The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หากท่านใดต้องการ Download file สำหรับอ่านแบบ Offine สามารถคลิกได้ที่นี่

ออกแบบและผลิตรูปเล่มโดย : Natnaree Chouywattana (Email: [email protected])

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pinhathai Nunuan, 2021-02-17 06:30:18

ใบงานที่ 1 ถอดรหัสกลางหิมะ

หากท่านใดต้องการ Download file สำหรับอ่านแบบ Offine สามารถคลิกได้ที่นี่

ออกแบบและผลิตรูปเล่มโดย : Natnaree Chouywattana (Email: [email protected])

ใบงานท่ี 1 ถอดรหัสกลางหมิ ะ

วิชา นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ (ดค.362)

อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

ใบงานท่ี 1 ถอดรหัสกลางหมิ ะ

วิชา นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ (ดค.362)

อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

เร่ือง สารบัญ หนา้

1. ธนวรรณ จันทร์ยงค์ 6105490020 1-2
2. วณชิ ญา บุญวาที 6105490038 3-5
3. ธมี า จติ รเพียรค้า 6105610411 6 -7
4. กลุ นนั ท์ บุญเฉลยี ว 6105610536 8-9
5. ชญานนท์ ครองราชย์ 6105610692 10 - 11
6. ชไมธร จติ มน่ั 6105610700 12 - 13
7. ธวชั ชยั กูลหลกั 6105680117 14 – 15
8. ธนปรชั ญ์ เมอื งพวน 6105680166 16 – 18
9. เบญจวรรณ อุทธิยา 6105680182 19 – 20
10. ฐิตาพร แอนกําโภชน์ 6105680356 21 – 23
11. ผกามาศ กันทรประเสรฐิ 6105680406 24 - 25
12. ร่มฉตั ร โนรี 6105680844 26 - 28
13. ศศิภา แย้มบุบผา 6105680919 29 – 30
14. ศศิกานต์ โคว้ วิลัยแสง 6105680927 31 - 33
15. รตมิ า แก้วจอ้ น 6105681420
16. สุธดิ า หนูวัน 6105681438 34
17. มนตธ์ ชั จติ กลาง 6105681628 35– 36
18. จิรภัทร ไกรนรา 6105681636 37 - 38
19. คัธรนิ ทร์ บวั ทอง 6105681644 39 -40
20. ฟา้ ประดบั ดาว สุวรรณคร 6105681719 41 - 44
21. ปานตะวัน เฝา้ ด่าน 6105681750 45 - 46
22. ศรตุ า เขยี วผวิ 6208680279 47 - 48
49 - 51

ถอดรหสั กลางหมิ ะ

มันเริ่มต้นข้ึนด้วยโศกนาฏกรรมในเช้าวันหนึ่งท่ีหนาวจับขั้วหัวใจในเดือนกุมภาพันธ์ ฉันกําลังขับรถไป
โรงเรียนตามหลังรถเมล์สายมิล์เฝิร์ด คอร์นเน่อร์ส เหมือนกับที่จะทําในวันอ่ืน ๆ ที่หิมะตก รถหักเข้าจอดอย่าง
กะทันหันที่หน้าโรงแรมท้ังที่ไม่น่าจะต้องจอดทําอะไรท่ีน่ัน ฉันรู้สึกรําคาญที่ต้องหยุดรถอย่างไม่คาดคิดมาก่อน
เด็กผู้ชายคนหนึ่งถลาลงจากรถ หมุนคว้าง โซซัดโซเซและล้มลงท่ามกลางกองหิมะริมขอบถนนนั้นเอง
คนขับรถและฉนั ไปถึงตวั เขาพรอ้ มกนั หนา้ ตอบซูบของเด็กคนน้ันขาวจนเห็นได้ชดั แมจ้ ะทาบอยบู่ นหมิ ะ

“เขาตายแลว้ ” คนขบั กระซบิ
สมองฉันไม่รับรู้ไปช่ัวขณะ ฉันเหลือมองหน้าอ่อนเยาว์บนรถโรงเรียนท่ีจ้องมองมาที่เราอย่างตื่นตระหนก
แวบหนี่ง

“หมอ! เร็วเขา้ ! ฉันจะโทรเรยี กหมอจากโรงแรม..”
“ไมม่ ีประโยชน์ ผมบอกแล้ววา่ เขาตายแลว้ ” คนขบั ก้มลงมองรา่ งทแี่ นน่ ่งิ ของเด็กชาย
“เขาไมไ่ ด้บอกเลยวา่ รสู้ ึกไมส่ บาย” เขาพึมพํา
“แค่แตะบ่าผมแล้วค่อย ๆ พู ดว่า “ขอโทษนะครับ ผมต้องขอลงที่โรงแรม” แค่นั้นเอง สุภาพและออก
จะขอโทษดว้ ยซาํ้ ”

ท่ีโรงเรียน เสียงหัวเราะกิ๊กกั๊กและเสียงเคลื่อนไหวไปมาของยามเช้าเงียบหายไปเมื่อข่าวแพร่ไปในห้อง
โถงโรงเรียน ฉนั เดนิ ผา่ นนักเรียนหญงิ กลมุ่ หนึง่

“ใครกันน่ะ ใครทีล่ ม้ ลงตายระหว่างทางไปโรงเรียน”
ฉนั ได้ยนิ เด็กคนหนงึ่ กระซบิ ถาม
“ไม่รจู้ กั ชือ่ เปน็ เดก็ จากมิลเฝิรด์ คอร์นเน่อรส์ ” คอื คาํ ตอบ

ในห้องพักครูและห้องครูใหญ่ก็เช่นเดียวกัน “ฉันจะขอบคุณมากถ้าคุณช่วยเป็นคนไปบอกพ่อแม่ของ
เด็ก” ครูใหญ่บอกฉัน “พวกเขาไม่มีโทรศัพท์และถึงอย่างไรก็น่าจะมีตัวแทนจากโรงเรียนไปบอกด้วยตัวเอง
ฉนั จะช่วยสอนชั้นของคุณใหเ้ อง”

“ทําไมถงึ ต้องเปน็ ฉนั ดว้ ยละ่ คะ” ฉนั ถาม “มันจะไมด่ กี วา่ หรอื ถา้ ครใู หญจ่ ะไปเอง”
“ฉนั ไม่รจู้ ักเดก็ คนนนั้ ” ครูใหญ่ยอมรับอย่างเรยี บ ๆ
“และในคอลัมนบ์ คุ คลของนกั เรียนปีทีแ่ ล้ว ฉนั พบวา่ เขาเลือกคณุ เปน็ ครคู นโปรดของเขา”

ฉันขับรถฝ่าหิมะและความหนาวไปตามถนนในหุบเขาซึ่งเป็นถนนไม่ค่อยดีนักไปยังบ้านของพวกอีแวนส์
และนึกถึงเด็กคนน้ัน คลิฟ อีแวนส์ ครูคนโปรดของเขา! ฉันคิด เขาพู ดกับฉันไม่เกินสองคําตลอดสองปีที่ผ่าน
มา! ฉันสามารถนึกภาพเขาออกอยู่หรอก เขาน่ังอยู่หลังสุดในช้ันเรียนวรรณกรรมของฉันในตอนบ่าย เขาเข้า
มาในหอ้ งคนเดียวและออกไปคนเดียว

“คลิฟ อีแวนส์” ฉันพึมพํากับตวั เอง
“เดก็ ทไี่ ม่เคยปรปิ ากสักคาํ ” ฉนั คดิ ต่อไปอกี หน่อย “เดก็ ทีไ่ มเ่ คยย้มิ ดว้ ย ฉนั ไมเ่ คยเหน็ เขาย้ิมเลยสักครงั้ ”

ครัวขนาดใหญ่แบบครัวในฟาร์มนั้นสะอาดและอบอุ่น ในท่ีสุดฉันก็โพล่งข่าวออกไปจนได้ นางอีแวนส์
เงอะงะคลาํ หาเก้าอ้ี “เขาไมเ่ คยพูดสักคาํ วา่ ไมส่ บาย”

พ่อเลยี้ งของเขาสวนวา่ “เขาไมเ่ คยพูดสักคําไม่วา่ เรอื่ งอะไรทัง้ นนั้ ตงั้ แตฉ่ ันย้ายเข้ามาอยทู่ นี่ ”ี่
นางอแี วนส์ผลักกระทะเขา้ ไปด้านหลังของเตาแล้วเรม่ิ ดึงสายผกู ฝ้ากันเป้ ือนออก

“เดี๋ยว ๆ “สามีของเธอตะคอก ฉันต้องกินข้าวเช้าก่อนเข้าเมืองนะ ถึงยังไงเราก็ทําอะไรไม่ได้แล้ว
ถ้าคลฟิ มันไมท่ ึม่ ขนาดนัน้ มนั ก็น่าจะบอกเราแล้วว่าไม่คอ่ ยสบาย”

หลังเลิกเรียน ฉันนั่งอยู่ในที่ทํางานและจ้องมองบันทึกโรงเรียนท่ีกางอยู่ตรงหน้าฉันด้วยสายตาท่ีว่าง
เปล่า ฉันต้องเป็นคนสรุปปิดแฟ้มและเขียนคําไว้อาลัยในสารโรงเรียน บันทึกที่เกือบว่างท้ังหน้าน้ันเยาะเย้ย
ความพยายามของฉัน คลิฟ อีแวนส์ ผิวขาว ไม่เคยได้รับการยอมรับเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายโดย
พ่อเลี้ยงของเขา มีพี่น้องแม่เดียวกัน 5 คน ข้อความเพียงเล็กน้อยเหล่าน้ี และเกรด D ยาวเหยียดคือข้อมูล
เท่าท่ปี รากฏในบันทึกของโรงเรียน

คลิฟ อีแวนส์ ได้เดินเข้าประตูโรงเรียนมาอย่างเงียบ ๆ ในตอนเช้าและออกจากประตูโรงเรียนไปใน
ตอนบ่าย ก็แค่น้ัน เขาไม่เคยได้เข้าร่วมชมรมใด ๆ ไม่เคยร่วมเล่นในทีมใด ๆ ไม่เคยมีตําแหน่งใด เท่าท่ีฉันรู้
เขาไม่เคยทําอะไรท่ีมีความสุขและเจยี๊ วจา๊ วแบเด็ก ๆ เลยสักครั้ง เขาไมเ่ คยมีตัวตนในสายตาคนอ่นื เลย

พวกเราทําให้เด็กคนหนึ่งกลายเป็นศูนย์ได้อย่างไร บันทึกของโรงเรียนช่วยตอบคําถามน้ีได้ ครูช้ัน 1
และ 2 บันทึกว่า “ เป็นเด็กอ่อนหวาน ขี้อาย” และ “ขลาดอายแต่กระตือรือร้น” บันทึกของครูชั้น 3 คือจุดเริ่ม
ของการเปิดการโจมตี ครูบางคนได้บันทึกไว้ด้วยลายมือท่ีหนักแน่นว่า “คลิฟไม่ยอมพู ด ไม่ให้ความร่วมมือ
เรียนรู้ช้า” ครูคนต่อ ๆ มาบันทึกตามอย่างด้วยคําว่า “ท่ึม” “สติปัญญาเชื่องช้า” “ไอคิวตํ่า” คําเหล่าน้ีได้
กลายเป็นความจริง คะแนนไอคิวของคลิฟในช้ัน 9 เหลือเพียง 83 แต่ในชั้น 3 เขาเคยได้ 106 คะแนน ไอคิว
ของเขาไม่ได้ลงต่ํากว่า 100 จนกระท่ังชั้น 7 แม้แต่เด็กอ่อนหวาน ฉลาดและขี้อายก็ยังมีแรงอึด กว่าจะทําลาย
พวกเขาได้กต็ อ้ งใชเ้ วลา

ฉันกระหน่ําเคร่ืองพิมพ์และเขียนรายงานด้วยถ้อยคํารุนแรงเพ่ือช้ีให้เห็นว่า การศึกษาได้ทําอะไรกับค
ลิฟ อีแวนส์ ฉันโยนสําเนาฉบับหน่ึงไว้บนโต๊ะครูใหญ่และอีกฉบับไว้ในแฟม้ ฉันทุบเครื่องพิมพ์ดีด กระแทกแฟม้
ปิดและฟาดประตูปิดโครมใหญ่ แต่มันไม่ได้ช่วยให้ฉันรู้สึกดีขึ้น เด็กผู้ชายตัวเล็ก ๆ คนหน่ึงยังคงเดินตามหลัง
ฉันมา เด็กผู้ชายตัวเล็ก ๆ ที่มีใบหน้าซีดขาว ร่างอันผอมแห้งในกางเกงยีนส์ซีด ๆ ลูกตาโตใหญ่ท่ีเฝ้ามองและ
คน้ หาเปน็ เวลานานกอ่ นจะกลายเปน็ ตาท่ไี ม่แสดงความรสู้ ึกเหมือนมีมา่ นปกคลุม

ฉันพอจะนึกออกว่าก่ีครั้งก่ีหนที่เขาได้รับเลือกเป็นคนสุดท้ายในการเลือกเพ่ือนร่วมทีมในการเล่นเกมส์
ก่ีครั้งที่เขาไม่ได้เข้าร่วมในการซุบซิบในหมู่เด็ก ๆ ก่ีหนที่ไม่เคยมีใครถามอะไรเขาเลยฉันพอจะนึกออกว่ากี่เสียง
และกี่หน้าทีบ่ อกเขาซํา้ เลา่ ว่า “เธอมนั ไม่มีอะไรดเี ลย คลิฟ อีแวนส์”

เด็กนั้นเชื่อนง่าย ไม่ต้องสงสัยเลยว่าคลิฟเช่ือคําบอกเล่าเหล่าน้ัน มันใดนั้น ฉันก็รู้สึกเข้าใจข้ึนมาว่า
ในที่สุดเมื่อไม่มีอะไรเหลืออยู่เลย สําหรับคลิฟ อีแวนส์ เขาก็ล้มลงบนกองหิมะข้างถนนและจากไป หมออาจ
เขียนว่า “หัวใจลม้ เหลว” เป็นสาเหตขุ องการตาย แตน่ นั่ ไม่ทําใหฉ้ ันเปล่ียนใจ

เราไม่สามารถหาเด็กในโรงเรียนที่รู้จักคลิฟดีพอที่จะไปร่วมงานศพของเขาในฐานะเพ่ือนได้ถึง 10 คน
คณะกรรมการนักเรียนและเจ้าหน้าที่จึงร่วมกันเป็นตัวแทนไปโบสถ์เพ่ือร่วมแสดงความเศร้าอย่างสุภาพ ฉันไป
ร่วมพิธีกับพวกเขาและนั่งอยู่ตลอดพิธีโดยมีก้อนตะก่ัวท่ีเยือกเย็นและหนักอ้ึงในหัวอก พร้อมกันนั้นก็เร่ิมมี
ความตงั้ ใจทีย่ ิ่งใหญแ่ น่วแนเ่ กิดขนึ้ ในหัวใจ

ฉันไม่เคยลืมคลิฟ อีแวนส์ และความต้ังใจน้ัน เขาได้กลายเป็นสิ่งท้าทายสําหรับฉันปีแล้วปีเล่า
ฉันจะมองหาตาทีด่ ไู ร้ความรู้สึกเหมอื นมมี า่ นปกคลุม มองหาร่างท่ีคุดคอู้ ยใู่ นทน่ี ่ังราวกาํ ลงั อยูค่ นละโลก

“นี่หนู” ฉันจะพู ดอย่างเงียบ ๆ “ครูอาจจะไม่สามารถทําอะไรให้หนูในเรื่องอื่นได้เลยในปีนี้ แต่จะไม่มีใครเดินออกไป
จากที่นี่ไปอย่างไม่มีตัวตน ครูจะทําและต่อสู้จนถึงที่สุดไม่ว่ามันอาจจะขมขื่นเพียงไรในการฟาดฟนั กับสังคม
และคณะกรรมการโรงเรียน แต่ครจู ะไม่ยอมใหม้ ใี ครในพวกหนเู ดินออกไปโดยคิดวา่ ตวั เองมีค่าเทา่ กับศูนย์”

ส่วนใหญแ่ ลว้ ฉันประสบความสําเรจ็ ถงึ แม้จะไมเ่ สมอไป แตก่ ็เป็นส่วนใหญ่

อูท่ อง ประศาสนว์ นิ จิ ฉยั แปลจาก Cipher Snow
เรือ่ งจริงของ Jean Mizer ทตี่ พี ิมพ์ลงใน Today Education,November,1964

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ธนวรรณ จนั ทร์ยงค์ 6105490020

ความรู้สึกเมอ่ื ได้อา่ นบทความ
ความรู้สึกของฉันเม่อื ไดอ้ ่านบทความ”รหสั กลางหิมะ” เปน็ ความร้สู ึกท่สี ับสนงง ๆ เศร้าใจและปวดใจ

สับสนงง ๆ จากการท่ีฉันไม่สามารถคาดเดาสาเหตุการตายได้ และงงว่าชีวิตจองเด็กชาย
น้อยทําไมถงึ ตอ้ งมาจากไปอย่างไรค้ วามใยดหี รือความใส่ใจของแม่และพ่อเลย้ี ง

เศร้าใจ ท่ีเด็กคนหน่ึงถูกปล่อยให้มีสภาพท่ีย่ําแย่ลง ซ่ึงกลับสวนทางกันกับการพัฒนาท่ีควร
พัฒนาดีข้ึนเร่ือย ๆ ในด้านต่าง ๆ และเม่ือมาประเมินจากอาจารย์ท่ีปรึกษาย่ําแย่ต่อเน่ืองกัน ก็ไม่มี
อาจารย์ทป่ี รกึ ษาทา่ นใดใหค้ วามใส่ใจในปัญหาทก่ี าํ ลังเกิดข้นึ กับเดก็

ปวดใจ ท่ีเด็กคนหน่ึงต้องเผชิญกับสิ่งท่ีเหงาและโดดเด่ียวมากท่ีสุด ความโดดเด่ียวคร้ังเดียว
ท่ีควรเกิดข้ึนกับเด็กคือการท่ีต้องอยู่ในครรภ์ของแม่เพียงลําพัง แต่เม่ือเขาได้ลืมตามามีโอกาสใช้
ชีวิต เขาควรไดร้ ับการอยูเ่ คยี งขา้ ง ไม่วา่ จะทุกข์หรือสุขกต็ าม

ขอ้ ความทส่ี นใจ
“ครูอาจจะไม่สามารถทําอะไรให้หนูในเร่ืองอ่ืนได้เลย แต่จะไม่มีใครเดินออกไปจากท่ีน่ีได้อย่างไม่

มีตัวตน ครูจะทําและต่อสู้จนถึงท่ีสุด ไม่ว่ามันอาจจะขมข่ืนเพียงไรในการฟากฟันกับสังคมและ
คณะกรรมการโรงเรียน แต่ครูจะไม่ยอมให้มีใครในพวกหนูเดินออกไปโดยคิดว่าตัวเองมีค่าเท่ากับ
ศูนย”์

เพราะว่า การท่ีใครคนหน่ึงจะให้ความใส่ใจกับคนรอบข้างเป็นส่ิงท่ีสําคัญ หนูเห็นด้วยว่าเรา
อาจจะไม่สามารถช่วยเหลือคนท้ังหมดให้หลุดพ้นจากความทุกข์ท้ังหมดได้ แต่ความช่วยเหลือเล็ก ๆ
น้อย ๆ หรือรอยย้ิมท่ีส่งไปยังคนรอบกายก็แสดงถึงความหวังดีและกําลังใจว่าเราจะคอยอยู่เคียงข้าง
เขานะ มนั กเ็ ป็นส่ิงท่ยี ่งิ ใหญส่ ําคัญและมคี า่ มาก ๆ

ท่านคดิ วา่ อะไรคอื สาเหตุของปัญหา
• ความไมใ่ ส่ใจจากครอบครัว หรือชว่ ยเหลือพ่อแม่จนทาํ งานหนกั เกินไป
• ความตรอมใจจากเด็ก หลายคร้ังท่ีผู้ใหญ่เองเม่ือเจอเร่ืองไม่ดี ก็ยังมีสภาพจิตใจท่ีย่ําแย่ได้
แล้วเด็กตัวเล็กจะสามารถมีแรงต้านทานกับเร่ืองราวไม่ดีได้ยังไง เม่ือความสดใสในโลกของเด็กไม่มี
อกี แลว้ สภาพจิตใจท่แี ย่ลง กพ็ ลอยทําให้ร่างกายของเดก็ แยล่ งตามไปด้วย

มใี ครเกย่ี วขอ้ งกบั การเสียชวี ิตของนอ้ งบ้าง
• แมแ่ ละพ่อเลย้ี ง จากความท่อี าจจะละเลยความรู้สึก สุขภาพ หรือความเป็นอยขู่ องเด็ก
• อาจารย์ท่ีปรึกษา ความปล่อยปะละเลยให้เด็กมีพัฒนาการท่ีแย่ลงถือว่าเป็นเร่ืองท่ีไม่ควรเกิดข้ึน
เม่ือเด็กมาอยู่ในความดูแลของอาจารย์ อาจารย์ควรให้ความใส่ใจในสิ่งท่ีละเอียดอ่อนบ้างหรือเม่ือเห็น
สิ่งผิดปกติ ควรดําเนนิ การหาสาเหตแุ ละหนทางแกไ้ ข เพ่ือประโยชนแ์ ก่ตวั เด็กเอง
• เพ่ือน การใช้คําพูดท่ีทําร้ายจิตใจเพียงเล็กน้อยอาจจะทําให้ชีวิตใครคนหน่ึงต้องเศร้าและเจ็บปวดได้
ซ่ึงจริง ๆ แล้วมันคงจะเรียกว่าความผิดหรือเป็นผู้เก่ียวข้องก็ไม่ใช่แต่คําพู ดร้าย ๆ คําพู ดด้านลบท่ี

1

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ปล่อยออกมา ไม่ทําร้ายตนเองหรือเพ่ือนตนเองก็ต้องทําร้ายใครเข้าสักคนหน่ึงแน่นอน เพื่อน ๆ
อาจจะไม่ได้เป็นผู้ฆ่าหรือมีส่วนร่วมฆ่าลมหายใจของเด็ก แต่เพ่ือน ๆ ได้ฆ่าความสดใส ความร่าเริงและ
ได้ฆ่าความสุขในตวั เองตายไปแล้ว
มมุ มองของท่านทม่ี ีตอ่ การป้องกันและแก้ปญั หา

การสังเกตการณ์จากอาจารย์ท่ีปรึกษา เม่ือมีเด็กคนไหน มีสิ่งท่ีผิดปกติเกิดข้ึน ครูควรให้
ความใส่ใจ และคอยจับตาดูเป็นพิเศษ รวมไปถึงการพู ดคุยทํางานร่วมกับพ่อแม่เพ่ือความต่อเน่ืองใน
การดูแลเดก็ น่นั เอง
บทบาทผู้เกย่ี วข้องในการทาํ งานเพื่อการแก้ไข และป้องกนั ปัญหาในกรณจี ากบทความ
• ครู สังเกตการณ์ สอดส่องเด็ก รบั ฟงั เรอ่ื งราวท่เี ดก็ ต้องการ และตอบคําถามเมอ่ื เดก็ มขี ้อสงสัย
• นักสังคมสงเคราะห์ คอยดูแลพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของเด็ก ประเมินพัฒนาการด้านต่าง ๆ
ของเด็ก เป็นท่ีปรึกษาและทํางานร่วมกับคุณครู และดําเนินการหาสาเหตุท่ีแท้จริงเม่ือเกิดความ
ผดิ ปกติในเดก็

หากมีคุณครูและนักสังคมสงเคราะห์ท่ีคอยดูแลเอาใจใส่เม่ือการประเมินคร้ังแรกของเด็กท่ี
เกิดความผิดปกติ เช่น จากร่าเริงเป็นเงียบขรึม พัฒนาการด้านสมองท่ีมีคะแนนลดลง และเด็กท่ี
ได้รับการดําเนินการแก้ไขในทันที ก็จะช่วยเยียวยา ฟ้ นื ฟู ให้เด็กกลับมาเป็นปกติ สามารถพัฒนาด้าน
ต่าง ๆ ให้สมบรู ณไ์ ปพร้อม ๆ กบั เพ่ือนคนอ่นื ๆ

2

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

นางสาววณิชญา บุญวาที 6105490038

ความรูส้ ึกเม่อื ไดอ้ า่ นบทความ

ความรู้สึกแรกท่ีเกิดข้ึนเม่ือได้อ่านบทความคือ ความรู้สึกสงสัยเก่ียวกับการเสียชีวิตของเด็ก
คนน้ีว่าเกิดข้ึนเพราะสาเหตุใด รวมถึงสงสัยในความสัมพันธ์ระหว่างเด็กชายท่ีเสียชีวิตกับบุคคลอ่ืน
รอบ ๆ ตัวเขาว่าเป็นเพราะสาเหตุใดจึงทําให้เด็กคนหน่ึงต้องมาตกอยู่ในสภาวะท่ีเหมือนไม่มีใครอยู่
เคียงข้างหรือสามารถเป็นท่ีพึ่งพิงให้แก่เด็กคนน้ีได้เลย และก่อนหน้าน้ีมีเหตุการณ์อะไรบ้างท่ีเด็กชาย
ในบทความต้องพบเจอบ้างท้ังในระยะเวลาท่ีอยู่ในครอบครัวของเขาเองและอยู่ในโรงเรียน เม่ืออ่านจน
จบก็เกิดเป็นความรู้สึกแย่เล็กน้อยเพราะในบทความน้ัน เด็กคนหน่ึงโดนกระทําจากสภาพแวดล้อม
รอบข้างจนตัวเขากลายเป็นศูนย์ ท้ังจากการไม่ถูกยอมรับในครอบครัว ซ่ึงมันอาจจะทําให้เขารู้สึกว่า
ตนเองอยู่โดดเด่ียวเพียงลําพัง ย่ิงไปกว่าน้ันการกระทําส่วนหน่ึงก็มาจากโรงเรียนท่ีเขากําลังเข้ารับ
การศึกษาอยู่ ซ่ึงไม่มีใครเลยสักคนในโรงเรียนท่ีจะสังเกต ให้ความเข้าใจและให้ความสนใจแก่เด็กคนน้ี
จนเขาตอ้ งกลายเป็นบุคคลท่ไี รต้ ัวตนและไรค้ า่ ในท่สี ุด

