รายการอา้ งองิ
บทความออนไลน์
ประชาไท. (2562). เม่อื ขอสัญชาติไมใ่ ช่เรอ่ื งง่าย เดก็ ไรส้ ัญชาตจิ ึงขาดโอกาสทางการศึกษา
สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2019/12/85479
Unicef Thailand. (ม.ป.ป). อนสุ ัญญาว่าดว้ ยสิทธิเด็กคืออะไร ครบ 30 ปแี ลว้ ทอี่ นสุ ัญญาว่า
ดว้ ยสิทธเิ ดก็ ถอื กําเนิดขนึ้ สืบคน้ จาก https://www.unicef.org/thailand/th/what-is-crc
Unicef Thailand. (ม.ป.ป). ไร้เส้นก้นั การศึกษาแนวปฏิบัตทิ ดี่ แี ละการถอดบทเรียนจากการจดั
การศึกษาสําหรบั เดก็ ขา้ มชาติในประเทศไทย สืบคน้ จาก
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 5
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
สุธาทิพย์ เขยี วหวาน 6105680364
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“à´¡ç ä·ÂÃèعãËÁè ÃÙé¨Ñ¡µ¹àͧ à¢éÒ㨼ÙÍé ×è¹ µ×è¹ÃÙÊé ×èÍâ«àªÕÂÅ”
เดก็ ไทยรุ่นใหม่ รจู้ ักตนเอง
ในโลกยุคความรู้คืออํานาจ ส่งผลให้เด็ก ๆ ถูกส่งเสริมสนับสนุนในด้านการศึกษา การพัฒนา
ทักษะต่าง ๆ ท้ังในและนอกระบบการศึกษา เพื่อสร้างพื้นฐานให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีประสบความสําเร็จ
ในอนาคต แต่ในการส่งเสริมสนับสนุนน้ัน ละเลยท่ีจะให้ความสําคัญในการสอนเด็กให้ “รู้จักตัวเอง”
การรู้จักตัวเอง เหมือนเป็นเร่ืองใกล้ตัวท่ีหลายคนไม่คิดว่าจําเป็นต้องเรียนรู้ทําความเข้าใจ เพราะคิด
ว่าตัวเราย่อมรู้จักตัวเราดีท่ีสุดอยู่แล้ว แต่แท้จริงแล้ว ในหลายเร่ืองน้ัน เราแทบไม่รู้จักตัวเองเลย
(Woman Learns, 2559)
เด็กควรรู้จักตนเองและเข้าใจตนเอง (Self-Awareness) ซ่ึงการรู้จักตนเอง รวมไปถึงการ
เข้าใจตัวเอง เป็นอีกทักษะท่ีจําเป็นต่อการดําเนินชีวิตของเด็ก โดยเฉพาะในเด็กรุ่นใหม่ท่ีมีโอกาสใน
การเปิดรับและเข้าถึงส่ือโซเชียลต่าง ๆ ได้สะดวกมากข้ึน หากเด็กไม่รู้จักและไม่เข้าใจตัวเอง ก็อาจจะ
สับสน และคล้อยตามคนอ่ืนได้ง่าย การรู้จักตนเองจะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถเข้าใจ รวมถึงเท่าทัน
ความคิด ความรู้สึก หรืออารมณ์ของตนเองได้มากย่ิงข้ึน ซ่ึงจะช่วยให้เขาสามารถรับมือกับ
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ดีย่ิงข้ึน ดังน้ันจึงควรส่งเสริมและผลักดันให้เด็กท่ีมีการรู้จักและเข้าใจตัวเอง
และสามารถรับมือกับอารมณ์และความรู้สึกของตัวเอง รู้ในศักยภาพของตัวเอง รวมไปถึงการ
พัฒนาตัวเอง และการศึกษาและแสวงหาความรู้ ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างผู้ปกครอง
ครอบครัว และโรงเรียน สอดคล้องกับแนวคิดการศึกษาของ พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต (2559) ว่า
การรู้จักตนเอง ทําให้เกิดการเรียนการสอนท่ีเกิดการรู้จักตนเองและเข้าใจตนเอง ท่ีทําให้ผู้เรียนรัก
การแสวงหาความรู้เป็นเป้าหมายท่ีสําคัญอย่างย่ิงของการศึกษา เพราะจะเป็นรากฐานท่ีสําคัญในการ
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 6
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
พัฒนาทางปัญญาอย่างไม่สิ้นสุด ขณะเดียวกันการสร้างศักยภาพให้พวกเขามีความสามารถในการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเองเป็นส่ิงท่ีมีสําคัญและจําเป็นอย่างย่ิง เพราะส่ิงเหล่าน้ีจะเป็นเคร่ืองมือท่ีมี
ประสิทธิภาพในการเข้าถึงความรู้น่ันเอง การศึกษายังต้องเป็นการเรียนการสอนท่ีต้องยกระดับจิตใจ
ของผู้เรียนให้มีพ้ืนฐานในการเลือกแสวงหาความสุขของชีวิตไดอ้ ย่างหลากหลาย
นอกจากน้ัน การศึกษาควรสร้างการเรียนรู้ท่ีทําให้ผู้เรียนเข้าใจและเห็นความสําคัญของ
ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม สร้างความตระหนักในความสัมพันธ์ แบบพ่ึงพาซ่ึงกันและกันระหว่างมนุษย์
ด้วยกันท่ีอยู่ร่วมกันในสังคม รวมท้ังการเข้าใจระบบคุณธรรม และมีการพัฒนาตัวเองให้สอดคล้อง
กับรากฐานทางคุณธรรม มีความกล้าหาญทางจริยธรรมในการยืนหยัดต่อความเช่ือและหลักการเชิง
คุณธรรมท่ีถูกต้อง ขณะเดียวกันก็ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่และผลประโยชน์ของ
สังคมโดยรวมดว้ ย
เด็กไทยร่นุ ใหม่ เขา้ ใจผู้อน่ื
การรู้จักตนเองและเข้าใจตนเอง จะช่วยให้เราสามารถเข้าใจผู้อ่ืน (Empathy) ได้มากข้ึน และ
เราสามารถเข้าใจความรู้สึกหรือมุมมองของคนอ่ืนผ่านประสบการณ์ของเขาโดยไม่เอาประสบการณ์
ของเราไปตัดสิน การท่ีจะเข้าถึงใจคนน้ันได้จริง ไม่ใช่ว่าเกิดมาแล้วจะทําได้เลย แต่มันต้องผ่านการ
เรียนรู้และค่อย ๆ ฝึกฝน ในสังคมปัจจุบันท่ีมีการใช้สื่อโซเชียลในการปฏิสัมพันธ์และและมีส่วนร่วมกับ
ผู้อ่ืน เด็กควรต้องเรียนรู้การเข้าใจผู้อ่ืนอย่างมาก เพราะเป็นทักษะพ้ืนฐานในการดําเนินชีวิตประจําวัน
ในสังคมปจั จุบันทค่ี วรมีด้วย
ดังน้ัน การริเร่ิมการสร้างให้เด็กมีการเข้าใจผู้อ่ืน ควรเร่ิมผ่านการส่ือสารระหว่างครอบครัวให้
คุณค่ากับทุกความเห็น ฟงั ทุกเสียง และให้คุณค่ากับทุกความคิดของกันและกัน แม้จะมีความคิดเห็น
ท่ีแตกต่าง แสดงความรักท่ีเหมาะสม และสนับสนุนให้เด็กได้แสดงความสามารถ ได้เรียนรู้โลก ได้ฝึก
การใช้ชีวิต และปลูกฝังให้เขารู้จักให้เกียรติคนอ่ืน เพราะเม่ือเด็กได้รับความรักจากครอบครัวอย่าง
เหมาะสม เด็กจะรักตัวเอง เห็นคุณค่าในตัวเอง และเม่ือเด็กรักตัวเองเป็น สิ่งท่ีตามมาจะทําให้เด็ก
รู้จัก "การให้" และส่งต่อความรักให้ผู้อ่ืน เด็กจะคิดถึงคนรอบข้าง ซ่ึงเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีดีของการทําให้
เด็กเกิดการเข้าใจผู้อ่ืน เพราะการคิดถึงผู้อ่ืนจะทําให้เกิดการ “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” (สรวงมณฑ์ สิทธิ
สมาน, 2563)
เด็กไทยรนุ่ ใหม่ ต่นื รสู้ ื่อโซเชียล
จากผลสํารวจเยาวชนผ่านทางออนไลน์อายุ 6-18 ปี จํานวน 15,318 คน ท้ังประเทศ ปี 2562
พบว่า เด็กเกือบท้ังหมดเห็นว่าอินเทอร์เน็ตมีประโยชน์ แต่ในเวลาเดียวกันก็ตระหนักเร่ืองภัยอันตราย
และความเสี่ยงหลากหลายรูปแบบ แต่ท่ีน่าเป็นห่วงคือร้อยละ 86 เช่ือว่าตนเองสามารถให้คําแนะนํา
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 7
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ช่วยเหลือเพื่อนท่ีประสบภัยออนไลน์ได้ ขณะท่ีร้อยละ 54 เช่ือว่าเม่ือเกิดปัญหาข้ึนกับตนเองสามารถ
จัดการปัญหาได้ และเด็กกว่าร้อยละ 83 ใช้อินเทอร์เน็ตผ่านแท็บเล็ตหรือสมาร์ทโฟน โดยร้อยละ 38
ใช้เพื่อเล่นเกมออนไลน์มากกว่า 3 ช่ัวโมงต่อวัน ซ่ึงเป็นเวลามากเกินไป และจะส่งผลต่อสุขภาพจิต
(ฉัตร์ชยั นกด,ี 2563)
ในยุคปัจจุบันสื่อสังคมออนไลน์เข้ามามีบทบาทมากในการใช้ชีวิตประจําวันของคนแทบทุกช่วง
วัย โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเด็ก และวัยรุ่นท่ีมีการเข้าถึงเทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ตในอัตราท่ีสูง ซ่ึง
เช่ือมโยงไปในทิศทางเดียวกันกับการใช้ส่ือสังคมออนไลน์ โดยใช้เวลาไปกับการใช้งานกับส่ือสังคม
ออนไลน์เป็นเวลานาน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าการใช้สื่อสังคมออนไลน์จะมีประโยชน์มากมาย เช่น
ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว ความหลากหลายของกิจกรรมเพื่อความ
บันเทิง แต่อีกด้านหน่ึงส่ือสังคมออนไลน์ยังส่งผลต่อทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมของผู้ใช้ได้
เช่นกัน และในส่วนน้ีสื่อสังคมออนไลน์จึงเปรียบเสมือนดาบสองคม ในด้านบวก เช่น เป็นเน้ือหาท่ีให้
ความรู้ ส่งเสริมใหเ้ กดิ การพัฒนาตนเอง
แต่ในทางตรงกันข้าม สื่อสังคมออนไลน์อาจส่งผลให้กลุ่มเด็กและเยาวชนเรียนรู้ค่านิยม และ
เลียนแบบพฤติกรรมท่ีผิดได้ โดยเฉพาะเด็กในช่วงวัยรุ่นท่ียังมีพัฒนาการอยู่ในช่วงของการค้นหาอัต
ลักษณ์ของตนเอง มีการเปล่ียนแปลงในด้านของความสัมพันธ์และแสวงหาการยอมรับจากผู้อ่ืน อีก
ท้ังอาจเป็นอันตรายต่อกลุ่มดังกล่าวหากมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ไปในทิศทางท่ีไม่เหมาะสม เช่น
การใช้สื่อท่มี ีเน้อื หาสนับสนุนการใช้ยาเสพติด ดังนั้นกล่าวได้ว่านอกจากส่ือสังคมออนไลน์จะมีอิทธิพล
ต่อพฤติกรรมการเลียนแบบท้ังท่ีเหมาะสมและไม่เหมาะสมของวัยรุ่นแล้ว ยังส่งผลต่อการดําเนินชีวิต
ดว้ ยเชน่ กนั ทง้ั น้ขี น้ึ อยกู่ บั การเปดิ รบั สื่อสังคมออนไลน์ประเภทตา่ ง ๆ เป็นสําคญั
ดังน้ัน การอบรมสั่งสอนให้เด็กมีความรู้เท่าทัน เลือกใช้ส่ือออนไลน์อย่างเข้าใจและปลอดภัย
และสร้างทักษะรู้เท่าทันส่ือและเกิดความต่ืนรู้ในการใช้งานส่ือโซเชียล ส่งผลดีกว่าปิดก้ันในการใช้งาน
และเปน็ การสร้างเกราะป้องกนั ใหเ้ ดก็ ใหพ้ ้นจากภยั โลกออนไลน์ทุกรูปแบบ
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 8
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
รายการอา้ งอิง
ฉัตร์ชัย นกดี. (2563). “เด็กไทย” รู้เท่าทัน ป้องกันภัยจากสื่อออนไลน์. สืบค้นเม่ือวันท่ี 14
กนั ยายน พ.ศ. 2564 จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/50986-“เด็กไทย”%20รู้เท่า
ทนั %20ปอ้ งกนั ภยั จากส่ือออนไลน.์ html
พิชาย รตั นดลิ ก ณ ภูเก็ต. (2559). ปัญหาและความทา้ ทายของระบบการศึกษาไทย. สืบค้น
เมอ่ื วันท่ี 25 สิงหาคม พ.ศ.2564 จาก
https://www.slideshare.net/phichai008/ss69584029?from_action=save
สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน. (2563). Empathy ทักษะทหี่ ายไปของเด็กไทย. สืบคน้ เม่อื วันท่ี 15
กนั ยายน พ.ศ. 2564 จาก https://mgronline.com/qol/detail/9630000111624
Anittha R. (2563). 5 ทรกิ ดี ๆ สอนให้ลกู รู้จกั และเข้าใจตนเอง (Self-Awareness). สืบคน้
เมอ่ื วันท่ี 14 กันยายน พ.ศ.2564 จาก https://aboutmom.co/features/how-to-raising-
child-have-self- awareness/20048/
Woman Learns. (2559). สอนให้ลูก “รู้จักตัวเอง” อีกหนงึ่ ทกั ษะทพี่ ่อแม่ไม่ควรมองขา้ ม.
สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 15 กนั ยายน พ.ศ.2564 จาก https://www.womanlearns.com/teaching-your-
kids-learn-to-know-themselves/
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 9
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ชษิ ณชุ า สุวารักษ์ 6105680489
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“ÁÕ¤ÇÒÁ¤Ô´ÊÃéÒ§ÊÃäì ÁÕÈÔÅ»Ðã¹ËÑÇã¨
àÃÕ¹ÃÙáé ÅзÓã¹ÊÔ觷ÕèªÍº à¤Òþ¤ÇÒÁà»ç¹¤¹”
หากเด็กได้รับการสนับสนุนให้รู้จักศิลปะอย่างแท้จริง ศิลปะท่ีไม่มีกฎเกณฑ์ ไม่มีกําหนดว่าเต่า
ต้องสีเขียว กินผักบุ้ง ไม่โดนคุณครูหักคะแนนเม่ือระบายสีออกนอกเส้น ไม่ถูกอาจารย์โยนงานท้ิงเม่ือ
ทํามาไม่ถูกใจ ศิลปะไม่มีถูกหรือผิด มีแต่ชอบหรือไม่ชอบเพียงเท่าน้ัน ผลคือเยาวชนท่ีเติบโตข้ึนจะไม่
เป็นสังคมสีอึมครึมท่ีหากมองดูแบบผ่านๆก็ไม่สามารถแยกใครออกจากใครได้ แต่จะมีสีสันในแบบ
ของตนเอง ไม่ติดอยู่ในกรอบเดิม มีความคิดสร้างสรรค์ กล้าคิด กล้าทํา กล้าแสดงออก ก่อให้เกิด
พลเมืองท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ นําไปสู่การมีนวัตกรรมท่ีถูกพัฒนาโดยคนรุ่นใหม่ รวมท้ังศิลปะ
วัฒนธรรมท่พี ัฒนาไปตามยุคสมยั ด้วย
การออกแบบการเรียนให้เด็กแต่พอดี ไม่อัดความรู้และเวลาเรียนให้มากจนเกินไป หรือแม้แต่
การสอบวัดระดับท่ีโจทย์ออกเน้ือหานอกเหนือจากหนังสือท่ีโรงเรียนใช้สอน จะช่วยให้เด็กได้มีเวลา
เรียนรู้ ไม่รบกวนเวลาเล่นและเวลาทํางานอดิเรกท่ีช่วยให้เด็ก ๆ สามารถค้นหาตัวตนและส่ิงท่ีตนเอง
ชอบเจอ (คล้ายกับการทดลองทฤษฎี Trial and Error ของ Edward Thorndike) ไม่สร้างค่านิยม
เก่ยี วกับสายอาชพี ต่าง ๆ ท่ชี น้ี ําหรอื บงั คบั ใหเ้ ด็กเลอื กเดินในทางทผ่ี ใู้ หญ่ตอ้ งการ
เคารพความเปน็ คน เปน็ แกน่ หลักทจ่ี ะนําไปสู่คําขวญั วรรคอ่นื ๆ ท้งั หมด หากเรา (ไม่เพียงแต่
เด็กเท่าน้ัน) มีความเคารพการเป็นคนของผู้อ่ืนก็ทําให้ผู้คนเคารพในการกระทํา เคารพในความ
แตกต่างด้านต่าง ๆ ท้ังความคิด การกระทํา เพศ ศาสนา และอ่ืน ๆ จะไม่มีใครถูกมองว่าแปลก
ไม่มกี ารตีตราผอู้ ่นื ทไ่ี ม่เหมอื นตน
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 10
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
สาเหตุของปัญหาในจากย่อหน้าแรกและย่อหน้าท่ีสองก็เร่ิมจากการท่ีผู้ใหญ่ท่ีมองว่าตนอยู่
เหนือว่าเด็ก จึงอาจก่อให้เกิดอคติเชิงลบท่ีเป็นผลจากความอาวุโสโดยท่ีผู้ใหญ่เองก็ไม่รู้ตัว (จากเด็ก
ระบายสีเต่าเป็นสีส้มแล้วถูกคุณครูตําหนิและแก้ไขว่าเต่าเป็นสีเขียว เปล่ียนเป็นผู้ใหญ่ท่ีอายุเท่ากัน
หรือมากกว่าคุณครูเป็นผู้ระบายสีเต่าเป็นสีส้มแทน การแสดงท่าทีหรือแสดงความคิดเห็นต่อเต่าสีส้ม
อาจเปลย่ี นแปลงไป)
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 11
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ณภัทรพิม วงศโภชย์ 6105681065
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ´Õ ÁÕÍÊÔ ÃÐ㹡ÒÃàÃÕ¹ÃÙé ¤Ùè¨ÃÔ¸ÃÃÁ ÊÙèÊѧ¤Á·Õè¡éÒÇ˹éÒ”
“การศึกษาดี มอี ิสระในการเรยี นรู้ คู่จริยธรรม สู่สังคมทก่ี า้ วหนา้ ”
ปรัชญาการศึกษาช่วยวางรูปแบบให้กับการศึกษาและยังช่วยสร้างภาพรวมท่ีสมบูรณ์เละ
กลมกลืนให้กับเป้าหมาย 1 ปรัชญาการศึกษาท่ีผู้เขียนใช้เป็นฐานคิดในการประพันธ์คําขวัญข้างต้น
ได้แก่ ปรัชญาการศึกษาของราธกฤษณัน ท่ีมองว่าหน้าท่ีของสถานศึกษา เป็นแหล่งผลิตปัญญาชน
ให้แก่ประเทศ และเป็นท่ีฝึกฝนอบรมศีลธรรมของพลเมืองโลก2 กล่าวคือ สถานศึกษาไม่สามารถ
ล ะ เ ล ย ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ท า ง ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ค ว บ คู่ ไ ป กั บ ก า ร อ บ ร ม ด้ า น สั ง ค ม แ ล ะ ศี ล ธ ร ร ม ไ ด้
ปัญญาชนต้องฝึกฝนตัวเอง ไม่ใช่เพียงแค่ปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อม แต่ต้องเรียนรู้ท่ีจะช่วยเหลือ
สังคม3
สังคมจะก้าวหน้าและพัฒนาได้ต้องประกอบสร้างจาก การศึกษาท่ีดี และอิสระในการศึกษา
คนในสังคมได้ศึกษาในท่ีสิ่งท่ีตนมีความสนใจอย่างแท้จริง และสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานได้อย่าง
เท่าเทียม การศึกษาท่ีดีและท่ัวถึง สามารถพัฒนาขีดความสามารถของประเทศ อีกท้ังยังสามารถ
ยกระดับคุณภาพชีวติ คนในสังคม และเศรษฐกิจของประเทศให้ดีขน้ึ
การศึกษาจะสามารถยกระดับคุณภาพชีวิต และคุณภาพเศรษฐกิจในระดับจุลภาพและมหภาค
ได้ แต่ในขณะเดียวกัน หากมีเพียงแค่เศรษฐกิจท่ีพัฒนา สังคมและวัฒนธรรมก็ย่อมเสื่อมโทรมและ
1 วนั ชาติ ชาญวิจิตร, ปรชั ญาของสรวปลั ลี ราธกฤษณัน, (มหาสารคาม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลยั ราชภฏั
มหาสารคาม, 2561), น. 184.