ข้อความส่วนไหนในบทความท่สี นใจเปน็ พิเศษ

ข้อความส่วนท่ีสนใจ คือ ข้อความท่ีว่า “ครูช้ัน 1 และ 2 บันทึกว่า “เป็นเด็กอ่อนหวาน ข้ีอาย”
และ“ขลาดอาย แต่กระตือรือร้น” บันทึกของครูช้ัน 3 คือจุดเร่ิมของการเปิดการโจมตี ครูบางคนได้
บันทึกไว้ด้วยลายมือท่ีหนักแน่นว่า “คลิฟไม่ยอมพู ด ไม่ให้ความร่วมมือ เรียนรู้ช้า” ครูคนต่อ ๆ
มาบันทึกตามอย่างด้วยคําว่า“ท่ึม” “สติปัญญาเช่ืองช้า” “ไอคิวต่ํา” คําเหล่าน้ีได้กลายเป็นความจริง..”
ซ่ึงข้อความส่วนน้ีเป็นข้อความท่ีแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการเรียนของเด็กท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปใน
ทิศทางท่ีเป็นลบ ท้ัง ๆ ท่ีครูหลายๆคนได้เขียนบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กว่ามีการ
เปล่ียนแปลงไป แต่ไม่มีครูสักคนเลยท่ีจะสืบหาสาเหตุว่าอะไรเป็นส่ิงท่ีทําให้เด็กคนน้ีมีผลการวัดระดับ
ความรู้ท่ีลดลงในระยะเวลาท่ีผ่านๆมา และไม่มีการดําเนินการประชุมหรือวางแผนเพ่ือจัดบริการท่ี
เหมาะสมให้แก่เด็กเพ่ือท่ีจะแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน แต่กลับทําเพียงแค่เขียนบันทึกด้วยการใช้อารมณ์
และถ้อยคําท่ีไม่เหมาะสมข้อความส่วนท่ีสนใจต่อมา คือ ข้อความท่ีว่า “เขาไม่เคยพูดสักคําว่าไม่สบาย”
และ “เขาไม่เคยพูดสักคําไม่ว่าเร่ืองอะไรท้ังน้ัน ต้ังแต่ฉันย้ายเข้ามาอยู่ท่ีน่ี” ซ่ึงเป็นข้อความท่ีมาจากคํา
บอกเล่าของคนในครอบครัวของเด็กเม่ือได้รู้ว่าเด็กเสียชีวิตแล้ว ซ่ึงอาจทําให้เห็นถึงความสัมพันธ์
ระหว่างเด็กและครอบครัวท่ีพ่ อเล้ียงไม่ยอมรับเขา อาจจะทําให้เด็กรู้สึกห่างเหินกับครอบครัว
และไม่กลา้ ทจ่ี ะบอกเลา่ เร่อื งราวตา่ ง ๆ ให้ครอบครัวรับรแู้ มก้ ระท่งั ในชว่ งเวลาทต่ี นเองมีปัญหา

สาเหตแุ หง่ ปัญหา / สาเหตกุ ารเสียชีวิตของเด็กชายในบทความ
สาเหตุของปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับเด็กชายในบทความเร่ืองน้ีก่อนหน้า มีความเก่ียวข้องกับเร่ือง

การละเลยและการไม่ได้รับความเอาใจใส่ของเด็ก ท้ังจากครอบครัวของตัวเด็กเอง และจากบุคคล
รอบ ๆ ข้างภายในโรงเรียน ถึงแม้ว่าจะมีการพบถึงพฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปอย่างเห็นได้ชัด แต่ก็ไม่ได้มี

3

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

การติดตามและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับเด็ก ทําให้ถูกละเลยมาเร่ือย ๆ การท่ีถูกสังคมรอบข้างตอก
ย้ําว่าตัวเขาไม่มีอะไรดี อาจจะเป็นการสร้างความเจ็บปวดภายในจิตใจของเด็กได้ การตอกย้ําซ้ํา ๆ
เป็นระยะเวลานานอาจจะทําให้เด็กรู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่า และกลับกลายเป็นคนในลักษณะท่ีถูกตอกย้ํา
มา ครอบครัวและโรงเรียนก็ไม่สามารถเป็นท่ีพ่ึงพาแก่เขาได้ จนทําให้เด็กคนหน่ึงอาจจะมีความรู้สึก
โดดเด่ียว และกลายเป็นบุคคลท่ีไร้ตัวตนในสังคมน้ันในท่ีสุด สาเหตุของการเสียชีวิตของเด็กคนน้ี
อาจจะเกิดจากความเจ็บป่วยทางร่างกายท่ีไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ซ่ึงอาจจะเป็นส่ิงท่ีมาจาก
การไม่ไดร้ บั ความเอาใจใส่จากคนใกล้ชิดรอบตัวทไ่ี ม่ไดส้ ังเกตและมองเหน็ ถึงความผิดปกติของตวั เดก็

ผู้ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั กรณีการเสียชีวติ ของเดก็ ชายในบทความ
ครอบครัวของเด็กในบทความ เหตุผลท่ีคิดว่ามีความเก่ียวข้องเพราะว่าครอบครัวเป็นคนท่ีมี

ความใกล้ชิดเด็กมากท่ีสุด ครอบครัวควรจะเป็นกลุ่มคนแรกๆท่ีจะต้องเอาใจใส่และคอยตรวจเช็ค
ความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนกับตัวเด็ก ไม่ว่าจะเป็นในเร่ืองของความเจ็บป่วยทางร่างกาย พฤติกรรมท่ี
แสดงออกมาท้ังทางร่างกายอารมณ์ ซ่ึงในกรณีน้ีครอบครัวอาจจะมีความละเลย หรือไม่ได้สังเกต
ความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนกับเด็ก ซ่ึงอาจจะเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ท่ีห่างเหินระหว่างเด็กกับคน
ภายในครอบครัว ทําให้เด็กไม่กล้าบอกไม่กล้าเล่าในส่ิงท่ีตนเองต้องการ จนส่งผลให้ร่างกายของเด็ก
แยล่ งและนาํ ไปสู่การเสียชวี ติ

มุมมองในการป้องกันและแกไ้ ขปญั หา
โรงเรียนควรจะมีการออกแบบมาตรการหรือกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการสนับสนุนและสร้าง

ความเอาใจใส่ ให้เกิดการดูแลสังเกตการณ์พฤติกรรมของเด็กอย่างใกล้ชิดในเร่ืองของการ
เปล่ียนแปลงของพฤติกรรมอารมณ์ การปรับตัว และความต้องการท่ีแท้จริงของเด็กอย่างสม่ําเสมอ
เพ่ือให้เด็กได้รับความดูแลเอาใจใส่ตามท่ีควรจะได้รับ ไม่ให้เด็กต้องรู้สึกโดดเด่ียวและอยู่เพียงลําพัง
ภายในสังคมของโรงเรียนผู้ปกครองมีความเข้าใจในพฤติกรรมของเด็กและรู้วิธีการเข้าไปพู ดคุยกับ
เด็กอย่างเหมาะสม โดยมีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองทําความเข้าใจในเร่ืองของการแสดงออกของเด็ก
โดยจะมีการทําความเข้าใจเก่ียวกับความแตกต่างของพฤติกรรมของเด็กท่ีอาจจะมีความแตกต่างกัน
ในแต่ละคน เพ่ือให้ผู้ปกครองได้รับทราบว่าเด็กในปกครองมีลักษณะพฤติกรรมเป็นไปในทิศทางใด
และสามารถปรับตัวเพ่ือเข้าไปพู ดคุยกับเด็กได้อย่างเหมาะสมมากข้ึน ซ่ึงจะทําให้เด็กกล้าท่ีจะบอกเล่า
เร่ืองราวของตนเองมากย่ิงข้ึนครูประจําช้ันและผู้ปกครองควรมีการติดต่อส่ือสารกันอย่างสม่ําเสมอ
เพื่อให้เกิดตามติดตามพฤติกรรม อารมณ์ รวมไปถึงการปรับตัวของเด็กในระหว่างท่ีอยู่บ้านและอยู่ท่ี
โรงเรียน เม่ือเกิดความผิดปกติก็ควรจะค้นหาสาเหตุและวางแผนดําเนินการร่วมกัน เพ่ือให้แก้ปัญหา
ไดอ้ ย่างตรงจดุ และเกิดประโยชน์สูงสุดแกเ่ ดก็

บทบาทของผูเ้ กย่ี วขอ้ งกบั การทํางานเพ่ือแกไ้ ขและปอ้ งกันปญั หาของกรณศี ึกษาในบทความ
บทบาทของผู้ปกครองในครอบครัว เน่ืองจากครอบครัวเป็นสถาบันท่ีมีความใกล้ชิดกับเด็กมากท่ีสุด
ผู้ปกครองจึงควรมีบทบาทในการทําความเข้าใจ และคอยสังเกตพฤติกรรมการเปล่ียนแปลงของเด็ก
อยูเ่ สมอไมว่ ่าจะเปน็ ดา้ นร่างกาย จติ ใจและอารมณ์ คอยพูดคุยกบั เด็กภายใต้การปกครองของตนเอง
เพราะในบางครอบครัวเด็กอาจจะไม่กล้าเล่าเร่ืองราวของตนเองให้กับคนในครอบครัวฟงั ก่อน ดังน้ัน

4

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ผู้ปกครองควรจะเป็นผู้เร่ิมบทสนทนาเล็ก ๆเพ่ือให้เด็กได้มีโอกาสเล่าในสิ่งท่ีตนเองต้องการบทบาท
ของครูภายในโรงเรียน ซ่ึงจะเป็นคนท่ีมีความใกล้ชิดรองลงมาจากคนในครอบครัว แต่จะสามารถเห็น
พฤติกรรมของเด็กได้มากกว่า เพราะส่วนใหญ่เด็กจะใช้เวลาอยู่ในโรงเรียน การแสดงออกทาง
พฤติกรรมบางอย่างอาจจะเห็นชัดเจนเม่ืออยู่ท่ีโรงเรียน ครูจึงควรจะมีบทบาทในการเป็นผู้คอย
สังเกตเก่ียวกับพฤติกรรมของเด็กเบ้ืองต้น ท้ังในเร่ืองของพฤติกรรมการแสดงออก พฤติกรรมการ
เรียนรู้ การจัดการกับสภาวะทางอารมณ์ และการปรับตัวเข้าสังคมกับกลุ่มเพ่ือนคนอ่ืน ๆ ภายใน
โรงเรียน ซ่ึงครูจะคอยสังเกตการเปล่ียนแปลงของพฤติกรรมว่าเป็นไปในทิศทางใดและคอยจดบันทึก
พฤติกรรมเหล่าน้ันเป็นระยะ เม่ือพบปัญหาจึงจะขอคําปรึกษาจากผู้เช่ียวชาญ เพื่อดําเนินการ
วางแผนและแก้ไขปัญหาท่ีจะเกิดข้ึนต่อไปได้บทบาทของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ควรจะมี
บทบาทในการพูดคยุ รบั เร่อื ง และควรให้ความเหน็ ชอบเก่ยี วกับนโยบายหรอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่มี คี วาม
เก่ียวข้องท่ีมีความเหมาะสมและเกิดประโยชน์แก่เด็กท่ีศึกษาอยู่ภายในโรงเรียน เช่น บริการการให้
คําปรึกษา การลงพ้ืนท่ีเย่ียมบ้านของเด็ก เป็นต้น เพราะส่ิงเหล่าน้ีอาจจะทําให้เห็นถึงสภาพปัญหาท่ี
แท้จริงของเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษมากกว่าคนอ่ืน ๆ เพราะเด็กหลายคนอาจมีสภาพปัญหาท่ีต้อง
เผชญิ ทม่ี คี วามแตกต่างกนั ไปในแตล่ ะบุคคล

5

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

ธีมา จิตรเพียรคา้ 6105610411

จากท่ีได้อ่านบทความข้างจ้นแสดงให้เห็นว่า คลิฟ อีแวนส์ เป็นเด็กท่ีอยู่อย่างโดดเด่ียวไร้
เพ่ือนสนิท เร่ืองราวเร่ิมต้นข้ึนจากการเสียชีวิตของ คลิฟ อีแวนส์ ในบทความเค้าแทบไม่มีตัวตน
เร่ิมแรกข่าวลือท่ีแพร่ออกมาว่ามีคนเสียชีวิตระหว่างทางไปโรงเรียน ไม่ได้มีการเอ่ยถึงช่ือของเค้าเลย
แต่ใช้ช่ือแทนว่า “เป็นเด็กจาก...” แสดงให้เห็นถึงความโดดเด่ียวไร้ซ่ึงเพ่ือนฝูง บรรยากาศในโรงเรียน
ก็ไม่ได้แตกต่างกัน คนในโรงเรยี นส่วนใหญ่ไม่ได้แสดงถึงความอาลัยอาวรณ์ให้กับคลิฟเลยแม้แต่น้อย
จะรู้สึกตกใจท่ีมีคนเสียชีวิตระหว่างทางมาโรงเรียนมากกว่า ต่อมา เม่ืออาจารย์ต้องนําข่าวการ
เสียชีวิตไปบอกพ่อแม่ บรรยากาศภายในบ้านก็ไม่ได้แสดงถึงความโศกเศร้า เหมือนกับสมาชิกใน
ครอบครัวสูญเสียไป ทุกคนท้ังพ่อเล้ียงและแม่ต่างออกความเห็นว่า ไม่เคยรู้เลยว่าเค้าเป็นอะไรหรือ
เกิดอะไรข้ึนกับตัวของเค้า เพราะเค้าไม่เคยพู ดเหรือแสดงความรู้สึกใด ๆ ออกมาเช่นเดียวกับใน
โรงเรียน ครูทุกคนต่างออกความเห็นว่า คลิฟ เป็นเด็กท่ีไม่แสดงความรู้สึกใด ๆ ออกมาเลย
ความเห็นของอาจารย์มีความหลากหลาย ต้ังแต่บรรยากาศถึงตัวตนของคลิฟขณะอยู่ท่ีโรงเรียนไป
จนถึงบรรยายลักษณะด้อยของเค้าจนอาจารย์ท่ีเป็นตัวหลักของเร่ืองเองยังรู้สึกโกรธและน้อยใจแทน
ส่ิงท่ีน่าสนใจของบทความน้ีจะสังเกตได้จากการท่ีผู้เขียนพยายามบอกใบ้เหตุการณ์ท่ีคลิฟต้องรู้สึก
แปลกแยกหลายคร้ัง เช่น หลังจากพ่อเล้ียงและแม่ได้รู้ข่าวการเสียชีวิตของคลิฟ แม่พยายามจะทํา
อะไรสักอย่าง เพ่ือแก้ไขปัญหา แต่พ่อเล้ียงกลับพู ดข้ึนมาว่า “เด๋ียว ๆ สามีของเธอตะคอก ฉันต้อง
กินข้าวเช้าก่อนเข้าเมืองนะ ยังไงเราก็ทําอะไรไม่ได้แล้ส ถ้าคลิฟมันไม่ท่ึมขนาดน้ัน มันก็น่าจะบอกเรา
แล้วว่าไม่ค่อยสบาย” คําพู ดของพ่อเล้ียงแสดงให้เห็นถึงความไร้การเห็นอกเห็นใจ และไม่มีการแสดง
ความเสียใจออกมาเลยแม้แต่น้อย เหมือนกับว่าคลิฟไม่ใช่สมาชิกในครอบครัวของตน และสุดท้าย
หลังจากท่ีอาจารย์ท่ีปรึกษาได้ไตร่ตรองเร่ืองราวและเหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเข้าใจเค้าก็พบว่า ชีวิต
ของคลิฟโดดเด่ียวและน่าสงสารเพียงใด คลิฟมักไม่สุงสิงกับเพื่อนและมักจะไม่ได้เป็นตัวเลือกต้น ๆ
ของการคัดเลือก ไม่ว่าสถานการณ์ใดก็ตาม ส่ิงต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนหล่อหลอมให้เค้ากลายเป็น คนท่ีมี
สายตาว่างเปล่า ไร้ความรู้สึกใด ๆ จนท้ายท่ีสุดเม่ือเค้าจากไป ส่ิงท่ีจะสามารถทําให้คนจดจําเค้าได้ก็
คือสายตาแห่งความว่างเปล่าน่ันเอง เร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนน้ีสะท้อนให้เห็นว่า ชีวิตของเด็กคนหน่ึงท่ีถูก
สภาพแวดล้อม คนรอบตัว และครอบครัว หล่อหลอมให้เค้ากลายเป็นสิ่ง ๆ หน่ึง ถ้าหาก
สภาพแวดล้อมรอบตัวของเค้าดี คนรอบตัวทําความเข้าใจ และครอบครัวใส่ใจเค้าเร่ืองแบบน้ีก็อาจไม่
เกิดข้ึน ประโยคท่ีชอบท่ีสุดคือคําพู ดของอาจารย์ท่ีกล่าวว่า “น่ีหนู ฉันจะพู ดอย่างเงียบ ๆ ” “ครู
อาจจะไม่สามารถทําอะไรให้หนูในเร่ืองอ่ืนได้เลยในปีน้ี แต่จะไม่มีใครเดินออกไปจากท่ีน่ีไปอย่างไร้ตัวตน
ครูจะทําและต่อสู้จนถึงท่ีสุด ไม่ว่ามันอาจจะข่ืนขมเพียงไรในการฟาดฟนั กับสังคมและคณะกรรมการ
โรงเรียน แต่ครูจะไม่ยอมให้ใครในพวกหนูเดินออกไปโดยคิดว่าตัวเองมีค่าเท่ากับศูนย์” มันแสดงให้
เห็นว่า สุดท้ายแล้วก็ยังมีใครสักคนสามารถจดจําสิ่งท่ีเกิดข้ึนและพยายามแก้ไขปัญหาไม่ให้เกิดข้ึนกับ
คนอ่ืนอีก และทําให้มีคนใส่ใจสิ่งท่ีเกิดข้ึนกับคนรอบตัวได้มากข้ึน เพ่ือไม่ให้ปัญหาเหล่าน้ีทําให้ใครคน
ใดคนหน่ึงคิดว่าตนเองไร้ค่า เพราะทุกคนมรค่าสําหรับใครบางคนเสมอ และข้าพเจ้าคิดว่า เรามีค่า

6

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ท่ีสุดสําหรับตัวเราเอง อาจารย์ท่ีปรึกษาของคลีฟท้ิงท้ายไว้ว่า “ส่วนใหญ่แล้ว ฉันประสบความสําเร็จ
ถึงแม้จะไม่เสมอไป แต่ก็เป็นส่วนใหญ่” แสดงให้เห็นว่า แม้จะมีการแก้ปัญหาดังกล่าวแล้ว แต่ปัฯหา
น้ันมันก็ไม่สามารถทําให้หมดไปแบบถาวรได้ บางคนก็สามารถเยียวยาได้แต่บางคนก็ไม่ แต่อย่างน้ัน
มนั กส็ ามารถชว่ ยคนส่วนใหญ่ไดด้ กี วา่ การทไ่ี มท่ ําอะไรเลย ขา้ พเจ้าคิดวา่ ต้นตอของปัญหาคือ เราไมร่ ู้
ว่าปัญหาน้ันมันเกิดจากอะไร เน่ืองจากไม่มีใครใส่ใจคลิฟเลยจนกระท่ังเค้าเสียชีวิต ตลอดเวลาท่ีผ่าน
มา เค้าต้องมีชีวิตอยู่อย่างโดดเด่ียว ถ้าหากเค้าสามารถรับคําปรึกษาจากใครสักคนได้ ชีวิตเค้าอาจจะ
ไม่ต้องจบลงเร็วขนาดน้ี ข้าพเจ้าคิดว่าโรงเรียนควรมีสถานท่ีท่ีเด็กนักเรียนสามารถระบายปัญหาท่ี
เกิดข้ึนกับตนเองให้ใครสักคนฟงั ได้ อย่างเช่น Counselor ท่ีสามารถรับฟงั ปัญหาและให้คําปรึกษา
กับเด็กท่ีมีปัญหาภายในใจและไม่สามารถแสดงออกมาได้ มันจะทําให้พวกเค้าไม่ต้องรู้สึกว่าตนเองอยู่
อย่างโดดเดย่ี วและสามารถเลา่ เร่อื งราวทเ่ี กดิ ข้นึ ในชวี ติ ได้อย่างสบายใจ

7

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

กลุ นันท์ บุญเฉลียว 6105610536

หลังจากท่ีนักศึกษาได้อ่านเร่ืองสั้นเร่ืองน้ีแล้ว รู้สึกเห็นใจและเข้าใจในตัวละครท่ีช่ือว่า
คลิฟ อีแวนส์ เป็นอย่างกันการท่ีเด็กตัวเล็ก ๆ คนหน่ึงไม่ได้รับการเอาใจใส่จากคนรอบข้าง
ท้ังพ่อเล้ียง แม่ โรงเรียน คุณครู หรือแม้แต่เพ่ือน ๆ ในโรงเรียน หลังจากท่ีมีบางส่ิงบางอย่าง
เกิดข้ึนในตอนท่ี คลิฟ อีแวนส์ อยู่ช้ันท่ี 3 ท่ีคุณครูได้บันทึกข้อความไว้ว่า “คลิฟเป็นเด็กท่ีไม่ยอมพู ด
ไม่ให้ความร่วมมือ และเรียนรู้ช้า” น่ันเป็นส่ิงท่ีทําให้เด็กชายคนหน่ึงถูกโจมตีด้วยคําพู ดท่ีรุนแรงหลัง
จากน้ัน คลิฟน้ันมาโรงเรียนในตอนเช้าและออกไปในตอนบ่าย โดยท่ีไม่มีใครรู้ว่าเพราะอะไร เขามักจะ
ได้รับเลือกเป็นคนสุดท้ายในการทํากิจกรรมต่าง ๆ กับเพื่อน และการท่ีเด็กคนหน่ึงถูกทอดท้ิงให้อยู่
คนเดียว ถูกลดทอนความสําคัญ ไม่มีใครเห็นตัวตนของเขาเลย เป็นเร่ืองท่ีน่าเศร้า ในวัยเด็กใคร ๆ
กอ็ ยากจะมีเพื่อนเล่น แตต่ ัวเดก็ ชายเองคงรู้เสียใจไม่นอ้ ย

พวกเราทําให้เด็กคนหน่ึงกลายเป็นศูนย์ได้อย่างไร บันทึกของโรงเรียนช่วยตอบคําถามน้ี
ได้ ครูช้ัน 1 และ 2 บันทึกว่า “ เป๋นเด็กอ่อนหวาน ช้ีอาย” และ “ขลาดอายแต่กระตือรือร้น” บันทึก
ของครูช้ัน 3 คือจุดเร่ิมของการเปิดการโจมตี ครูบางคนได้บันทึกไว้ด้วยลายมือท่ีหนักแน่นว่า
“คลิฟไม่ยอมพู ด ไม่ให้ความร่วมมือ เรียนรู้ช้า” ครูคนต่อ ๆ มาบันทึกตามอย่างด้วยคําว่า “ท่ึม”
“สติปัญญาเช่ืองช้า” “ไอคิวต่ํา” คําเหล่าน้ีได้กลายเป็นความจริง คะแนนไอคิวของคลิฟในช้ัน 9
เหลือเพียง 83 แต่ในช้ัน 3 เขาเคยได้ 106 คะแนน ไอคิวของเขาไม่ได้ลงต่ํากว่า 100 จนกระท่ัง
ช้ัน 7 แม้แต่เด็กอ่อนหวาน ชลาดและข้ีอายก็ยังมีแรงอึด กว่าจะทําลายพวกเขาได้ก็ต้องใช้เวลา
ในข้อความส่วนน้ีเป็นส่วนท่ีนักศึกษาสนใจเป็นอย่างมาก จากข้อความจะเห็นว่าน่ีเป็นจากจดบันทึก
พฤติกรรมของเด็กนักเรียนโดยคุณครู จะเห็นได้ว่าตอนท่ีคลิฟ อยู่ช้ันท่ี1 และ2 น้ันเขาเป็นเด็กท่ีเรียน
ดี มีความอ่อนหวาน และข้ีอาย แต่กระตือรือร้น แต่ในช้ันท่ี 3 กลับเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีเป็นส่ิงโจมตี
เด็กชาย คุณครูได้บันทึกไว้ว่า เด็กชายเร่ิมไม่ยอมพู ด เรียนรู้ช้า สติปัญญาเช่ืองช้า และไอคิวต่ํา
เกิดจากสาเหตุใดน้นั ก็มิอาจทราบได้

สาเหตุของปัญหาท่ีแท้จริงน้ันเกิดจากระบบการศึกษาท่ีไม่ได้เอาใจใส่เด็กนักเรียนเท่าท่ีควร
คุณครูไม่ได้มีการดูแลการเรียนของนักเรียน ละเลยเด็กนักเรียนท่ีเรียนช้า หัวไม่ดี ไว้ข้างหลัง ท้ิงไว้
โดยท่ีไม่สนใจเลยว่าจะเป็นอย่างไร และไม่รู้เลยว่าคลิฟ อีแวนส์น้ันเป็นเด็กพิเศษ ครูใหญ่ท่ีมีการหลีก
หนีปัญหาท่ีวุ่นเองเองก็ตาม และอีกหน่ึงปัญหาท่ีสําคัญ คือ ครอบครัวของคลิฟ อีแวนส์ ครอบครัว
น้ีมีลูกด้วยกันท้ังหมด 5 คน พ่ อเล้ียงและแม่น้ัน ไม่ได้เอาใจใส่เด็กชายเลยว่าเป็นอย่างไรบ้าง
และตอนท่ีคุณครูไม่ท่ีบ้านเพื่อแจ้งข่าว เม่ือคุณครูไปถึงบ้านครอบครัวไม่สนใจเลยว่าลูกชายน้ัน
เสียชีวิต แม่น้ันเสียใจ แต่ไม่ใช่ปฏิกิริยาปกติของคนเป็นแม่ เธอหยุดทําอาหาร แต่พ่อเล้ียงก็บอก
อย่างไม่ใส่ใจว่าให้ทําอาหารต่อไปเพราะเขาต้องไปทํางาน นางอีแวนส์ได้บอกกับคุณครูว่า คลิฟไม่เคย
พู ดเลยว่าไม่สบาย จะเห็นได้ว่าครอบครัวไม่ได้มีการเอาใจใส่ลูกอย่างเท่าท่ีควร และการเสียชีวิตของ
เด็กชายน้ันก็มากสาเหตุท้ังสองท่ีกล่าวมา คลิฟ อีแวนส์ เด็กชายตัวเล็ก ๆ ท่ีถูกท้ิงไว้ข้างหลังเพียง
ลําพัง เด็กชายไม่เคยทํากิจกรรมอะไรมีความสุขแบบเด็กคนอ่ืน และไม่เคยมีตัวตนในสายตาใครเลย
เพียงแค่เพราะเขาเป็นเด็กท่ีไม่พูด เรียนรู้ช้าเท่าน้ัน หากมีการเอาใจใส่เด็กคนหน่ึง เหตุการณ์แบบน้ีก็
คงไม่เกดิ ขน้ึ

8

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

บุคคลท่ีส่วนท่ีทําให้เด็กชายเสียชีวิต ครอบครัวอีแวนส์ คุณครู โรงเรียนและระบบการศึกษา
โดยท่ีครอบครัวของเด็กชายน้ันไม่ได้เอาใจใส่ลูกเลย เม่ือเห็นว่าคลิฟน้ันไม่พูดเลย ก็ไม่ได้มีการถามไถ่
ว่าเป็นอย่างไรบ้าง มีอะไรผิดปกติหรือไม่ หรือเด็กชายน้ันพู ดได้หรือไม่ และคุณครูท่ีไม่ได้เอาใจใส่เด็ก
นักเรียน และท้ิงเด็กนักเรียนไว้ข้างหลัง กลุ่มคนน้ีเหล่าน้ีเป็นส่วนสําคัญท่ีทําให้เด็กชายน้ันถูกท้ิงไว้
เพียงลําพัง และเสียชีวิตลง แม้พวกเขาจะไม่ได้เป็นคนลงมือทํา แต่การกระทําของพวกเขา ไม่ว่าจะ
เป็นการละเลย การเล้ียงดูของครอบครัว หรือ สภาพแวดล้อมต่าง ๆท่ีส่งผลต่อจิตใจของเด็กชาย
ตวั เล็ก ๆ คนหน่งึ

การป้องกันปัญหาน้ี ต้องมีนักสังคมสงเคราะห์ด้านเด็กและครอบครัวเข้ามาให้ความช่วยเหลือ
หากมีการเข้ามาช่วยเหลือเร็วก็จะสามารถแก้ไขและช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็ว และบทบาทของนัก
สังคมสงเคราะห์ในการทํางานเพื่อช่วยเหลือ และป้องกันปัญหาน้ัน ต้องมีการปฏิบัติตามข้ันตอนต่าง
ๆ เช่น การตรวจสอบหาความจริงท่ีเกิดข้ึน ดําเนินการช่วยเหลือ และติดตามการช่วยเหลือ เป็นต้น
นักสังคมสงเคราะห์สามารถเข้าไปช่วยเหลือ หากมีการแจ้งจากคุณครูว่ามีเหตุเกิดข้ึน จากน้ันจะทํา
การตรวจสอบหาความจริง การเย่ียมเยียนบ้านของผู้ใช้บริการ จากน้ันจึงวางแผนการช่วยเหลือ
เช่น ในกรณีของเด็กชายคลิฟ อาจจะมีการทํางานกับทีมสหวิชาชีพ คือ แพทย์ เพ่ือตรวจร่างกายหา
ความผิดปกติ มีการเจริญเติบโตตามวัยหรือไม่ หรือเป็นเด็กพิเศษหรือไม่ และดําเนินการช่วยเหลือใน
ข้ันต่อไปและหากคุณครูให้ความสนใจเด็กเรียนมากกว่าน้ี ก็จะไม่เกิดการท้ิงเด็กไว้หลัง และเด็ก
นักเรียนก็จะมีตัวตน เช่นท่ีคุณครูได้ทําหลังจากเกิดเหตุการณ์เด็กชายคลิฟ อีแวนส์ข้ึน ท่ีได้มีการเอา
ใจใส่เด็กนักเรียนคนอ่ืนมากข้ึน มีการเข้าไปคุยกับเด็กท่ีน่ังคุดตู้อยู่คนเดียว ดังข้อความน้ี ฉันไม่เคย
ลืมคลิฟ อีแวนส์ และความต้ังใจน้ัน เขาได้กลายเป็นสิ่งท้าทายสําหรับฉันปีแล้วปีเล่า ฉันจะมองหา
ตาท่ีดูไร้ความรู้สึกเหมือนมีม่านปกคลุม มองหาร่างท่ีคุดคู้อยู่ในท่ีน่ังราวกําลังอยู่คนละโลก “น่ีหนู”
ฉันจะพูดอย่างเงียบ ๆ “ครูอาจจะไม่สามารถทําอะไรให้หนูในเร่ืองอ่ืนได้เลยในปีน้ี แต่จะไม่มีใครเดิน
ออกไปจากท่ีน่ีไปอย่างไม่มีตัวตน ครูจะทําและต่อสู้จนถึงท่ีสุดไม่ว่ามันอาจจะขมข่ืนเพียงไรในการ
ฟาดฟนั กับสังคมและคณะกรรมการโรงเรียน แต่ครูจะไม่ยอมให้มีใครในพวกหนูเดินออกไปโดยคิด
ว่าตัวเองมีค่าเท่ากับศูนย์” ส่วนใหญ่แล้ว ฉันประสบความสําเร็จ ถึงแม้จะไม่เสมอไป แต่ก็เป็นส่วน
ใหญ่

9

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ชญานนท์ ครองราชย์ 6105610692

1) ความรู้สึกเมอ่ื ไดอ้ ่านบทความดงั กล่าว
มีความรู้สึกหดหู่และเศร้าใจท่ีเด็กคนนึงต้องเผชิญต่อปัญหาและเก็บไว้เพียงคนเดียว ต้องอยู่

อย่างโดดเด่ียว คิดว่าตนไม่เป็นส่วนหน่ึงของสังคม ไม่มีใครเลยท่ีจะมองเห็นหรือสนใจถึงพฤติกรรม
ของคลฟิ ท่ดี เู ศร้าหมองและไมย่ อมพูดคุย

2) ข้อความส่วนไหนในบทความท่ที า่ นสนใจเป็นพิเศษ ระบแุ ละอธบิ าย
‘เด็กน้ันเช่ือคนง่าย ไม่ต้องสงสัยเลยว่าคลิฟเช่ือคําเหล่าน้ัน’ เพราะว่าจากบทความ ทุกคนน้ัน

บอกว่าคลิฟท่ึม และไม่มีอะไรเลย ทําให้คลิฟน้ันเช่ือตามน้ันและเก็บกดความรู้สึกน้ันเอาไว้ กลายเป็น
คนพูดนอ้ ย การเรียนแยล่ ง ไมม่ ีความสนใจสิ่งรอบตัว

3) ท่านคดิ วา่ อะไรคือสาเหตุแห่งปัญหา / การเสียชวี ิตของเด็กชายในบทความ ทําไมจงึ คดิ เชน่ นน้ั
สาเหตุท่ีทําให้เด็กชายต้องได้ประสบกับอันตรายถึงแก่ชีวิตน้ัน มาจากการท่ีทุก ๆ คนรอบตัว

ของคลิฟน้ันขาดความดูแลเอาใจใส่ หรือขาดความสนใจและปล่อยให้คลิฟน้ันเก็บความเครียดหรือ
ปัญหาของตนไว้เพียงคนเดียว ไม่มีใครสังเกตุเห็นอาการป่วยของเขาจนทําให้คลิฟเสียชีวิตอย่างโดด
เด่ยี ว

4) มีใครเก่ยี วขอ้ งบา้ งตอ่ กรณกี ารเสียชีวิตดงั กลา่ ว อธบิ าย / อย่างไร
-ครอบครัว เน่ืองจากต้ังแต่พ่ อแม่ของคลิฟหย่าร้างกัน คลิฟก็กลายเป็นเด็กท่ีเงียบ

ไม่พู ดคุย เก็บความรู้สึกเอาไว้คนเดียว และยังขาดความรัก ความอบอุ่น ไม่ดูแลเอาใจใส่จากแม่ และ
พ่อเล้ยี งทพ่ี ูดจาไมด่ ี ทําร้ายจติ ใจของคลฟิ อีกด้วย

-เพื่อนท่ีโรงเรียน เน่ืองจาก ไม่มีใครพู ดคุยและเป็นเพ่ือนกับคลิฟเลย และคลิฟไม่เคยเข้าร่วม
ชมรมใดๆเลย

-ครู เน่ืองจากครูหลายๆคนน้ัน ไม่ตระหนักถึงปัญหาหรือพฤติกรรมของคลิฟท่ีเปล่ียนไป
จากเด็กร่าเริงอ่อนหวานกลายเป็นเด็กพู ดน้อย การเรียนแย่ลง เป็นต้น และครูก็ยังว่าคลิฟว่าท่ึม
สตปิ ญั ญาเชอ่ื งช้า เปน็ ต้น

5) มมุ มองของท่านทม่ี ีต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ี
ส่ิงแวดล้อมและสังคมโดยรอบตัวเด็กน้ันมีความสําคัญอย่างย่ิง ดังน้ันทุก ๆ คนท่ีอยู่โดยรอบ

ตัวควรทําให้เด็กท่ีมีรู้สึกว่าตนเองมีตัวตนในสังคมน้ัน ๆ มีความสําคัญและคุณค่าในตัวเอง โดยเฉพาะ
ครอบครัวท่ีต้องหม่ันดูแลเอาใจใส่ สังเกตพฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปของลูก หม่ันพู ดคุยดูแลเอาใส่ใจอยู่
เสมอ เพ่ือใหเ้ ด็กมีความเช่อื มน่ั และกลา้ ท่จี ะบอกเล่าถงึ ปัญหาของตน

6) ลองนําเสนอบทบาทผู้เก่ยี วขอ้ งในการทํางานเพ่ือการแก้ไขและป้องกนั ปญั หา

10

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

-ครอบครัวควรใส่ใจ ให้ความรัก ความอบอุ่น หม่ันพู ดคุยและศึกษาพฤติกรรมของลูกอยู่
เสมอ เม่อื พบความผิดปกตจิ ะทาํ ใหส้ ามารถแกไ้ ขและปอ้ งกนั ปญั หาไดเ้ ท่าทัน

-คุณครูหม่ันดูแลเอาใจใส่ให้ความสําคัญเด็กอยู่เสมอ ไม่มองข้ามในปัญหาเล็ก ๆ ดูแลเด็กทุก
คนในช้ันเรียน ไม่ละท้ิงคนใดคนหน่ึงไว้ข้างหลัง และทําให้เด็กแต่ละคนรู้ว่าพวกเขามีความพิเศษและ
รสู้ ึกมีค่ามีตัวตน

-เพ่ือน เน่ืองจากในวัยท่ีเด็กทุกคนต้องไปเรียนหนังสือน้ัน สังคมของเด็ก ๆ ก็คือสังคมใน
โรงเรียนท่ีมีครูและเพ่ือนๆในโรงเรียน ดังน้ัน เพ่ือนก็คืออีกปัจจัยนึงท่ีความสําคัญอย่างมากในการใช้
ชีวติ ประจาํ วันในโรงเรียน

11

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ชไมธร จติ ม่นั 6105610700
1. ความร้สู ึกเม่อื ไดอ้ ่านบทความดงั กล่าว
รู้สึกว่าเป็นเร่ืองท่ีดีมาก ๆ อีกเร่ืองหน่ึงค่ะ คิดว่าถ้าคนอ่ืนได้อ่านก็น่าจะชอบเหมือนกัน นับถือท้ัง
คนเขยี นและคนแปลเลยคะ่

2. ข้อความส่วนไหนในบทความท่ีท่านสนใจเป็นพิเศษ ระบุ และอธิบาย (สามารถอธิบายได้
มากกว่า 1 ประเดน็ ท่สี นใจ)

มีหลาย ๆ ประโยคท่ี touch มาก ๆ โดยเฉพาะ “กว่าจะทําลายพวกเขาได้ก็ต้องใช้เวลา” ส่ือให้เห็น
ว่า คลิฟถูกละเลยจากครอบครัว จากคนรอบข้าง จากโรงเรียน ทกําใหเ้ ขามีพฤตกิ รรมเปลย่ี นไป จาก
เด็กทเ่ี คยพูด กลายเป็นเงียบ ผลการเรยี นแย่ลงเร่อื ย ๆ ไมส่ ามารถเข้าสังคมได้

3. ท่านคิดว่าอะไรคือสาเหตุแห่งปัญหา/ การเสียชีวิตของเด็กชายในบทความ ทําไมจึงคิด
เช่นนน้ั

ถูกละเลยจากคนในครอบครัว โรงเรียน และบุคคลรอบข้าง เพราะจากประโคท่ีแม่ของเขากล่าว
“เขาไม่เคยพูดสักคําว่าไม่สบาย” หรือจากท่ีครูใหญ่กล่าว”ฉันไม่รู้จักเด็กคนน้ัน” แสดงให้เห็นถึงความ
ไม่เอาใจใส่ต่อตัวคลิฟ และจากประโยคท่ีพ่อเล้ียงขอเขากล่าว “เขาไม่เคยพู ดสักคําไม่ว่าเร่ืองอะไร
ท้ังน้ัน ต้ังแต่ฉันย้ายเข้ามาอยู่ท่ีน่ี” แสดงให้เห็นว่าครอบครัวเขาขาดการเอาใจใส่ และไม่มองว่า
พฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปของคลิฟ เป็นปัญหาซ่ึงประเด็นน้ีอาจจะอธิบายได้ว่า แม่และพ่อเล้ียง
ของคลิฟไม่มคี วามร้หู รอื ความเข้าใจในการเลย้ี งดูเด็ก

4. มีใครเก่ยี วขอ้ งบา้ งตอ่ กรณีการเสียชวี ติ ดังกล่าว อธิบาย/อยา่ งไร
ส่วนตัวมองว่าทุกคนรอบตัวคลิฟมีความเก่ียวข้องกับการเสียชีวิตของเขา เพราะทุกคนต่างก็
ละเลยเขา ทุกคนรับรู้ว่าคลิฟมีพฤติกรรมเก็บตัวเงียบ ไม่พู ด ไม่เข้าสังคม ซ่ึงพฤติกรรมเหล่าน้ีเป็น
การแสดงทเ่ี หน็ ไดช้ ัดว่าคลิฟกําลงั เผชญิ กบั ปัญหาและต้องได้รบั การรกั ษา เยียวยาอยา่ งเร่งด่วน

5. มุมมองของท่านท่มี ตี อ่ การป้องกันและแก้ไขปญั หาน้ี
เข้าไปพูดคุยกับครอบครัวว่า คลิฟมีพฤติกรรมอย่างไรขณะท่ีอยู่โรงเรียนและสอบถามพฤติกรรม
ขณะอยู่ท่ีบ้าน เข้าไปพู ดคุยกับคลิฟว่าอยากระบายอะไรให้ฟงั หรือไม่ หรืออาจจะสมมุติสถานการณ์
แล้วสอบถามคลิฟว่าถ้าเกิดข้ึนกับตัวเอง เขาจะทําอย่างไร ประเมินพฤติกรรมและคําพู ดเพ่ื อ
ประสานงานไปยงั ทีมสหวชิ าชีพท่เี ก่ยี วขอ้ งใหเ้ ข้ามาช่วยฟ้ นื ฟู เยียวยาอยา่ งเร่งดว่ น
6. ลองนําเสนอบทบาทผู้เก่ียวข้องในการทํางานเพ่ือการแก้ไข และป้องกันปัญหาในกรณีท่ี

อา่ นในบทความ
บทบาทของครู สังเกตพฤติกรรมเด็กท่ีอยู่ในห้องเรียนและประเมินว่าเด็กคนน้ันมีพฤติกรรมท่ี
แปลกไปหรือไม่ (อาจจะสอบถามเพ่ือในห้องเรียนหรือครูท่านอ่ืน) ถ้ามี เร่งประสานงานกับวิชาชีพท่ี
เกย่ี วข้อง

12

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ เข้าไปสอบถามถึงปัญหาท่ีเกิดข้ึนระหว่างตัวคลิฟกับ
พ่อเลย้ี ง-แม่ ให้การชว่ ยเหลอื ในสิ่งท่พี วกเขาตอ้ งการ ให้ความรสู้ ึกในการเลย้ี งดูเดก็ สอนใหพ้ ่อเล้ยี ง
และแม่สังเกตพฤติกรรมท่เี ปล่ยี นแปลงไปของลกู

7. อน่ื ๆ ท่อี ยากบาอก / นาํ เสนอ
ตอนเรียน CF361 ได้มีโอกาสอ่านเร่ือง ต้นส้มแสนรัก ไม่แน่ใจว่าอาจารย์เคยอ่านเร่ืองน้ีหรือยัง หนู
อยากแนะนําอาจารย์ค่ะ เปน็ อีกเร่อื งทช่ี อบมาก ๆ คะ่ หรอื ถ้าอาจารย์เรอ่ื งไหนแนะนาํ อีกบอกหนูได้เลย
นะคะ

13

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ธวัชชัย กลู หลัก 6105680117

บทความเร่ือง “รหัสกลางหิมะ” เป็นบทความส้ัน ๆ ใช้เวลาอ่านไม่นานมานนัก เป็นเร่ืองราวให้
ชวนคิด ค้นหา เน้ือเร่ืองประมาณ 3 หน้ากระดาษท่ีเต็มไปด้วยส่ิงน่าต้ังคําถาม ค้นหา และทําความ
เข้าใจให้ลึกซ้ึง มีรายละเอียดเล็ก ๆ น้อย ๆ ย่ิงอ่านซ้า ๆ จะย่ิงเข้าใจและมีประเด็นให้คิดตามและ
สะท้อนส่ิงต่าง ๆ อยู่เสมอ ความรู้สึกเม่ือได้อ่านบทความน้ี ทําให้รู้สึก “ใจหาย” กับการท่ีคน คนหน่ึง
ผู้ถูกมองข้าม ไม่ได้ได้รับการดูแลท่ีเหมาะสม สภาพ ส่ิงแวดล้อมสังคมท่ีไม่ได้เข้าใจ ใส่ใจ และให้
ความสําคัญมากนัก อีกความรู้สึกคือ ให้ความรู้สึก “มุ่งม่ัน ต้ังใจ” ต้องทาให้สังคมน้ันไม่มีเหตุการณ์
แบบน้ันเกิดข้ึน จะต้องทําให้สังคมคานึงถึงความหลากหลาย เข้าใจในความพิ เศษ ยอมรับ
ให้ความสําคัญอีกท้ังได้ย้อนมาถามตัวเองในสังคมท่ีเราอยู่ว่าเรากําลังทอดท้ิงใคร หรือไม่ได้สนใจใคร
อย่หู รือไม่

“พวกเราทําให้เด็กคนหนึ่งกลายเป็นศูนย์ได้อย่างไร” ในเน้ือเร่ืองบันทึกของโรงเรียนเร่ิมต้น
ช้ัน 1บันทึกว่า “เป็นเด็กอ่อนหวาน ช้ีอาย” และ “ขลาดอายแต่กระตือรือร้น” สู่ช้ัน 3 ท่ีเป็นจุดเร่ิมของ
การ “ทําให้เด็กคนหน่ึงกลายเป็นศูนย์” ครูบางคนได้บันทึกไว้ด้วยลายมือท่ีหนักแน่นว่า “คลิฟไม่ยอม
พู ด ไม่ให้ความร่วมมือ เรียนรู้ช้า” ครูคนต่อ ๆ มาบันทึกตามอย่างด้วยคําว่า “ท่ึม” “สติปัญญา
เช่ืองช้า” “ไอคิวต่ํา” คําเหล่าน้ีได้กลายเป็นความจริง คะแนนไอคิวของคลิฟในช้ัน 9 เหลือเพียง 83
แต่ในช้ัน 3 เขาเคยได้ 106 คะแนน ข้อความส่วนหน่ึงในบทความน้ี ท่ีเป็นข้อความธรรมดา แต่มันเต็ม
ไปด้วยแรงอัดอย่างแรง เม่ือได้อ่านแล้วเหมือนมีเสียงท่ีดังออกมา คล้ายกับกําลังถามคนท่ีกาลังอ่าน
ด้วยว่า คุณเองมีส่วนทาให้เด็กคนหน่ึงกลายเป็นศูนย์ได้อย่างไร มันเป็นข้อความท่ีชวนให้คิดทบทวน
ทง้ั ในเนอ้ื เร่อื งนแ้ี ละสังคมจริง ๆ ทเ่ี ราอยู่ “พวกเราทําให้เดก็ คนหน่งึ กลายเปน็ ศูนยไ์ ดอ้ ยา่ งไร”

จากการอ่านบทความน้ีและได้ทบทวนทําให้คิดว่าการท่ีครอบครัวไม่เคยยอมรับการเป็นบุตร
บุญธรรมน้ันเป็นสาเหตุส่วนหน่ึงในการเสียชีวิตของเด็กชาย เพราะครอบครัวเป็นส่วนสําคัญมากใน
การดูแล และย่ิงเป็นเด็กพิเศษจําเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องดูแลเป็นพิเศษเช่นกัน แต่กลับกันในบทความน้ี
ครอบครัวดูเหมือนไม่ได้ใส่ใจ ดูแลเด็กชายมากนัก ขนาดในตอนท่ีเด็กชายเสียชีวิตไปแล้วคุณครูไป
แจ้งข่าวท่ีบ้านครอบครัวยังไม่มีความกระตือรือร้น ไม่มีการแสดงออกถึงความรักและห่วงใยมีเพียง
เสียง “เด๋ียว ๆ” พ่อเล้ียงตะคอกแม่ของเด็กชาย ฉันต้องกินข้าวเช้าก่อนเข้าเมืองนะ ถึงยังไงเราก็ทา
อะไรไม่ได้แล้ว ถ้าคลิฟมันไม่ท่ึมขนาดน้ัน มันก็น่าจะบอกเราแล้วว่าไม่ค่อยสบาย” สะท้อนให้ทราบว่า
ครอบครัวก็รู้ดีว่าเด็กชายเป็นเด็กพิเศษ ต้องได้รับการดูแล แต่ครอบครัวกลับไม่ให้ความสําคัญ
แต่ไม่อาจทราบได้ว่าทําไมครอบครัวถึงเป็นแบบน้ี อาจเป็นเพราะไม่ใช่พ่อแท้ ๆ ของเด็กชาย และอย่าง
ท่ีบอกไว้ในบันทึกของของโรงเรียนอยู่แล้วว่า ครอบครัวไม่เคยยอมรับการเป็นบุตรบุญธรรมของ
เด็กชายต้ังแต่แรก ครอบครัวจึงไม่ได้ดูและเด็กชายอย่างเหมาะสม ย่ิงให้พัฒนาการแย่ลงเร่ือย ๆ
กระทบสู่ส่วนอ่ืน ๆ รวมท้ังส่งผลต่อการใช้ชีวิตการไปโรงเรียนเด็กชายก็ไม่ได้มีพฤติกรรม ใช้ชีวิต
เหมือนกับเด็กคนอ่ืน ๆ โรงเรียนเองก็ไม่ได้มีการสอน การดูแลเป็นกรณีเฉพาะของเด็กชาย
สังคมเพ่ือน การเล่น ทุกอย่างย่ิงกดทับให้เด็กชายมีภาวะพัฒนาการแย่ลง อาจทําให้เครียดสะสม
เป็นซึมเศร้า สมอง อาการต่าง ๆ แย่ลงเร่ือย ๆ จากเด็กพิเศษท่ีสามารถดูแล พัฒนนาส่งเสริมได้
กลบั กลายเป็นว่าแยล่ งจนทําใหเ้ ดก็ ชายคนหน่งึ กลายเป็นศูนย์