2 ศักดา ปรางคป์ ระทานพร, ปรชั ญาการศึกษา, (กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร,์ 2526), น.38.
3 Radhakrishnan, Freedom and Culture, (Madras: G. A. Natesan & CO, 1936), p. 196.
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 12
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
เลือนหายไป คนในสังคมต้องเรียนรู้ท่ีจะคงความเป็นวัฒนธรรมเอาไว้ แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องมี
ความเข้าใจธรรมชาติของความเป็นสังคมและวัฒนธรรมว่า วัฒนธรรมมีล่ืนไหล เป็นพลวัต และ
สามารถปรับเปล่ียนให้เข้ากับรูปแบบสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป ผู้เขียนจึงเห็นด้วยกับปรัชญาของ
ราธกฤษณันเก่ียวกับการอบรมผู้ศึกษาท้ังในด้านของการพัฒนาให้มนุษย์สามารถมีคุณภาพชีวิตท่ีข้ึน
ควบคู่ไปกับการพัฒนามนุษย์และสังคม ประเทศจึงจะเจริญท้ังมิติด้านเศรษฐกิจ และ สังคมอย่าง
เปน็ พลวัต
ในทัศนะของราธกฤษณัน การพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับ บรรทัดฐาน ระบบสังคมและ
วฒั นธรรม มีความสําคญั เปน็ อยา่ งมาก อีกท้งั ยงั สอดคล้องกบั ปรชั ญาการศึกษาประสบการณน์ ยิ ม
หรือ Experimentalism โดยปรัชญาการศึกษารูปแบบน้ีเช่ือว่าโลกแห่งความจริงคือโลกแห่ง
ประสบการณ์ ซ่ึงเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามทัศนะของประสบการณ์นิยม สังคมมี
ลักษณะเป็นกระบวนการไหล (Flux) เน่ืองจากมนุษย์เปล่ียนแปลงและวิวัฒนาการอยู่ตลอดเวลา4
ดังน้ันเป้าหมายของการศึกษาของปรัชญาการศึกษานิยมคือ การศึกษาจะสามารถทําให้คนในสังคม
ปรับตวั ให้เข้ากบั สภาพสังคมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป
ซ่ึงปรัชญาท้ังสองน้ัน เป็นปรัชญาท่ีผู้เขียน ให้การยอมรับและเห็นด้วยเป็นอย่างย่ิง ผู้เขียน
น้ันเห็นด้วยกับการศึกษาและพัฒนาท่ีมีความสมดุล ระหว่างการพัฒนามิติเศรษฐกิจ และมิติสังคม
หากมิตใิ ดมิตหิ นง่ึ ไม่เจริญไปพรอ้ มกนั อาจทําใหถ้ ว่ งรง้ั ประเทศจากความเจริญกา้ วหน้าได้
4 วงศ์พรพวณั จักรพรรณ, (ขอนแกน่ : สํานกั วิชาการ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขต
ขอนแก่น, 2557), น.48.
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 13
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
มิตราภา เรืองรักษ์ 6105681214
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“µ¹é ¡ÅÒé ¹éÍ·èÒÁ¡ÅÒ§´¹Ô ´Õ·Õèà·èÒà·ÕÂÁ
à¡´Ô à»¹ç ¾Ä¡ÉÒ¢¨Õ·ÕèÁÑ蹤§ ÊÙ辧ä¾ÃÍѹÊÁºÙóì”
คาํ ขวัญวันเดก็ ในอุดมคตขิ องนกั ศึกษานน้ั เปรยี บเทยี บเดก็ กับตน้ กล้าน้อยท่กี ําลงั เตบิ โต และ
ดินดีท่ีเท่าเทียมน้ัน นักศึกษาได้นิยามความหมายไว้กว้างๆ คือ พื้นฐานและสวัสดิการทางสังคมท่ี
ควรได้รับของเด็กท่ีเติบโตข้ึนมา ไม่ว่าจะเป็นหน่วยท่ีเล็กท่ีสุดอย่างครอบครัว จนไปถึงชุมชน เมือง
สังคม และประเทศ สวัสดิการในทุก ๆ ด้าน เช่น สุขภาพอนามัย (Health) ท่ีอยู่อาศัย (Housing)
การทํางานและการมีรายได้ (Employment and Income Maintenance) ความม่ันคงทางสังคม
(Social Security) บริการสังคม (Social Services) นันทนาการ (Recreation) และ การศึกษา
(Education)
โดยนกั ศึกษาไดร้ ับแรงบันดาลใจมาจากปรชั ญาและแนวคิดของดร.มาเรีย มอนเตสซอร่ี ทเ่ี ชอ่ื
ว่า สิ่งแวดล้อมมีความสําคัญต่อพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างมาก และเด็กเป็นวัยท่ีมีการซึมซับ
ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว และเป็นช่วงเวลาหลักของชีวิต เป็นช่วงสําคัญท่ีสุดของการพัฒนาท้ัง
ดา้ นสติปัญญาและจิตใจ
ในปัจจุบัน สังคมไทยเผชิญกับปัญหาสังคมในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ การเมือง
รวมถึงโรคระบาดในขณะน้ี ส่งผลให้เกิดผลกระทบในทุกภาคส่วน และแน่นอนว่าภาคการศึกษาก็
เช่นเดียวกัน และสิ่งท่ีอยู่คู่กับภาคการศึกษาท่ามกลางสังคมท่ีกําลังมีปัญหาเหล่าน้ันคือ ความเหลื่อม
ลํา้ ทางการศึกษา หมายความว่า ต้นกล้าน้อยท่ีกําลังจะเติบโตน้ัน บางส่วนอาจจะต้องเติบโตบนผืนดิน
ทไ่ี ม่เทา่ เทยี มกบั ตน้ อ่นื ๆ นน่ั เอง หรือกลา้ บางต้นอาจจะไมม่ ีโอกาสเติบโตบนผนื ดนิ ใด ๆ เลยก็เป็นได้
การแก้ไขปัญหาจากความคิดเห็นของนักศึกษาน้ัน ในด้านปัญหาเศรษฐกิจและฐานะทาง
สังคม เน่ืองจากมีความเหล่ือมล้ําทางด้านสังคมและเศรษฐกิจเข้ามาเก่ียวข้อง ส่งผลให้เกิดความ
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 14
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
เหล่ือมล้ําทางการศึกษาตามมา และทําให้เกิดกลุ่มเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา ในส่วนของ
ครอบครัวน้ัน นักสังคมสงเคราะห์สามารถเข้าช่วยเหลือเพ่ือให้ครอบครัวและบุคคลเหล่าน้ันได้เข้ารับ
สวัสดิการท่ีพึงมี และรัฐควรท่ีจะมีบทบาทในการจัดสวัสดิการต่าง ๆ ท่ีทําให้ชีวิตและความเป็นอยู่ดีข้ึน
อย่างเท่าเทียมในทุก ๆ พื้นท่ี เพ่ือลดความเหลอ่ื มล้าํ ในด้านต่าง ๆ
ปัญหาภูมิลําเนาก็เป็นหน่ึงปัจจัยท่ีทําให้เด็กไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาได้ นอกจากรัฐจะเข้า
มาดูแลเร่ืองสวัสดิการในความเป็นอยู่ของประชาชนในพ้ืนท่ีห่างไกลและชนบทให้ดีข้ึนแล้ว สามารถ
เพ่ิมโอกาสทางสังคม การจัดให้มีบริการรถเดินทางสําหรับเด็กท่ีมีถ่ินอาศัยไกลโรงเรียน เพ่ือเพ่ิม
ความสะดวกและความปลอดภัยในการเข้ารับการศึกษา เน่ืองจากปัญหาการเดินทางสําหรับเด็ก ด้อย
โอกาสเป็นปัญหาสําคัญประการหน่ึงท่ีลดโอกาสในการเข้าเรียนของเด็ก โดยองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินควรประสานงานกับโรงเรียนและชุมชน เพื่อให้บริการรถรับส่งอย่างท่ัวถึง ปลอดภัย และ
เพียงพอต่อความต้องการของเด็กในพื้นท่ีห่างไกล (อัญมณี บูรณกานนท์, 2553) และจัดการศึกษา
ท่ีมีความยืดหยุ่น เพื่อให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมท่ีแตกต่างกันในแต่ละพ้ืนท่ีเพ่ือเพิ่มโอกาสสําหรับ
เด็กด้อยโอกาสมากขน้ึ
และส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุด คือ หลักสูตรการเรียนการสอนสําหรับเด็ก นักศึกษาเห็นด้วยกับแนวคิด
ของดร.มาเรีย มอนเตสซอร่ีเก่ียวกับด้านหลักสูตรการสอน โดยเด็กมีสิทธิในการพัฒนาบุคลิกภาพ
ของเขาในการเรียน สิทธทิ ่จี ะมีอสิ ระในการทาํ กิจกรรม สํารวจโลกสําหรบั ตวั ของเขาเอง และเรียกร้อง
สิทธิในการท่ีจะมีสภาพการทํางานท่ีเหมาะสม เด็กปกติในส่ิงแวดล้อมของมอนเตสซอร่ี จะพัฒนาการ
เรียนรู้ในการทํางานด้วยตนเอง เรียนรู้ในการรับผิดชอบต่อตนเองเป็นเบ้ืองแรก และต่อสภาพการณ์
ต่าง ๆ ท่ีช่วยให้ค้นพบตนเองพัฒนาการทางสังคม รวมท้ังพัฒนาการด้านอารมณ์ และการปรับตัว
ทางด้านสังคม บุคลิกภาพท้ังหมดของเด็กจะได้รับการพัฒนาท้ังสติปัญญา ความสามารถในการ
แยกแยะ ความคิดริเร่ิมและการเลือกอย่างอิสระ รู้จักควบคุมอารมณ์ สิ่งเหล่าน้ีเป็นการฝึกเด็กให้มี
คุณภาพพื้นฐานทางสังคม ท่จี ะนาํ ไปสู่การเปน็ พลเมืองทม่ี ีคุณภาพ
ดังน้ัน ส่ิงแวดล้อมและสังคม จึงมีความสําคัญเป็นอย่างมากสําหรับการเติบโตของเด็ก และ
นักศึกษาเช่ือว่าการศึกษาท่ีดีจะทําให้เด็กฉลาดในด้านความรู้และการใช้ชีวิต แต่การศึกษาจะไม่
สามารถดีได้ หากสังคมไม่ดี ดังน้ัน พื้นฐานทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองจึงสําคัญมาก ๆ
ตอ่ การพัฒนาเดก็ ใหม้ คี ุณภาพท่ดี ี
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 15
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
รายการอ้างองิ
จิราพร แถบเงนิ . (2552). รปู แบบการสอนแบบมอนเตสซอร่.ี สืบค้นจาก
https://www.gotoknow.org/posts/503320
ไม่ปรากฏผ้เู ขยี น. ไม่ปรากฏปที เ่ี ขยี น. สืบคน้ จาก http://www.tataya.com/ac005.php
มติ ราภา เรืองรกั ษ์. (2562). รายงานปัญหาสังคม เร่อื ง “ปญั หาความเหล่อื มล้าํ ทางการศึกษา”
รายวชิ า สค.213 การเปลย่ี นแปลงทางสังคมและปัญหาสังคม
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 16
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ศัธรนิ ทร์ บวั ทอง 6105681644
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“¨§âºÂºÔ¹ »¡»Íé §»Õ¡¢Í§µ¹àͧ”
คุณเคยมีความฝันหรือเปล่า? ความฝันท่ีอยากจะเป็นอะไรสักอย่าง ความฝันท่ีอยากทําอาชีพ
ท่ีตนเองชอบ ความฝันท่ีได้เป็นในสิ่งท่ีอยากเป็น ความฝันทุกความฝันล้วนเป็นส่ิงท่ีสวยงามและเป็น
สิ่งท่ีควรค่าให้เกิดการบรรลุผล คงจะดีไม่น้อยหากความฝันเหล่าน้ีได้เกิดข้ึนจริงกับตัวคุณเองและคน
ในสังคม หรือถ้าหากคุณยังไม่มีความฝันเป็นของตนเอง คุณยังไม่รู้ว่าคุณต้องการอะไร คุณยังไม่รู้
ว่าคุณอยากเป็นอะไร คุณยังไม่รู้ว่าคุณควรทําอะไร หรือคุณควรเดินตามเส้นทางไหนเพ่ือหาความฝัน
และส่ิงท่ีต้องการ ถึงอย่างน้ันคุณไม่ต้องรู้สึกโดดเด่ียวไปหรอกนะ เพราะเด็กไทยกว่า 60 % ก็ยังไม่
ทราบเช่นกันว่าตนเองต้องการอะไร ไม่ทราบเช่นกันว่าตนเองอยากทําอาชีพอะไรหรือควรเดินตาม
เส้นทางไหนดี ส่วนหน่ึงเป็นเพราะระบบการศึกษาภายในประเทศและเม่ือมองไปยังระบบการศึกษาไทย
ในช่วงมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ มักจะมีการแบ่งแผนการเรียนหลักๆ 2 แนวทาง ได้แก่
สายวิทย์ และสายศิลป์ ส่งผลให้นักเรียนมีกรอบจํากัดในการเลือกว่า พวกเขาอาจจะต้องเดินเพียง
ทางใดทางหน่ึง และอาจพลาดโอกาสท่ีจะค้นพบความชอบของตัวเองไป ซ่ึงแตกต่างจากระบบ
การศึกษาของบางประเทศ ซ่ึงหลายประเทศได้พยายามมุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางการศึกษา
ให้เวลาพวกเขาได้ค้นหาตัวตนผ่านหลักสูตรท่ีปรับตามผู้เรียน ไม่ว่าจะถนัดอะไร ชอบอะไร อยากเรียน
อะไร จนนําไปสู่การวางหลักสูตรว่าจะตอบโจทย์คนเรียนอย่างไร ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีจะช่วยเป็นแนวทางการ
วางระบบการศึกษาท่ีทําให้ผู้เรียนมีความสุขและสนุกกับการเรียนรู้ รวมไปถึงมีอิสระท่ีจะเลือกเรียนใน
ส่ิงท่ีผู้เรียนสนใจ ซ่ึงทําให้ผู้เรียนสามารถค้นหาตนเองได้ว่าชอบส่ิงใด ไม่ชอบสิ่งใด ต่างจากประเทศ
ไทยท่ีมองการศึกษาในเชิงของการแข่งขันและการตอบสนองความต้องการของสังคมและครอบครัว
เ ด็ ก ห ล า ย ค น ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก เ ส้ น ท า ง ข อ ง ต น เ อ ง ไ ด้ เ พี ย ง เ พ ร า ะ ต้ อ ง ทํ า ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง
ครอบครัว จนทําให้ในบางคร้ังเองความฝันของเด็กถูกทําให้หล่นหายกลางทาง และในบางคร้ังความ
เป็นตัวเองของเด็กก็อาจจะถูกกลืนหายไปด้วยก็ได้ เพราะระบบการศึกษาท่ีเหมือนการแข่งขันจนทําให้
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 17
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เด็กหลงลืมความต้องการของตนเอง หรือเพียงเพราะคําว่า “เป็นไปไม่ได้หรอก” “จะเป็นจริงหรือ
อย่างอ่ืนดีกว่าไหม” “ฝันลมๆแล้งๆ” เป็นต้น บางคร้ังคําเหล่าน้ีก็บ่ันทอนจิตใจของเด็กไม่ใช่น้อย
หรือจนกว่าจะรู้ว่าความฝันของตนเองคืออะไร ตนเองต้องการอะไร บางทีก็อาจจะสายเกินจะทําตาม
ความฝันเหล่าน้ันเสียแล้ว มันคงจะดีหากเราสามารถปกป้องความฝันเหล่าน้ันได้ มันคงจะดีหากเรา
สามารถจุดประกายความฝันเหล่าน้ันได้ มันคงจะดีหากเราสามารถช่วยตามหาความฝันเหล่าน้ันได้
มันคงจะดีหากเราสามารถเป็นในส่ิงท่ีเราอยากจะเป็นและวาดฝันไว้ มันคงจะดีหากเราสามารถทําตาม
ในสิ่งท่ีเราต้องการ มันคงจะดีเป็นอย่างย่ิงหากเกิดข้ึนกับตัวเราเอง แล้วมันจะย่ิงดีข้ึนไปอีก
หากเร่ืองราวเหล่าน้ีเกิดข้ึนกับเด็กไทยทุกคนในสังคม ซ่ึงหากจะทําให้เด็กสามารถรู้ถึงความต้องการ
ของตนเองได้ เราคงต้องใช้ “เวลา” และ “ประสบการณ์” ซ่ึงสองอย่างน้ีสามารถเกิดข้ึนได้เม่ือเด็ก
ได้รับการเรียนรู้ แต่เพราะเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคลในเร่ืองของความสนใจ
ความต้องการ ความสามารถทางการเรียนรู้ ดังน้ันจึงควรให้เวลาอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดการ
เรียนรู้และประสบการณ์ท่ีดี ตามส่วนหน่ึงของจุดมุ่งเน้นของปรัชญาการศึกษาสายพิพัฒนาการท่ี
กล่าวว่า ควรมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พั ฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาไปพร้อม ๆ
กัน รวมถงึ ให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของผ้เู รียน
การโบยบินเปรียบเสมือนการได้รับอิสระ เม่ือได้โบยบินจงบินต่อไปตามความหวัง บินต่อไป
ด้วยแรงปรารถนาท่ีพยุงปีกของตน เพ่ือหาค้นจุดหมายของตนเอง เม่ือได้โบยบินแล้วจงเก็บ
ประสบการณ์ท่ีผ่านเข้ามาตามเส้นทาง และเพ่ื อให้ถึงจุดหมายน้ัน จงปกป้องปีกของตนเอง
ดังน้ัน “จงโบยบิน ปกป้องปีกของตนเอง” เม่ือมีความฝัน จงปกป้องความฝัน หากยังหาความฝันไม่
พบ จงปกปอ้ งความเป็นตัวของตวั เอง เพื่อความฝัน และตวั ของเราเอง จงโบยบินอย่างอิสระ
รายการอา้ งอิง
บา้ นจอมยทุ ธ. ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม [เวบ็ บล็อค]. สืบค้นจาก
https://www.baanjomyut.com/library_2/educational_philosoph/05.html?fbclid=IwAR1
KQAolE5XltcT5633IsI7JaYFDeSBJSoa8eh_9rWP_ncvRCEVEB0yZJIE
The Matter. (2563). เลอื กเรียนตามความสนใจ และใหเ้ ด็กเปน็ ศูนยก์ ลาง สํารวจแนวทาง
การศึกษาในประเทศตา่ ง ๆ . สืบคน้ จาก https://thematter.co/social/education-system-in-
others-country/103757
Admission Premium. (2561). กว่า 60% เดก็ ม.ปลายท่วั ประเทศท่กี าํ ลังจะกา้ วเข้าสู่ร้วั
มหาวิทยาลยั ไมร่ วู้ ่าจะเรียนต่ออะไร. สืบคน้ จาก
https://www.admissionpremium.com/content/3296
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 18
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
พิมพ์ชนก ดวลใหญ่ 6105681677