14

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

จากบทความท่ีได้อ่านน้ันคิดว่าปัญหาท่ีเกิดข้ึนคือปัญหาของเด็กพิ เศษท่ีไม่ได้รับการดูแล
อย่างเหมาะสม การท่ีสามารถแก้ไขปัญหาน้ีควรท่ีร่วมกับของส่วนต่าง ๆ คือครอบครัว โรงเรียน
สังคมแวดล้อม หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ศึกษาปัญหา วิธีการ ไปสู่การกําหนดนโยบายเพื่อเด็ก
พิเศษโดยเฉพาะ เพ่ือเป็นการดูแลได้ย่างท่ัวถึง ให้ความสําคัญและเกิดประสิทธิภาพ ส่ิงสําคัญคือการ
ร่วมกันสร้างและขับเคล่ือนนโยบายการดูแลเด็กพิเศษน้ี ร่วมกันหลายภาคส่วน เช่นในบทความเร่ือง
“รหัสกลางหิมะ” น้ันการขับเคล่ือนนโยบายจาเป็นต้องขับเคล่ือนร่วมกับครอบครัวซ่ึงเป็นครอบครัวท่ี
รับบุตรบุญธรรม เป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับครอบครัวบัตรบุญธรรม การขับเคล่ือนนโยบายเพ่ือเด็ก
พิเศษน้ีจะต้องร่วมในการกาหนดการดาเนินงานเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาในกรณีในครอบครัวบัตร
บุญธรรมรับเด็กพิเศษไปเป็นบุตรบุญธรรมด้วย ในส่วนของโรงเรียนควรมีเร่ืองหลักสูตรเฉพาะสา
หรับเด็กพิเศษ การดูแลเด็กพิเศษ และอ่ืน ๆ ซ่ึงเป็นเพียงตัวอย่างในการขับเคล่ือนนโยบายหากเป็น
การแก้ปัญหาจริง ๆ ควรร่วมกันหลายภาคส่วนเพ่ื อร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่าง
ครอบคลมุ และย่งั ยนื

15

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

นายธนปรญั ์ เมอื งพวน 6105680166

ความร้เู ม่อื ไดอ้ า่ นบทความดงั กลา่ ว
มีความรู้สึกสะเทือนใจกับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน และย่ิงรู้สึกสะเทือนใจมากข้ึนไปอีกเม่ือได้รู้ถึง

รายละเอียดต่าง ๆ ของเด็กชายในบทความดังกล่าว อีกท้ังยังตระหนักถึงความแตกต่างหลากหลาย
ของคนในสังคมทต่ี อ้ งพบเจอและแบกรับประสบการณใ์ นชวี ติ ท่มี คี วามยากลําบากแตกต่างกนั ไป

ข้อความส่วนไหนในบทความทท่ี า่ นสนใจเป็นพิเศษ ระบุ และอธิบาย
ประเด็นแรก คุณครูคนโปรด ซ่ึงในคอลัมน์บุคคลเด็กชายได้ระบุถึงคุณครูผู้สอนรายวิชา

วรรณกรรมว่าเป็นคุณครูคนโปรดของเขา ท่ีนักศึกษาสนใจในประเด็นน้ีเพราะอยากทราบถึงเหตุผลว่า
ทําไมเด็กชายจึงยกคุณครูเป็นคนโปรด และมีเหตุผลใดบ้างท่ีทําให้เด็กชายยกคุณครูคนน้ีเป็นคุณครู
คนโปรดของเขา ซ่ึงการกระทําและท่าทีท่ีแสดงออกของคุณครูอาจแสดงถึงการตอบสนองท่ีเขา
ต้องการได้รับจากใครสักคน อัน จะทําให้เด็กชายไม่รู้สึกไร้ค่าและกล้าท่ีจะยอมเปิดใจคุยถึงปัญหาท่ี
เขากําลังเผชิญอยู่อย่างมีความรู้สึกอบอุ่นและปลอดภัยกับใครสักคนท่ีเขาสามารถพักพิงได้ ในทาง
กลับกัน ลองคิดดูว่าถ้าคุณครูคุณปวดคนน้ีสังเกตเห็นถึงปัญหาของเด็กชายและเข้าไปแสดงความใส่
ใจอย่างเพียงพอ ณ ตอนน้ีชีวิตของเด็กชายจะเป็นเช่นไรเด็กชายอาจจะยังมีชีวิตอยู่อย่างไม่ต้องแบก
รับความรู้สึกท่ีไร้ค่า ดังท่ีเคยแบกรับมาตลอด และสามารถบอกถึงความต้องการท่ีตนเองตอบสนอง
ใหแ้ ก่คนอน่ื ไดเ้ ขา้ ใจในความเป็นตัวของเดก็ ชายมากยง่ิ ข้นึ อีกด้วยก็เปน็ ได้

ประเด็นถัดมา ความสัมพันธ์ในครอบครัว มีความสัมพันธ์ท่ีไม่เข้มแข็ง ดังจะเห็นได้จากตอนท่ี
คุณครูมาแจ้งถึงการเสียชีวิตของเด็กชาย พ่อและแม่ก็ไม่ได้มีท่าทีท่ีแสดงออกถึงความเสียใจถึงการ
เสียชีวิตของเด็กชายมากนัก โดยเฉพาะพ่อเล้ียงท่ีไม่ได้เคยยอมรับเด็กชายท่ีเป็นลูกติดแม่ ซ่ึงโทษว่า
ก า ร เ สี ย ชี วิ ต ข อ ง เ ด็ ก ช า ย เ ป็ น เ พ ร า ะ ค ว า ม ท่ึ ม ข อ ง เ ค้ า เ อ ง ท่ี ไ ม่ ย อ ม บ อ ก ใ ห้ ค น อ่ื น ไ ด้ ท ร า
ดังน้ัน ความสัมพั นธ์ในครอบครัวจึงถือเป็นส่ิงท่ีสําคัญเป็นอย่างมาก อีกท้ังการเล้ียงดูของ
ผู้ปกครองยังสามารถสะท้อนให้เห็นได้ด้วยการแสดงออกทางความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมท่ี
แสดงออกของเด็ก จะเห็นได้ว่าเด็กชายในบทความชอบท่ีจะเก็บงามความรู้สึกของตนมีความขลาด
อาย และไม่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน เป็นท่ีน่าสนใจว่าถ้าเขาได้รับการเล้ียงดูอย่างเอาใจใส่และตอบสนอง
ต่อความต้องการ เด็กชายจะมพี ฤตกิ รรมท่แี สดงออกมาอย่างไรบา้ ง

ประเด็นสุดท้าย IQท่ีทดลอง จากเน้ือความในบทความท่ีว่า ‘แม้แต่เด็กอ่อนหวานขลาด และข้ี
อายก็ยังมีแรงอึด กว่าจะทําลายพวกเขาได้ก็ต้องใช้เวลา’ เป็นประโยคท่ีน่าสนใจ แสดงให้เห็นถึง
การศึกษาท่ีทําร้ายเด็กชาย หรือแม้แต่เด็กคนอ่ืนไปไม่รู้เสียเท่าไหร่ ซ่ึงนอกจากการศึกษาท่ีทําร้าย
เดก็ ชาย อันแสดงผลออกมาเป็นตวั เลขโดยการวัดประเมนิ ผล IQ สังคมในโรงเรียนยงั ทํารา้ ยเด็กชาย
อีกด้วย เช่น การถูกเลือกเข้าในทีมเล่นเกมส์เป็นคนสุดท้าย การท่ีไม่ได้เข้าร่วมพู ดคุยในกลุ่มเพ่ือน
เป็นต้น ส่ิงเหล่าน้ีสามารถกระทบจิตใจเด็กชายอย่างซ้ําแล้วซ้ําเล่า จนแสดงออกมาผ่านความสามารถ
ในการเรียนท่ีลดลงหรือในรูปแบบ IQท่ีลดลงก็เป็นได้ เน่ืองจากเด็กชายไม่รู้สึกถึงการได้รับการ
ยอมรับ ไมม่ ตี ัวตน และไร้คา่ เปน็ ศูนย์จากการมเี พ่ือนในสังคมในโรงเรยี น

16

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ทา่ นคดิ ว่าอะไรคือสาเหตแุ ห่งปัญหา/การเสียชวี ิตของเดก็ ชายในบทความ ทาํ ไมจงึ คดิ เช่นนน้ั
สาเหตุแห่งปัญหาคือความรู้สึกไร้ค่าเป็นศู นย์ของเด็กชาย โดยสาเหตุดังกล่าวสืบ

เน่ืองมาจากความสัมพั นธ์ของครอบครัวท่ีไม่เข้มแข็ง ด้วยความท่ีพ่ อเป็นพ่ อเล้ียงทําให้ไม่มี
ความรู้สึกผูกพันกันทางสายเลือดและไม่เคยยอมรับเด็กชายเป็นลูก จึงขาดการดูแลเอาใจใส่และการ
ตอบสนองอย่างเพียงพอและความสัมพันธ์ในโรงเรียนท่ีเปรียบเสมือนเป็นบ้านหลังท่ี 2 ของเด็กชาย
ท่ีอยู่ในวัยเรียน ก็ไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนเช่นเดียวกัน กล่าวคือ เด็กชายไม่ได้รับการ
ยอมรับและไม่มีตัวตนท้ังบ้านและในโรงเรียนเลยก็ว่าได้ทําให้เด็กชายมีความรู้สึกไร้ค่าเป็นศูนย์น่ันเอง
ซ่ึงความรู้สึกดังกล่าวทําให้เด็กชายไม่มีแรงจูงใจท่ีจะใช้ชีวิตหรือมีชีวิตอยู่เพราะการท่ีเด็กชายมีชีวิต
อยู่หรือไมม่ ีก็มคี า่ เทา่ กัน คอื ไม่ได้ได้รบั การยอมรบั ไม่มีตัวตน และไร้คา่ เปน็ ศูนย์นน่ั เอง

มีใครเก่ยี วขอ้ งบ้างตอ่ กรณีการเสียชวี ิตดังกลา่ ว อธบิ าย/อยา่ งไร
ดังท่ีได้กล่าวไปในข้อท่ี 3 ว่าสาเหตุสืบเน่ืองของการเสียชีวิตมาจากความสัมพันธ์ของครอบครัว

และความสัมพันธ์ในโรงเรียน ดังน้ัน คนหลัก ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการเสียชีวิตของเด็กชายคือ พ่อ แม่
และเด็กคนอ่ืน ๆ ในโรงเรียน โดยพ่ อและแม่ท่ีไม่ได้ดูแลเอาใจใส่และให้การตอบสนองต่อความ
ต้องการของเด็กชายอย่างเพียงพอ อีกท้ังพ่อยังเป็นพ่อเล้ียงท่ีไม่ได้รู้สึกผูกพันและยอมรับลูกติด
ของแม่อีกด้วยทําให้เด็กชายไม่ได้รับการยอมรับ ไม่มีตัวตนและรู้สึกไร้ค่าเป็นศูนย์และการกระทําและ
คําพู ดของเด็กคนอ่ืน ๆ ในโรงเรียน เช่น การถูกเลือกเข้าในทีมเล่นเกมส์เป็นคนสุดท้าย การท่ีไม่ได้
เข้าร่วมพู ดคุยในกลุ่มเพื่อนและคําพู ดท่ีว่า ‘เธอมันไม่มีอะไรเลยคลิฟ อีแวนส์’ เป็นต้นย่ิงตอกย้ําถึง
ความรู้สึกในจิตใจของเด็กชายท่ีไม่ได้รับการยอมรับ ไม่มีตัวตน และรู้สึกไร้ค่าเป็นศูนย์มากย่ิงข้ึนไปอีก
ทําให้เด็กชายรู้สึกไม่มีอะไรจะเสียถ้าเขาเสียชีวิตไปเพราะว่าเค้าไม่มีมันต้ังแต่แรกอยู่แล้ว ท้ังครอบครัว
และเพื่อนฝูง

มมุ มองของทา่ นทม่ี ตี ่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ี
ก า ร มี นั ก สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ ใ น โ ร ง เ รี ย น จ ะ เ ป็ น ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า เ ห ล่ า น้ี ไ ด้

เพราะจากบทความจะเห็นได้ว่าครูมีหน้าท่ีให้ความรู้เป็นหลัก ไม่ได้สนใจปัญหาทางกาย จิตใจ สังคม
และจิตวิญญาณของนักเรียนอย่างเพียงพอและท่ัวถึง จึงทําให้เกิดเหตุการณ์การสูญเสียดังกล่าว
ตามมาน่ันเอง ดังน้ัน การมีนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนก็จะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กท่ี
ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ท า ง สั ง ค ม อั น ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ท า ง ก า ย จิ ต ใ จ สั ง ค ม แ ล ะ จิ ต วิ ญ ญ า ณ
เช่น ความสามารถในการเรียนท่ีลดลง การปรับตัวในโรงเรียนท่ีไม่ปกติรวมไปถึงปัญหาบางอย่างท่ี
ซ่อนตัวเบอ้ื งหลังอยู่ท่บี า้ น อย่างครอบคลุมในทุกระดับ

ลองนําเสนอบทบาทของผู้เก่ียวข้องในการทํางานเพื่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาในกรณีท่ีอ่าน
ในบทความ

จากท่ีได้กล่าวไปในข้อท่ี 5 ถึงการมีนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียน จึงขอนําเสนอบทบาทของ
นักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนเพื่ อป้องกันและแก้ไขปัญหาในกรณีดังบทความ ซ่ึงนักสังคม
สงเคราะห์ในโรงเรียน คือ วิชาชีพท่ีให้การช่วยเหลือเก่ียวกับข้อกังวลทางจิตใจ พฤติกรรมการ

17

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

สนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวก การสนับสนุนในห้องเรียนและทางวิชาการให้คําปรึกษากับคุณครู
ผู้ปกครอง และผู้บริหาร รวมท้ังการให้คําปรึกษาและบําบัดท้ังรายบุคคลและกลุ่ม นักสังคมสงเคราะห์
ในโรงเรียนเป็นตัวประสานระหว่างบ้าน โรงเรียนและชุมชนในการให้บริการนักเรียนท้ังทางตรงและ
ทางอ้อมเพ่ื อส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนประสบความสําเร็จท้ังด้านวิชาการและด้านสังคม
โดยบทบาทของนกั สังคมสงเคราะหใ์ นโรงเรยี นมดี งั น้ี

1. บทบาทนักสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย
2. บทบาทการทํางานรว่ มกบั ทมี สหวิชาชพี และเป็นผนู้ ําทมี
3. บทบาทผูแ้ นะแนวทางดา้ นการศึกษาและพฤติกรรม
4. บทบาทผูจ้ ัดการรายกรณี
5. บทบาทผู้พิทักษ์สิทธิ
6. บทบาทในการวางแผนการเปลย่ี นแปลงในชีวิต
7. บทบาทผู้สร้างนโยบาย

จะเห็นได้ว่านักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนจะมีบทบาทในการปฏิบัติงานท่ีหลากหลายโดยมี
บทบาทต้ังแต่ระดับจุลภาคผ่านการปฏิบัติงานเฉพาะรายบุคคล ครอบครัว และชุมชน ฯลฯ ไปจนถึง
ระดับมหาภาคท่ีมีบทบาทเป็นผู้สร้างนโยบายในการกําหนดขอบเขตของการปฏิบัติงานนอกจากน้ี
บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนยังมีบทบาทสําคัญในการปฏิบัติงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนดังน้ันบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนจึงเป็นอีกหน่ึง
บทบาทสําคัญในสถานศึกษาท่ีจะทําให้นักเรียนครอบครัว และบุคลากรในโรงเรียนมีการดํารงชีวิตท่ีดี
ข้นึ

18

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

นางสาวเบญจรวรรณ อทุ ธยิ า 6105680182

1. ความรสู้ ึกเมอ่ื ไดอ้ ่านบทความดังกลา่ ว
ตอบ รู้สึกเศร้ากับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนกับคลิฟ อีแวนส์ ในขณะเดียวกันก็รู้สึกเห็นใจ และเข้าใจ
ความรสู้ ึกของคณุ ครูท่ไี มส่ ามารถชว่ ยเหลือเด็กได้ขณะทเ่ี ดก็ ยงั มชี ีวติ อยู่

2. ท่านคิดว่า อะไรคือสาเหตุแห่งปัญหา /การเสียชีวิตของเด็กชายในบทความ ทําไมจึงคิด
เชน่ น้นั

ตอบ เด็กมีปัญหาสุขภาพ (โรคหัวใจ และอาจจะมีปัญหาด้านสภาพจิตใจ) แต่เลือกท่ีจะไม่บอกผู้อ่ืน
คลิฟ อีแวนส์ อาจจะมีความรู้สึกว่าตนเองน้ันไม่ได้มีคุณค่ามากพอท่ีบุคคลอ่ืนจะให้ความสําคัญ
เด็กไม่มีความม่ันใจในตัวเอง และอาจกลัวการถูกตําหนิเพ่ิม เพราะว่าจากสภาพสังคมท่ีเด็กอยู่
เด็กถูกตําหนิ,ถูกทําลายความม่ันใจจากคนรอบข้างมาตลอด เช่น ประโยคท่ีพ่อกล่าวหลังจากรู้ว่า
คลิฟเสียชีวิต เขากล่าวว่า “ถึงยังไงเราก็ทําอะไรไม่ได้แล้ว ถ้าคลิฟมันไม่ท่ึมขนาดน้ัน มันก็น่าจะบอก
เราแล้วว่าไม่ค่อยสบาย” หรือการถูกตําหนิครูท่ีพบในสมุดบันทึก ท่ีว่า“คลิฟไม่ยอมพู ด ไม่ให้ความ
ร่วมมือ เรียนรู้ช้า” ครูคนต่อ ๆ มาบันทึกตามอย่างด้วยคําว่า “ท่ึม” “สติปัญญาเช่ืองช้า” “ไอคิวต่ํา”
สิ่งเหล่าน้ีอาจส่งผลกระทบต่อจิตใจเด็ก ท้ังพฤติกรรมและการคิดว่าตนเองเป็นอย่างท่ีผู้อ่ืนกล่าวมา
และกลวั การถูกตาํ หนิ จงึ ทาให้คลิฟ อแี วนส์ตัดสินใจไมไ่ ดบ้ อกผู้อน่ื วา่ ตนเองมปี ญั หาสุขภาพ

3. มีใครเก่ยี วขอ้ งบ้างต่อกรณกี ารเสียชวี ิตดังกลา่ ว อธบิ าย /อยา่ งไร
ตอบ การเสียชีวิตของคลิฟ อีแวนส์เป็นผลมาจากการท่ีคนในครอบครัว, เพ่ือน และครูท่ีโรงเรียน
มีการแสดงพฤติกรรมท่ีอาจทําให้คลิฟ อีแวนส์คิดว่าตนเองน้ันด้อยคุณค่า และไม่มีตัวตนในสายตา
คนรอบข้าง ผา่ นการตตี รา และลดทอนคณุ คา่ ของเดก็ เชน่
- คลิฟ อีแวนส์ ผวิ ขาว ไม่เคยไดร้ บั การยอมรบั เปน็ บุตรบุญธรรมตามกฎหมายโดยพ่อเลย้ี งของเขา
- คลิฟ อีแวนส์ไม่เคยมีตัวตนในสายตาคนอ่ืนเลย เขามักเป็นคนสุดท้ายในการเลือกเพ่ือนร่วมทีมใน
การเลน่ เกมส์, เขาไม่ไดเ้ ข้ารว่ มในการซุบซบิ ในหมู่เด็ก ๆ กห่ี นท่ไี มเ่ คยมใี ครถามอะไรเขาเลย
- บันทึกของครูช้ัน 3 คือจุดเร่ิมของการเปิดการโจมตี ครูบางคนได้บันทึกไว้ด้วยลายมือท่ีหนักแน่น
ว่า “คลิฟไม่ยอมพู ด ไม่ให้ความร่วมมือ เรียนรู้ช้า” ครูคนต่อ ๆ มาบันทึกตามอย่างด้วยคาว่า “ท่ึม”
“สติปญั ญาเชอ่ื งช้า” “ไอคิวต่าํ ”, “เธอมันไมม่ ีอะไรดีเลย คลิฟ อแี วนส์”

4. ขอ้ ความส่วนไหนในบทความท่ที ่านสนใจเป็นพิเศษ ระบุ และอธบิ าย
ตอบ พวกเราทําให้เด็กคนหน่ึงกลายเป็นศูนย์ได้อย่างไร บันทึกของโรงเรียนช่วยตอบคําถามน้ีได้
ครชู ้นั 1 และ 2 บันทึกวา่ “ เป็นเดก็ ออ่ นหวาน ข้อี าย” และ “ขลาดอายแตก่ ระตอื รือร้น” บนั ทกึ ของครู
ช้ัน 3 คือจุดเร่ิมของการเปิดการโจมตี ครูบางคนได้บันทึกไว้ด้วยลายมือท่ีหนักแน่นว่า “คลิฟไม่ยอม
พู ด ไม่ให้ความร่วมมือ เรียนรู้ช้า” ครูคนต่อ ๆ มาบันทึกตามอย่างด้วยคาว่า “ท่ึม” “สติปัญญา
เช่ืองช้า” “ไอคิวต่ํา” คําเหล่าน้ีได้กลายเป็นความจริง คะแนนไอคิวของคลิฟในช้ัน 9 เหลือเพียง 83

19

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

แต่ในช้ัน 3 เขาเคยได้ 106 คะแนน ไอคิวของเขาไม่ได้ลงต่ํากว่า 100 จนกระท่ังช้ัน 7 แม้แต่เด็ก
อ่อนหวาน ฉลาดและข้อี ายกย็ งั มีแรงอดึ กว่าจะทาลายพวกเขาได้กต็ อ้ งใชเ้ วลา
วิเคราะห์: จากข้อความส่วนน้ีท่ีบอกว่า “พวกเราทําให้เด็กคนหน่ึงกลายเป็นศูนย์ได้อย่างไร” เป็น
คําถามท่ีเกิดข้ึนกับคุณครูท่ีเด็กคิดว่าสนิทท่ีสุด ซ่ึงจากข้อความท่ีครูท่านอ่ืน ๆ ได้บันทึกเร่ืองเก่ียวกับ
ตัวเด็ก แสดงให้เห็นว่ามุมมองของครูท่ีมีต่อเด็กมีความแตกต่างกัน ตัวเด็กไม่ได้เป็นคนท่ีมี
สติปัญญาเช่ืองช้ามาต้ังแต่ต้น เพราะในช่วงแรกของการเข้าเรียนเด็กแค่มีลักษณะอ่อนหวาน ข้ีอาย
และกระตือรือร้น แต่หลังจากท่ีได้รับการตําหนิจากครูในมุมมองท่ีแตกต่างจากเดิมในปีต่อ ๆ มา
ท่บี อกว่าเด็ก สติปัญญาเชอ่ื งชา้ ไอควิ ต่าํ ส่งผลตอ่ มุมมองของผู้อ่นื ดงั น้ี
- คลิฟ อีแวนส์มีความม่ันใจในตัวเองน้อยลงไป จากเดิมท่ีเป็นคนข้ีอายอยู่แล้ว จึงมีพฤติกรรมท่ี
เปล่ียนไปกลายเป็นเด็กเก็บตัว เงียบ ไม่พู ดคุยกับผู้อ่ืน ไม่เข้าสังคมแบบเด็กปกติท่ัวไป และอาจเช่ือ
วา่ ตนเองเปน็ คนสติปญั ญาเช่อื งชา้ อยา่ งท่ผี อู้ ่นื กลา่ งจรงิ ๆ
- ครูในโรงเรียนมีมุมมองต่อตัวเด็กต่างกัน จากท่ีในช่วงแรกครูบางส่วนเอ็นดูและมองเด็กว่า
กระตือรือร้น แต่ในอีกมุมมองของครูท่านอ่ืนคือการท่ีคิดว่าเด็กสติปัญญาเช่ืองช้า และตีตราเด็ก
เม่ือมีครูท่ีมีมุมมองเดียวกันจึงเกิดการตีตรา และแสดงพฤติกรรมใช้คาพู ดลักษณะเดิม กดทับตัว
เด็ก จนกลายเป็นเร่ืองปกติ และเป็นส่วนท่ีทําให้นักเรียนคนอ่ืน ๆ แสดงพฤติกรรมเลียนแบบครู
ท้งั การใชค้ ําพูด และการกระทําท่ตี ีตวั ออกห่าง ทําเหมือนว่าคลฟิ อีแวนส์ไม่มีตวั ตน

5. มุมมองของทา่ นท่มี ีต่อการปอ้ งกัน และแก้ไขปญั หาน้ี
ตอบ ต้องแก้ไขต้ังแต่มุมมองระดับบุคคล, ครอบครัว และระดับสังคม โดยควรปลูกฝังให้สมาชิกทุก
คนในสังคมเคารพในศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อ่ืน, ไม่เลือกปฏิบัติ ลดการใช้ความรุนแรงท้ัง
คําพู ดและการแสดงพฤติกรรมรุนแรง นอกจากน้ี การอยู่ร่วมกันควรท่ีจะสนับสนุน ให้คําแนะนํา
ช่วยเหลอื และใหก้ าํ ลงั ใจกัน มากกว่าการตาํ หนิ ตตี รา หรือดูถูกผูอ้ น่ื

6. ลองนําเสนอบทบาทผู้เก่ียวข้องในการทํางานเพื่อการแก้ไข และป้องกันปัญหาในกรณีท่ีอ่านใน
บทความ
ตอบ บุคคลท่ีมีส่วนช่วยแก้ไขปัญหาในบทความ: ครู ในกรณีของคลิฟ อีแวนส์ ครูควรท่ีจะดูแล
และเอาใจใส่มากกว่าท่ีเป็นอยู่ สังเกตได้จากข้อมูลนักเรียนท่ีครูได้บันทึก พบว่าคลิฟ อีแวนส์เป็นเด็กท่ี
ไม่ได้รับการสนใจเท่าท่ีควร ครูในโรงเรียนมีน้อยมากท่ีรู้จักเด็กคนน้ี ครูควรท่ีจะมีการพู ดคุย ทําความ
รู้จัก และศึกษาข้อมูลเก่ียวกับตัวเด็ก และครอบครัวให้มากข้ึน เพื่อให้เข้าใจในพฤติกรรมและความคิด
ของเด็ก ซ่ึงจะมีผลต่อการให้ความช่วยเหลือ และให้คาแนะนาได้อย่างเหมาะสมเม่ือเกิดปัญหาข้ึนกับ
เด็ก นอกจากน้ี ครู ควรท่ีจะเคารพในศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ปฏิบัติต่อเด็กทุกคนอย่างเท่าเทียม
ส่งเสริมใหเ้ ด็กมปี ฏิสัมพันธท์ ด่ี ีต่อกนั ช่วยเหลือซ่งึ กนั และกัน, จดั รปู แบบการเรยี นการสอนใหส้ ัมพันธ์
กับพัฒนาการเด็ก และเป็นแบบอย่างให้กับเด็กโดยเฉพาะในเร่ืองของการแสดงออกพฤติกรรมอย่าง
เหมาะสม, การมีทัศนคติทด่ี ,ี การมองโลกในแงด่ ,ี ไม่ตาํ หน,ิ ตตี ราผู้อน่ื

20

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

นางสาวฐติ าพร แอนกาํ โภชน์ 6105680356

1. ความรู้สึกของนักศึกษาเม่อื ไดอ้ า่ นบทความดังกลา่ ว
จากท่ีได้อ่านบทความเร่ือง รหัสกลางหิมะ นักศึกษาก็ได้เกิดความรู้สึกข้ึน 3 ความรู้สึก

คือ รู้สึกเสียใจ รู้สึกสงสาร และรู้สึกโกรธ โดยความรู้สึกเสียใจ เกิดข้ึนเพราะรู้สึกเสียใจท่ีเด็กคนนึง
ถูกละเลย ขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดการเล้ียงดูท่ีถูกวิธีจากคนรอบข้าง จนกระท่ังเขาตายไปแล้ว
ก็ยังไม่มีใครใส่ใจ สนใจหรือเสียใจต่อการตายของเขา มีเพียงคําพู ดไม่ก่ีคําท่ีสื่อว่าพวกของตนเองไม่
ผิด เช่น “เขาไม่เคยพู ดสักคําว่าไม่สบาย” “ถ้าคลิฟมันไม่ท่ึมขนาดน้ัน มันคงบอกเราแล้วว่าไม่ค่อย
สบาย” ต่อมาคือ ความรู้สึกสงสาร เกิดจากความสงสารท่ีคลิฟ อีแวนส์ โดนดุด่า ยัดเยียดว่าตนเอง
น้ันเป็นเด็กไม่ดี ไม่มีใครใส่ ใจหรือสนใจ และคนรอบข้างทําเหมือนเขาน้ันแปลกประหลาด
จนเขากลายเป็นคนท่ีไร้ตัวตน ไม่มีใครคอยอยู่ข้าง ๆ ไม่ว่าจะสถานะเพื่อน นักเรียน หรือลูกของพ่อ
แม่ แม้กระท่ังงานศพก็มีเพียงไม่ก่ีคนท่ีไปเคารพศพ และจะเห็นได้ว่าเขาไม่มีเพ่ือนจริง ๆ เลยสักคน
และความรู้สึกสุดท้าย คือ ความรู้สึกโกรธ เป็นความรู้สึกท่ีเกิดเพราะผู้ใหญ่ภายในเร่ือง ท่ีไม่รู้จัก
บทบาทหน้าท่ีของตนเอง ไม่ว่าจะในฐานะ พ่อ แม่ ท่ีขาดความรู้ความเข้าใจในการเล้ียงดูลูกของตน
ซ้ํายังไม่เอาใจใส่สุขภาพร่างกาย จิตใจลูกของตนเอง ในด้านครู/อาจารย์ ก็ขาดความรู้ในการสอน
เด็กคนนึง ซ้ํายังว่าร้ายเด็ก เช่น คําว่า “ท่ึม” และอีกมากมาย ท่ีคนเป็นครูไม่ควรเกิดความรู้สึกเช่นน้ี
กับเดก็ นักเรยี นของตนเอง

2. ข้อความทน่ี กั ศึกษาสนใจเปน็ พิเศษจากบทความและจงอธิบาย
ข้อความท่ีสนใจเป็นพิเศษ คือ “เธอมันไม่มีอะไรดีเลย คลิฟ อีแวนส์” เป็นประโยคท่ีอ่านคร้ัง

แรกก็รู้สึกสนใจ เพราะมันเป็นประโยคท่ีไม่น่าเช่ือว่าจะมีใครพู ดออกมาให้คนอ่ืนรับฟงั มันไม่ควรพู ด
ออกมาไม่ว่าผู้พู ดจะเป็นใครก็ตาม เพราะคําพู ดมักจะส่งผลต่อจิตใจคนเสมอ ถ้าพู ดดีก็จะกลายเป็น
กําลังใจ แรงบันดาล สามารถนําไปสู่เร่ืองราวดี ๆ แต่ในทางกลับกัน คําพู ดท่ีไม่ดีเม่ือได้พู ดออก
มาแล้วกลับทําร้ายคนฟังเป็นอย่างมาก สามารถเป็นคําพู ดท่ีเปล่ียนแปลงชีวิตคนคนนึงได้เลย
จากท่ีได้อ่านประโยคดังกล่าวในบทความจะเห็นว่ามีคนพู ดหลายคนกับคลิฟ อีแวนส์อยู่บ่อยคร้ังว่า
เธอมนั ไมม่ อี ะไรดี และคลิฟ อีแวนส์กค็ งจะเชือ่ คาํ พูดเหลา่ นั้น เพราะคลิฟยังเป็นเด็ก และเด็กมักจะเชือ่
ในสิ่งท่ีตนได้ยินหรือได้เห็น คําพูดพวกน้ีเป็นอาวุธท่ีทําร้ายเด็กท่ีมีความใสซ่ือบริสุทธ์ิ ข้อความน้ีเป็นคํา
ท่ีทําลายคลิฟ อีแวนส์ได้ เพียงเพราะเขาได้ยินบ่อย และค่อย ๆ เช่ือคําเหล่าน้ัน และจิตใจเขาก็เช่ือ
ตามคําท่ีคนอ่ืนเขาพู ดกัน และจะเห็นได้ว่าคําพู ด สามารถทําลายคนคนนึงได้จริง ๆ จากในช่วงหน่ึง
ของบทความท่ีได้เล่าว่า คําบันทึกของครูท่ีได้บันทึกมันกลายเป็นความจริง ไม่ว่าจะเป็นคําว่า
ทม่ึ สติปญั ญาเช่อื งช้า คาํ พวกนก้ี ลายเปน็ ส่ิงท่เี กดิ ข้นึ จรงิ

3. นักศึกษาคิดว่า อะไรคือสาเหตุแห่งปัญหา / การเสียชีวิตของเด็กชายในบทความ และเพราะ
สาเหตุใดจงึ คดิ เชน่ นน้ั
ดิฉันคิดว่าสาเหตุของปัญหา/การเสียชีวิตของคลิฟ อีแวนส์ คือ การท่ีทุกคนละเลยทางด้านจิตใจ
และการขาดความรู้ความเข้าใจในตัวของคลิฟ อีแวนส์ ท่ีคิดว่าเหตุผลดังกล่าวคือสาเหตุเพราะทุกคน

21

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

รอบตัว ท้ังคุณครูท่ีโรงเรียนหรือพ่อแม่ ต่างก็ขาดความรู้ความเข้าใจในคลิฟ อีแวนส์ และยังเพิกเฉย
ละเลยต่อสิ่งท่ีคลิฟเจอเหตุการณ์ท่ีโรงเรียน หรือแม้แต่พฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลงไปของคลิฟ
เพียงแค่เพราะเขาไม่เคยพูด เล่าปัญหาท่ีเผชิญอยู่ ส่ิงท่ีคลิฟ อีแวนส์เป็นน้ันไม่มีใครพยายามทําความ
เข้าใจ มีแต่คําด่าจากคุณครู คําดูถูกมากมาย การไม่เป็นท่ียอมรับในสังคมโรงเรียน การท่ีไม่มีเพื่อน
เลยสักคน ทุกอย่างท่ีเกิดข้ึนน้ันย่อมส่งผลกระทบต่อจิตใจของคลิฟ อีแวนส์เป็นอย่างมาก และทุก ๆ
อยา่ งคอ่ ย ๆ ก่อตัวมากขน้ึ เร่อื ย ๆ จนกลายเป็นสาเหตทุ ท่ี าํ ให้คลิฟ อีแวนส์ตอ้ งเสียชีวติ ลงในท่สี ุด

4. มีใครเป็นผเู้ ก่ยี วขอ้ งกับกรณกี ารเสียชีวิตดงั กล่าว จงอธบิ าย
ทุกคนท่ีอยู่รอบตัวของคลิฟ อีแวนส์ต่างก็มีส่วนเก่ียวในการเสียชีวิตของคลิฟ จากการปล่อย

ละเลย เพิกเฉยต่อเด็กคนนึง ท่ีทุกคนต่างรู้ว่ามีความเปล่ียนแปลงไป ท้ังในด้านของการเรียน
การสื่อสารการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน น่ันก็คือเพ่ือน ๆ ท่ีไม่มีใครยอมเล่น หรือเป็นเพ่ือนกับคลิฟอีแวนส์
แม้แต่น้อย ท้ังในตัวของคุณครู ท่ีถึงแม้จะทราบว่าคลิฟมีความเปล่ียนแปลงไป แต่ก็เพิกเฉย ซ้ํายัง
เขียนบนั ทกึ ตอ่ พัฒนาการของคลฟิ ดว้ ยถอ้ ยคาํ ท่รี นุ แรง ดดุ ่า ซ่งึ ขาดความเขา้ ใจและไมค่ ดิ ทจ่ี ะหาทาง
ออก หาสาเหตุของการเปล่ียนแปลงทางด้านพัฒนาการ หรือช่วยเหลือเด็กนักเรียนของตนแม้แต่
น้อย ทางครอบครัวท่ีเห็นความเปล่ียนแปลงของลูกตนเองต้ังแต่ย้ายท่ีอยู่ก็เงียบข้ึน ไม่ยอมพู ดจา
แต่ก็ไม่ได้สนใจ และเม่ือคลิฟ อีแวนส์ได้เสียชีวิตลง พ่อแม่ก็โทษว่าเป็นเพราะเขาไม่ยอมพูดออกมาเอง
ท้ังท่ีในความเป็นจริงควรจะต้องแสดงความห่วงใย สอบถามลูกอยู่เสมอไม่ใช่ว่าการทีลูกไม่พู ด
คือการท่ีลูกสบายดี ท้ังนด้านร่างกายและจิตใจ พ่อแม่ควรสังเกตลูกของนเองอยู่เสมอ การกระทํา
ของผ้คู นรอบตัวของคลฟิ อีแวนส์ถอื ว่ามีส่วนเกย่ี วขอ้ งกับการเสียชวี ิตดังกลา่ ว

5. มมุ มองของนักศึกษาท่มี ตี อ่ การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาน้ี
จากมุมมองของนักศึกษา คิดว่าการแก้ไขปัญหาจากกรณีดังกล่าว คือ การท่ีท้ังพ่อแม่

คุณครู รวมถึงเพื่อนท่ีโรงเรียนของคลิฟ อีแวนส์ มีความเข้าใจเร่ืองความหลากหลาย เคารพผู้อ่ืน
มีความเข้าใจในเร่ืองของพัฒนาการต่าง ๆ ของวัยเด็กท่ีแตกต่างกันออกไป หยุดเสียดสีว่าร้านคลิฟ
อีแวนส์ เพียงเพราะเขาแตกต่างจากคนอ่ืน เปล่ียนเป็นการพยายามทําความเข้าใจอย่างช้า ๆ คอยอยู่
เคียงข้าง ถามไถ่และเอาใจใส่คลิฟ อีแวนส์อยู่เสมอ ซ่ึงจะช่วยทําให้ทุกคนเข้าใจในตัวของคลิฟ
อีแวนส์ การเร่ิมต้นจากคุณครูท่ีโรงเรียนหรือเร่ิมต้นจากพ่อแม่ จะช่วยทําให้เป็นแบบอย่างท่ีดีให้กับ
เด็กคนอ่ืน ๆ ภายในโรงเรียน ถือเป็นการสอนเด็กไปในตัว ซ่ึงเด็กคนอ่ืน ๆ ก็จะรับรู้ได้และทําตาม
ก า ร ท่ี พ่ อ แ ล ะ แ ม่ เ ข้ า ใ จ ใ น พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ลู ก ม า ก ข้ึ น ผ่ า น ก า ร บ อ ก เ ล่ า ข อ ง คุ ณ ค รู ห รื อ ก า ร คุ ย กั บ
โรงเรียนอย่างสม่ําเสมอเพ่ื อท่ีจะได้รับรู้เร่ืองราวของลูกและทําความเข้าใจและปรับเปล่ียนแก้ไขไป
พร้อม ๆ กัน จะเป็นการแก้ไขปัญหาด้วยความเข้าใจอย่างแท้จริง อีกท้ังยังนําไปสู่การป้องกันไม่ให้
เกิดปัญหาในภายภาคหน้าและเป็นการยุติปัญหาต่าง ๆ ก่อนท่ีจะเกิดการความสูญเสียดังเน้ือหาใน
บทความ อีกหน่ึงทางแก้ปัญหาและการป้องกันเม่ือครอบครัวมีความพร้อมในการดูแลลูก และความ
เข้าในใจหลาย ๆ เร่ือง การหาโรงเรียนเฉพาะทางท่ีเหมาะกับคลิฟ อีแวนส์ เพื่อช่วยเหลือการเรียนรู้ใน
ด้านต่าง ๆ ให้เหมาะต่อการเรียนรู้ของเขา ซ่ึงจะเป็นอีกหน่ึงวิธีแก้ไขปัญหารวมถึงได้ปกป้องและ
ป้องกันปญั หาอ่นื ๆ ให้กบั คลฟิ อีแวนส์

22

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

6. นําเสนอบทบาทผู้เก่ยี วขอ้ งในการทํางานเพ่ือแก้ไข และป้องกันปัญหาทเ่ี กดิ ข้นึ
บทบาทของผู้ท่ีจะมาทํางานเพ่ือแก้ไขและป้องกันปัญหาท่ีเกิดข้ึน คือ นักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียน
ท่ีจะคอยทํางานประสานกันกับคุณครูภายในโรงเรียน ในการประเมินสถานการณ์ปัญหาต่าง ๆ ท่ีคลิฟ
อีแวนส์ กําลังเผชิญ และทําการจัดวางแผนงานอย่างเป็นระบบท่ีจะช่วยแก้ไขและป้องกันปัญหาได้
อย่างทันท่วงที โดยการทํางานของนักสังคมสงเคราะห์จะทํางานประสานระหว่างตัวคลิฟ อีแวนส์
ครอบครัว และโรงเรียน ผ่านการสังเกตสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนโดยประสานงานกับคุณครู ให้คําปรึกษา
รับฟัง ให้ตัวของคลิฟได้เล่าสิ่งท่ีอยู่ในใจของตนเองออกมา และเม่ือได้รับฟังปัญหาในมุมมอง
ของคลิฟ อีแวนส์ก็จะช่วยทําให้เห็นถึงปัญหาในมุมของเจ้าของเร่ืองด้วย ก็จะช่วยให้นักสังคม
สงเคราะห์ในโรงเรียนทํางานได้มีประสิทธิภาพและแก้ไขปัญหาได้ดีย่ิงข้ึน มีการจัดอบอรมคุณครูให้
ตระหนักถึงจรรยาบรรณ การจัดการพฤติกรรมสิ่งท่ีพึงกระทําต่าง ๆ ให้ความรู้แก่ครอบครัว
ของคลิฟ อีแวนส์เข้าใจในการเล้ียงดูเด็กมากย่ิงข้ึนและช่วยปรับความเข้าใจภายในครอบครัว
เพราะว่าคลิฟควรจะต้องได้รับการดูแล ช่วยเหลือเป็นพิเศษ ท้ังในด้านการเรียนรู้ และการเข้าสังคมท่ี
จะต้องใช้ระยะเวลาเป็นอยา่ งมากในการสอนเขาอย่างค่อยเป็นค่อยไป

23

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ผกามาศ กันทรประเสริฐ 2345264742

1. ความรูส้ ึกเม่อื ไดอ้ ่านบทความดงั กล่าว
ความรู้สึ กเม่ือได้อ่านบทความดังกล่าวทําให้รู้สึ กถึงความหดหู่ท่ีเกิดข้ึนกับเด็กผู้ชาย
ท่ียังไม่สามารถช่วยเหลือหรือดูแลตัวเองได้ กลับมาเผชิญกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน
อย่างไรก็ตาม บทความดังกล่าวก็ไม่เพียงแต่จะแสดงให้เห็นแค่ความโหดร้าย หดหู่เกิดข้ึนกับเด็กชาย
เท่าน้ัน แต่ยังแสดงให้เห็นถึงสภาพสังคมและบริบททางสังคมท่ีเกิดข้ึน ไม่ว่าจะสังคมโรงเรียนหรือท่ี
บ้านกต็ าม
2. ขอ้ ความส่วนไหนในบทความท่ที า่ นสนใจเป็นพิเศษ ระบุและอธิบาย
บทความท่ีสนใจและทําให้ฉุกคิดข้ึนมาคือบทความท่ีกล่าวว่า “คลิฟ อีแวนส์ ได้เดินเข้าประตูอย่าง
เงียบ ๆ ในตอนเช้าและออกจาะประตูโรงเรียนในตอนบ่าย ก็แค่น้ัน เขาไม่เคยได้ร่วมชมรมใด ๆ
ไม่เคยร่วมเล่นในทีมใด ๆ ไม่เคยมีตําแหน่งใด ๆ เท่าท่ีฉันรู้ เขาไม่เคยทําอะไรท่ีมีความสุขและเจ๊ียวจ๊าว
แบบเด็กเลยสักคร้ัง เขาไม่เคยมีตัวตนในสายตาคนอ่ืนเลย” สาเหตุท่ีเลือกบทความน้ีมาเพราะว่าเป็น
ส่วนหน่ึงท่ีทําให้เราเห็นถึงปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับคลิฟ อีแวนส์ ว่าทําไมเขาถึงดูโดดเด่ียว ไม่มีใครพู ดคุย
หรือเล่นกะเขา น่ันเป็นเพราะเขาถูกสังคมเพื่อนและคนอ่ืน ๆ ผลักเขาออกให้เป็นชายขอบโดยการทํา
ให้เขาไมม่ ตี ัวตนในสายตาคนอ่นื ๆ
3. ท่านคิดวา่ อะไรเป็นสาเหตุแหง่ ปัญหา การเสียชีวติ ของเด็กชายในบทความ ทําไมถึงคดิ เช่นน้นั
ปัญหาท่ีอาจนําไปสู่การเสียชีวิจของคลิฟ อีแวนส์ นอกจากท่ีแพทย์วินิจฉัยว่าหัวใจล้มเหลว
แต่หากมองย้อนกลับไปจะเห็นว่า ส่ิงต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนกับคลิฟ อีแวนส์น้ันมากมายเกินกว่าท่ีเด็กคน
หน่ึงจะรับไหว ไม่ว่าจะเป็นการถูกตีตราว่าไม่มีประโยชน์จากเพื่อน ๆ ถูกกระทําความรุนแรงด้วยคําพูด
และสายตาจากเพื่อนและคนรอบข้าง โดยการกระทําต่าง ๆ เหล่าน้ีส่งผลให้เด็กคนหน่ึงถูกผลักออก
ให้เป็นชายขอบ ซ่ึงทําให้คลิฟ อีแวนส์รู้สึกและคิดกับตัวเองเสมอว่า “เธอมันไม่มีอะไรดีเลย” และท่ี
สําคัญสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีทําให้เขาไม่เคยมีตัวตนในสายตาคนอ่ืนเลย อีกท้ังยังไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่
เท่าท่ีเด็กคนหน่ึงควรจะได้รับจากครอบครัว พ่ อเล้ียงและแม่ดูเหมือนไม่ได้ให้ความสนใจกับ
คลิฟ อีแวนส์สักเท่าไหร่นัก เห็นได้จากการท่ีครูไปแจ้งข่าวการเสียชีวิตของคลิฟ แต่ดูเหมือนพ่อเล้ียง
และแม่ ไม่มีท่าทีตกใจหรือเป็นกังวลกับส่ิงท่ีเกิดข้ึน ทางกลับกันแม่เอาแต่พู ดว่า “เขาไม่เคยพู ดสักคํา
ว่าเขาไม่สบาย” ส่วนพ่อเล้ียงก็พู ดว่า “เขาไม่เคยพู ดสักคําไม่ว่าเร่ืองอะไรต้ังแต่ฉันย้ายเข้ามา”
น่ันก็เป็นอีกส่ิงหน่ึงท่ีทําให้เราเห็นว่า คลิฟกับครอบครัวมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยมาก ดังน้ันสาเหตุท่ีกล่าว
มาท้ังหมดน้ี อาจเป็นส่วนหน่ึงท่ีทําให้เขารู้สึกว่าเขาไม่มีค่า ไม่มีอะไรเหลืออยู่สําหรับตัวของเขา
ทําให้เขาร้สู ึกเจบ็ ปวดอย่างถึงท่สี ุด เขาจงึ ล้มลงบนกองหมิ ะขา้ งถนนและจากไป
4. มุมมองของทา่ นทม่ี ตี อ่ การปอ้ งกนั และแกป้ ัญหาน้ี
มุมมองท่ีมีต่อการป้องกันและแก้ไข ในส่วนตัวแล้ว หากจะมองถึงการป้องกันและแก้ไขน้ันควรเร่ิมจาก
ภายในสถาบันครอบครัวก่อน ครอบครัวเป็นส่วนหน่ึงในชีวิตของคลิฟ อีแวนส์ ดังน้ันสิ่งท่ีเกิด
ข้ึนกับคลิฟ อีแวนส์ตอนน้ื คือเขาไม่ได้ความรักความอบอุ่น และการกระทําท่ีทําให้เขารู้สึกถึงตัวตน
และการแสดงออก เหตุหน่ึงจึงเป็นส่วนท่ีทําให้เขามีพฤติกรรมเงียบ ไม่เข้าสังคม อยู่ตัวคนเดียว
ไม่สดใสและร่าเริงเหมือนเด็กคนอ่ืน ๆ แล้วด้วยพฤติกรรมท่ีค่อนข้างต่างจากเด็กคนอ่ืน ๆ น้ีจึงทําให้

24

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

เขามักถูกเพื่อน ๆ ไม่กล้าเข้าใกล้ไม่สนใจ ไม่เล่นด้วย อีกท้ังยังมีการพู ดจาหรือกระทําการท่ีมีผลต่อ
ความรู้สึก ไม่ว่าจะเป็นการผลักเขาออกให้เป็นชายขอบ การทําให้เขารู้สึกไม่มีตัวตนในสายตาคนอ่ืน ๆ
และทําให้คลฟิ เองนน้ั รู้สึกวา่ ตัวเองน้นั ไม่มีอะไรดีเลย

ดังน้ัน การป้องกันหรือการแก้ไขปัญหาควรเร่ิมจากครอบครัวท่ีสร้างความรัก ความม่ันใจ
การมตี ัวตน เพื่อใหเ้ ดก็ นน้ั รู้สึกมคี ุณค่าในตัวเอง และสามารถเข้ากับสังคมได้

5. นําเสนอบทบาทเก่ียวกับผู้เก่ียวข้องใยการทํางานเพ่ือการแก้ไขและป้องกันในกรณีท่ีอ่านใน
บทความ

หากเป็นหน่ึงในผู้เก่ียวข้องกับการทํางานดังกล่าวในกรณีน้ี การป้องกันท่ีดีและเร็วท่ีสุ ด
(หากคลิฟ อีแวนส์ไม่เสียชีวิต) คือการขอความร่วมมือจากครูประจําช้ัน หรือครูท่ีคลิฟรู้สึกไว้ใจ
คอยสอดส่องดูแลพฤติกรรมและคอยเข้าไปช่วยเหลือเม่ือเขาต้องการความช่วยเหลือ อีกท้ังครูยัง
อาจช่วยแก้ไขปัญหาท่ีคลิฟ ไม่ยอมเข้าสังคมหรือเพื่ อน ๆ ไม่ยอมรับในตัวคลิฟด้วยการใช้
กิจกรรมบําบัดต่าง ๆ โดยการนํากิจกรรมเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงในการสร้างสัมพันธ์กับเพ่ือนร่วมช้ันคน
อ่ืน ๆ อย่างน้อบการทํากิจกรรมร่วมกันก็เป็นการทําให้คลิฟ และเพ่ื อน ๆ ได้ใช้เวลาร่วมกัน
ดังน้ัน การให้ครูช่วยสอดส่องพฤติกรรม การช่วยเหลือ และการพาทํากิจกรรมก็อาจเป็นอีกหน่ึงวิธีท่ี
สามารถแก้ไขปัญหาและป้องกันไม่ให้เพ่ือนหรือคนรอบข้างมากล่ันแกล้งอีกท้ังยังสามารถทําให้คลิฟ
เปดิ ในในการร่วมกํากิจกรรมกบั เพ่ือน ๆ ไม่มากก็นอ้ ย