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“à¤Òþ¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ ÂÍÁÃѺ¤ÇÒÁᵡµèÒ§ ÍÂÙèÃèÇÁ¡Ñ¹ÍÂèÒ§à·èÒà·ÕÂÁ”
ในทุกสังคมล้วนมีความแตกต่าง หลากหลาย บุคคลแต่ละคนย่อมมีความเป็นปัจเจก
มีเอกลักษณ์เฉพาะของบุคคลในทุกด้าน ข้ึนอยู่กับการเล้ียงดูและสภาพแวดล้อมท่ีบุคคลเติบโตมา
ซ่ึงการท่ีผู้คนในสังคมจะอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ จะต้องมีการยอมรับความแตกต่างหลากหลายท่ีมีอยู่
ในสังคมใหไ้ ด้ มกี ารเคารพให้เกยี รติกับความแตกตา่ งหลากหลายนน้ั
การสร้างคําขวัญวันเด็กท่ีว่า “เคารพความหลากหลาย ยอมรับความแตกต่าง อยู่ร่วมกัน
อย่างเท่าเทียม” มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เด็ก ๆ ในสังคมได้เรียนรู้และตระหนัก หรือให้ความสําคัญ
เก่ียวกับความแตกต่างหลากหลายท่ีมีมากข้ึนในสังคม ซ่ึงการท่ีเด็กจะตระหนักในเร่ืองเหล่าน้ีได้
จะต้องมีการปลูกฝัง สอนให้เด็กรู้ และเกิดความเข้าใจ จะต้องเร่ิมสอนต้ังแต่ในระดับครอบครัว
พ่อ แม่ ผู้ปกครอง จะต้องทําหน้าท่ีสอนลูก สร้างความเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายในสังคมให้
ลูก โดยสมาชิกในบ้านจะต้องมีความเข้าใจเสียก่อนและประพฤติตัวเป็นแบบอย่างให้เด็กได้เห็น อาจ
เร่ิมท่ีเร่ืองง่าย ๆ ในชีวิตประจําวัน อย่างเช่น การไม่ล้อเลียนหรือบูลล่ี ไม่วิพากษ์วิจารณ์รูปร่าง/
รูปลักษณ์ของผู้อ่ืน เป็นต้น ซ่ึงเด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว การท่ีเด็กจะเติบโตหรือมีพฤติกรรม
ความคิดอย่างไรย่อมข้ึนอยู่กับการเล้ียงดูและสภาพแวดล้อมท่ีเด็กได้เติบโตมา ดังน้ันสมาชิกในบ้าน
ต้องช่วยกันในการปลูกฝังทัศนคติท่ีดีให้แก่บุตรหลานต้ังแต่ยังเด็ก เพื่อให้เด็กได้เกิดความซึมซับ
การเลียนแบบพฤติกรรมท่ีดีของพ่อแม่ เม่ือเด็กโตข้ึนและได้ออกไปสู่โลกภายนอกท่ีกว้างข้ึน พบเจอ
ผู้คนในสังคมมากข้ึน เด็กจะได้มีทัศนคติท่ีเปิดกว้าง ยอมความในความแตกต่างหลากหลายของผู้คน
ในสังคมได้ และอีกสถาบันท่ีมีส่วนสําคัญในการช่วยขัดเกลาเด็ก ก็คือ สถาบันการศึกษา โรงเรียน
จะต้องทําหน้าท่ีในการช่วยขัดเกลาเด็ก ให้เด็กเกิดความเข้าใจในเร่ืองต่าง ๆ มากข้ึน คุณครูจะต้อง
เป็นผู้ช้ีแนะในส่ิงท่ีถูก สอนให้เด็กได้รู้จักคิด มีการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียน ซ่ึงท้ังหมดแล้ว
เม่ือเด็กเกิดการยอมรับความแตกต่างหลากหลายในสังคมได้ เด็กจะเกิดความเข้าใจในความเป็นปัจเจก
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 19
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ของแต่ละบุคคลตามมา จะทําให้ผู้คนในสังคมเกิดการอยู่ร่วมกันได้อย่างเท่าเทียม ไม่เลือกปฏิบัติกับ
บคุ คลทม่ี ีความแตกตา่ ง มกี ารยอมรับและเคารพ ใหเ้ กียรติและคณุ คา่ ในศักด์ศิ รคี วามเป็นมนุษย์
และในความเป็นจริงหากว่าทุกคนเติบโตมาด้วยความเข้าใจ เคารพและยอมรับความแตกต่าง
หลากหลายในสังคมได้ โดยปราศจากอคติ ปฏิบัติกับทุกคนอย่างเท่าเทียม มีทัศนคติท่ีเปิดกว้างต่อทุก
ส่ิง ย่อมส่งผลให้สังคมมีความขัดแย้งน้อยลง สังคมสามารถขับเคล่ือนไปอย่างราบร่ืน และเกิดการ
พัฒนาอย่างเท่ากนั
รายการอ้างอิง
กรงุ เทพธรุ กิจ. (2559) สอนลกู ยอมรบั ความแตกต่าง. สืบคน้ เมอ่ื 9 กันยายน 2564 จาก
https://www.bangkokbiznews.com/news/724041
British Council. (2564). การส่งเสริมการยอมรับความแตกต่างและอยู่ร่วมกันอย่างเท่า
เทียม. สืบค้นเม่ือ 9 กันยายน 2564 จาก https://www.britishcouncil.or.th/about/equality-
diversity-inclusio
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 20
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
วรรณวิไล กง่ึ มะลิ 6119610548
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“¤ÇÒÁÍÊÔ ÃÐáÅЪÕÇµÔ ·ÕèàÃÕ¹ÃÙ¼é èÒ¹¡ÒÃŧÁ×Í·Ó”
ในปัจจุบันชีวิตของสังคมประเทศไทย ท้ังในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา หรือชีวิต
การทํางาน ทุกอย่างในชีวิตของคนในสังคม ล้วนถูกตีกรอบให้ถูกจํากัดอิสระทางความคิดและการลง
มือทําผ่านวัฒนธรรม สังคม และท่ีสําคัญท่ีสุดคือ “การศึกษา” ท่ีเปรียบเสมือนบ้านหลังท่ี 2 ของทุก
คน เด็กทุกคนล้วนได้รับการปลูกฝังทางความคิด การขัดเกลา และการสั่งสอนให้ดําเนินชีวิตในแบบท่ี
สังคมและโรงเรียนได้กําหนดไว้
คําขวัญวันเด็กท่ีมีคําว่า “อิสระ” สําหรับผู้เขียนคําน้ีสามารถกล่าวได้ในทุกบริบททางความคิด
และการกระทํา รวมถึงความสัมพันธ์ท่ีเช่ือมโยงในด้านต่าง ๆ ของชีวิต โดยท่ีไม่ทําให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน
ต่อความคิดของตัวเอง ไม่ว่าจะเป็น อิสระทางความคิด คนเราจะสามารถคิดอย่างไรหรือคิดอะไรก็ได้ท่ี
ไม่มีขอบเขตมากําหนดหรือปิดก้ันส่ิงท่ีอยู่ในความคิดไว้ แต่เม่ือมีอิสระน้ันท่ีเป็นความคิดก็สามารถท่ีจะ
กลายเป็นรูปแบบของการกระทําท่ีอิสระได้เช่นกัน อิสระทางวัฒนธรรม ทุกคนสามารถท่ีจะเลือกได้ว่า
วัฒนธรรมน้ันเราต้องการท่ีจะปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ หรือเลือกท่ีจะใช้วัฒนธรรมไหนก็ได้แม้เราจะเกิด
เป็นคนไทยก็ไม่จําเป็นท่ีจะต้องยึดติดอยู่กับแนวคิดเดิมท่ีเราไม่สะดวกใจจะใช้ในวัฒนธรรม อิสระทาง
ความหลากหลาย อิสระน้ีสามารถกล่าวได้ถึงหลายรูปแบบท้ังเร่ืองเพศ การแต่งกาย การเลือกใช้
ส่ิงของ มนุษย์ทุกคนต้ังแต่เกิดก็ควรท่ีจะมีอิสระในเร่ืองเพศได้ ไม่ว่าเราจะเป็นเพศไหนท่ีตรงหรือไม่
ตรงกับสรีระของตัวเองต้ังแต่กําเนิด แต่ก็มีสิทธ์ิเลือกท่ีจะเปล่ียนแปลงได้ด้วยตนเอง ในการแต่งกาย
หรือการเลือกใช้สิ่งของก็เป็นส่ิงท่ีเราสามารถท่ีจะสวมใส่เส้ือผ้าอะไรก็ได้ ท้ังชุดผู้ชาย ผู้หญิง ไม่ควร
มีการกําหนดว่าเป็นผู้หญิงต้องใส่ชุดผู้หญิงเท่าน้ัน แต่เป็นความอิสระท่ีเราทุกคนสามารถใส่เสื้อผ้า
เพศไหนก็ได้ หรือประเด็นท่ีกําลังมาแรงในช่วงน้ี คือ การใส่บราของผู้หญิง ผู้เขียนคิดว่าทุกเพศควร
จะมีอิสระในการเลือกของตนเอง การท่ีเพศหญิงจะสวมใส่บราหรือไม่ การท่ีถูกชุดแนวคิด “ชายเป็น
ใหญ่” เข้ามากดข่ีความเป็นเพศหญิงในอีกมุมหน่ึง หรือการท่ีวัฒนธรรมในประเทศของเราไม่สามารถ
เปิดกว้างได้ท่ีจะให้อิสระในการเลือกการสวมบราของเพศหญิงน่ันเอง หากย้อนกลับไปถึงต้นกําเนิด
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 21
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ของเรา เราเช่ือว่ามนุษย์ทุกคนต้ังแต่เกิดล้วนเปลือยกาย แต่เป็นสังคมท่ีทําให้เกิดชุดความคิดในการ
ท่ีมนุษย์ต้องแต่งตัวและเพศหญิงต้องรักนวลสงวนตัวหรือการโป๊เปลือยคือการอนาจาร ซ่ึงเป็นการ
กดทับความอิสระของเพศหญิงในอีกแง่หน่ึง และการเลือกใช้ส่ิงของก็เช่นกัน ท่ีเราพบเห็นได้ใน
ชีวิตประจําวันของเราหรือเหตุการณ์ในตอนเด็กท่ีพวกเราทุกคนจะต้องประสบพบเจอในการเล้ียงดูท่ี
ครอบครัวหล่อหลอมให้เรากลายเป็นเราในทุกวันน้ี คือ การท่ีตอนเด็กถ้าเราเป็นเพศชาย เราจะต้อง
ถูกให้เล่นของเล่นในส่วนท่ีเป็นของผู้ชาย คือ ปืน ฟุ ตบอล ดีดลูกแก้ว เป็นต้น หรือมักจะถูกห้ามว่า
เด็กเพศชายห้ามใส่กระโปรง และเด็กผู้หญิงก็ควรจะน่ังเรียบร้อยใส่กระโปรงเล่นทํากับข้าวเท่าน้ันไม่
ควรไปเล่นฟุตบอลหรือกีฬาท่ีโลดโผน เพราะจะถูกมองว่าเป็นผู้หญิงไม่เรียบร้อย เด็กซ่า เด็กแก่น จะ
ไม่ดี ซ่ึงชุดความคิดท้ังหมดท่ีเราถูกหล่อหลอมมาทําให้เราเช่ือว่าควรควรจะเป็นแบบน้ัน ในตอนเด็ก
เราทุกคนก็เหมือนกับผ้าขาวท่ีถูกผู้ใหญ่และสังคมระบายสีให้เรา ซ่ึงเราทุกคนน้ันกลับไม่รู้ตัวเราว่าเรา
กําลังถูกปิดก้ันความคิดอิสระของเรา ความต้องการอิสระของเรา ทําให้เป็นฐานหน่ึงท่ีทําให้เด็กหลาย
คนไม่รู้ว่าตนเองชอบอะไร หรืออยากท่ีจะทําอะไรกันแน่ ชีวิตของคนในสังคมเลยทําตามโครงสร้างท่ี
สังคมวาดไว้ โดยทเ่ี ราไม่เคยคิดจะตง้ั คําถามและหาคําตอบกับส่ิงน้ี
คําขวัญวันเด็กท่ีมีคําว่า “ชีวิตท่ีเรียนรู้ผ่านการลงมือทํา” ผู้เขียนมองในมุมของการเป็นมนุษย์
ท่ีเกิดการเรียนรู้ ซ่ึงการเรียนรู้สามารถท่ีจะเกิดได้ในทุกสถานการณ์ ทุกสถานท่ีและบริบทท่ีแตกต่าง
กันไป ซ่ึงการเกิดการเรียนรู้น้ีจะทําให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่สําหรับมนุษย์ก็ได้ เม่ือมองในมุมของ
การศึกษาท่ีเราและทุกคนในตอนเป็นเด็กระบบการศึกษามีความสําคัญกับเราทุกคน เพราะชีวิตของ
เราทุกคนล้วนต้องเรียนหนังสือ ซ่ึงแน่นอนว่าหากต้นทุนในชีวิตของแต่ละคนไม่เท่ากันก็จะมีผลต่อ
การศึกษาด้วย ท้ังการเรียนรู้ในระดับท่ีสูงข้ึน หรือข้อจํากัดในการศึกษา แต่หากมองในมุมผู้เรียนท่ี
ควรจะได้รับการเรียนรู้เบ้ืองต้นท่ีจะทําให้การเรียนรู้ของเด็กมีประสิทธิภาพและสามารถนําไปใช้ในชีวิต
จริงได้รวมท้ังอยู่ร่วมกับคนในสังคมอย่างสงบสุข เราคงจะต้องพู ดถึง “สถานศึกษา” หรือ โรงเรียน
น่ันเอง ในโรงเรียนหลายแห่งหรือเกือบท้ังหมดในประเทศไทยเรียกได้ว่าการศึกษาพื้นฐานของเราเกิด
จากการท่องจํานําไปสอบ ซ่ึงไม่สามารถเกิดเป็นความรู้ท่ีนําไปใช้ได้จริงในชีวิตประจําวันท้ังหมด ทําให้
เกิดการต้ังคําถามกับการศึกษาว่า “การศึกษา” ของเราควรไปในแนวทางไหน บริบทของคุณครูควร
จะเป็นคนท่ีสอนตามหนังสือเพื่อให้นักเรียนท่องจํา และวัดประเมินโดยการไปสอบจริงหรือ หากเป็น
แบบน้ันบุคคลท่ีเราผลิตข้ึนมาในสังคม หรือ “เด็ก” ท่ีถูกผลิตข้ึนมาจากโรงเรียนกลับกลายเป็นเพียง
เคร่ืองมือเพื่ อตอบโจทย์เร่ืองการเมืองเท่าน้ันท่ีต้องการให้มนุษย์ทุกคนเดินทางไปในเส้ นเดียวกัน
เรียนหนังสือเล่มเดียวกัน ไม่เกิดการเรียนรู้หรือการซักถามท่ีโต้ตอบปฎิสัมพันธ์กันในห้องเรียน ซ่ึง
เป็นการลดคุณค่าความเป็นมนุษย์ในการท่ีเด็กควรจะได้รับการเรียนรู้ท่ีมีอยู่จริง เกิดข้ึนจริง ผ่านการ
ลงมือทําหรือการปฏิบัติอย่างท่ีเขาควรจะได้ ในห้องเรียนบทบาทของครูควรท่ีจะเป็นผู้ช่วยให้คําแนะนํา
การพาผู้เรียนให้เขาไปเจอกับส่ิงใหม่ๆ ท่ีจะช่วยให้เขาเกิดองค์ความรู้ใหม่ ๆ และสามารถนําไปใช้ใน
ชีวิตจริงกับสังคมท่ีเขาอยู่ได้ ท้ังการเรียนรู้ท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ผ่านการคิด วิเคราะห์ พู ดคุย และท่ี
ขาดไม่ได้คือการได้ลงมือทํา เพราะองค์ความรู้ใหม่คงจะไม่เกิดถ้าการเรียนรู้ผ่านการลงมือทําหายไป
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 22
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เพราะประสบการณ์ในชีวิตของมนุษย์ล้วนเป็นบทเรียนท่ีจะทําให้เขาได้เกิดคําตอบหรือหาวิธีการใหม่ใน
การท่ีจะทําอย่างใดอย่างหน่ึงให้สําเร็จได้ ฉะน้ันการท่ีให้เด็กทุกคนได้เรียนรู้ผ่านการลงมือทําเพ่ือสร้าง
เสริมประสบการณ์ของตัวเองเพื่อนําไปใช้ในชีวิตจริงในสังคมได้ จะเป็นการท่ีเด็กได้พบกับสิ่งท่ีตัวเอง
ชอบหรือไม่ชอบ อยากทําหรือไม่อยากทํา นําไปสู่การเลือกประกอบอาชีพในอนาคตและรักกับอาชีพ
การงานท่ีเขาทําในวัยผู้ใหญ่อย่างมีความสุข แม้หากจะมีอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน เขาก็ยังมีประสบการณ์
การเรียนรู้ท่ีเขาเคยผ่านมา มีวิธีการรับมือ และยอมรับความผิดพลาดของตนเองได้ ซ่ึงเป็นการ
ยอมรับซ่ึงกันและกันในฐานะมนุษย์และเป็นสิ่งท่ีจะทําให้ให้คนในสังคมท่ีเร่ิมต้ังแต่เด็กเติบโตมาอย่างมี
คุณภาพและมคี วามสุขเพ่ือเปน็ พละกาํ ลังท่ดี ีในการพัฒนาประเทศของเรา
จากท่ีกล่าวมาข้างต้นผ่านความคิดของผู้เขียนคําขวัญวันเด็ก “ความอิสระและชีวิตท่ีเรียนรู้
ผ่านการลงมือทํา” ซ่ึงมีแนวคิดมาจากจอห์น ดิวอ้ี ขงจ๊ือ และเปาโล เฟรรี เป็นแนวคิดท่ีทําให้เราต้ัง
คําขวัญวันเด็กท่ีมีคําว่า “อิสระ” ข้ึนมา เพราะอยากให้เด็กและผู้ใหญ่ รวมท้ังสังคมของเรา ได้สะท้อน
ให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ท่ีมีมาเน่ินนานแต่ทุกคนกลับมองว่ามันเป็นเร่ืองปกติ จึงไม่มีใครเกิดการ
ต้ังคําถามกับมันว่ามนุษย์ก็ควรท่ีจะมีอิสระในทุกอย่างและเป็นส่ิงท่ีตัวเองตัดสินใจเลือกเอง ทุกคนมี
สิทธิตัดสินใจท้ังในเรือนร่างกายของตนเองและการดําเนินชีวิตท่ีอิสระ โดยอยู่บนพื้นฐานการท่ีไม่ทํา
ให้ผู้อ่ืนเดือดร้อนและเคารพกฎกติกาในสังคมไทย ซ่ึงรากฐานทางชุดความคิดน้ีก็ควรท่ีจะถูกปลูกฝัง
มาต้ังแต่เด็กว่าเด็กก็มีสิทธ์ิในการเลือก แสดงความคิดเห็น หรือการซักถามในความสงสัย
เช่นเดียวกับการใช้ชีวิตในห้องเรียนท่ีการศึกษาของประเทศไทยก็ควรท่ีจะให้สิทธิการเลือกในส่ิงท่ี
อยากเรียน อิสระท่ีจะเรียนรู้ ไม่โดนตีกรอบ และอิสระในความสงสัย ซ่ึงถ้าเกิดข้ึนในประเทศไทยสังคม
ของเราก็จะมีการให้เกียรติในส่ิงท่ีแต่ละคนเลือก การศึกษาท่ีไม่ถูกตีกรอบ และความแตกต่างของการ
เป็นมนุษย์ และคําว่า “ชีวิตท่ีเรียนรู้ผ่านการลงมือทํา” เม่ือมนุษย์ได้รับการศึกษา การคัดเลือกรูปแบบ
แนวทางการศึกษาก็มีความสําคัญต่อเด็กท่ีจะต้องเติบโตมาเป็นกําลังของประเทศเช่นกัน หากการ
เลือกรูปแบบน้ันไม่ตรงกับความต้องการ หรือริดทอนคุณค่าความเป็นมนุษย์และสิ่งท่ีเด็กควรจะได้
เรียนรู้เก่ียวกับประสบการณ์ของตนเองท่ีผ่านการลงมือทํา เขาจะสามารถใช้ชีวิตในฐานะมนุษย์ใน
สังคมได้อย่างดีเย่ียมจริงหรือ เพราะฉะน้ันการเรียนจะไม่ได้เป็นเพียงแค่การเรียนเพ่ืออนาคตแต่เป็น
การเรียนกับส่ิงท่ีเจออยู่ การได้เลือกและค้นหาคําตอบกับชีวิตในแต่ละช่วงวัย รวมท้ังการเรียนท่ีผ่าน
การลงมือทําไม่ได้เพียงแค่ท่องจําแล้วนําไปสอบเท่าน้ัน แต่ต้องเป็นส่ิงท่ีสามารถนําไปใช้ได้จริงและ
เกิดประโยชนก์ ับตัวเขาเองอย่างสูงสุด
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 23
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
รายการอ้างอิง
Dewey, J. (1900). The school and society : being three lectures. Chicago:
Chicago, University of Chicago Press
Paulo Freire. (1970). Pedagogy of The Oppressed. tenth print. New York:The
Seabury Press.