25

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

นางสาว รม่ ฉตั ร โนรี 6105680844

ความรู้สึกเมอ่ื ไดอ้ า่ นบทความดังกล่าว
หลังจากได้อ่านบทความเร่ืองรหัสกลางหิมะแล้วน้ัน ส่วนตัวมีความรู้สึกเศร้าโศก และเสียใจ

กับการเสียชีวิตของ คลิฟ อีแวนส์ เด็กชายในเร่ืองเป็นอย่างมาก อีกท้ังยังรู้สึกหดหู่กับความสัมพันธ์
ของตัวละครโดยเฉพาะอย่างย่ิง ความสัมพันธ์ของผู้เป็นแม่และพ่อเล้ียงต่อตัวเด็กท่ีมีท่าทีไม่สนใจการ
จากไปของคลิฟ ท้ังท่ีความจริงแล้วน้ัน ครอบครัวควรท่ีจะเป็นผู้ท่ีมีความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟน้ และ
ควรเอาใจใส่เดก็ มากกวา่ น้ี

ข้อความส่วนไหนได้บทความท่ีท่านสนใจเป็นพิเศษ ระบุและอธิบาย (สามารถอธิบายได้มากกว่า 1
ประเดน็ )

จากเร่ืองข้อความส่วนท่ีสนใจเป็นพิเศษ คือ ช่วงท่ีเล่าถึงตอนท่ีคุณครูนําข่าวไปบอกกับ
ครอบครัวของคลิฟว่าเด็กชายได้จากโลกน้ีไปแล้ว ซ่ึงเม่ือไปถึง นางอีแวนส์ผู้เป็นแม่ก็ได้กล่าวออกมา
ว่า “ เขาไม่เคยพู ดคําว่าไม่สบายใจ ” สาเหตุท่ีสนใจข้อความข้างต้นเป็นพิเศษน้ัน เน่ืองจากเป็น
ข้อความท่ีแสดงให้เห็นถึงความห่างเหินของผู้เป็นแม่กับตัวเด็กชายเป็นอย่างมาก เพราะถึงแม้คลิฟ
เองจะมีพี่น้องถึง 5 คน ครอบครัวก็ควรจะเอาใจใส่ลูกๆทุกคนอย่างเหมาะสม ไม่ควรท่ีจะมีใครหรือ
เด็กคนไหนถูกละเลยทอดท้ิงท้ังการดูแลเอาใจใส่ในสุขภาพกายและสุขภาพจิตเช่นเดียวกับท่ีคลิฟ
ได้รับจากครอบครัวน้ี โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากผู้เป็นแม่ท่ีเก่ียวข้องกับเด็กโดยตรงต้ังแต่การเกิดและ
การเลย้ี งดู

อีกข้อความหน่ึงท่ีสนใจคือ “ ข้อความท่ีบอกถึงความสัมพันธ์ของคลิฟกับพ่อเล้ียงท่ีว่าเค้าไม่
เคยได้รับการยอมรับเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายด้วยพ่อเร่ืองของเขา ” ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงการไม่
ยอมรับในตัวเด็กและความเข้าใจกันไม่ได้ของพ่อเล้ียงกับคลิฟเอง อีกท้ังในตอนท่ีครูนําข่าวการตาย
ของคลิฟไปบอกครอบครัว พ่อเล้ียงของเค้าก็ได้แต่พ่อแม่ของคลิฟท่ีพยายามจะเลิกทําอาหารเช้า
เนอ่ื งจากขาวท่ไี ดร้ บั ว่า “ เดย๋ี วๆฉันต้องกินข้าวเช้ากอ่ นเข้าเมืองนะ ถึงยังไงเรากท็ ําอะไรไมไ่ ดแ้ ล้วถ้าค
ลิฟมันไม่ถึงขนาดน้ันมันก็น่าจะบอกเราแล้วว่าไม่ค่อยสบาย ” ซ่ึงเป็นข้อความท่ีแสดงให้เห็นว่าเค้า
มองว่าการตายของคลิฟเป็นเร่ืองท่ีไม่สําคัญ ไม่ควรจะไปสนใจและเอาใจใส่เพราะจะทําให้เสียเวลาชีวิต
ไม่ได้เศร้าเสียใจหรือตกใจกับการตายแม้แต่น้อย แต่ยังแสดงให้เห็นถึงการตัดสินตัวเด็กอีกว่าการ
ตายน้นั เป็นเพราะตวั เดก็ เองดว้ ย

ทา่ นคดิ วา่ อะไรคอื สาเหตแุ หง่ ปัญหา/การเสียชีวติ ของเด็กชายในบทความ ทําไมจึงคดิ เชน่ นน้ั
สาเหตุแห่งปัญหาในการเสียชีวิตของคลิฟ อาจเป็นผลมาจากความเครียดและความโดดเด่ียว

ส่วนหน่ึงเน่ืองจากตัวเด็กเองไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ท่ีเหมาะสม ไม่ได้รับการเติมเต็มท้ังในเร่ืองของ
สภาพร่างกาย และสภาพจิตใจ มองว่าตัวเองไม่มีค่าไม่ได้รับการยอมรับจากเพ่ือนๆ ครู รวมไปถึง
ครอบครัวของตัวเองก็ตาม ในส่วนน้ีเองท่ีอาจทําให้เขารู้สึกว้าเหว่และเกิดภาวะซึมเศร้าอยู่ภายในโดย
ท่ีตนก็ไม่สามารถท่ีจะบอกกล่าวกับใครได้เน่ืองจากมองว่าตนเองเป็นเหมือนคนท่ีไร้ตัวตนในสายตาคน

26

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

อ่ืน ไม่มีใครสนใจ พู ดส่ิงท่ีต้องการไปก็เท่าน้ันอย่างไรก็ไม่มีใครตอบสนองเสียงเรียกของเขาใน
ท้ายทส่ี ุด การตายของคลฟิ อาจเปน็ ได้ทง้ั การตรอมใจหรือเปน็ ผลมาจากการเล้ยี งดูท่ผี ดิ วิธนี ่นั เอง

มีใครเก่ยี วข้องบา้ งตอ่ กรณกี ารเสียชวี ิตดังกลา่ ว อธิบาย / อยา่ งไร
ผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการเสียชีวิตของคลิฟในเร่ืองน้ัน ส่วนตัวแล้วมองว่าผู้ท่ีเก่ียวข้องหลัก ๆ

คือครอบครัวของคลิฟเอง โดยเฉพาะอย่างย่ิง พ่อเล้ียงและแม่ท่ีควรทําหน้าท่ีในการเล้ียงดูอย่าง
ถูกต้องและทําให้เด็กคนหน่ึงได้รับการเติมเต็มอย่างครบถ้วนในแต่ละช่วงวัย ท่ีจะทําให้พัฒนาการและ
การเจริญเติบโตของเด็กเป็นไปอย่างเหมาะสม แต่จากเร่ือง แสดงให้เห็นว่าครอบครัวของเด็กได้
แสดงท่าทีละเลยเด็ก รวมถึงไม่แสดงถึงความใส่ใจในการดูแลเลยแม้แต่น้อย ซ่ึงทําให้คลิฟต้องตกอยู่
ในสภาวะการถกู ทอดทง้ิ โดยครอบครัว

นอกจากน้ี ผู้ท่ีเก่ียวข้องอันดับรองลงมา คือ ผู้ท่ีอยู่ในบริบทแวดล้อมสังคมท่ีคิดอาศัยอยู่
โดยเฉพาะโรงเรียน ท่ีมีบทบาทและความสําคัญต่อการใช้ชีวิตของคลิปเป็นอย่างมาก แต่จากเร่ือง
แสดงให้เห็นว่าไม่ว่าจะเป็นครูหรือนักเรียนท่ัวไปก็ไม่มีใครท่ีจะหันมาสนใจความรู้สึกของคลิฟเลยแม้แต่
คนเดียว ถึงขนาดท่ีมีเพื่อนร่วมฉันกล่าวกับคลิฟว่า “ เธอมันไม่มีอะไรดีเลย คลิฟ อีแวนส์ ”ซ่ึงเป็น
ประโยคท่ถี อื วา่ เร็วรา้ ยมากสําหรับเด็กคนหนง่ึ ท่ใี สซ่อื และเช่อื คําพูดของคนอน่ื ได้อยา่ งงา่ ยดาย

มุมมองของทา่ นท่มี ตี อ่ การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาน้ี
การป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนอย่างเช่นในเร่ือง ทําได้โดยวิธีง่ายๆ คือ การเอาใจใส่คน

รอบข้างให้มากข้ึน การลดความอคติและเพิ่มความสนใจความเข้าอกเข้าใจผู้อ่ืน การดูแลเอาใจใส่เด็ก
และคนในครอบครัวท่ีถูกวิธี รวมถึงการเอาใจเค้ามาใส่ใจเราให้มากข้ึน เน่ืองจากเป็นวิธีท่ีง่ายท่ีสุดท่ีจะ
ทําให้เราสามารถเข้าใจคนอ่ืนได้โดยเร็ว อะไรท่ีเราคิดว่าหากเป็นเราท่ีถูกกระทําเช่นน้ันแล้วเราจะรู้สึกไม่
ดี เราก็ไม่ควรท่ีจะไปกระทําต่อผู้อ่ืนควรท่ีจะมอบแต่ส่ิงดี ๆ ให้แก่ผู้อ่ืน นอกจากจะช่วยลดปัญหาเช่น
เดยี วทเ่ี กิดข้นึ กับคลิฟแลว้ ยังเปน็ แนวทางทท่ี ําใหค้ วามขดั แย้งในสังคมลดลงได้อีก

ลองนําเสนอบทบาทผู้เก่ียวข้องในการทํางานเพ่ื อแก้ไขปัญหาและป้องกันปัญหาในกรณีท่ีอ่านใน
บทความ

จากเร่ืองราวของคลิฟท่ีได้อ่าน ทําให้อยากท่ีจะเสนอให้มีนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนข้ึน
เพ่ือทําหน้าท่ีในการเป็นหูเป็นตาคอยสอดส่องดูแล ดูความขัดแย้งและความผิดปกติต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน
ภายในโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นในกลุ่มเพื่ อน หรือพฤติกรรมท่ีผิดปกติของเด็กเอง ในการเข้าไป
ช่วยเหลือและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหากับผู้ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายท่ี
ร้ายแรงข้ึนในอนาคตเช่นเดียวกับท่ีเกิดกับคลิฟและทําให้การช่วยเหลือน้ันเป็นไปอย่างทันท่วงที
รวมถึงทําหน้าท่ีในการให้ความรู้และการอบรมสั่งสอนเด็กอย่างถูกวิธีกับครอบครัวหรือครูอาจารย์
ด้วย เพื่อเป็นส่วนหน่ึงท่ีทําให้พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างเหมาะสมในทุกช่วงวัย และไม่ทําให้
ปัญหาการทอดทง้ิ เดก็ เพ่ิมสูงขน้ึ

27

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

อ่นื ๆ ท่อี ยากบอก/นําเสนอ
เด็กทุกคนควรท่ีจะได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเหมาะสมโดยเฉพาะอย่างย่ิงจากการดูแลเอาใจ

ใส่ครอบครัวซ่ึงถือเป็นสถาบันพ้ืนฐานท่ีได้รับหน้าท่ีในการอบรมสั่งสอนและเล้ียงดูเด็กให้เติบโตข้ึนใน
สังคม ไม่ควรท่ีจะมีใครเด็กคนไหนถูกทอดท้ิงหรือละเลย เพราะถือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและ
สิทธิเด็กดังเช่นพฤติกรรมท่ีครอบครัวของคลิฟกระทําซ่ึงการดูแลเอาใจใส่น้ี เด็กควรท่ีจะได้รับการ
เติมเต็มอย่างครบถ้วนท้ังในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมเพื่อให้เกิดความสมดุลและความ
สมบรู ณ์ รวมถึงทําให้เดก็ ไดเ้ ติบโตขน้ึ ดว้ ยการมพี ัฒนาการท่ดี ใี นทุก ๆ ด้านด้วย

28

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

นางสาว ศศิภา แย้มบบุ ผา 6105680919

จากบทความเร่ือง รหัสกลางหิมะ เม่ือได้อ่านข้าพเจ้ามีความรู้สึกเศร้าและหดหู่เป็นอย่างมาก
กับชะตากรรมของคลิฟ อีแวนส์ มีส่วนหน่ึงของบทความท่ีข้าพเจ้ารู้สึกสนใจเป็นพิเศษ คือส่วนท่ี
บรรยายว่า คลิฟ อีแวนส์ เลือกคุณครูคนดังกล่าวเป็นคุณครูคนโปรดของเขา ท้ัง ๆ ท่ีเขาพู ดกับ
คุณครูคนน้ีไม่เกินสองคําตลอดปีท่ีผ่านมา จากส่วนดังกล่าวข้าพเจ้ามีจุดสังเกตว่าเพราะอะไรคลิฟ
ถงึ ไดเ้ ลือกคณุ ครคู นน้เี ป็นคณุ ครคู นโปรดท้งั ๆ ทแ่ี ทบจะไม่ได้มปี ฏสิ ัมพันธ์หรอื ความสนทิ สนมกันเลย
ซ่ึงอาจต้ังข้อสังเกตได้ว่าคุณครูคนดังกล่าวอาจจะเป็นครูท่ีปฏิบัติกับคลิฟเหมือนท่ีเด็กและคุณครูคน
อน่ื ๆ ทํา

และในส่วนของบันทึกของโรงเรียนในช้ันท่ี1และ2 บันทึกว่า “เป็นเด็กอ่อนหวาน ข้ีอาย” และ
“ขลาดอายแต่กระตือรือร้น” บันทึกของครูช้ันท่ี3 คือจุดเร่ิมต้นของการเปิดการโจมตี ครูบางคนได้
บันทึกไว้ด้วยลายสือท่ีหนักแน่นว่า “คลิฟไม่ยอมพู ด ไม่ให้ความร่วมมือ เรียนรู้ช้า” ครูคนต่อ ๆ มา
บนั ทึกตามอยา่ งด้วยคําวา่ “ทม่ึ สตปิ ญั ญาเช่อื งชา้ ไอควิ ตา่ํ ” คําเหลา่ นไ้ี ด้กลายเปน็ ความจรงิ คะแนน
ไอคิวของคลิฟในช้ันท่ี 9 เหลือเพียง83 แต่ในช้ันท่ี 3 เขาเคยได้106 คะแนน ไอคิวของเขาไม่ได้ลงต่ํา
กว่า 100 จนกระท่ังช้ันท่ี 7 จากส่วนน้ีของบทความมีประเด็นท่ีน่าสนใจในเร่ืองของการท่ีคลิฟใน
บันทึกระบุว่าคลิฟเปล่ียนไปจากเด็กชายผู้อ่อนหวาน ข้ีอาย แต่มีความกระตือรือร้นในช้ันปีท่ี 2
กลายเป็นเด็กชายผู้ไม่ยอมพู ด ไม่ยอมให้ความร่วมมือ ไอคิวต่ํา ฯลฯ การเขียนบันทึกของคุณครู
ประจําช้ันปีท่ี3เป็นต้นไป แสดงให้เห็นว่าครูละเลยต่อพัฒนาการและปัญหาของเด็ก แทนท่ีจะให้ความ
สนใจและเขา้ ไปพูดคยุ กับคลฟิ แต่กลบั เพิกเฉยท้งั ๆ ท่เี หน็ ปญั หา ซ่งึ ขา้ พเจ้ามองว่าเป็นหนง่ึ ในสาเหตุ
สําคญั ของเร่อื งราวท่นี ่าเศรา้ น้ี

และข้าพเจ้าคิดว่าสาเหตุของปัญหาท่ีนําไปสู่การเสียชีวิตของเด็กชายในบทความและบุคคลท่ี
เก่ียวข้องต่อการเสียชีวิตของเด็กชาย คือ การท่ีเด็กชายถูกเมินเฉยและละเลยจากคนรอบข้าง
ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว ซ่ึงจะเห็นได้จากการท่ีแม่และพ่อบุญธรรมของเขาไม่รู้ว่าเด็กชายไม่สบาย
และจากข้อความในบทความแสดงให้เห็นว่าครอบครัวของเด็กชายไม่ได้ให้ความสําคัญและสนใจลูก
ของพวกเขามากนัก ท้ัง ๆ ท่ีเด็กในวัยน้ีควรได้รับความรักและการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว และ
เม่ืออยู่ท่ีโรงเรียนคุณครูของเขาก็ไม่ได้มีการให้ความสนใจและใส่ใจในตัวเด็กเลย นอกจากน้ันยังมีการ
ตําหนิว่าเด็กชายน้ัน ไอคิวต่ํา ท่ึม และสติปัญญาเช่ืองช้าซ่ึงเป็นการลดทอนคุณค่าของเด็กชายและ
ทําลายความม่ันใจซ่ึงส่งผลกระทบต่อตัวเด็กและพัฒนาการของเด็ก นอกจากน้ันคลิฟน้ันมักจะถูก
เมินและไม่เคยได้รับการยอมรับจากเพื่อนท่ีโรงเรียนเลย เขามักอยู่คนเดียวไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมใด ๆ
กับเด็กคนอ่ืน ทุกคนมักบอกว่าเขาไม่มีอะไรดีเลย และเขาไม่เคยอยู่ในสายตาของใคร จากส่ิงต่าง ๆ
ท่ีเกิดข้ึนเป็นระยะเวลาหลายต่อหลายปี ทําให้เด็กชายถูกหล่อหลอมให้กลายเป็นเด็กท่ีไม่ยอมพู ด
อยตู่ ัวคนเดียว และไม่เลา่ อะไรใหใ้ ครฟงั จนทาํ ให้เกิดเหตุการณ์ดงั กลา่ วข้นึ

ในมุมมองของข้าพเจ้ามองว่าผู้ท่ีเก่ียวข้องควรมีการดูแลเอาใจใส่ สังเกต และส่งเสริมเด็กให้
ได้เติบโตตามช่วงวัยอย่างเหมาะสมและมีความสุข นอกจากน้ันแล้วควรใช้การเสริมพลังทางบวกแทน
การตําหนิในทางลบท่ีอาจก่อให้เกิดความกดดันหรือก่อให้เกิดปัญหาทางจิตใจเพื่อเป็นการป้องกันและ
แก้ไขไม่ให้เด็กรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า ทําให้เด็กรู้สึกแย่ สูญเสียความม่ันใจความเป็นตนเองไป

29

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

และทําให้ประสบปัญหาด้านพัฒนาการอันเน่ืองมาจากสภาพจิตใจของเด็ก และจากบทความข้าพเจ้า
จึงเสนอให้มีบทบาทนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียน โดยนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนน้ันมีบทบาท
เป็นผู้สนับสนุน ให้การปรึกษา รับฟงั และแก้ไขปัญหาร่วมกับนักเรียนท่ีกําลังประสบปัญหา ส่งเสริม
พั ฒนาการ และนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนจะมีบทบาทในการปฏิบัติงานท่ีหลากหลาย
โดย มีบทบาทการปฏิบัติงานท้ังแบบเฉพาะรายบุคคล ครอบครัวและชุมชน นอกจากน้ีบทบาทของนัก
สังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนยังมีบทบาทสําคัญในการปฏิบัติงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพท้ังภายในและ
ภายนอกโรงเรียน และเพื่อคอยสอดส่องดูแล ประสานงานกับผู้ท่ีเก่ียวข้อง ประเมินความเสี่ยง
และส่งเสริมให้เด็กได้มีพัฒนาการท่ีดี เพ่ือเป็นการป้องกันและแก้ไขไม่ให้เกิดปัญหาอย่างในกรณี
ดังกล่าวขน้ึ และใหเ้ ดก็ ได้ใชช้ วี ิตอย่ใู นโรงเรยี นและทบ่ี า้ นได้อย่างปกตสิ ุข

30

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

นางสาวศศิกานต์ โค้ววลิ ัยแสง 6105680927

ความรสู้ ึกเมอ่ื ไดอ้ า่ นบทความดงั กล่าว
เศร้าและสลดคือความรู้สึ กแรกเม่ืออ่านถึงพาร์ทท่ีพบว่าคลิฟ อีแวน ไม่มีใครเลย

เขาตายอย่างโดดเด่ียวท่ามกลางหิมะหนาว ๆ แต่ไม่เท่ากับการท่ีต้องรู้สึกโดดเด่ียวเป็นเวลาหลายปี
ท่ีอาจกินเวลาไปเกือบคร่ึงชีวิตของเขา รู้สึกโกรธท่ีเม่ือคลิฟจากไปแล้วคนรอบตัวจําอะไรเก่ียวกับเขา
แทบไม่ได้เลย และเม่ือจําได้ก็พบถึงความผิดปกติมากมายท่ีเป็นสาเหตุให้คลิฟรู้สึกแย่และโดดเด่ียว
เช่น ตอนท่ีพ่อเล้ียงของคลิฟบอกว่า “เขาไม่เคยพู ดสักคําไม่ว่ากับเร่ืองอะไรท้ังน้ัน ต้ังแต่ฉันย้ายเข้า
มาอยู่ท่ีน่ี” เร่ืองน้ีดูเป็นปัญหาท่ียาวนานและไม่ได้รับการแก้ไข การท่ีเด็กไม่พู ดหรือเล่าอะไรกับคนใน
ครอบครัวฟงั เลยดูไม่ใช่เร่ืองปกติของเด็กเท่าไหร่นัก หรือจากบันทึกของครูท่ีตอนช้ัน 1 2 ท่ีกล่าวถึง
เร่ืองดี ๆ ของคลิฟอย่างความอ่อนหวาน กระตือรือร้นแต่ข้ีอาย แต่หลังจากน้ันในบันทึกปีถัดๆมาครู
ท่ีบันทึกเร่ิมใช้ถ้อยคํารุนแรงและว่ากล่าวคลิฟในท่ีสุด อาทิ คลิฟไม่ยอมพู ด ไม่ให้ความร่วมมือ เรียนรู้
ช้า ท่ึม สติปัญญาเช่ืองช้า ไอคิวต่ํา ซ่ึงคลิฟเองในช้ัน 3 เขามีไอคิว 106 แต่ลดลงจนเม่ือช้ัน 9
เขามีไอคิวเหลือ 93 การว่ากล่าวของเหล่าคุณครูเป็นความจริงในท่ีสุด น่ีอาจกล่าวได้ว่า คลิฟเคยเป็น
เด็กท่ีโดดเด่ียวต้ังแต่แรก เขาค่อยๆแตกสลายอย่างช้า ๆ และสาเหตุหน่ึงก็มาจากครอบครัว
และการศึกษา การใส่ใจคลิฟจากคนรอบข้างน้ันไม่เหมาะสมนัก หากมีใครสังเกตความผิดปกติเหล่าน้ี
ได้ก่อนท่ี คลิฟจะเสียชีวิต เขาคงไม่ต้องเสียชีวิตอย่างโดดเด่ียว และไม่ต้องแบกความไม่สมบูรณ์แบบ
ของเดก็ คนหนง่ึ ตามท่ผี ู้ใหญต่ ้งั มาตรฐานไวใ้ นใจตนเอง

ขอ้ ความทท่ี ําใหส้ นใจเป็นพิเศษ
“ฉันไม่รู้จักเด็กคนน้ัน” คําพู ดของครูใหญ่ท่ีกล่าวถึงอีแวน คลิฟ เป็นคําพู ดท่ีทําให้สงสัยว่า

แล้วเด็กแบบไหนกันท่ีครูใหญ่จะรู้จัก ท้ัง ๆ ท่ีครูท่ีคลิฟเลือกเป็นครูคนโปรดของเขาน้ันอาจไม่ได้
ใกล้เคียงกับคําว่ารู้จัก คลิฟสักเท่าไหร่นัก แต่เธอก็พยายามค้นหาบันทึกต่าง ๆ ท่ีมีการพู ดถึงคลิฟ
ค้นหานักเรียนท่ีเป็นเพ่ือนของคลิฟ เพื่อท่ีจะทําความรู้จักกับคลิฟ แต่คนท่ีเป็นถึงครูใหญ่กลับเลือกท่ี
จะเมินเฉย ไม่สนใจถึงการจากไปของเด็กคนนึงในโรงเรียนเพียงเพราะไม่รู้จัก ไม่รู้ว่าครูใหญ่ควรมี
หน้าท่ีอะไรบ้างแต่ก็คาดหวังให้เขา/เธอทําอะไรสักอย่างถ้ามีเด็กสักคนจากไปโดยท่ีไม่มีใครรู้ช่ือเขาด้วย
ซ้าํ ไป

สาเหตขุ องปัญหา / การเสียชีวิตของเด็กชาย ทําไมถึงคิดแบบนน้ั
หมอระบุว่าสาเหตุของการเสียชีวิตน้ันคือ หัวใจล้มเหลว สําหรับฉัน การท่ีเขาหัวใจล้มเหลวน้ันมา