เฝิงอ่วิ หลนั . (2544). ปรัชญาจีน จากขงจอ๊ื ถงึ เหมาเจอ๋ ตุง (ส.สุวรรณ,ผแู้ ปล). กรุงเทพฯ:
พิราบ.
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 24
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
ปัทมพร นนั ทนงคลชยั 6205490029
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“ ªÕÇÔµ¡ÇÒé §ä¡Å ã½èã¨àÃÕ¹ÃÙé ÊÙè¤ÇÒÁÊÁºÙÃ³ì ¾Ù¹ÊØ¢ÁÑè§ÁÕ ”
สํ านักงานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัดแม่ฮ่องสอน ระบุว่ากฎหมายใน
พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว ได้บัญญัติให้ เด็ก หมายถึงบุคคลท่ีมีอายุยังไม่เกิน 15 ปี
บริบูรณ์ ส่วน เยาวชน ต้องมีอายุเกิน 15 ปีบริบูรณ์แต่ยังไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์ และหน้าท่ีของเด็กใน
เพลงเดก็ ดี ประพันธ์คาํ ร้องโดยครูชอุม่ ปญั จพรรค์ นักเขียนนวนยิ ายช่อื ดังท่านหน่งึ ท่ีทางกระทรวง
วัฒนธรรมได้พิจารณาเห็นว่าเน้ือเพลงมีสาระสอดคล้องกับการสร้างค่านิยมท่ีพึงปฏิบัติในสังคมไทย
อีกท้ังยังเป็นคําสอนท่ีร่วมสมัยสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงของรัชกาลท่ี 9
จึงนํามาเผยแพร่ทางช่องโทรทัศน์เพราะเป็นส่ือท่ีเข้าถึงเด็ก เยาวชน และประชาชนท่ัวไปเป็นอย่างดี
โดยประพันธเ์ นอ้ื เพลงไว้ว่า
“ เด็กเอ๋ยเด็กดี ต้องมีหน้าที่ 10 อย่างด้วยกัน.. หนึง่ นับถือศาสนา สอง รักษาธรรมเนียมมัน่
สาม เชื่อพ่อแม่ครูอาจารย์ สี่ วาจานั้นต้องสุภาพอ่อนหวาน ห้า ยึดมั่นกตัญWู หก เป็นผู้รู้รักการ
งาน เจ็ด ต้องศึกษาให้เชี่ยวชาญ ต้องมานะบากบั่นไม่เกียจไม่คร้าน แปด รู้จักออมประหยัด เก้า
ต้องซื่อสัตย์ตลอดกาล นํ้าใจนักกีฬากล้าหาญให้เหมาะกับกาลสมัยชาติพัฒนา สิบ ทําตนให้เป็น
ประโยชน์รบู้ าปบุญคณุ โทษสมบัติชาติตอ้ งรกั ษา เดก็ สมัยชาติพัฒนาจะเป็นเดก็ ทพี่ าชาติไทยเจริญ ”
การท่ีเน้ือเพลงได้ระบุให้เด็กปฏิบัติตามข้อกําหนดเพ่ือจุดมุ่งหมายท่ีว่าจะพาประเทศไปสู่ความ
เจริญน้ัน แท้จริงแล้วน้ัน ข้อกําหนดน้ีได้รับความคิดเห็นมาจากเด็กท่ีจะโตไปเป็นเยาวชนจริง ๆ หรือ
เพียงสรรค์สร้างข้ึนมาตามความคาดหวังของผู้ใหญ่กันแน่ หากยึดโยงกับโครงสร้างหน้าท่ีท่ีเป็นไปได้
ในสังคมกับสถาบันหลักทางสังคม คือ กระบวนการท่ีมนุษย์ในสังคมได้จัดต้ังข้ึนอย่างมีแบบแผนเพื่อ
สนองความต้องการของสังคม ในท่ีน้ีเร่ิมต้นต้ังแต่สถาบันครอบครัว เพราะความคาดหวังของผู้ใหญ่
เป็นเคร่ืองมือคอยเล่ือนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม แต่ไม่ใช่ในเด็กหรือในมิติของการศึกษาเพ่ือ
อนาคตของชาติ ความสัมพันธ์ในครอบครัวคนไทยส่วนใหญ่ พ่อแม่คาดหวังให้ลูกสามารถช่วยทํางาน
บ้าน หวังให้เด็กเติบโตมาช่วยเล้ียงดูยามชราภาพโดยอ้างความกตัญnูและหน้าท่ีของเด็ก ท้ังท่ีจริง
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 25
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
แล้วเด็กอาจจะไม่ได้มองว่าผู้ใหญ่คนน้ันเป็นผู้มีพระคุณของตนจากพื้นฐานทางอารมณ์หรือจิตใจ และ
หน้าท่ีของเด็กตามเน้ือเพลงท่ีว่าต้องนับถือศาสนา ต้องเช่ือฟงั ต้องสุภาพ ต้องไม่ข้ีเกียจ ฯ มันคือ
หน้าท่ีท่ีเด็กทุกคนจําเป็นต้องปฏิบัติตามในทุกวันของการดําเนินชีวิตหรือไม่ ทําไมถึงไม่มีอิสระให้เด็ก
ได้เลือกปฏิบัติตามมุมมองของตนเองและให้คนในครอบครัวเป็นผู้ขัดเกลา อีกท้ังบางครอบครัวจาก
ประสบการณ์ตรงของผู้เขียน พ่ อแม่มักเปรียบเทียบลูกตนเองกับเด็กคนอ่ืน ลามจนไปถึง
สถาบันการศึกษาในร้ัวโรงเรียน เม่ือผลการเรียนหรือพฤติกรรมการเรียนของเด็กไม่เป็นไปตามท่ี
ผู้ใหญ่คาดหวังไว้ ก็มีการตําหนิหรือลงโทษเกิดข้ึน จนอาจมีการจัดประเภทเด็กเรียนดีและเด็กท่ีไม่
ต้ังใจเรียนข้ึน คล้ายเป็นการบงการการใช้ชีวิตของเด็กให้มีแต่การดําเนินชีวิตภายใต้ความกดดัน
ท้ังตัวเองกดดันตัวเองและคนในครอบครัวกดดันให้ต้องเติบโตไปตามความคาดหวัง สะสมจน
กลายเป็นการกดทับในสังคม หากความคาดหวังของผู้ใหญ่ทําให้เกิดผลลัพธ์แบบน้ีแล้ว ชาติไทยจะ
เจริญตามท่ีเน้ือเพลงบอกได้อย่างไร ในมุมมองของผู้เขียนตรงน้ี จึงเกิดเป็นคําขวัญวันเด็ก “ ชีวิต
กว้างไกล ใฝ่ใจเรียนรู้ สู่ความสมบูรณ์ พูนสุขมั่งมี ” ข้างต้น และสามารถอธิบายขยายความหมายได้
ดงั น้ี
“ ชีวิตกว้างไกล ใฝ่ใจเรียนรู้.. ” ตามฐานคิดปรัชญาการศึกษาของมัวริซ เมอร์โล-พอนต้ี
(Maurice Merleau Ponty) ท่ีมีความเห็นว่าความสุขแท้จริงคือการมีเสรีภาพในการเลือกดํารงชีวิต
อย่างเป็นอิสระของปัจเจกบุคคล ผู้เขียนต้องการให้ความหมายของชีวิตกว้างไกล เป็นการให้เด็กได้
มองเส้นทางชีวิตของตนเองในมุมกว้าง ๆ เผ่ือแผ่ไปถึงการใช้ชีวิตในสังคมร่วมกับบุคคลอ่ืน และให้
ตนเองวางเป้าหมายอนาคตไว้ท่ีจุดสูงสุด ท่ีมาจากการคาดหวังของตนเอง ไม่ได้มาจากบุคคลอ่ืน
และการใฝ่ใจเรียนรู้ เป็นการเอาตนเองไปผูกพันกับเส้นทางชีวิตท่ีเลือกเดินด้วยตนเอง แล้วเรียนรู้ส่ิง
น้ันท้ังในให้ได้ความรู้และได้เลือกการปฏิบัติ นอกจากน้ี ความหมายของการใฝ่ใจเรียนรู้ ตามฐานคิด
ปรัชญาของจอห์น ดิวอ้ี (John Dewey) กับวลีเด็ดท่ีว่า “ Learning by doing ” หรือกระบวนการ
การเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง เป็นแนวคิดให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้จากการกระทําในสถานการณ์จริงเพ่ือ
สั่งสมประสบการณ์ให้ตนเอง โดยทุกกระบวนการ เด็กจะต้องได้รับการสนับสนุนและขัดเกลาแต่พอดี
จากผใู้ หญ่
เมือ่ บคุ คลเลือกทางดําเนนิ ชวี ติ แลว้ กต็ ้องรับผิดชอบกบั การเลือกของตน ไมว่ ่าเดก็ หรือผใู้ หญ่
จะเรียนรู้ผ่านประสบการณ์อันมีวิธีศึกษาจากทฤษฎีอัตถิภาวนิยม (Existentialism) ซ่ึงเป็นแนวทาง
ท่ีจะนําไปสู่ การเข้าถึงความรู้ให้ปัจเจกบุคคลสามารถหลุดพ้ นจากกรอบแห่งวัฒนธรรมของสั งคม
เน่ืองจากวัฒนธรรมโดยเฉพาะในมิติการศึกษา เป็นส่วนหน่ึงท่ีทําลายความสุขและโอกาสหลาย ๆ
อย่างในช่วงวัยเด็ก ด้วยการสร้างกรอบของสังคมท่ีจํากัดเสรีภาพของมนุษย์ ย่ิงในสังคมไทยจะ
สังเกตเห็นได้ง่ายในชีวิตประจําวันแต่ละวันต้ังแต่เด็กจนโต มนุษย์เราต้องทําหน้าท่ีไปตามกรอบของ
สังคมวางไว้จนไม่ค่อยจะมีอิสระเป็นของตัวเอง เช่น นักเรียนเรียนแต่หลักสูตรทฤษฎีภายในห้องเรียน
แต่ไม่มีโอกาสได้นําไปใช้ในชีวิตจริง มีแต่คําว่า “ เรียนไป เผ่ือได้ใช้ ” อยู่เสมอ ซ่ึงเด็กบางคนอาจจะ
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 26
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
พัฒนาการตามช่วงวัยท่ีเรียนรู้ทฤษฎีได้ช้ากว่าเด็กวัยเดียวกัน หรือเด็กบางคนถนัดงานฝีมือมากกว่า
การทําการบ้านในสมุดส่ง ฯ เด็กและเยาวชนจึงควรได้รับเสรีภาพ ให้เกิดความรู้สึกอยากรับผิดชอบ
งานหรือการบ้านด้วยตนเอง และเลือกตัดสินใจในชีวิตด้วยตนเอง ไม่ใช่จากการบงการของผู้ใหญ่
หรือบรรทดั ฐานทางสังคมท่เี กินความจําเปน็
มีหลายคร้ังท่ีความล้มเหลวของระบบครอบครัวส่งผลต่อความล้มเหลวในชีวิตของเด็กท่ี
เติบโตข้ึนมาในครอบครัว และเป็นสาเหตุของปัญหาสังคมต่าง ๆ ตามมา มีการตีตราเด็กว่าเป็นเด็ก
บ้านแตกจากการมองผ่านโครงสร้างหน้าท่ีของระบบสังคมท่ีผู้ใหญ่ไม่สามารถทําหน้าท่ีจําเป็นพื้นฐาน
ในการดูแลเด็กได้อย่างครบถ้วน บรรยากาศครอบครัวจึงเกิดความตึงเครียด เด็กและผู้ใหญ่ไม่
สามารถปรับตัวกับสถานะท่ีเป็นอยู่ ขาดปฏิสัมพันธ์ต่อกัน พ่อแม่ไม่มีเวลาทําหน้าท่ีในการอบรมส่ัง
สอนลูกหรือปล่อยปละละเลยลูก จนเด็กอาจพ่ึงพายาเสพติดแทน (Lack of integration) และใน
ท่ีสุดครอบครัวจึงตกอยู่ในภาวะต่างคนต่างอยู่ พ่อแม่ไปทางลูกไปทาง ผู้เขียนจึงเสนอให้เด็กควร
ได้รับความอบอุ่นต้ังแต่สถาบันครอบครัว เต็มไปด้วยการเล้ียงดูอย่างอิสระ ผ่านกระบวนการการ
เรียนรู้โดยการปฏบิ ัตจิ รงิ ดว้ ยตนเอง และมเี สรภี าพทางการศึกษาตอ่ ไป
“ ..สู่ความสมบูรณ์ พูนสุขมง่ั มี ” ผู้เขยี นได้ตคี วามสอดคล้องกบั เปา้ หมายของฐานคดิ ทฤษฎี
อัตถิภาวนิยม คือการให้มนุษย์มีความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์มากข้ึน สมบูรณ์ในเร่ืองของการท่ีเด็กรับรู้
คุณค่าของบุคคลและเข้าใจศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ท่ีมาจากการได้ใช้เสรีภาพของตนเองอย่างเต็มท่ี
มีอิสระและเกิดความรับผิดชอบข้ึนเองจากภายในจิตใจ ส่วนพู นสุขม่ังมี คือการพอกพู นไปด้วยทุน
ทรัพย์ ถือเป็นส่ิงสําคัญในโลกทุนนิยมปัจจุบัน เพื่อให้ชาติเจริญก้าวทันสู่ความเป็นสากลต่อไป
แม้กระท่ังวลีติดปากของผู้เขียนเองท่ีว่า “ อยากเกิดมารวย ” สามารถยึดโยงกับพัฒนาการของทุน
ไทยร่วมกับโครงสร้างสถาบันการเมืองไทยผ่านการยึดโยงกับอํานาจบริหารของรัฐ โดยทุนนิยมเป็น
ระบบเศษฐกิจท่ีเปิดโอกาสให้บุคคลหรือบริษัทเอกชนมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดิน และทรัพยากรท่ีเป็นทุน มี
เสรีภาพในการผลิตและการค้า บริษัทและร้านค้าในแต่ละเจเนอเรช่ันจะเติบโตข้ึนจากการต่อยอดจาก
คนยุคก่อนหน้า ซ่ึงเป็นผลจากกลไกโดยธรรมชาติของตลาดเศรษฐกิจ ด้วยเหตุน้ีทําให้ตลาด
ท้ังหลายบนโลกทุนนิยมถูกขับเคล่ือนด้วยจิตวิทยาท่ีว่าด้วยเราทํางานเพ่ือดํารงชีพ เด็กท่ีเติบโตข้ึน
จากการตัดสินใจลือกแนวทางของตน ได้ลองปฏิบัติในสายงานท่ีตนเองช่ืนชอบ จะทําให้มี
ประสบการณ์และสามารถต่อยอดกับแนวทางบริษัทท่ีคนรุ่นก่อนสร้างไว้ด้วยข้อผิดพลาดท่ีน้อย จน
สุดท้ายประเทศชาตกิ ็จะสามารถขับเคล่อื นไปไดแ้ ละเต็มไปด้วยความม่งั มี แต่กไ็ ม่เบยี ดเบียนผูอ้ ่นื ด้วย
การท่ีมนุษย์ได้ศึกษาเรียนรู้มุมมองต่าง ๆ ตามความต้องการของตนเองต้ังแต่เด็กและมี
สถาบันคอยขัดเกลาตามสมควร ต้ังแต่การเล้ียงดูท่ีอิสระจากครอบครัวแสนอบอุ่น การมีเสรีภาพใน
การเลือกการศึกษาตามความสนใจ จนไปถึงการเติบโตมาได้ใช้ความรู้และประสบการณ์เป็นเคร่ืองมือ
คอยเล่ือนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ในการประกอบอาชีพ ซ่ึงจะทําให้การดํารงชีวิตอยู่ของ
มนุษย์คนหน่ึงมีคุณค่าและมีความหมายซ่ึงคุณธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม เกิดสังคมท่ี
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 27
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เอ้ือเฟ้ อื เผ่ือแผ่ เอาใจเขามาใส่ใจเรา ตามคติท่ีผู้เขียนยึดถือมาตลอด ผู้เขียนจึงสรุปว่าการมีอิสระใน
การได้เลือกศึกษาสิ่งท่ีตนเองสนใจ จะทําให้คนในสังคมพึงพอใจ สามารถตระหนักในตนเองได้ และ
นาํ พาประเทศชาตกิ า้ วสู่สากลไปพร้อมกับการพยายามลดความเหล่อื มล้าํ ในโลกทุนนยิ ม
รายการอา้ งองิ
Moneybuffalo. (2563). ทาํ ไมแนวคดิ “ ทนุ นยิ ม ”ถึงทาํ ให้อนาคตเราดขี นึ้ . สืบคน้ จาก
https://www.moneybuffalo.in.th/business/nattikarn janin. (2561). เด็กดี 10 ประการ (10
good reasons children). สืบค้นจากhttp://nattikarn003.blogspot.com/2018/
วฤษสพร ณัฐรุจิโรจน. (2560). ครอบครวั ทางเลือกและการคงอยขู่ องสถาบนั ครอบครวั .
สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-
Journal/article/view/101316
สํานกั งานอยั การคดเี ยาวชนและครอบครัวจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน. (2564). ความหมายเดก็ และ
เยาวชน. สืบคน้ จาก http://www.mhs-ju.ago.go.th/index.php/artical/2-uncategorised/13-
history1
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 28
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
กญั ญาพัชร ศรที ํานา 6205610089
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“ÂÍÁÃѺáÅÐà¢Òé 㨤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ à¤Òþ¤ÇÒÁᵡµèÒ§
àÃÕ¹ÃÙäé ÁèÃÙ騺 à¾×èÍÊÔ·¸ÔàÊÃÕÀÒ¾áÅФÇÒÁàÊÁÍÀÒ¤¢Í§µ¹àͧáÅмÙéÍ×è¹”
ในสังคมปัจจุบันกล่าวได้ว่ามีความแตกต่างหลากหลายมากข้ึน โดยเฉพาะสังคมในยุคใหม่น้ี
โลกาภิวัตน์ซ่ึงเช่ือมโลกท้ังโลกไว้ด้วยกันอย่างไร้พรมแดน ดังน้ันความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบ
นิเวศ เช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ภาษา รวมไปถึงความคิดความเช่ือ และทัศนะด้านต่าง ๆ จึงเป็น
เร่ืองธรรมดาท่ีสังคมยุคใหม่จะได้รับอิทธิพลความหลากหลายดังกล่าว ไม่เพียงท่ีกล่าวไปข้างต้น
เท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงความหลากหลายทางเพศหรือ LGBTQ+ ท่ีต้องทําความเข้าใจและเรียนรู้พร้อม
กับให้เกียรติและให้คุณค่าเน่ืองจากเป็นเร่ืองสิทธิส่วนบุคคลน้ัน ๆ การทําความเข้าใจกับความ
หลากหลายน้ีจะย่ิงทําให้เข้าใจสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างเป็นพลวัตร ความไม่หยุดน่ิงของการ
ไหลเวียนเปล่ียนผ่านจากสังคมหน่ึงสู่อีกสังคม ไม่เพียงแค่ทําความเข้าใจความหลากหลายแต่ยังต้อง
ให้ความเคารพกับความแตกต่างด้วยเพื่อท่ีจะอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างปราศจากอคติ อีกท้ังยังทําให้
เยาวชนมที ัศนคติท่เี ปดิ กว้าง มกี ารคดิ วเิ คราะห์กง่ึ กลางดว้ ยเหตุผลและความเขา้ ใจท่หี ลากหลาย
ในปรากฏการณ์ทางสังคมท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบันอย่าง Black Lives Matter ท่ีเก่ียวข้องกับ
การเรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมของคนผิวดํา และเม่ือเปรียบเทียบจากปี 1992 ท่ีเป็นจุดเร่ิมต้นของ
ปรากฏการณ์ดังกล่าว จนในปัจจุบันได้มีหลายเช้ือชาติให้การสนับสนุน แสดงจุดยืนและอุดมการณ์
เพ่ือปกป้องความเท่าเทียม ไม่ควรมีมนุษย์คนใดถูกตีค่าหรือด้อยค่าเพียงเพราะแตกต่าง สะท้อนให้
เห็นว่าการเคารพและทําความเข้าใจน้ันอาจได้รับอิทธิพลของสังคมท่ีเปิดกว้างมากข้ึน และอีกหน่ึง
ปรากฏการณค์ อื Stop Asian Hate ซง่ึ เปน็ ปรากฏการณท์ ่หี ลายๆ คนออกมาเรียกร้องเก่ยี วกบั เชอ้ื
ชาติ อีกท้ังย่ิงในการแพร่ระบาดของโควิด 19 ท่ีหลายคนเช่ือว่ามีต้นต่อว่าเป็นไวรัสมาจากแถบเอเชีย
แล้วน้ัน จึงกลายมาเป็นเร่ืองราวท่ีสะท้อนปัญหาความแตกต่างและความรุนแรงในหลายรูปแบบ จาก
ปรากฏการณ์ท้ัง 2 น้ันมีประเด็นท่ีคล้ายกันคือความแตกต่างทางเช้ือชาติ ดังน้ันการทําความเข้าใจ
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 29
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
และเคารพคุณค่าความแตกต่างจึงเป็นส่ิงสําคัญเพราะไม่มีใครสมควรถูกทําร้ายจากความต้างทาง
เช้ือชาติ และไม่ว่าจะมีความแตกต่างเท่าไร สุดท้ายแล้วในสังคมแต่ละสังคม ทุกคนคือมนุษย์ท่ีจําต้อง
ได้รบั สิทธเิ สรภี าพ และความเสมอภาค
เนลสัน แมนเดลา (Nelson Mandela) อดีตประธานาธิบดขี องแอฟรกิ าใต้ ซ่งึ เปน็ ผู้เรยี กร้อง
สิทธิและเสรีภาพให้กับคนผิวสีเป็นเวลานนาน สะท้อนให้เห็นว่าแมนเดลาต้องการความเท่าเทียมแม้จะมี
สีผิวท่ีต่างกัน แต่ในเม่ือทุกคนคือมนุษย์จึงมีสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรเช่นเดียวกัน อีกท้ังแมนเดลา
ยังให้ความหมายของการศึกษาว่ามันคืออาวุธท่ีทรงพลังท่ีจะเปล่ียนแปลงโลก ซ่ึงคําว่าโลกในท่ีน้ีอาจ
หมายถึงโลกท้ังใบท่ีคนหลายสังคมอยู่ร่วมกัน ใช้ทรัพยากรเหมือนๆ กัน ดังน้ันเพ่ือปรับปรุงหรือ
พัฒนาโลกท่ีว่า ความรู้จึงเป็นส่ิงท่ีจําเป็นและขาดไม่ได้เลย โลกในอีกความหมายคือ โลกของตนเอง
อาจหมายถึงโลกท่ีคนคนหน่ึงต้องเผชิญเชกเช่นเดียวกับเนลสัน แมนเดลา ท่ีต้องเรียกร้องเพื่อคน
ท้ังประเทศรวมถึงตัวเขาเองด้วย กล่าวคือ ความรู้จะเป็นส่ิงท่ีใช้เหมือนอาวุธท่ีติดตัวไปตลอดชีวิต แต่
การเรียนรู้น้ันไม่เคยเต็ม เปรียบเหมือนแก้วใส่น้ําท่ีไม่เต็มแก้วอยู่เสมอ น้ันคือการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ท่ีเข้า
มา เปิดรับข้อมูลเพื่อน้ันมาวิเคราะห์ พิจารณา และจัดระเบียบเป็นองค์ความรู้ของตนเอง เพราะสิ่ง
ต่าง ๆ ในโลกถูกค้นพบอยู่เสมอและต่อเน่ือง ซ่ึงท่ีได้กล่าวมาท้ังหมดข้างต้นน้ัน สอดคล้องกับฐาน
คิดปรัชญาการศึกษาในด้าน Experimentalism ในส่วนของ Curriculum ท่ีกล่าวในแนวท่ีว่า
ตอบสนองความเป็นประชาธิปไตยท่ีมีพลวัตรและเปล่ียนแปลงบนมาตรฐานการร้ือถอนโครงสร้างอย่า
ตอ่ เน่อื ง
เม่ือผนวกการยอมรับและเข้าใจความแตกต่างหลากหลายเข้ากับการเรียนรู้แล้ว จะย่ิงส่งผล
ให้เยาวชนมีทักษะการใช้ชีวิตท่ีอยู่ร่วมกับสังคมได้ มีภูมิคุ้มกับท้ังด้านร่างกายและด้านจิตใจภายใต้
เง่ือนไขของสังคมน้ัน ๆ ได้ย่ิงการเรียนรู้ท่ีไม่ว่าจะเป็นจากการ อ่านหนังสือ เรียนรู้จากระบบ
การศึกษา การหาความรู้ด้วยตนเอง การสอบถามจากบุคคลอ่ืน หรือเข้าใจจากประสบการณ์ด้วย
ตนเอง สิ่งเหล่าน้ีก็ถือว่าเป็นการเรียนรู้ท้ังสิ้นเพียงแค่ต้องเปิดกว้าง ยอมรับสิ่งใหม่ๆ เสมอ ไม่ทําตัว
เป็นน้ําท่ีเต็มแก้วแล้ว ดังน้ันแล้วความหลากหลายไม่ใช่เพียงแต่เร่ืองของศีลธรรมหรือสิทธิเพียง
อย่างเดียวแต่ยังเป็นเคร่ืองมือในการนําไปสู่การแก้ไขปัญหา เปล่ียนแปลง ปรับปรุง และพัฒนา
สังคมท่ตี นเองอาศัยอยู่
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 30
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เอกสารอา้ งอิง
กรุงเทพธุรกิจ. (2559). สอนลูกยอมรับความแตกต่าง. สืบคน้ เมอ่ื 12 กนั ยายน 2564
https://www.bangkokbiznews.com/news/724041
คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์ (2564). สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความหลากหลายทาง
เพศ & แนว
ทางการอยู่ร่วมกันอย่างให้เกียรติ. สืบค้นเม่อื 12 กันยายน 2564
https://www.law.tu.ac.th/how-
to-respect-lgbtq/
พระมหาประสิทธ์ิ แก้วศร.ี (2563). การปรับตัวของนกั เรยี นไทยในสังคมพหวุ ัฒนธรรม: กรณศี ึกษา
นักเรียนไทยใน
ดาร์จีลิง ประเทศอนิ เดยี . วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานษุ ยวทิ ยาเชิงพุทธ, 5 (11), 32-44.
ELLE. (2564). สรปุ ทมี่ าทไี่ ปของ #StopAsianHate ทเี่ หล่าคนดังระดบั โลกออกมา Call out.
(ออนไลน์). สืบค้น
เม่อื 12 กนั ยายน 2564 https://www.ellethailand.com/content/stop-asian-hate-
celebrity-
violence
ลงทุนศาสตร์. (2564). Nelson Mandela อสิ รภาพแห่งประเทศแอฟริกาใต.้ (ออนไลน)์ . สืบคน้ เมอ่ื
12 กันยายน
2564 https://www.investerest.co/society/nelson-mandela/
Thaiware. (2563). เปิดประวัติ Black Lives Matter องค์กรทกี่ ลายเป็นสัญลักษณ์เพื่อเสรภี าพ
ของคนผวิ สี.
(ออนไลน)์ . สืบคน้ เม่อื 12 กนั ยายน 2564 https://review.thaiware.com/1844.html
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 31
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
ปญั จรัตน์ จนี มหันต์ 6205610220
¤Ó¢ÇÑÇѹà´ç¡
“ʹء¡Ñº¡ÒÃ㪪é ÕǵÔ
àÃÕ¹ã¹ÊÔ觷ÕèÍÂÒ¡ÃÙé ÍÂÒ¡Åͧ
Í¹Ø ÒµãËµé ¹àͧ¼´Ô ¾ÅÒ´
áÅÐäÁèÅ×Á·Õè¨ÐËÁÑè¹µÑ§é ¤Ó¶ÒÁ”
คําขวัญข้างต้นสร้างข้ึนบนฐานปรัชญาการศึกษาพิ พั ฒนาการนิยม(Progressivism)
คือ การนิยมหาความรู้อย่างมีอิสรภาพ มีเสรีภาพในการเรียน การค้นคว้า การทดลอง เพ่ือพัฒนา
ประสบการณ์และความรู้อยู่เสมออย่างไม่หยุดน่ิง(สมชาย รัตนทองคํา, 2558) การศึกษาจะต้องได้รับ
การศึกษาทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพและสติปัญญาควบคู่กันไป ความสนใจ
ความถนัด และอัตลักษณ์พิเศษของผู้เรียนควรได้รับความสนใจและได้รับการส่งเสริมให้มากท่ีสุด สิ่ง
ท่ีเรียนท่ีสอนควรเป็นประโยชน์สัมพันธ์สอดคล้องกับชีวิตประจําวันและสังคมของผู้เรียนให้มากท่ีสุด
ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตยท้ังในและนอกห้องเรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รู้จักกับตัวเองและสังคม
เพ่ือผู้เรียนจะได้ปรับเข้ากับสังคมอย่างมีความสุข ไม่ว่าสังคมจะเปล่ียนไปอย่างไรก็ตาม ผู้เรียน
จะตอ้ งเขา้ ใจและสามารถแก้ปัญหานน้ั ได(้ ไพฑรู ย์ สินลารัตน์, 2552)
สังคมไทยในปัจจุบัน เม่ือไหร่ท่ีเด็กเร่ิมมีบทบาทการเป็นนักเรียนเข้ามาในชีวิต มักจะเป็นเด็กท่ี
ใช้ชีวิตอย่างสนุกได้ไม่เต็มท่ี เพราะมีความคาดหวังจากครอบครัว จากโรงเรียน และสังคมตีกรอบว่า
ควรจะปฏิบัติตนอย่างไร ท้ังท่ีการเรียนและการเล่นเป็นสองส่ิงท่ีควบคู่กันไปได้ เรียนด้านวิชาการใน
ห้องเรียน ท้ังยังเราก็ได้เรียนวิชาการใช้ชีวิตนอกห้องเรียน หรือจะมองในอีกแง่คือการสนุกกับการใช้
ชีวิตมีการศึกษารวมอยู่ด้วย หลายคนคงนึกภาพไม่ออกว่าเราจะสนุกกับการเรียนได้อย่างไร แต่หาก
เราได้เรียนในส่ิงท่ีเราอยากรู้ เรียนในสิ่งท่ีเราสนใจละก็ เราจะสามารถสนุกไปกับมันได้ เพราะรูปแบบ
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 32
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น ห้ อ ง เ รี ย น ท่ี เ ป็ น แ บ บ ยึ ด ผู้ เ รี ย น เ ป็ น จุ ด ศู น ย์ ก ล า ง ( Child-centered
Curriculum) เด็กมีความสําคัญอย่างมากในการออกแบบการเรียนให้ได้เรียนในส่ิงท่ีพวกเขา
ท้ังหลายสนใจ แม้ผู้เรียนบ้างคนยังไม่ทราบว่าตนสนใจสิ่งใด แต่การได้ทดลองหรือการได้ลองลงมือ
ทาํ บางอยา่ ง ถอื เป็นการเรม่ิ ท่ดี สี ําหรับการคน้ หาวา่ ตนเองชอบอะไร
สังคมต้องมองความผิดพลาดเป็นเร่ืองปกติ การศึกษาไทยมักจะตําหนิเด็กเม่ือเด็กทําผิด
มองความผดิ พลาดเปน็ สิ่งท่แี สดงให้เหน็ ว่าถึงความไม่เกง่ ผา่ นการให้ความสําคญั แค่คะแนนและเกรด
ซ่ึงตีกรอบมาอย่างชัดเจนแล้วว่าเด็กควรเรียนอย่างไร เช่น ควรทํางานท่ีได้รับหมอบหมายอย่างไรให้
ได้คะแนนดี จนไม่กล้าออกจากกรอบท่ีถูกวางไว้ หรือแม้แต่คนท่ีไม่สามารถทําตามกรอบท่ีกําหนดไว้ก็
จะกลายเป็นคนไม่เก่งโดยปริยาย สถาบันครอบครัวก็เช่นกันท่ีมองความผิดพลาดเป็นส่งท่ีไม่ควร
เกิดข้ึน เน่ืองจากต้องการให้ลูกเรียนได้ดี พ่อแม่มักนําลูกไปเปรียบเทียบกับเด็กคนอ่ืน ค่านิยมท่ีว่าน้ี
ก็ไม่วายได้รับอิทธิผลมาจากส่ิงท่ีเกิดข้ึนในระบบการศึกษา เม่ือไหร่ท่ีสังคมมองความผิดพลาดเป็นส่ิง
ผิดปกติ ก็จะส่งผลเด็กไทยไม่อนุญาตให้ตนเองผิดพลาด พยายามพลักดันไปในจุดท่ีตัวเองและคน
รอบข้างคิดวา่ ดที ส่ี ุด จนเกิดเป็นความเครียด ความกดดนั การดอ้ ยค่าในตัวเองและทาํ ใหไ้ มม่ คี วามสุข
กับการเรียนในท่ีสุด ท้ังท่ีความจริงมนุษย์เราไม่สามารถทําได้ดีในทุกเร่ือง เราจึงควรมองความ
ผิดพลาดในแง่บวกเพื่อเรียนรู้จากมัน เช่นเดียวกันกับการเรียนแนวปฏิบัติการนิยมท่ีเน้นให้เด็กได้
เรียนรู้จากการลงมือทํา การทดลองย่อมมาคู่กับความผิดพลาด เม่ือเกิดความผิดพลาดตัวเด็กเองจะ
ได้เรียนรู้และได้มีโอกาสทําใหม่อีกคร้ัง จนกว่าจะประสบความสําเร็จ จึงเป็นรูปแบบการเรียนการสอน
ทเ่ี ข้าใจว่าความผดิ พลาดเปน็ เร่อื งธรรมดา
86% ของนักเรียนไทยไม่กล้ายกมือถามคําถามในห้องเรียน และคิดเป็นอันดับ6ของโลก
ด้วยเหตุผลของ บุคลิกภาพท่าทีของครูท่ีสร้างความกลัว ความเคอะเขิน อาย กลัวครูคิดว่าไม่ต้ังใจ
ฟงั ในส่ิงท่ีสอน กลัวรบกวนเพ่ือนในห้อง กลัวถูกมองว่าแตกแยกเพราะคิดต่างจากท่ีครูสอนหรือคิด
ต่างจากส่ิงท่ีเพ่ื อนได้รับรู้ กลัวถูกมองว่าอวดฉลาด ผู้เขียนขอยกตัวอย่างจาก ตัวละครเจน
จากHormones วัยว้าวุ่น ซีซ่ัน 3 ท่ีลุกข้ึนโต้แย้งเม่ือครูสอนภาษาอังกฤษแปลประโยคในแบบฝึกหัด
ผิด แต่กลับถูกมองว่าเป็นการเสียมารยาทและไม่มีสํามาคารวะ กลายเป็นว่าครูมักสนใจเด็กท่ีตอบ
คําถามถูกต้อง มากกว่าเด็กท่ีชอบต้ังคําถาม ท้ังท่ีความจริงแล้วระบบการศึกษาควรเปิดโอกาสให้เด็ก
ได้ต้ังคําถามหรือสนใจเด็กท่ีต้ังคําถามมากข้ึน การต้ังคําถามในห้องเรียนมีประโยชน์คือ ทําให้ได้
ความรู้เพิ่มเติม ได้รับคําอธิบายในเร่ืองท่ีไม่เข้าใจให้กระจ่างข้ึน เสริมสร้างการเรียนรู้ นําไปสู่การลอง
ผิดลองถูกเพ่ือหาคําตอบของคําถามเหล่าน้ัน ได้ร่วมกันแลกเปล่ียน ทวงติงให้ได้คําตอบท่ีถูกต้อง
หรือหลากหลายมากข้ึน เพ่ือให้นิสัยน้ันติดตัวไปเม่ือเด็กได้ใช้ชีวิตนอกร้ัวโรงเรียน เขาจะได้ต้ังคําถาม
ท่ีเป็นจุดเร่ิมต้นในการเปล่ียนแปลงเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ีน และ ท่ีสําคัญการต้ังคําถามยังเป็น
ความคิดพ้ืนฐานของประชาธิปไตยท่ีแสดงให้เห็นว่าเราจะไม่เช่ือหรือทําสิ่งต่าง ๆ เพียงเพราะมีใคร
บอกทาํ โดยไมต่ ้งั คาํ ถามใด ๆ กลบั ไป
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 33
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เอกสารอา้ งองิ
ไพฑรูย์ สินลารตั น์. (2552). ปรชั ญาการศึกษาเบอื้ งต้น (พิมพ์ครง้ั ท6่ี ). กรงุ เทพฯ : ศูนย์
หนงั สือแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
สมชาย รัตนทองคาํ . (2554). ปรชั ญาการศึกษาเบอื้ งต น. เอกสารประกอบการสอน 475 788
การสอนทางกายภาพบาํ บดั ภาคต้นปกี ารศึกษา2554. สืบคน้ จาก
https://ams.kku.ac.th/aalearn/resource/edoc/tech/54/1philos54.pdf
"เดก็ ด"ี ตอ้ งเช่อื ฟงั ครู ทศั นคติการศึกษาท่ตี อ้ งแก้. (27 กนั ยายน 2564). เนชนั่ ออนไลน.์
สืบค้นจากhttps://www.nationtv.tv/news/378571787
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 34
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ประภาพรรณ จติ ชาญวชิ ัย 6205610287
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“à·èÒà·ÕÂÁ à·èҷѹ à·Õºà·èÒÊÒ¡Å”
ความไม่เท่าเทียมมีพื้นฐานมาจากรายได้ เพศ อายุ ความพิการ เช้ือชาติ ชนช้ัน ความเช่ือ
ศาสนา และการมีโอกาสท่ีจะสามารถใช้ชีวิตบนโลกแห่งน้ี ในปัจจุบันปัญหาเหล่าน้ีเกิดข้ึนท้ังในและ
ภายนอกประเทศ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีล้วนคุกคามสังคมและการพัฒนาเศรษฐกิจในระยะยาวมาเป็นเวลานาน
อีกท้ังยังกีดกันการลดลงของความขาดแคลน และทําลายความหวัง รวมไปถึงคุณค่าในตัวตนของ
ผู้คนอีกด้วย ผู้คนไม่สามารถท่ีจะเข้าถึงการพัฒนาท่ีย่ังยืน และการสร้างโลกท่ีดีข้ึนได้ ถ้าหากยังคง
ถูกกดี กนั จากโอกาส การบริการ และหนทางในการมีชีวิตท่ดี ขี น้ึ
การให้ความสนใจในเร่ืองของความไม่เท่าเทียมควรเป็นสิ่งท่ีปลูกฝ่ ังให้ทุกคนได้เรียนรู้และ
รับทราบ เน่ืองจากในปัจจุบันมีผู้คนมากมายท่ีไม่สนใจเร่ืองความไม่เท่าเทียม เน่ืองด้วยตนเองน้ันไม่
เคยได้เผชิญกับการถูกเลือกปฏิบัติโดยตรงมากก่อน ในทุกวันน้ีผู้คนท้ังโลกถูกเช่ือมต่อกันเข้า
ด้วยกัน เพราะฉะน้ันพวกเราล้วนพบเจอปัญหาและความท้าทายเดียวกัน อย่างเช่น ปัญหาความขาด
แคลน ปัญหาการเคล่ือนย้ายถ่ินฐาน หรือปัญหาภาวะเศรษฐกิจ อย่างประเทศท่ีปกครองด้วยระบบ
ประชาธิปไตย ก็ยังคงมีการต่อสู้ในเร่ืองต่าง ๆ อยู่ อย่างเช่น การเหยียดเช้ือชาติ Homophobia
transphobia และการเหยียดศาสนา จากตรงน้ีก็จะแสดงให้เห็นแล้วว่าความไม่เท่าเทียมน้ันส่งผล
กระทบกบั เราทุกคนไมท่ างใดกท็ างหน่งึ ไมว่ ่าเราจะเปน็ ใคร หรอื มาจากทใ่ี ดกต็ าม
การลดความไม่เท่าเทียมลงน้ันจะสามารถสร้างความเปล่ียนแปลงให้แก่โลกของเราได้ โดย
การกําจัดความขาดแคลน และความหิวโหย และท้ังน้ีต้องลงทุนด้านสุขภาพ การศึกษา การคุ้มครอง
ทางสังคม และการสร้างอาชีพท่ีม่ันคง โดยเฉพาะกับกลุ่มเด็ก ผู้อพยพ และกลุ่มเปราะบาง
นอกจากน้ีการบริหารและการจัดการท่ีดีของทางภาครัฐยังสามารถสร้างความม่ันใจว่าทุกคนจะ
สามารถเข้าถึงโอกาสในด้านต่าง ๆ และลดความไม่เท่าเทียมทางด้านรายได้ ผ่านการกําจัดกฎหมาย
หรือข้อบังคับ นโยบาย และวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ท่ีถือเป็นการเลือกปฏิบัติออกไปได้อีกด้วย ความเท่า
เทียมน้ันเป็นสิ่งท่ีนักเคล่ือนไหวทางสังคมอย่าง Malala ได้ให้ความสําคัญมาตลอด โดยเฉพาะความ
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 35
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
เท่าเทียมทางด้านการศึกษาท่ีเธอเห็นว่ามนุษย์ทุกคนควรมีสิทธ์ิท่ีจะได้รับการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผู้หญิง
หรือผู้ชาย ไม่ว่าจะชาวตะวันตก หรือตะวันออก แต่ในปัจจุบันน้ันเธอเลือกท่ีจะให้ความสนใจกับการ
เข้าถึงสิทธ์ิทางการศึกษาของเด็กผู้หญิง เน่ืองจากเธอมองว่าการท่ีผู้หญิงได้รับการศึกษาน้ัน จะ
สามารถเปล่ียนแปลงสังคมได้ ท้ังน้ีอย่างท่ีทราบว่าบทบาทหน้าท่ีของผู้หญิงในหลายๆสังคมบนโลก
น้ัน ยังคงถูกกดข่ีอยู่ ในสังคมการทํางานก็น้อยท่ีจะมีผู้หญิงอยู่ข้างใน เน่ืองจากส่วนใหญ่ผู้ชายจะ
ได้รับการศึกษาและมีความรู้ ทําให้สามารถเข้าทํางานได้ ต่างกันกับผู้หญิงหรือเด็กผู้หญิงในสังคมน้ัน
ๆท่ีไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาได้ ท้ังด้วยถูกสังคมกดทับเอาไว้กับกรอบความเป็นผู้หญิงท่ีไม่
จําเป็นต้องเรียน เพื่อทํางาน แต่เปล่ียนแปลงเป็นการเรียนรู้งานบ้านแทน เพื่อท่ีจะแต่งงานและมี
ครอบครัว และอยู่ในความเล้ียงดูของผู้ชาย ท้ังหมดน้ีเป็นวงจรชีวิตของผู้หญิงในสังคมของ
ปากีสถาน ซ่ึงก็คือการท่ีสังคมน้ันได้กําหนดกรอบของผู้หญิงเอาไว้แค่การเป็นภรรยาและแม่ท่ีดี
เท่าน้ัน โดยคุณ Malala เองได้เคยกล่าวเอาไว้ว่า เธอน้ันไม่เคยขอให้ผู้ชายหยุดพู ดเก่ียวกับสิทธิของ
ผู้หญิง แต่ตอนน้ีเธอได้มุ่งความสนใจไปยังเด็กผู้หญิงและผู้หญิง ให้พวกเธอเหล่าน้ันได้มี
ความสามารถในการพึ่งพาตนเองและการต่อสู้เพื่อตนเอง เพราะฉะน้ันพ่ีสาวน้องสาว และพี่ชาย
น้องชายมันได้ถึงเวลาแล้วท่ีจะออกมาพู ดเร่ืองน้ีกัน โลกในทุกวันน้ีเราเรียกร้องให้ผู้นําเปล่ียนแปลง
นโยบายเพื่อความสันติและความรุ่งเรือง เราเรียกร้องให้ให้ข้อตกลงเหล่าน้ีต้องปกป้องสิทธิของ
ผู้หญิงและเด็ก ข้อตกลงใด ๆท่ีเป็นขัดแย้งต่อสิทธิของผู้หญิงต้องเป็นข้อตกลงท่ีไม่สามารถยอมรับ
ได้
มนุษย์น้ันเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีฉลาดและพร้อมท่ีจะเรียนรู้ การเรียนรู้ของมนุษย์ทําให้เรามีทุกอย่าง
ในปัจจุบัน ท้ังเทคโนโลยีท่ีพาเราก้าวไปสู่ข้างหน้า และความสามารถท่ีจะสืบรู้เร่ืองราวในอดีต ผ่าน
ร่องรอยและความสามารถของมนุษย์โดยอาศัยเคร่ืองมือ และการเรียนรู้น้ันเอง จะเห็นได้ว่ามนุษย์มี
ความสามารถท่ีจะเรียนรู้เพ่ือพร้อมในการเปล่ียนแปลง โดยหากสังคมโลกของเราน้ันได้ให้โอกาส
ผู้หญิง และเด็กผู้หญิงได้มีพ้ืนท่ีท่ีเท่าเทียมกันกับผู้ชาย ตรงน้ีเองก็จะเป็นสิ่งท่ีดี อีกท้ังเป็นการ
รว่ มมือกนั ของมนษุ ยใ์ นการพัฒนาด้านตา่ ง ๆ อกี ด้วย
นอกจากความเท่าเทียมแล้วน้ัน ความเท่าทันก็เป็นสิ่งท่ีทุกคนควรมีติดตัว ความเท่าทันใน
ความหมายตรงน้ี คือการมีความสามารถในการรับรู้และพิจารณาเหตุและผลของส่ิงต่าง ๆ ได้ หรือก็
คือการเป็นบุคคลท่ีมีเหตุผลน้ันเอง การมีเหตุผลคือการพิจารณาอย่างยุติธรรมด้วยไหวพริบ และ
ด้วยความเป็นกลาง ไม่มีอคติต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หน่ึงเป็นพิเศษ แต่ให้มองท่ีเหตุและผลท่ีจะ
ตามมาของเหตุการณ์น้ัน ๆ แทน อย่างตัวคุณ Malala เอง เธอได้ให้ความสําคัญกับการศึกษา
เน่ืองจากเธอน้ันมีความต้องการให้ผู้คนได้เห็นถึงคุณค่าของการศึกษาและได้เข้ารับการศึกษาท่ีมี
มาตราฐาน เพื่อท่ีผู้คนจะได้มีความรู้และใช้ความรู้ตรงน้ันในการพิจารณาสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และท้ังน้ี
ก็เพื่อให้ผู้คนน้ันได้ตระหนักถึงสิทธิมนุษยชนของตนเอง ท่ีตนเองพึงมีและควรพึงได้รับ นอกจากน้ียัง
เป็นความปรารถนาให้ผู้คนน้ันได้ใช้ชุดความรู้ท่ีได้รับจากาการศึกษา เพื่อใช้ตระหนักถึงเหตุและผล
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 36
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ของเหตุการณ์ความจริงต่าง ๆ อีกท้ังเพื่อให้ผู้คนน้ันได้มีความกล้าท่ีจะเป็นตนเอง และกล้าท่ีจะออก
จากค่านิยมผิดๆของสังคม ซ่ึงก็คือการใช้หลักการมีเหตุผลและความรู้จากการศึกษา แทนการใช้ชุด
ความคิดท่ีส่งต่อจากค่านิยมผิดๆของสังคมน้ันเอง ไม่ว่าจะเป็นในด้านการทํางาน การดํารงชีวิต หรือ
จะเป็นในส่วนของการตระหนักได้ถึงความสามารถของตนเองในการกระทําสิ่งต่าง ๆ ได้น้ันเอง ท้ังน้ี
หากผู้คนสามารถตระหนักได้ถึงเหตุและผลต่าง ๆ ของเหตุการณ์ความจริง สังคมก็จะสามารถดํารง
ตอ่ ไปอยา่ งต่อเนอ่ื งและก้าวหน้าน้นั เอง
ในส่วนของการเทียบเท่าสากลน้ัน ตรงน้ีก็เพ่ือต้องการให้อนาคตของชาติอย่างเด็ก ๆ ได้
เรียนรู้จากเหตุการณ์ต่างรอบตัวท้ังภายในและภายนอกประเทศ เพ่ือให้พวกเขาน้ันได้รับรู้ว่าบนโลกใบ
น้ีน้ันไม่ได้มีเพียงพวกเขากลุ่มเดียว แต่ยังมีผู้คนอีกมากมายบนโลกใบน้ี ท้ังน้ีก็เป็นการบอกถึงการ
ทํางานของทางภาครัฐในการบริหารงาน รวมไปถึงการจัดการเรียนและการสอนท่ีจะต้องอยู่ในระดับ
สากล เป็นท่ียอมรับของคนท่ัวโลก บทเรียนหรือหลักสูตรใดท่ีมีความล้าหลัง ก็สมควรท่ีจะได้รับการ
พิจารณาเพื่อพัฒนาให้เท่าทัน และเทียบเท่ากับสังคมและความเป็นไปของโลกน้ันเอง ท้ังน้ีต้องน้ีเอง
สามารถนําเอาชุดความคิดด้านการศึกษาของคุณ Malala ท่ีเธอเองได้ออกมาเคล่ือนไหวมาตลอดใน
เร่ืองของการเข้าถึงการศึกษาได้แล้ว การศึกษาท่ีเข้าถึงก็ต้องเป็นการศึกษาท่ีมีคุณภาพเช่นกัน โดย
เธอน้ันมีความต้องการให้เด็ก ๆ ทุกคนท่ีจะอนาคตของโลกใบน้ีได้เข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่าง
เท่าเทียมในทุกพื้นท่ี อีกท้ังเธอยังตระหนักได้ว่าในปัจจุบันน้ันมีเทคโนโลยีเกิดข้ึนมากมายการส่งต่อ
การศึกษาท่ีมีคุณภาพก็สามารถทําได้ดีมากข้ึนเช่นกัน โดยเม่ือทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมใน
ทุกพ้ืนท่ีท้ังใกล้และไกลแล้ว อีกท้ังการศึกษาท่ีได้รับน้ันมีมาตรฐานและมีความเป็นสากล นอกจากจะ
ช่วยสร้างมาตราฐานท่ีดีของการศึกษาและ ยังเป็นการลดความเหล่ือมหล้ําในการเข้าถึงการศึกษาอีก
ดว้ ย
ในการสร้างคําขวัญชุดน้ีได้นําเอาแนวคิดของคุณMalala ซ่ึงเป็นแนวคิดแบบIdealism ซ่ึง
เป็นการพัฒนาจิตและพัฒนาตัวตน เพ่ือเสริมสร้างอัจฉริยภาพ ศีลธรรม และการควบคุมตนเอง
น้ันเอง อย่างชุดความคิดของคุณ Malala ซ่ึงเป็นชุดความคิดท่ีต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของความเท่าเทียม
และการการศึกษาท่ีมีคุณภาพเพ่ื อทุกคนอย่างท่ัวถึง เธอเช่ือว่าเม่ือผู้คนได้รับการพั ฒนาจาก
การศึกษาจะทําให้ผู้คนน้ันมีความรู้ และสามารถตระหนักรู้ได้ถึงสิทธิของตนเอง และมีความสามารถใน
การพัฒนาตนเอง และเป็นตนของตนเองได้ในทา้ ยทส่ี ุดนน้ั เอง
“เท่าเทียม เท่าทัน เทียบเท่าสากล” หากสังคมไทยของเราสามารถดําเนินแนวทางต่าง ๆ ตาม
ชุดคําขวัญน้ีได้ท้ังหมด เราจะมีเด็ก ๆ หรือว่าท่ีอนาคตของโลกท่ีจะก้าวเข้าสู่การเป็นกลุ่มแรงงานท่ีมี
คุณภาพในการทํางานและมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ท้ังในด้านการทํางานและการใช้ชีวิต ท้ังน้ียังมี
ความสามารถในตระหนักได้ถึงสิทธิและหน้าท่ีของตนเอง เพื่อท่ีจะสามารถถ่วงดุลกับอํานาจของระบบ
เศรษฐกิจทุนนิยมได้ ในปัจจุบันมนุษย์น้ันสามารถตระหนักได้ถึงสิทธิของตนเอง แต่ก็ใช้ว่าทุกคนจะ
สามารถตระหนักได้ เน่ืองจากขาดความรู้และทักษะการคิดวิเคราะห์ในการทํางาน รวมถึงความรู้ท่ีจะ
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล 37
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ทําให้ตระหนักได้ในสิทธิตนเอง และยอมให้อํานาจของทุนนิยมกลืนกินชีวิต ท้ายท่ีสุดจึงกลายเป็น
แรงงานไร้ฝีมือ ท่ีต้องโดนบังคับให้ทํางานในจํานวนช่ัวโมงเยอะๆและอาจจะส่งผลต่อร่างกายและจิตใจ
ในอนาคตอีกด้วย นักศึกษาจึงมองว่าการท่ีทุกคนได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมในท่ัวทุก
พ้ืนท่ีน้ัน นอกจากจะเป็นการสร้างแรงงานท่ีมีคุณภาพแล้ว ยังเป็นการลดความเหล่ือมหล้ําทางการ
ศึกษาท่ีกําลังเกิดข้ึนในประเทสไทยขณะน้ีอีกด้วย ท้ังน้ีในส่วนของการเทียบเท่าสากลน้ัน เม่ือประเทศ
ของเรามีระบบการศึกษา และระบบการทํางานของทางภาครัฐท่ีมีคุณภาพและมาตราฐานสากล เราจะ
มีแรงงานท่ีมีคุณภาพตามมาตราสากลท่ีท่ัวโลกยอมรับไปด้วยในตัว และหากทางภาครัฐของไทย
สามารถทํางานเป็นตัวช่วยให้แก่ประชาชนได้อย่างมีมาตราฐานท่ีเป็นสากล โปร่งใส และตรวจสอบได้
ก็จะสามารถทําให้การบริหาร การจัดการงาน และส่ งเสริมสั งคมเพ่ื อช่วยเหลือประชาชน
ภายในประเทศนน้ั เป็นไปอย่างราบรน่ื และต่อเนอ่ื งอย่างยง่ั ยนื น้นั เอง
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 38
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
อา้ งองิ
-Lifestyle Desk. (2020). Education is one of the blessings of life, and one of
its necessities: Malala Yousafzai. (ออนไลน)์ . สืบค้นเม่อื 13 กนั ยายน ปคี .ศ. 2021. จาก
เวบ็ ไซตh์ ttps://indianexpress.com/article/lifestyle/life-positive/malala-yousafzai-
speech-7085471/
-Malala Yousafzai. (ไม่ปรากฏป)ี . I AM MALALA Them analysis. (ออนไลน)์ . สืบค้น
เม่อื 13 กนั ยายน ปคี .ศ.2021. จากเว็บไซต์ https://www.litcharts.com/lit/i-am-
malala/themes/the-power-of-education
-Malala Yousafzai. (ไมป่ รากฏป)ี . I AM MALALA: A resource guide for educators.