จากการไม่ได้รับการใส่ใจจากใครสักคนมากกว่า คลิฟถูกละเลย มันไม่ได้รุนแรงเหมือนการถูกทําร้าย
ร่างกาย ไม่มีบาดแผลท่ีมองเห็นได้ แต่ในทางจิตใจน้ัน มันรุนแรงมาก เขาไม่รู้สึกถึงความรักจากใคร
น่ีเป็นเร่ืองท่ีสําคัญมาก ความรักเป็นสิ่งสําคัญท่ีทําให้เราอยากท่ีจะดูแลตัวเองเพื่อมีชีวิตต่อไป
จากบทความเราไม่รู้ว่า คลิฟดูแลตัวเองมากเท่าไหร่ แต่ท่ีรู้คือ ไม่มีใครดูแลร่างกายและจิตใจของเขา
ให้แข็งแรงได้เลย ท่ีคิดเช่นน้ีเพราะฉันคิดว่า การได้รับอาหารดี ๆ ผ้าห่มอุ่น มันสําคัญพอๆกับถ้อยคํา

31

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ห่วงใยจากพ่อแม่ การแสดงออกว่าเราสําคัญ คําพู ดให้กําลังใจจากเพื่อน หรือการช่ืนชมของครู
ทง้ั หมดนเ้ี ปน็ องคป์ ระกอบทท่ี ําให้ใจเราแขง็ แรง น่าเสียดายท่คี ลฟิ ไมไ่ ดร้ ับมนั

มใี ครเกย่ี วขอ้ งบา้ งกบั กรณีการเสียชีวิตดังกลา่ ว
บุคคลท่ีเก่ียวข้องน้ันคือคนรอบตัวของคลิฟ ท้ังแม่และพ่อเล้ียง พี่น้องแม่เดียวกันอีก 4 คน

พวกเขาคือครอบครัว และครอบครัวควรใส่ใจกันและกัน ไม่มีใครรู้ว่าคลิฟกําลังป่วย แต่ทุกคน
มองเห็นคลิฟ และสามารถเข้าไปหาคลิฟ เอ่ยปลอบใจในวันท่ีเขาร้องไห้ได้ เล่นกับเข้าด้วยความ
สนุกสนาน แสดงความยินดีกับวันดี ๆ ของเขา แสดงความเป็นห่วงเม่ือเขารู้สึกไม่ดี แต่ครอบครัวค
ลิฟห่างเหินกันมาก พ่อเล้ียงไม่ได้แสดงความเสียใจจากการจากไปของคลิฟด้วยซ้ํา เขามองความ
ต้องการของตัวเองก่อนการเสียชีวิตของคลิฟ การท่ีสามีของแม่เป็นเช่นน้ีจึงเป็นเร่ืองยากท่ีแม่
ของคลิฟจะสามารถใส่ใจคลิฟได้มากพอตามความต้องการของคลิฟ บ้านจึงไม่ใช่คอมฟอทโซน
ของคลิฟอีกต่อไป อีกส่วนสําคัญคือคุณครู พวกเขาตัดสินคลิฟจากมาตรฐานท่ีตัวเองต้ังไว้
คลิฟกลายเป็นคนท่ึมและไอคิวต่ําหลังจากท่ีคลิฟไม่สามารถเป็นไปตามมาตรฐานท่ีพวกเขาต้ังไว้ได้
เกรดไม่ควรเป็นตัวกําหนดว่าเด็กเป็นคนโง่หรือฉลาด ระบบการศึกษาไม่ควรเป็นโรงงานผลิตเด็กท่ี
เหมือนกันท้ังโลก ใครได้เกรดไม่ดีก็ไม่ควรท่ีจะต้องเป็นสินค้าต่ํากว่ามาตรฐาน เด็กทุกคนเป็นมนุษย์ท่ี
มีคุณค่าและมีความถนัดแตกต่างกัน อีกท้ังพวกเขาเองก็ต้องการการดูแลเอาใจใส่ไม่ว่าเขาจะเป็นเด็ก
เกรดเอหรอื เกรดดี

มุมมองท่มี ีต่อการป้องกนั และแก้ไขปญั หา
การป้องกันควรมาจากผู้คนรอบข้างตัวเด็กไม่ว่าจะเป็นท่ีบ้านหรือท่ีโรงเรียนช่วยกันสอดสอง

พฤติกรรมของเด็ก มีการปรึกษาหารือกันอาจจะเป็นการโทรไปหา ครูประจําช้ันไปเย่ียมบ้าน หรือการ
ประชุมผู้ปกครอง มีการวางแผนการดูแลเด็กร่วมกันและร่วมกันสรุปผล มีการประเมินสุขภาพท้ังกาย
และจิตให้กับเด็กทุกคนปีละ 1 คร้ังเป็นอย่างน้อย มีห้องให้การปรึกษา ไม่เพียงแค่น้ันควรมีการ
ประเมินสุขภาพจิตท้ังครูและผู้ปกครอง เพราะการมีความเครียดสูงของบุคคลรอบตัวเด็กน้ันส่งผล
ตอ่ สภาพอารมณข์ องเดก็ โดยตรงและอาจส่งผลถงึ สภาพรา่ งกายอกี ดว้ ย

ลองนําเสนอบทบาทผ้เู ก่ยี วขอ้ งในการทํางานเพื่อการแก้ไข และป้องกันปัญหา
บทบาทของครูคือช่วยสอดส่องดูแลเด็กท้ังเร่ืองสภาพร่างกาย สภาพจิตใจ อารมณ์ สังคมท่ี

โรงเรียน การสังเกตถึงความผิดปกติเช่น ผลการเรียนหรือไอคิวท่ีต่ําลงเร่ือย ๆ การเป็นเด็กเก็บตัว
ท้ังท่ีก่อนหน้าน้ีไม่เป็น การท่ีเด็กไม่มีเพื่อน อยู่คนเดียวตลอด เด็กนักเรียนคนอ่ืนนินทา ท้ังหมดน้ีมาก
พอสําหรับการเข้ามาพู ดคุยและสอบถามปัญหาท่ีเด็กกําลังเผชิญ เพ่ือให้เด็กไม่ต้องเผชิญกับความ
โดดเด่ียวเพียงเดียวอย่างท่ีคลิฟ อีแวนเจอ อีกส่วนคือผู้ปกครองของเด็ก ครอบครัวของเด็กมี
ความสําคัญมากกับสภาพจิตใจของเด็ก ครอบครัวเป็นอีกคนท่ีต้องสังเกตุพฤติกรรมเด็กอย่าง
ใกล้ชิด ความสัมพันธ์ท่ีใกล้ชิดจะทําให้เด็กกล้าเปิดใจเล่าเร่ืองแย่ๆท่ีตนเองกําลังรู้สึกและเผชิญอยู่
ครอบครัวเป็นแหล่งบําบัดความทุกข์ท่ีสําคัญ การท่ีครอบครัวเปิดใจรับฟงั ไม่ใช่อารมณ์และไม่ตัดสิน

32

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

เด็กจะทําให้พวกเขามีความม่ันคงทางอารมณ์สูงและสามารถจัดการปัญหาได้เองในท่ีสุด โดยมี
ครอบครัวเป็นคนใหก้ ําลังใจอย่ขู ้างๆ

33

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

รตมิ า แกว้ จ้อน 6105681420

เม่ือได้อ่านบทความน้ีในรอบแรกท่ีอ่านรู้สึก งง กับเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนไม่เข้าใจในสิ่งท่ีบทความ
สื่อออกมาและไม่เข้าใจว่าทําจึงเรียกเร่ืองราวน้ีว่าเป็นโศกนาฏกรรมจึงต้ังสติแล้วอ่านใหม่อีกคร้ังใน
รอบท่ี 2 และรอบท่ี 3 ทําให้เห็นถึงเร่ืองท่ีน่าเศร้าของเด็กชายคนน้ีจากบทความน้ีทําให้รู้สึกแย่
เศร้า สงสาร เพราะว่าในชีวิตเด็กทุกคนๆไม่ควรท่ีจะมีเร่ืองราวท่ีน่าเศร้าเช่นเดียวกับเด็กคนน้ีและทําให้
ได้มองย้อนกลับไปในสังคมไทยจะเห็นได้เลยว่าเด็กไทยมีส่วนหน่ึงท่ีกําลังตกอยู่ในสภาพเช่นเดียวกับ
เขา คลิฟเหมือนกับเด็กท่ีขาดท่ีพ่ึงของตัวเองเหมือนโลกน้ีของเขามีเพียงเขาแค่คนเดียว เขาไม่
สามารถท่ีจะพู ดคุยหรือเล่าปัญหากับใครได้ ทุกคนรอบตัวเขาทําให้เขาน้ันรู้สึกโดดเด่ียวบนโลกใบน้ี
ไม่ว่าจะเป็นครอบครัวท่ีไม่ได้ให้ความอบอุ่นและความสบายใจให้กับเขาไม่สามารถท่ีจะทําหน้าท่ีพ่อ แม่
และพี่น้องได้ดีตามบทบาทของตัวเองจึงทําให้คลิฟน้ันกลายเป็นคนเช่นน้ี ในสังคมโรงเรียนคลิฟถูก
เพ่ื อนๆน้ันทําให้กลายเป็นคนไร้ค่าท้ังในสายตาคนอ่ืนและตัวเขาเองก็รู้สึ กว่าตอนเองก็ไร้ค่าเช่นกัน
ไม่มีคนในโรงเรียนท่ีเขาสามารถไว้ในได้และพู ดคุยเก่ียวกับปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับเขา แม้แต่ครูเองไม่ได้
สนใจคลิฟเท่าท่ีควร ไม่เคยท่ีจะดูการเปล่ียนแปลงของพฤติกรรม หรือสังเกตเห็นถึงปัญหาของคลิฟ
ครูบางคนเห็นคลิฟเป็นเด็กท่ีไม่พูด ไม่ร่วมเม่ือ เช่ืองช้า ได้แต่ว่าและตําหนิ แต่ไม่เคยคิดท่ีจะหาสาเหตุ
และพู ดคุยกับคลิฟเพ่ือท่ีจะช่วยให้เขาพ้นจากปัญหาของตัวเอง สิ่งแวดล้อมท่ีทําให้เด็กคนหน่ึงรู้สึก
ด้อยค่าลงไม่ว่าจะจากครอบครัวเพ่ือนหรือแม้กระท่ังครูเองเป็นเหมือนอาชญากรท่ีค่อยทําร้ายให้เด็ก
คนหน่ึงเจ็บปวดและเสียชีวิตในท่ีสุด สิ่งท่ีจะป้องกันไม่ให้เกิดเร่ืองน้ีข้ึนคือความรักความอบอุ่น
ความเมตตาของคนในครอบครัวแม้ในสังคมข้างนอกจะแย่เพียงใดหากคนในครอบครัวรักใคร่ อบอุ่น
และเข้มแข็งจะเป็นเหมือนแรงบวกท่ีจะทําให้เด็กคนหน่ึงมีแรงท่ีจะเผชิญกับปัญหาข้างนอกได้และครูมี
ส่วนท่ีจะทําให้ปัญหาพวกน้ีลดลงและหายไปคือการสร้างสังคมในโรงเรียนให้เหมาะและดีแก่เด็ก ๆ
คอยรับฟงั ปัญหาและคอยสังเกตปัญหาของเด็ก ๆ เพ่ือท่ีจะสามารถคอยช่วยปัญหาของเด็กได้และ
ไม่ให้เกิดปัญหาโศกนาฏกรรมเช่นน้ี คําท่ีติดอยู่ในใจคือประโยคท่ีบอกว่า “พวกเราทําให้เด็กคนหน่ึง
กลายเป็นศูนย์ได้อย่างไร” ดิฉันคิดว่ามันสื่อถึงการละเลยและความโดดเด่ียวอันน่าเศร้าท่ีเด็กคนหน่ึง
ต้องเจอในแต่ละวัน ประโยคน้ีทําให้ดิฉันรู้สึกหนักอ้ึงท่ีหัวใจและคิดว่าคนท่ีทําให้กลายเป็นศูนย์ชีวิตของ
เขาแย่เพียงใดท่ีโรงเรียนควรเป็นท่ีท่ีเด็กทุกคนมีตัวตนและสามารถจะค้นพบตัวเองได้ แต่เพราะอะไร
ถึงทําให้เด็กคนหน่ึงโดดเด่ียวโดยท่ีไม่มีใครรู้และสนใจเขาเลยอาจจะเป็นเพราะดิฉันเคยทําให้กลายเป็น
ศูนย์อยู่ช่วงเวาลาหน่ึงจึงทําให้หวนคิดถึงอดีตท่ีเจ็บปวดและเข้าใจความรู้สึกน้ันและก็ต้ังคําถาม
เหมือนกันว่าทําไมเราถึงถูกปล่อยให้กลายเป็นศูนย์จึงมีประโยคน้ีดังซ้ําในหัวตลอดเวลา อีกท้ังยังทํา
ให้เห็นถึงการมีนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนจากบทความน้ีทําให้เห็นว่าครูไม่สามารถท่ีจะดูแล
นักเรียนได้อย่างท่ัวถึงและไม่สามารถท่ีจะคอยแก้ไขปัญหาของนักเรียนได้อาจจะเป็นเพราะภาระหน้าท่ี
ของครูน้ันมีมากพอจนทําให้ดูแลนักเรียนไม่ท่ัวถึงน่ันเองนักสังคมสงเคราะห์จะเป็นคนหน่ึงท่ีจะคอยรับ
ฟงั ปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนและสามารถท่ีจะแนะนําการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนได้เป็นผู้ท่ี
นักเรียนสามารถท่จี ะไวใ้ จได้

34

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

นางสาวสุธดิ า หนวู นั 6105681438

ความรสู้ ึกเม่อื ได้อา่ นบทความดงั กลา่ ว
ความรู้สึกหลังจากอ่านบทความคือ รู้สึกเศร้าใจและหดหู่กับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนเพราะการจาก

ไปของเด็กชายคนน้ัน ทําให้เห็นได้ว่าเขาน่าจะเจอกับเร่ืองราวหรือเหตุการณ์มามากมายท่ีไม่ใช่แค่การ
ประสบปัญหาทางกายภาพ เช่น อาจจะไม่ได้รับสารอาหารท่ีเพี ยงพอ แต่ยังรวมถึงการได้รับ
ผลกระทบทางจติ ใจดว้ ย ซง่ึ มองวา่ น่อี าจจะเปน็ ส่วนสําคัญทท่ี าํ ใหเ้ กิดเหตุการณอ์ ันนา่ เศร้าน้ี

ข้อความส่วนไหนในบทความท่ีท่านสนใจเป็นพิเศษ ระบุและอธิบาย (สามารถอธิบายได้มากกว่า1
ประเด็น)

ขอ้ ความท่นี ่าสนใจเปน็ พิเศษคอื ขอ้ ความทว่ี า่ พวกเราทําให้เด็กคนหน่งึ กลายเปน็ ศูนย์ไดอ้ ย่างไร
จากข้อความน้ีแสดงให้เห็นว่าเด็กชาย”คลิฟ อีแวนส์” ซ่ึงเป็นนักเรียนอยู่ในโรงเรียนแห่งหน่ึง การท่ี
เขาเป็นคนไม่ค่อยพู ด เงียบๆและแทบไม่เคยเห็นเขาย้ิมสักคร้ัง เด็กท่ีคุณครูหลายท่านบอกว่าเค้าเป็น
คนข้ีอาย เรียนรู้ช้าหรือไอคิวต่ํารวมถึงเป็นคนสุดท้ายท่ีเพ่ือนเลือกร่วมทีม ดังน้ันในเม่ือการประเมิน
ของคุณครูหลายท่านเป็นไปในลักษณะน้ี เหตุใดจึงไม่มีการช่วยเหลือหรือเข้าไปพู ดคุย ทําความรู้จัก
กับเด็กชายคนน้ีและใส่ใจเขาให้มากข้ึนต้ังแต่แรก การกระทําท่ีปล่อยปละละเลยเช่นน้ี ส่งผลกระทบต่อ
ตัวเด็กเป็นอย่างมาก ย่ิงเป็นการทําให้เด็กคนหน่ึงรู้สึกไม่มีตัวตนกลายเป็นศูนย์จากคนอ่ืนเช่นน้ี
ถือเป็นความผิดพลาดอย่างมากของคุณครูและโรงเรียน ซ่ึงเป็นสถานท่ีท่ีมีหน้าท่ีสั่งสอนอบรมการ
เรียนรใู้ นทางวิชาการและการใชช้ วี ติ ในสังคม

ท่านคดิ ว่าอะไรคอื สาเหตแุ ห่งปญั หา/การเสียชวี ติ ของเด็กชายในบทความ ทาํ ไมจงึ คดิ เชน่ นน้ั
สาเหตุของปัญหาเป็นไปได้ท้ัง 2 ทาง ทางแรกท่ีสาเหตุมาจากครอบครัวท่ีดูเหมือนจะไม่ค่อยใส่

ใจและใหค้ วามสําคญั กับเดก็ ชาย อาจเปน็ เพราะเขาเปน็ คนไม่พูดดว้ ย จึงยง่ิ ทาํ ให้คนในบา้ นน่งิ เฉยมาก
ข้ึน ดูได้จากการท่ีพ่อเล้ียงไม่รับเขาเป็นบุตรบุญธรรมและตอนทราบเร่ืองเหมือนกับไม่ได้รู้สึกเศร้า
เสียใจ และการพู ดคุยของแม่กับพ่อเล้ียง ดูเหมือนแม่จะไม่ค่อยกล้าต่อปากต่อคํากับสามีของตนและ
อีกประเด็นสําคัญ คําว่า “คลําหาเก้าอ้ี” ก็อาจจะเป็นไปได้ว่าแม่อาจมีปัญหาทางสายตา ซ่ึงอาจไม่เห็น
และทําให้ไม่รู้ว่าเวลาอยู่บ้านเด็กชายจะพบเจอกับอะไรบ้าง ถูกพ่อเล้ียงหรือพ่ีน้องรังแกบ้างหรือเปล่า
เพราะเด็กชายมีใบหน้าท่ีซีด ร่างผอมแห้งสายตาท่ีแสดงความรู้สึก ซ่ึงอาจจะเป็นผลมาจากสาเหตุน้ี
หรืออีกทางคือมีสาเหตุมาจากโรงเรียนร่วมด้วย การท่ีเขาไม่ได้เป็นส่วนหน่ึงของช้ันเรียน การเรียนรู้
ของเค้าอาจจะช้ากว่าคนอ่ืน ไม่ค่อยพูดจา ไม่เข้าร่วมกิจกรรม ใช้ชีวิตคนเดียวและผลการเรียนไม่ดีนัก
การท่ีเขามีลักษณะเช่นน้ีอาจมีผลมาจากปัญหาครอบครัวด้วย รวมถึงอาจเป็นความแตกต่างของเขา
เอง ซ่ึงการท่ีครู ครูใหญ่ละเลย ไม่สังเกตและพยายามทําความเข้าใจนักเรียนน้ัน น่ีอาจจะเป็นสาเหตุท่ี
ทาํ ให้เกดิ ปญั หาจนถงึ ขน้ั ทเ่ี ด็กเสียชวี ติ

35

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

มใี ครเก่ยี วข้องบ้างต้องกรณกี ารเสียชีวิตดังกลา่ ว อธิบาย/อย่างไร
คนทเ่ี ก่ยี วข้องไดแ้ ก่

- ครอบครัว พ่อเล้ียงของเด็กชาย ท่ีอาจมีปัญหากับเขาคือไม่ยอมรับเขาเป็นบุตรบุญธรรม
รวมถึงการไม่ได้รับการเอาใจใส่จากครอบครัว เหล่าน้ีอาจไปกระทบจิตใจความรู้สึกของเด็กได้
ทําให้เกิดความรู้สึกน้อยใจ เสียใจ หรือการท่ีเค้าน่ิงเงียบ ไม่เหมือนคนอ่ืน แล้วท่ีบ้านไม่ได้สนใจ
เท่าท่ีควร ทําให้เขาไม่ได้รับการดูแลท่ีดี รวมถึงชีวิตความเป็นอยู่ อาหารการกินท่ีเขาอาจจะไม่ได้รับ
ตามทค่ี วรจะเป็น

- เพ่ือน การท่ีเขาเป็นคนเงียบ ไม่เข้าหาผู้อ่ืน อาจส่งผลให้กลุ่มเพ่ือนในช้ันเรียนมองว่าเค้า
แปลก อาจมีการล้อเลียนไม่เข้าใกล้หรือไม่เข้าไปพู ดคุยด้วย ซ่ึงบางทีเด็กใช้เองก็อยากจะมีเพื่อน
เพียงแต่อาจจะเข้าสังคมไม่เก่ง ข้ีอาย เหล่าน้ีจึงทําให้เด็กชายรู้สึกเหงา รู้สึกเหมือนไม่มีตัวตนและจะ
ย่งิ ทําให้เขาไมม่ คี วามสุขในการมาโรงเรียน

- คุณครู ครูในฐานะผู้อบรมส่ังสอน ควรมีการสังเกตลักษณะพฤติกรรมเด็กและย่ิงเป็นเด็กท่ี
มองว่าเขามีความพิเศษ หรือควรได้รับการช่วยเหลือเป็นพิเศษคุณครูย่ิงต้องเข้าหาเพราะทําความ
ร้จู ักเพื่อจะได้เขา้ ใจนักเรยี นและจะไดแ้ กไ้ ขปญั หาอย่างทันท่วงที

มมุ มองของท่านท่มี ตี อ่ การป้องกันและแกไ้ ขปญั หาน้ี
ท้ังผู้ปกครองและคุณครูควรตระหนักในหน้าท่ี ในการดูแลเอาใจใส่เด็กใช่อย่างใกล้ชิดพยายาม

เข้าหาเด็กเพื่อให้เขาเห็นว่ายังมีพ่อแม่ คุณครูท่ีจะคอยอยู่ข้างๆเขา ให้เขาเกิดความรู้สึกอุ่นใจและไว้ใจ
ท่ีจะทําให้เขากล้าท่ีจะแสดงความรู้สึกและเล่าเร่ืองราวออกมาบ้าง เพ่ือเป็นการป้องกันการกระทบด้าน
จิตใจและความรู้สึกของเด็กรวมถึงการดูแลในเร่ืองปัจจัยพ้ืนฐาน ให้เขาได้รับอย่างครบถ้วนเพียงพอ
โดยผู้ปกครองกับทางโรงเรียนต้องมีการทํางานร่วมกัน ค่อยประสานกันเพื่อท่ีจะคอยช่วยเหลือและ
ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย รวมถึงสติปัญญาให้เขาได้เกิดการเรียนรู้และปรับตัวให้สามารถอยู่
ร่วมกับผอู้ ่นื ในสังคมไดอ้ ยา่ งปกตสิ ุข

36

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

มนต์ธัช จติ กลาง 6105681628

ความรู้สึกเมอ่ื ไดอ้ ่านบทความดงั กลา่ ว
หลังจากท่ีได้อ่านบทความเร่ือง รหัสกลางหิมะ รู้สึกสงสารในตอนต้นเร่ือง เน่ืองจากมีการ

ตายของคลิฟ อีแวนส์ เกิดข้ึนหลังจากการอ่านบทความก็ได้มองในมุมมองท่ีต่างออกไป
เกิดความรู้สึกเห็นใจ คลิฟ อีแวนส์ ในการท่ีสังคมเขาอยู่น้ัน พยายามทําให้เขาอยู่ห่างออกไป ไม่มีใคร
มองเห็นค่าในตัวของ คลิฟ อีแวนส์ แม้กระท่ังการศึกษาเองก็ทําร้าย คลิฟ ในการผลักเขาออกจาก
ศูนย์กลางของทุก ๆ คนในสังคม และมีความรู้สึกต่อผู้เขียนท่ีมีความพยายามท่ีจะหาสาเหตุของ
ปญั หาท่แี ท้จรงิ

ข้อความส่วนไหนในบทความทท่ี ่านสนใจเป็นพิเศษ
บทความส่วน “ครูอาจจะไม่สามารถทําอะไรให้หนูในเร่ืองอ่ืนได้เลยในปีน้ี แต่จะไม่มีใครเดิน

ออกไปจากท่ีน่ีไปอย่างไม่มีตัวตน ครูจะทําและต่อสู้จนถึงท่ีสุดไม่ว่ามันอาจจะขมข่ืนเพียงไรในการฟาด
ฟันกับสังคมและคณะกรรมการโรงเรียน แต่ครูจะไม่ยอมให้มีใครในพวกหนูเดินออกไปโดยคิดว่า
ตัวเองมีค่าเท่ากับศูนย์” เพราะครูเองสามารถมองเห็นและเข้าใจปัญหาท่ี คลิฟ อีแวนส์ ได้เผชิญ
อย่างลําพังมาโดยตลอด รวมถึงการต่อสู้น้ีย่อมเป็นการป้องกันปัญหาดังกล่าวท่ีอาจจะเกิดข้ึนใน
อนาคตได้ การท่ีมีคนเข้าถึงและเข้าใจปัญหาน้ันจะนาไปสู่การป้องกันท่ีดีกว่าไม่มีใครทราบถึงปัญหา
ดงั กล่าว

ทา่ นคิดว่า อะไรคือสาเหตแุ หง่ ปญั หา /การเสียชวี ติ ของเด็กชายในบทความ ทาํ ไมจงึ คดิ เชน่ น้นั
สาเหตุการเสียชีวิตจากอาการ “หัวใจล้มเหลว” เหตุเพราะว่ามีการชันสูติทางการแพทย์