(ออนไลน์). สืบคน้ เม่อื 13 กนั ยายน ปคี .ศ.2021. จากเว็บไซต์
https://malala.gwu.edu/sites/g/files/zaxdzs1061/f/Theme-2-Education_Final.pdf.
-Sean Coughlan. (2021). Global summit raises $4bn for schools despite aid
row. (ออนไลน)์ . สืบค้นเม่อื 13 กันยายน ปีค.ศ. 2021. จากเวบ็ ไซต์
https://www.bbc.com/news/education-58006728
-Tom morin. (2019). Need credibility at work? It’s about being reasonable.
(ออนไลน์). สืบคน้ เม่อื 13 กันยายน ปคี .ศ.2021. จากเว็บไซต์
https://thriveglobal.com/stories/need-credibility-at-work-its-about-being-
reasonable/
-United Nations. (2017). Equality:Why matter?. (ออนไลน)์ . สืบคน้ เมอ่ื 13 กันยายน
ปคี .ศ.2021. จากเว็บไซต์ https://www.un.org/sustainabledevelopment/wp-
content/uploads/2017/02/ENGLISH_Why_it_Matters_Goal_10_Equality.pdf
-United Nations. (2013). Malala Yousafzai’s speech at the United Nations.
(ออนไลน์). สืบค้นเม่อื 13 กันยายน ปีค.ศ.2021. จากเว็บไซต์
https://people.unica.it/michelagiordano/files/2012/04/Malala-Yousafzai’s-speech-
at-the-United-Nations.pdf
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 39
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
นางสาวศศิประภา บัวนารถ 6205610311
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“ ÁÕ¤ÇÒÁ梯 ¡ÑºÊèÔ§·Õè·Ó ËÁÑè¹à´¹Ô à¢Òé ËÒ¤ÇÒÁÃÙé
à˹ç ã¨à¾×è͹ÃèÇÁ§Ò¹ ãËé¤³Ø ¤èÒá¡è·Ø¡¤¹ ”
จากคําขวัญข้างต้นน้ันผู้เขียนมีแรงบันดาลใจในการแต่งมาจากปรัชญาและคําสอนของขงจ๊ือ
นักปรัชญาทางด้านการศึกษาท่ีสําคัญของประเทศจีนซ่ึงเขาได้มีอิทธิพลในด้านปรัชญาและคําสอน
เป็นอย่างมากและยาวนานเน่ืองจากปรัชญาของขงจ๊ือน้ันมีความร่วมสมัยและมีความก้าวหน้ามากกว่า
ปรัชญาในสมัยใหมโ่ ดยผเู้ ขยี นได้อ้างอิงจากฐานคดิ ทม่ี าจากปรชั ญาของขงจ๊อื ดงั น้ี
ขงจ๊ือได้เคยกล่าวไว้ว่า “ คนท่ีรู้การศึกษาสู้คนท่ีชอบเรียนรู้ไม่ได้ คนท่ีชอบการศึกษาสู้คนท่ีมี
ความสุขกับการศึกษาไม่ได้ ” จากข้อความดังกล่าวข้างต้นน้ันจะทําให้เห็นว่าการท่ีเราเลือกทําหน้าท่ีใน
บางคร้ังก็ไม่สามารถรับประกันได้ว่าจะสามารถนํามาซ่ึงความสุขให้แก่ชีวิตได้ ซ่ึงจากข้อความจะเห็นได้
ว่าคนท่ีรู้การศึ กษาอยู่แล้วน้ันก็ยังพ่ ายแพ้ ให้แก่คนท่ีชอบเรียนรู้เน่ืองจากคนท่ีชอบเรียนรู้น้ันมักจะ
แสวงหาความรู้ใหม่ๆให้แก่ตนเองจึงทําให้สามารถเพิ่งพู นความรู้และสะสมความรู้ท่ีใหม่ๆได้มากกว่า
บุ ค ค ล ก ลุ่ ม แ ร ก แ ต่ ท้ั ง น้ี ข ง จ๊ื อ ก็ บ อ ก ว่ า ค น ท่ี ช อ บ ก า ร เ รี ย น รู้ ก็ ยั ง พ่ า ย แ พ้ ใ ห้ แ ก่ ค น ท่ี มี ค ว า ม สุ ข กั บ
การศึกษาเน่ืองจากคนท่ีมีความสุขกับการศึกษาน้ันจะสามารถนําจุดเด่นของบุคคลท้ังสองกลุ่มแรก
มารวมไว้อยู่ท่ีบุคคลกลุ่มน้ีเน่ืองจากหากเราเร่ิมต้นทําสิ่งใดด้วยความสุขก็จะสามารถทําให้เราน้ันอยาก
ท่ีจะแสวงหาความรู้เพิ่มเติม อยากท่ีจะเรียนรู้สิ่งใหม่รวมถึงเม่ือคนกลุ่มน้ีเป็นผู้ท่ีมีการศึกษาแล้วพวก
เขาก็ยังจะไม่หยุดท่ีจะค้นหาความรู้ใหม่ๆเน่ืองจากคนกลุ่มน้ีคือคนกลุ่มท่ีมีความสุขในการศึกษาดังน้ัน
ดิฉันจึงเล็งเห็นว่าสังคมไทยในปัจจุบันน้ันเด็กหรือเยาวชนท่ีกําลังอยู่ในวัยแห่งการศึกษาพวกเขาถูก
ปลูกฝังมาว่าจะต้องเลือกเรียนในสาขาหรือคณะท่ีมีงานรับรองในอนาคต มีการสร้างความม่ันคง
ให้กับชีวิต รวมไปถึงจะต้องมีคุณภาพชีวิตท่ีดีเพื่อส่ิงท่ีเราต้ังใจศึกษามาน้ันจะได้เป็นประโยชน์แก่
ตนเองแต่ผู้เขียนกลับไม่มองเช่นน้ันผู้เขียนมองว่าเด็กควรจะมีสิทธ์ิตัดสินใจเลือกเรียนในส่ิงท่ีตนเอง
อยากเรียนเพราะส่ิงเหล่าน้ันคือความสุขของพวกเขาแต่ด้วยค่านิยมต่าง ๆท่ีถูกปลูกฝังข้ึนมาใน
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 40
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สังคมน้ันก็ทําให้เด็กบางคนน้ันไม่มีความสุขกับสิ่งท่ีเรียนหรือส่ิงท่ีตนเองเลือกน้ันก็เปรียบเสมือนการ
เดินทางไกลท่ีเราจะไม่สามารถรู้ได้เลยว่าปลายทางน้ันอยู่ท่ีใดหรือจะมีอุปสรรคมากมายเพี ยงใดท่ี
กําลังรอเราอยู่ผู้เขียนจึงอยากจะส่งผ่านความคิดไปทางความคิดน้ีกับวลีท่ีผู้เขียนบอกว่า มีความสุข
กับสิ่งท่ีตัวเองทํา เพราะในเม่ือเราต้องเลือกทําหรือเรียนในสิ่งท่ีเราไม่ได้ชอบหรือไม่ตรงกับความฝัน
ของเราแล้วน้ันหนทางเดียวท่ีจะพาเราให้สามารถดําเนินตามเส้นทางน้ันได้ต่อไปคือเราจะต้องหาข้อดี
ของเส้นทางน้ันเพ่ือให้เราสามารถสร้างความสุขในการเดินเส้นทางน้ันต่อไปได้และหากเม่ือใดท่ีเรา
สามารถค้นพบความสุขของเส้นทางหรือทุก ๆ ส่ิงท่ีเราเลือกท่ีจะทําแล้วน้ันความสุขดังกล่าวก็จะ
เปรียบเสมือนเป็นกุญแจท่ีสามารถนําเราไปสู่เป้าหมายหรือความสําเร็จได้เร็วย่ิงข้ึนรวมไปถึงความสุข
ดังกลา่ วกจ็ ะสามารถเป็นเสมือนกาํ ลังใจเมอ่ื ยามทเ่ี รายอ่ ทอ้ ต่ออุปสรรคท่เี กดิ ขน้ึ ในระหวา่ งเดนิ ทางได้
นอกจากน้ันในสังคมไทยสมัยน้ีการศึกษาก็เป็นอีกส่วนหน่ึงท่ีเร่ิมมีบทบาทข้ึนมาในสังคมเน่ือง
ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันท่ีทําให้รูปของการศึกษาต้องปรับเปล่ียนเพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ให้ได้มาก
ท่ีสุดจึงทําให้ผลกระทบตกไปอยู่ท้ังผู้เรียนและผู้สอนไม่ว่าจะเป็นท้ังระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ห รื อ ร ว ม ไ ป ถึ ง ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ก็ ต า ม ก า ร เ ข้ า ถึ ง ค ว า ม รู้ ใ น ส มั ย น้ี น้ั น เ ป็ น เ ร่ื อ ง ทํ า ไ ด้ ค่ อ น ข้ า ง ง่ า ย
เน่ืองจากส่ือการเรียนการสอนน้ันมีให้สามารถเลือกสรรได้เยอะกว่าในอดีตแต่ก็เป็นหาได้เช่นเดียวกัน
หากตัวผู้เรียนน้ันไม่สนใจท่ีจะขวนขวายหาความรู้ด้วยตนเองและรอเรียนเพียงแค่เน้ือหาท่ีมีสอนอยู่ใน
บทเรียนเพียงเท่าน้ันนอกจากน้ีการเดินเข้าหาความรู้ในความหมายของผู้เขียนยังรวมไปถึงการเข้าหา
ความรู้ในรูปแบบของการถามอาจารย์ผู้สอนด้วยเน่ืองจากด้วยค่านิยมท่ีเกิดข้ึนในหมู่ของตัวผู้เรียน
หรือค่านิยมท่ีมีการสืบทอดกันมาน้ันหล่อหลอมให้เด็กมองว่าการถามอาจารย์ในเร่ืองท่ีตนเองไม่รู้น้ัน
เป็นเร่ืองท่ีแสดงออกว่าตนเองไม่ต้ังใจฟงั หรือไม่สามารถรับความรู้ท่ีอาจารย์ได้ถ่ายทอดให้ไปพร้อม
เพ่ือนและมากไปกว่าน้ันในสังคมปัจจุบันมีการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์จึงทําให้ปัญหาท่ีผู้เรียน
นน้ั ไม่กลาสอบถามความรูจ้ ากผสู้ อนน้นั จงึ เป็นอีกหนง่ึ ปญั หาทเ่ี ดก็ ไทยกาํ ลงั เผชิญ
รวมไปถึงสังคมไทยในปัจจุบันน้ันกําลังเผชิญกับสภาวะวิกฤติต่าง ๆมากมายไม่ว่าจะเป็น
สภาวะวิกฤติด้านสาธารณะสุขหรือรวมไปถึงสภาวะวิกฤติทางด้านเศรษฐกิจด้วยดังท่ีเราจะเห็นได้จาก
ข่าวท่ีนําเสนอเก่ียวกับการชิงทรัพย์ การฆาตกรรม และการก่อเหตุทะเลาะวิวาทท่ีมากข้ึนภายใน
สังคมไทยอันเน่ืองจากสาเหตุท่ีกล่าวไปข้างต้นโดยปัญหาต่าง ๆท่ีเกิดข้ึนน้ันเน่ืองจากว่าเราทุกคน
กําลังสนใจแต่ปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับตนเองท้ังน้ันเน่ืองจากด้วยแรงกดดันหลายๆอย่างในชีวิตท่ีกําลัง
กระตุ้นให้ปรับตัวเพ่ือให้สามารถอยู่รอดได้ต่อไปในสภาวะวิกฤติน้ันกําลังรุนแรงมากข้ึนจนเราอาจจะ
ลืมใส่ใจ และเห็นใจเพื่อนมนุษย์คนอ่ืนท่ีก็เผชิญกับปัญหาเช่นเดียวกันกับเราผู้เขียนจึงได้แรงบันดาล
ใจจากปัญหาดังกล่าวในการแต่งคําขวัญท่ีใส่เร่ืองของการเห็นใจของผู้อ่ืนลงไปเช่นกันและนอกจากน้ี
แนวคิดในการเห็นใจผู้อ่ืนน้ันผู้เขียนก็ได้แรงบันดาลใจมาจากขงจ๊ือท่ีพู ดถึงเร่ืองการปฏิบัติตนกับคน
อ่นื ให้เหมือนกับทป่ี ฏบิ ัติกบั ตนเองเพราะจะสามารถทําใหล้ ดสาเหตุของการเกิดปัญหาได้ดว้ ยเช่นกัน
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล 41
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
สุดท้ายน้ีงานเขียนช้ินน้ีจะขาดเร่ืองน้ีไปไม่ได้เน่ืองจากเป็นแก่นความคิดท่ีสําคัญท่ีสุดอีกส่วน
หน่ึงของฐานความคิดทางด้านการศึกษาท่ีขงจ๊ือได้กล่าวเอาไว้น่ันก็คือความเท่าเทียมกันทางด้าน
การศึกษาคือการท่ีทุกคนน้ันมีสิทธิท่ีจะเข้าถึงการศึกษาได้ทุกคนซ่ึงน่ีถือเป็นเป้าหมายของการศึกษาท่ี
ขงจ๊ือได้กล่าวไว้และท่ีผู้เขียนได้หยิบยกประเด็นน้ีข้ึนมาน้ันเน่ืองจากในปัจจุบันจากการเรียนการสอน
แบบออนไลน์ซ่ึงจะทําให้เราเห็นปัญหาความเหล่ือมล้ําทางด้านการศึ กษาท่ีเพ่ิ มมากข้ึนไม่เพี ยงว่า
ปัญหาในลักษณะน้ีเพ่ิ งเกิดข้ึนเม่ือมีการเรียนการสอนแบบออนไลน์แต่ทว่าปัญหาน้ีเกิดข้ึนมาใน
ระยะเวลาท่ีนานแล้วในสังคมไทยแต่ไม่มีใครให้ความสนใจหรือปัญหาท่ีเกิดข้ึนน้ันไม่ได้ถูกเห็นได้ชัดเจน
เหมือนในปัจจุบันจึงทําให้ผู้เขียนมองว่าคนทุกคนมีสิทธ์ิท่ีจะสามารถเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียม
เพราะหากจะกล่าวว่าเด็กและเยาวชนคืออนาคตของชาติแล้วน้ันการจัดสวัสดิการทางด้านการศึกษา
ใ ห้ แ ก่ อ น า ค ต ข อ ง ช า ติ จึ ง เ ป็ น เ ร่ื อ ง ท่ี จํ า เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง เ พ ร า ะ ส วั ส ดิ ก า ร ท า ง ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ถื อ เ ป็ น
สวัสดิการข้ันพ้ืนฐานท่ีประชาชนทุกคนควรได้รับไม่เพียงแต่เพื่อเด็กและเยาวชนในวันน้ีจะเป็นกําลัง
สําคัญในการขับเคล่ือนประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปแต่การศึกษาข้ันพื้นฐานน้ันมุ่งเน้นให้ประชาชน
ทุกคนมีความรู้และสามารถนําความท่ีได้รับจากการศึกษาน้ันไปประกอบอาชีพเพ่ือเล้ียงดูตนเองและ
ครอบครัวของตนเองได้รวมไปถึงสภาพสังคมในปัจจุบันน้ันความไม่เท่าเทียมในสังคมน้ันได้แสดง
ออกมาสู่สังคมในหลากหลายรูปแบบการเป็นอภิสิทธ์ิชนคือการท่ีผู้ท่ีมีปัจจัยในการเข้าถึงสวัสดิการ
มากกว่าก็จะสามารถเข้าถึงสวัสดิการท่ีรวดเร็วกว่าซ่ึงน่ีก็จะนํามาซ่ึงข้อกังขาท่ีเกิดข้ึนภายในสังคมว่า
การท่ีบุคคลใดบุคคลหน่ึงมีความพร้อม ความสามารถในการเข้าถึงสวัสดิการได้ง่ายกว่าก็จะเป็นผู้ท่ี
ได้รับสิทธ์ิต่าง ๆได้อย่างรวดเร็วกว่าเช่นน้ันหรือท้ัง ๆ ท่ีประเทศไทยน้ันประกาศตนว่าเป็นประเทศท่ี
ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยซ่ึงมีประชาชนเป็นเจ้าของอํานาจเพราะการจะเร่ิมพัฒนาประเทศ
ให้สามารถเจริญก้าวหน้าน้ันไม่เพียงแต่ฝากความคาดหวังไว้ท่ีเพียงคําขวัญวันเด็กท่ีมอบให้เด็กและ
เยาวชนในแต่ละปีเท่าน้ันแต่ทว่าจะต้องเกิดจากการรวมมือของประชาชนทุกฝ่ายรวมไปถึงผู้ปกครอง
ประเทศเพราะหากทุกคนไม่ช่วยกันแก้ปัญหาเหล่าน้ีให้หมดไปก็ยากท่ีประเทศไทยจะไปแข่งกับนานา
ประเทศ ดังจะเห็นได้จากเน้ือเพลงอภิสิทธ์ิชนของวง Cocktail ท่อนหน่ึงท่ีร้องว่า “ โถ่เอ๋ยจะให้
เดินหน้าประเทศไทย แค่เร่ืองเล็กยังทํากันได้แค่น้ี รับผิดชอบตัวเองแค่น้ันให้ได้ก็ยังดี แต่วันน้ีให้
เข้าคิวยังไม่ได้จริง ๆ ” ผู้เขียนจึงมองว่าการใส่เร่ืองของการให้คุณค่าแก่คนทุกคนโดยเท่าเทียมกัน
โดยไม่แบ่งแยกเพศ สัญชาติ ศาสนา วัฒนธรรม หรืออ่ืน ๆ อีกมากมายท่ีค่านิยมของสังคมใน
ปัจจุบันน้ีท่ีได้กําหนดข้ึนมาเพ่ือแบ่งชนช้ันภายในสังคมผู้เขียนจึงเลือกท่ีจะใส่เร่ืองความเทียมลงไปใน
คําขวัญเพื่อเตือนใจและสะกิดให้เด็กและเยาวชนของชาติน้ันได้ตระหนักถึงความเท่าเทียมในสังคมมาก
ข้ึนและทําให้เด็กและเยาวชนท่ีอ่านคําขวัญน้ีไม่จําเป็นท่ีจะต้องคิดว่าน่ีคือความคาดหวังในสังคมแต่เรา
เพียงใส่เร่ืองน้ีเพื่อให้เด็กฉุกคิดและพวกเขาสามารถใช้ความคิดของพวกเขาได้อย่างเต็มท่ีว่าจะปฏิบัติ
ตามหรือไม่เพราะผู้เขียนเช่ือว่าการไม่กําหนดกรอบความคิดให้เด็กและเยาวชนจะทําให้พวกเขาเติบโต
ข้นึ มาอย่างอสิ ระและมีความสุขในแบบท่พี วกเขาตอ้ งการอยา่ งแทจ้ รงิ
วชิ า สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 42
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
รายการอ้างอิง
Sanook. (2564). เน้อื เพลง อภสิ ิทธ์ชิ น [JOOX Original]. สืบคน้ เมอ่ื 14 กันยายน 2564,
จาก https://www.sanook.com/music/song/j53K5MdvY3Fsk5aigakWMg
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 43
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ธนวัฒน์ พักวัด 6205680835
¤Ó¢ÇÑÇѹഡç
“ à´ç¡ÃØè¹ãËÁè ÍÔÊÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙé ÁØè§ÊÙè»ÃЪҸ»Ô äµÂ ”
จากการท่ีนักศึกษาได้ศึกษาเก่ียวกับปรัชญาการศึกษาของในสํานักคิดต่าง ๆ โดยแต่ละสํานัก
ก็มีความคิดเห็นและแนวคิดในทาปฏิบัติท่ีแตกต่างกันไป โดย คํานึงถึงสถานการณ์ท่ีนักปรัชญาหรือ
นักคิดน้ันได้เห็นและสั มผัสได้ด้วยตัวเองจึงเกิดแนวคิดปรัชญาทางการศึ กษาเพ่ื อหาทางออกใน
เหตุการณ์น้ัน ๆ โดยนักศึกษาจึงเห็นว่า ในการศึกษางานคร้ังน้ีท่ีจะนํามาเป็นแนวคิดท่ีใช้ในการณ์
เขียนคําขวัญวันเด็กโดยนํามาอภิปรายถึงเหตุการณ์และปรากฎการณ์ ท่ีจะเกิดข้ึน มีแนวคิดมาจาก
นักปรัชญาทางการศึกษา คือ John Dewey โดยนกั ศึกษาจะอธบิ ายถงึ รายละเอียด ดง่ั ต่อไปน้ี
ในการศึกษาในงานของ John Dewey น้ัน เกิดมาจากท่ีนักศึกษาน้ันได้เห็นในคําขวัญวันเด็ก
ท่ีผ่านๆมาหลายปีในการเรียนในคลาสจึงเห็นได้ว่าเป็นการท่ีสังคมมองเด็กว่าเป็นอนาคตของชาติ
แต่ไม่คํานึงถึงการเรียนรู้ และความกดดันของเด็กท่ีถูกกดดันมากเพียงใด กับการท่ีสังคมน้ันได้ใส่
กรอบ ค่านิยมบางอย่าให้กับเด็กโดยไม่เพียงแต่การศึกษาท่ี กดข่ีและเข้าไม่ถึง ยังรวมไปถึงการท่ีไม่มี
อิสระในการเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยสังคมมองเพียงแต่ การท่ีเรียนหมอ วิศวะ ตํารวจ ทหารน้ัน เป็น
ส่ิงท่ีสังคมน้ันต้องการหรือเป็นการยอมรับ และถูกถ่ายทอดวาทกรรมน้ันมาเร่ือย ๆ ทําให้ความคิด
เหล่าน้ันยังคงอยู่ในสังคมเรามาอย่างหลายยุคสมัย นักศึกษาจึงคิดว่า ในการศึกษาน้ันจะต้องไม่มี
ขอบเขตในการศึกษา หมายถึง ความสนใจ และ ความเท่าเทียมในการศึกษา ไม่เพียงแต่เด็กสายวิทย์
ท่ีถูกมองว่าดีกว่าเด็กสายศิลป์ มีอาชีพการงานท่ีสังคมในเด็กสายวิทย์ยอมรับมากกว่า จะเห็นได้ชัด
จากโรงเรียนเอกชน ท่ีแสดงถึงความเหล่ือมล้ําอย่างชัดเจน ทําให้เด็กจะต้องอยู่ภายใต้ความกดดัน
น้ันมานานแสนนาน ผลักภาระความเจริญก้าวหน้าไปท่ีเด็ก โดยไม่มองถึงความเป็นมนุษย์ ท่ีมีความ
ต้องการท่ีแตกต่างกัน และในแนวคิดน้ียังกล่าวถึง การท่ีมีอิสระในการเรียนรู้น้ันจะทําให้เห็นถึง
ประสบการณ์ นํามาประยุกต์ใช้ได้กับยุคสมัยน้ีก็คือ การท่ีเด็กได้เรียนรู้ลองผิดลองถูก โดยมีครูเป็น
ผู้ให้คําปรึกษา น้ันจะทําให้เด็กเกิดประสบการณ์ และประสบการณ์น้ันเองจะ สอนให้เด็กน้ันตัดสินใจว่า
จะทําหรือไม่ทํา ยกตัวอย่างเช่น เด็กเอามือไปจับหม้อหุงข้าวในขณะท่ีร้อน ทําให้เด็กรับรู้และเรียนรู้ถึง
ประสบการณ์และจะสามารถคิดได้ว่าจะทําอย่างน้ันอีกหรือไม่ ในชีวิตจริงคือการท่ีเด็กน้ันได้เรียนรู้ไม่
วิชา สค. 465 ปรัชญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 44
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
ว่าจะเป็นข้อผิดพลาดหรือข้อดีข้อเสียน้ันล้วนแล้วแต่มีส่วนทําให้เด็กโตข้ึนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใน
การโตมาในอนาคตเขาจะสามารถเรียนรู้ประสบการณ์ต่าง ๆ มากมาย ท่ีผ่านมาและใช้ชีวิตอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ในส่วนต่อมาคือส่วนท่ีนักศึกษามองควบคู่ไปกับแนวคิดน้ีคือ การท่ีมีประชาธิปไตย นอกจากท่ี
เราน้ันจะมีอิสระในการเรียนรู้แล้ว การท่ีมีประชาธิปไตยก็มีความสําคัญมากเช่นกัน เพราะในสังคมโลก
ท่ีอยู่รวมกันอย่างหลากหลายชีวิต หลากหลายสังคม และหลากหลายวัฒนธรรม ล้วนแต่มีการถูกขัด
เกลามาจากหลากหลายสถาบัน ค่านิยม จึงทําให้เราจะต้องมีประชาธิปไตยท่ีแท้จริงโดยเคารพสิทธิ
เคราพความแตกต่าง ไม่ว่าจะเป็น ทางความคิด ทางค่านิยมความเช่ือต่าง ๆ เราจะต้องมีความเคารพ
ซ่ึงกันและกันโดยอยู่ภายใต้กรอบของการควบคุมทางสังคม เสียงข้างมากย่อมมีสิทธิกว่าเสียงของ
น้อย แต่ไม่ใช้เพียงเสียงของมากท่ีมีสิทธิอย่างเดียว แต่จะต้องคํานึงถึงเสียงข้างน้อย ทราบถึงความ
ต้องการและเหตุผล เพื่อแสดงการยอมรับ และอยู่ร่วมกันในสังคมโลกท่ีมีความหลากหลายต่าง ๆ ได้
อย่างสงบสุข
ในส่วนของคําขวัญท่ีนักศึกษาน้ันได้เขียนไว้และมีแนวคิดท่ีเป็นเพ่ือนฐานในการแสดงความ
คิดเห็นก็คือในสํานักคิดของประสบการณ์นิยม ในนักปรัชญาการศึกษา John Dewey โดยมีคําขวัญ
ไว้ว่า “ เด็กรุ่นใหม่ อิสระการเรียนรู้ มุ่งสู่ประชาธิปไตย ” โดยจะอธิบายสิ่งท่ีจะเกิดข้ึน ปรากฎการณ์
ท่นี กั ศึกษานน้ั อยากทจ่ี ะเหน็ ไว้ดง่ั ตอ่ ไปน้ี
จากความเห็นท่ีนักศึกษาได้กล่าวไปท่ีว่าในสังคมเรายังมองเด็กเป็นการต่อยอดการพัฒนาต่อ
สังคมอยู่เสมอโดยไม่คํานึงถึงความต้องการท่ีเด็กจะมีอิสระในการเรียนรู้ นอกจากน้ีค่านิยม และ
กรอบความคิดท่ีสังคมได้มีต่อเด็กในแต่ละสมัยก็ยังคงเป็นไปในทํานองเดิม ท่ีให้คุณค่าแกอาชีพท่ีเห็น
ว่าดี แต่ไม่มองถึงความอิสระในการเรียนรู้ จึงเป็นเหตุให้เด็กมีความกดดันจากสังคม และในการเล้ียง
ดู เพ่ือให้เป็นไปในแนวทางท่ี คนในสังคม และครอบครัวน้ันอยากให้เป็น โดยไม่มองถึงความต้องการ
ท่ีจะเรียนของปัจเจกท่ีแตกต่างกันไป โดยในแนวคิดน้ียังกล่าวไว้ว่า การท่ีเราน้ันมีอิสระในการเรียนรู้
การหาประสบการณ์น้ัน จะต้องไม่มองว่าจะส่งผลอย่างไรในอนาคต แต่ตัวเขาเองจะรู้ว่าเขาสนใจ
หรือจะทาํ อะไรในอนาคต ซ่งึ เปน็ สิ่งท่เี ขาจะสามารถทําออกมาไดด้ ี
นักศึกษาจึงมองว่า การท่ีเราน้ันให้อิสระในการเรียนรู้ต่อเด็ก หรือใครก็ตามท่ีมีส่วนในการพัฒนาน้ัน
จะมีผลดีตามมาเสมอ โดยการท่ีเราชอบในการทําอะไรสักอย่าง เราจะเรียนรู้มันอย่างดี และมันจะ
ส่งผลดีต่อเรา โดยจะต้องหามุมน้ันให้เจอ ถ้าผิดพลาดก็คือประสบการณ์ ท่ีทําให้เราโตข้ึนไปเร่ือย ๆ
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ในอนาคต
วชิ า สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล 45
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
และส่วนของประชาธิปไตยน้ัน ก็เป็นส่วนท่ียังสําคัญมากในสังคมไทยและสังคมโลก นักศึกษา
จึงมองว่าการท่ีมีประชาธิปไตยไม่ว่าจะเป็นในสังคม สถาบันต่าง ๆ ชุมชน องค์กร เป็นสิ่งท่ีสําคัญ
อย่างมาก กล่าวคือ เม่ือเรามีอิสระในการเรียนรู้ การแสดงออกแล้ว เราจะต้องรู้จักเคารพในการ
ตัดสินใจของคนอ่ืน ความคิดเห็น ความต้องการของส่วนรวม โดยไม่เอาแต่ใจตัวเอง เพราะการท่ีทุก
คนมีประชาธิปไตยน้ัน ทุกคนมีสิทธิเท่ากัน แต่เราจะต้องอยู่บนพ้ืนฐานท่ีคนทุกคนบนสังคมโลกน้ัน
ยอมรับ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน และไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ในสังคมปัจจุบันยังคงเห็นได้ชัด กับการ
ออกมาเรียกร้องขอถึงความต้องการ ความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ แต่กลับไร้ประโยชน์กลับอยู่ในสังคม
ท่ีเป็นประชาธิปไตย ด้วยเหตุน้ีนักศึกษาจึงยกข้ึนมาเขียนไว้เพ่ือเป็นเคร่ืองสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของ
ตัวเองและผู้อ่ืน โดยแต่ละสิทธิของทุกคนบนโลกท่ีจะเกิดมาน้ันย่อมเท่าเทียมกันไม่ว่าจะเป็นในรูแบบใด
ด้วยเหตุน้ีนักศึกษาจึงมองว่าการท่ีมีการปลูกฝังประชาธิปไตยอย่างเข็มแข็งน้ันจะสามารถนําไปสู่การ
โตขน้ึ อย่างมีคุณค่าและมปี ระสิทธภิ าพได้
การท่ีจะพัฒนาหรือจะทําให้ส่ิงใดก้าวหน้า มักจะต้องมีหลากหลายองค์ประกอบท่ีมีส่วนท่ี
แตกต่างกัน โดยแต่ละส่วนน้ันจะต้องทําหน้าท่ีอย่างเต็มท่ี สนับสนุน ส่งเสริม ให้คําปรึกษา ถึงจะร่วม
สรา้ งความเจรญิ ก้าวหน้าไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
กล่าวโดยสรุป การท่ีเด็กคนนึงจะโตไปอย่างมีประสิทธิภาพน้ันก็จะต้องมีองค์ประกอบท่ีสําคัญ
ในสถาบันของครอบครัว แต่หนือส่ิงอ่ืนใด อิสระในการเรียนรู้ก็ย่อมจะต้องเกิดข้ึน เพื่อนจะสร้าง
ค่านยิ มและวาทกรรมใหม่ ๆ ให้กบั สังคมท่ไี มเ่ พียงแต่เคารพและใหค้ ุณคา่ แค่เพียงไมก่ อ่ี าชีพ ทกุ อาชพี
และทุกความพยายามน้ันมีค่าเสมอ นอกจากน้ีนักศึกษายังอยากเห็นสังคมไทย ท่ีอยู่ในระบอบ
ประชาธิปไตยน้ันมีความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าในยุคปัจจุบัน ด้วยการรับฟังเสียงของทุกเสียง
เพราะเสียงของทุกคนน้ันย่อมมีค่า นักศึกษาจึงอยากเห็นเด็กท่ีมีอิสระในการเรียนรู้ และมี
ประชาธปิ ไตย ควบคู่กันไปด้วยและโตไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยภาพคาํ ขวญั ท่นี ักศึกษาเขยี นไว้ ทว่ี า่
“ à´¡ç ÃèعãËÁè ÍÊÔ ÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙé ÁèاÊÙè»ÃЪҸԻäµÂ ”
วิชา สค. 465 ปรชั ญาการศึกษา Section 910001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล 46
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
รายการอ้างอิง
นกั ศึกษาวิชา SW 465 1/2564. (2564). ร่วมคน้ หาปรัชญาการศึกษา. สืบค้นจาก
https://online.anyflip.com/vmcan/hjfd/mobile/index.html