รวมถึง คลิฟ อีแวนส์ อาจไม่ทราบถึงโรคท่ีตนเป็น ว่ามีอาการเช่นไรเหตุเพราะ จากประโยค
คลิฟ อีแวนส์ เงอะงะคลําหาเก้าอ้ี “เขาไม่เคยพู ดสักคําว่าไม่สบาย” น่ันทําให้เห็นว่า บางทีท่ีเขาไม่ยอม
พู ด หรือ ไม่ยอมบอกอะไรน้ัน อาจเพราะคนในครอบครัวอาจจะไม่ได้ให้ความสนใจในการเล้ียงดู
รวมถึงเม่ือเจอปัญหาก็ไม่พร้อมท่ีจะเข้ามาช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของคลิฟ อีแวนส์
รวมท้ังสังคมรอบตัวเขาก็ไม่มีใครอยากท่ีจะยอมรับ จึงทําให้เขาได้ทราบถึงปัญหาท่ีตนมีและหนทางใน
การแก้ไขจนนามาสู่การเสียชวี ติ จากโรคดังกลา่ ว

มใี ครเกย่ี วขอ้ งบ้างตอ่ กรณีการเสียชวี ิตดงั กล่าว อธบิ าย /อยา่ งไร
โรงเรยี น

ทําให้เด็กคนหน่ึงกลายเป็นศูนย์จากสังคม มีการโจมตีเด็กโดยใช้ถ้อยคําท่ีมีความรุนแรงต่อ
เดก็ เด็กไม่กล้าเขา้ มาปรึกษาถงึ ปญั หาทพ่ี บ
เพ่ือน

ขาดการยอมรับจากสังคมท่ีอยู่ ไม่มีตัวตนในสายตาคนอ่ืน โดยทําร้ายจากสังคมรอบข้าง
จนในทส่ี ุดก็ทาํ ใหต้ วั เดก็ เปน็ เช่นน้นั

37

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ครอบครัว
ครอบครัวขาดการดูแลเอาใจใส่ คิดแต่เพียงว่าเขาไม่ยอมพู ดแต่ไม่ดูว่าถ้าหากเข้าพู ดไป

ครอบครวั จะช่วยแก้ปญั หาได้หรอื ไม่
มุมมองของทา่ นท่มี ตี อ่ การป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ี

มุมมองท่ีมีต่อการป้องกันปัญหาดังกล่าวน้ัน สามารถทําได้โดย ให้ความใส่ใจกับเด็กในทุก ๆ
คน ในการดําเนินการเรียนการสอน มีการสังเกตอยู่ตลอดเวลาในการสอน การท่ีปล่อยประละเลยไป
จะทําให้เด็กน้ันไม่กล้าท่ีจะมาขอคําปรึกษา อาจจะเร่ิมจากการเข้าไปพูดคุยกับเด็กก่อน ว่าเด็กมีปัญหา
อะไรม้ยั ต้องการความช่วยเหลืออะไรบา้ งม้ยั มใี ครเข้ามาชว่ ยดแู ลแกไ้ ขปัญหาทพ่ี บเจอหรือยัง

38

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

จิรภัทร ไกรนรา 6105681636

ความรู้สึกเม่อื ไดอ้ ่านบทความดังกลา่ ว

ในความรู้สึกหลังจากอ่านจากบทความเร่ือง “รหัสกลางหิมะ” น้ัน รู้สึกถึงความเสียใจในการ
สูญเสียของหน่ึงชีวิตของเด็กน้อยคนหน่ึงท่ีต้องเจอกับโลกท่ีโหดร้าย รู้สึกถึงความโดดเด่ียวท่ีไร้ซ่ึง
จากการให้ความสําคัญใด ๆ จากคนท่ีเป็นท่ีรักหรือคนท่ีพ่ึงพาได้ รู้สึกถึงความหมดหวังและไม่มี
แรงผลักดันใด ๆ เพ่ือท่ีจะให้ตัวเองได้พัฒนาต่อไป แต่เม่ืออ่านไปจนถึงตอนท้ายของบทความ ก็รู้สึก
ได้ในความรู้สึกท่ีจะต้องให้ความสําคัญและการให้คุณค่าแก่ผู้คนอ่ืน ๆ รู้สึกได้ถึงแรงบันดาลใจท่ี
จะต้องให้ความสําคัญกับผู้คนท่ีรู้สึกไร้ท่ีพึ่งและจะต้องผลักดันคน ๆ น้ัน ให้กลับมามีชีวิตอันปกติสุข
ได้ตอ่ ไป

ข้อความส่วนไหนในบทความท่ีท่านสนใจเป็นพิเศษ ระบุ และอธิบาย (สามารถอธิบายได้มากกว่า 1
ประเด็นทส่ี นใจ)

“ครูอาจจะไม่สามารถทําอะไรให้หนูในเร่ืองอ่ืนได้เลยในปีน้ี แต่จะไม่มีใครเดินออกไปจากท่ีน่ีไป
อย่างไม่มีตัวตน ครูจะทําและต่อสู้จนถึงท่ีสุดไม่ว่ามันอาจจะขมข่ืนเพียงไรในการฟาดฟนั กับสังคมและ
คณะกรรมการโรงเรียน แต่ครูจะไม่ยอมให้มีใครในพวกหนูเดินออกไปโดยคิดว่าตัวเองมีค่าเท่ากับ
ศูนย์” สาเหตุท่ีสนใจเพราะรู้สึกดถึงแรงผลักดันท่ีจะต้องให้ความสําคัญกับผู้คนอ่ืน ๆ เม่ือผู้คนน้ันไร้
ซ่ึงกําลังใจ และเป็นประโยคท่ีผลักดันท่ีจะให้เราน้ันอยากท่ีจะช่วยเหลือคนท่ีเผชิญกับปัญหาน้ีอยู่เพ่ือ
ไมใ่ ห้เกิดการสูญเสียอันน่าเศร้าอยา่ งเหตกุ ารณท์ เ่ี กิดขน้ึ ในบทความ

ทา่ นคิดวา่ อะไรคอื สาเหตุแหง่ ปัญหา / การเสียชวี ิตของเด็กชายในบทความ ทําไมจึงคดิ เช่นน้นั
คลิฟ อีแวนส์ น้ันเป็นเพียงแค่เด็กนักเรียนท่ีอยู่ในระบบการศึกษาเหมือนเด็กอ่ืน ๆ ท่ัวไป

แต่สาเหตุของเหตุการท้ังหมดน้ัน อาจเกิดจากการอยู่อย่างโดดเดียวและไม่ถูกให้ความสําคัญจากคน
ในโรงเรียน โดยเร่ิมจากคุณครูบางคนท่ีได้สร้างบาดแผลหรือประทับตราตัดสินและให้ความม่ันใจใน
ตัวของ ครีฟ อีแวนส์ น้ันหายไป อันก่อให้เกิดความรู้สึกไร้คุณค่าในตัวเอง อีกท้ังความสัมพันธ์ใน
ครอบครัว เด็กคนน้ีก็ไม่ได้รับการยอมรับจากพ่อบุญธรรมของเขาด้วย อาจก่อให้เกิดความรู้สึกท่ีเป็น
คนท่ไี รท้ ่พี ่ึง สุดท้ายเด็กชายคนนก้ี เ็ กดิ อาการปว่ ยอนั ก่อใหเ้ ป็นสาเหตุท่ที าํ ใหเ้ สียชวี ติ ไปในทส่ี ุด

มีใครเกย่ี วขอ้ งบา้ งต่อกรณีการเสียชวี ติ ดงั กลา่ ว อธิบาย /อยา่ งไร
สํ า ห รั บ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ท่ี เ กิ ด ข้ึ น อ า จ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า ทุ ก ค น ท่ี อ ยู่ ใ น บ ริ บ ท ร อ บ ตั ว ข อ ง

เด็กชาย คลีฟ อีแวนส์ น้ัน ก็ล้วนมีส่วนท่ีทําให้เกิดเหตุการณ์น้ีเกิดข้ึนได้ เพราะบริบทรอบตัวหรือ
ความเป็นสังคมน้ันมีความสําคัญการมีอยู่ของบุคคลบุคคลน้ันอย่างมาก ทุกคนน้ันล้วนถูกหล่อหลอม
มาจากบริบทรอบข้าง ไม่ว่าจะเป็นลักษณ์การใช้ชีวิต นิสัย วัฒนธรรม ความสัมพันธ์ ดังน้ันแล้ว
ทุกคนรอบขา้ งลว้ นมสี ่วนทาํ ให้เกิดเหตุการณ์การสูญเสียในคร้งั น้ี

39

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

มุมมองของทา่ นท่มี ตี อ่ การปอ้ งกัน และแกไ้ ขปัญหาน้ี
ควรให้ความเข้าใจแก่ทุกคนว่าสถาบันรอบตัวของเด็ก ๆ น้ัน ล้วนมีความสําคัญอย่างมาก ไม่

ว่าจะเป็น อย่างสถาบันครอบครัว สังคมการใช้ชีวิตในโรงเรียน เพ่ือนบ้านบริเวณข้าง ๆ หรือก็คือ
ความเป็นบริบทของสังคมท่ีจะหล่อหลอมความเป็นบุคคล ๆ น้ันให้เกิดข้ีน เพราะฉะน้ันแล้ว ทุกคน
ต้องให้ความสําคัญท่ีจะเป็นส่ิงแวดล้อมท่ีดีให้แก่ทุกคน และให้ความสําคัญซ่ึงกันและกันอยู่เสมอ
อันกอ่ ใหเ้ กิดความอบอนุ่ ท่เี ด็กทกุ คนลว้ นทจ่ี ะตอ้ งการในสถาบนั ครอบครวั
ลองนําเสนอบทบาทผู้เก่ียวข้องในการทํางานเพ่ือการแก้ไข และป้องกันปัญหาในกรณีท่ีอ่านใน
บทความ

จะต้องให้ความสําคัญในการสอดส่องถึงความผิดปกติหรือเหตุการณ์ใด ๆ ก็ตามท่ีจะ
กอ่ ใหเ้ กิดถึงปญั หา อกี ท้งั ต้องเป็นตัวกลางในการเช่อื มความสัมพันธน์ น้ั ๆ ถ้าหากว่าเกิดการไม่เข้าใจ
หรือเกิดปัญหาใด ๆ ก็ตามเกิดข้ึน เพ่ือท่ีจะคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์ท่ีดีซ่ึงกันและกันระหว่างผู้คนทุกคน
ในสังคม

40

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

นางสาวคธั รินทร์ บัวทอง 610681644

ความรสู้ ึกเม่อื ได้อา่ นบทความดังกล่าว

เม่ือได้อ่านบทความ ข้าพเจ้าค่อนข้างช่างหมุนใจกับคําว่า “รหัสการหิมะ” ข้าพเจ้าอ่าน
บทความทางกับฟงั เสียงของพายุหิมะ เพ่ือสร้างบรรยากาศและสร้างสมาธิในการทํางานของข้าพเจ้า
แต่การกระทําดังกล่าวกลับทําให้ข้าพเจ้าสัมผัสแต่จินตนาการได้ถึงความรู้สึกท่ีอ้างว้างและโดดเด่ียว
ของ คลีฟ อีแวนส์ ในช่วงช้ันปีท่ี 1 และช้ันปีท่ี 2 ตัวตนของเขาน้ันเหมือนฤดูร้อนอันแสนอบอุ่น
ท่ีมีดอกไม้บานสะพร่ัง ช่างสวยงามและอ่อนหวาน จึงดอกไม้ของคลิฟจะข้ีอายจนไม่กล้าออกมาให้ใคร
เชยชม แต่ข้าพเจ้าก็ยังหวังว่าช่วงเวลาน้ันเค้าคงไม่ผลิดอกอย่างงดงามก่อนท่ีจะเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว
ก่อนท่ีหิมะจะปกคลุมดอกไม้เราน้ันจนขาวโพลน ตัวตนของคลีฟค่อยๆถูกหิมะทับถมจนไม่มีใครและให้
ความสนใจ หรือถามไถว่า “เธอเป็นยังไงบ้าง” “เธอรู้สึกอย่างไร คิดอะไรอยู่” หรือให้คลิฟร่วม
กิจกรรมหรือบทสนทนาต่าง ๆ แม้กระท่ังในความทรงจําของคนรอบข้างก็ไม่มีเค้าอยู่ในน้ันเช่นกันเขา
น้ันถูกหิมทับถมมิดจนไม่เห็นตัวตน แม้แต่คุณครูท่ีเค้าเขียนว่าเป็นคุณครูคนโปรด ก็บอกว่าไม่รู้จักเขา
มันเป็นเร่ืองท่ีน่าเศร้าเสียจริง คริฟ อีแวนส์ กลายเป็นเหมือนตุ๊กตาหิมะสีขาวโพลนท่ีปิดปากไม่เอ่ย
หรือขานตอบสิ่งใด และไม่มีใครรู้ถึงความคิดของเขา คําพู ดและการกระทําของคนรอบข้างเขา
กลายเป็นลูกบอลหิมะช้ันดีท่ีปาใส่เขาอย่างจัง มันท้ังเจ็บปวดท่ีโดนหิมะปาใส่ และมันเร่ิมหนาวจน
กลายเป็นเหมือนกําแพงให้เขาได้ซ่อนตัว และเฉยชากับส่ิงรอบข้าง จนในท่ีสุดกําแพงเหล่าน้ันก็
พังทลาย และล้มทับตุ๊กตาหิมะและคลีฟ อีแวนส์ ก็ได้จากไป โดยท่ีไม่เคยเอ่ยปากบอกว่าตนเป็น
อย่างไร และตัวตนของเขาก็ได้กลายเป็นปริศนาหรือ “รหัสกลางหิมะ” ของคุณครูคนโปรดของเขา
คุณครูเร่ิมขายรหัสกลางหิมะ การไขรหัสของเธอเร่ิมทําให้คลิฟมีพื้นท่ีในความทรงจําของเธอ และเธอ
ได้ทราบถึงส่ิงท่ีเขาพบเจอ เธอได้ทราบถึงความรุนแรงของลูกบอลท่ีปาใส่คลิฟก่อนท่ีเธอจะถูกหวด
ลูกบอล ของเธอเองบนโต๊ะทํางานของอาจารย์ใหญ่ ลูกบอลหิมะท่ีป้ ันมาจากการศึกษาของโรงเรียน
แห่งน้ีเธอหวังว่าอาจารย์ใหญ่จะทราบเร่ืองดังกล่าว เม่ือการไขรหัสการหิมะของคุณครูจบลง หิมะท่ี
ทับถมดอกไม้ของ คริฟ อีแวนส์ ก็ได้ละลายลงและเผยให้เห็นดอกไม้ท่ีงดงาม คุณครูได้นําดอกไม้
ดอกน้ันใส่แจกันและวางไว้บนโต๊ะทํางาน เพ่ือเป็นเคร่ืองเตือนใจให้เธอมองหาดอกไม้ท่ีเหมือนคลีฟ
ดอกไม้ท่ีมีแววตาไร้ความรู้สึกและหลบอยู่ใต้ดอกไม้ดอกอ่ืน เธอด้วยหาร้านดอกไม้เหล่าน้ัน และนํามา
ใส่เจอกันอย่างประณีตเพ่ือแสดงให้เห็นว่าดอกไม้เหล่าน้ีล้วนมีคุณค่า เหมือนท่ีเธอได้พู ดไว้ว่า “ครูจะ
ไมย่ อมให้มีใครในพวกหนูเดนิ ออกไปโดยคิดว่าตวั เองมคี ่าเท่ากบั ศูนย”์

ท่ีข้าพเจ้าได้เขียนมาในข้างต้นน้ัน เป็นความรู้สึกและจินตนาการของข้าพเจ้าเม่ือข้าพเจ้าได้
อ่านข้าพเจ้ารู้สึกว่าเค้าเป็นเหมือนดอกไม้ท่ีโดนหิมะทับถมจนมิด ท้ังหนาวเย็น และไม่มีใครสัมผัสถึง
ตัวตนไม่มีใครรู้ว่ามีดอกไม้อยู่ใต้หิมะ รู้สึกเหงาและอ้างว้าง รู้สึกโลกรอบข้างช่างน่าเบ่ือ ไม่มีอะไรท่ีดี
หรือเหมาะกับเรา แม้กระท่ังบ้าน ก็อาจจะไม่ใช่เซฟโซน หรือพื้นท่ีท่ีรู้สึกปลอดภัยท่ีพักผ่อน คงมีแต่ผ้า
ห่มได้ห้องนอนท่ีทําให้รู้สึกปลอดภัย อบอุ่น และสามารถซ่อนตัวจากส่ิงต่าง ๆ ได้ รู้สึกตัวเองไม่มีอะไร
ดีสักอย่าง รู้สึกไม่อยากไปโรงเรียน ขืนไปก็อยากกลับบ้านเร็วๆ อยากกลับบ้านไปซ่อนตัวใต้ผ้าห่ม
การน่ังหลังห้องมันคงดีท่ีทําให้เราได้เห็นภาพรวมๆของคลาสเรียน เรียนก็คงรู้สึกเหมือนได้มีส่วนร่วม

41

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

กิจกรรมบางอย่างแล้วก็คงไม่มีใครสนใจเด็กหลังห้องหรอก อยากยกมือตอบคําถามจังแต่กลัวตอบ
ผิดแล้วจะเป็นไอ้ท่ึม หรือสติปัญญาเช่ืองช้า ไม่กล้าจะยกมือตอบเลยแฮะ จะพยายามเรียนให้เก่งข้ึนดี
ไหมนะ?แต่เรามันแค่เป็นไอทุ่มน่ีนาใช่แล้ว ไอ้ท่ึมท่ีเรียนรู้ช้า เราคงเป็นอย่างท่ีเค้าพู ดกันน่ันแหละ
รู้สึกเหมือนใช้ชีวิตไปวันวันบนถนนท่ีมีผู้คนมากมายท่ีไม่สามารถสื่อสารได้เพราะพูดคนละภาษา และใช่
เราคงเป็นคนหลงทางบนถนนเส้นน้ัน แต่ทว่ากลับรู้สึกดีท่ีถึงแม้จะจากไปแต่ก็สามารถจุดประกาย
บางอย่างให้คนอ่ืนได้ข้าพเจ้าอดคิดไม่ได้ว่าในระหว่างการเรียนของเขา เขาจะโดนคําพู ดท่ีบ่ันทอน
จิตใจจากคุณครู หรือเสียงหัวเราะท่ีเย้ยหยันเขามากเพียงไหน แค่เห็นข้อความจากบันทึกของคุณครู
กท็ ําให้ขา้ พเจ้าร้สู ึกแย่เสียไม่น้อย

ข้อความส่วนไหนได้บทความท่ีท่านสนใจเป็นพิเศษ ระบุและอธิบาย (สามารถอธิบายได้มากกว่า 1
ประเดน็ )

• “ คลีฟ อีแวนส์ ” ฉันพึมพํากับตัวเอง “เด็กท่ีไม่เคยปริปากสักคํา” ฉันคิดต่อไปอีกหน่อย “
เด็กท่ไี ม่เคยย้มิ ด้วย ฉันไมเ่ คยเหน็ เขาย้มิ เลยสักคร้งั ”

ท่ีข้าพเจ้าสนใจในข้อความข้างต้น เป็นเพราะข้าพเจ้าสงสัย สงสัยว่า เหตุใดเขาจึงไม่พู ด
เหตุใดเค้าจึงไม่ย้ิม มีใครเคยเห็นคลิฟย้ิมหรือเปล่า? ถ้าอย่างน้ันการท่ีเขาไม่ย้ิม เขาเคยหัวเราะหรือไม่
เขามีความสุขหรือไม่ เขาเจอเร่ืองอะไรมาหรือ เหตุใดจึงเป็นเช่นน้ันแล้วคนรอบข้างไม่เอะใจ หรือฉงน
ใจกับการท่ีเขาไม่พู ดคุย ไม่ย้ิมหรือ หรือเป็นเร่ืองปกติของพวกเขากันนะ? อดคิดไม่ได้ว่ารอยย้ิม
ของคลิฟต้องงดงามและสร้างสีสันให้แก่ผู้คนรอบข้างของเขาแน่ ๆ คนเราย้ิมออกมาเพราะมี
ความสุขและการท่ีเขาไม่เคยย้ิมออกมาน่ันหมายความว่าเค้าไม่มีความสุขด้วยหรือเปล่านะถ้าอย่างน้ัน
เขาก็จากโลกน้ีไปอย่างไร้ความสุขเลยหรือ แล้วความสุขของคริฟคืออะไร? อย่างน้ีเท่ากับว่าเขาจาก
ไปอย่างไร้ความสุขท่ามกลางอากาศท่ีหนาวเย็นและความโดดเด่ียวของเขาอย่างน้ันหรือ น่าเสียดายท่ี
มันมีใครได้ยินเสียงหัวเราะหรือได้เห็นรอยย้ิมท่ีงดงามของเขา น่าเสียดายท่ีไม่มีใครได้เฉยชมงาน
ศิลปะของเขา

• “ ฉันไม่เคยลืม คลิฟ อีแวนส์ และความต้ังใจน้ัน เขาได้กลายเป็นสิ่งสุดท้ายสําหรับฉันปีแล้วปี
เล่า ฉันมองหาตาท่ีดูไร้ความรู้สึกเหมือนมีม่านปกคลุม มองหาร่างท่ีคุดคู้อยู่ในท่ีน่ังราวกําลังอยู่คนละ
โลก” “ น่ีหนู ” ฉันจะพู ดอย่างเงียบๆ “ ครูอาจจะไม่สามารถทําอะไรให้หนูในเร่ืองอ่ืนได้เลยในปีน้ี
แต่จะไม่มีใครเดินออกไปจากท่ีน่ีอย่างไม่มีตัวตน ครูจะทําและต่อสู้จนถึงท่ีสุดไม่ว่ามันอาจจะข่มข่ืน
เพียงไรในการฟาดฟันกับสังคมและคณะกรรมการโรงเรียน แต่ครูจะไม่ยอมให้มีใครในพวกหนูเดิน
ออกไปโดยคิดว่าตัวเองมีค่าเทา่ กบั ศูนย์ ”

ข้าพเจ้ารู้สึกประทับใจในการกระทําของคุณครูผู้เล่าเร่ือง ประทับใจท่ีเธอนําเอาประสบการณ์ใน
เร่ืองของ คลิฟ อีแวนส์ มาเป็นบทเรียนเพ่ือช่วยเหลือเด็กคนอ่ืนท่ีประสบเหตุการณ์เดียวกันกับคลิฟ
ประทับใจท่ีแม้นว่าการช่วยเหลือของเธอน้ันอาจจะมีอุปสรรค และสร้างความคุ้มคืนให้กับเธอในการ
ต่อสู้กับสังคม และเหล่าคณะกรรมการโรงเรียนก็ตาม แต่เธอก็พยายามอย่างสุดความสามารถ

42

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

เพื่อไม่ให้มีใครเป็นแบบ คลิฟ อีแวนส์ ท่ีจากไปอย่างไร้ตัวตน และเธอจะไม่ยอมให้มีใครเดินออกไปโดย
คิดว่าตัวเองไร้ค่า ประทับใจในตัวเธออย่างย่ิงท่ีห่วงใยและใส่ใจในตัวเด็กนักเรียน และขอบคุณเธอ
อย่างมากทเ่ี ป็นเสมือนชอ็ กโกแลตอุ่นๆในหน้าหนาวให้กับเดก็

ทา่ นคดิ ว่า อะไรคือสาเหตแุ หง่ ปญั หา/การเสียชีวิตของเดก็ ชายในบทความ ทําไมจงึ คดิ เชน่ น้นั
การปล่อยประละเลยและให้ความห่วงใยหรือความสนใจของคนรอบข้างเพราะถ้าหากคนรอบ

ข้างให้ความสนใจหรือถามไถเขา อาจจะถามว่า “ วันน้ีเป็นอย่างไรบ้าง เจออะไรมาบ้าง ” ,“ ทานข้าว
หรือยัง ” “ มอี ะไรอยากเลา่ ให้ฟงั ไหม ” เปน็ ต้นหากคนรอบขา้ งสนใจหรือใส่ใจในตัวของ ครฟิ อแี วนส์
สักนิด คงทําให้เขาปริปากพู ดออกมาเร่ืองต่าง ๆ และความรู้สึกท่ีเขามี หรือเขาคงมีใครสักคนท่ีเป็น
เหมือนพ้ืนท่ีท่ีเขาสบายใจท่ีจะเล่าเร่ือง หรือแบ่งปันและรับรู้ในความรู้สึกรวมถึงปัญหาต่าง ๆ ของเขา
หากเป็นเช่นน้ัน เขาคงกล้าท่ีจะเอ่ยกล้าท่ีจะพู ด กล้าท่ีจะฝันตอบรับ และกล้าเล่าว่าเขารู้สึกไม่สบาย
ถ้าเปน็ เชน่ น้นั เขาคงไม่ลม้ กลางหมิ ะ และจากไปอยา่ งไร้ตวั ตนในความทรงจาํ ของคนรอบข้าง

มใี ครเก่ยี วข้องบา้ งต่อกรณกี ารเสียชวี ติ ดังกลา่ ว อธบิ าย / อย่างไร
ข้าพเจ้าคิดว่าเขาน่าจะมีปัญหาภายในครอบครัว เพราะพ่อเล้ียงพู ดว่าเค้าไม่เคยพู ดสักคําไม่ว่า

เร่ืองอะไรท้ังน้ัน ต้ังแต่ตัวเขา(พ่อเล้ียง) ย้ายมาอยู่ท่ีน่ีอีกคร้ังในบรรดาพี่น้องท้ังหมด คลิฟเป็นเพียง
คนเดียวท่ีพ่อเล้ียงของเขาไม่ยอมรับเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมาย ซ่ึงหากคลิฟมีปัญหาภายใน
ครอบครัว มันอาจจะส่งผลกระทบต่อบุคลิกการเข้าสังคมของเขา หรือส่งผลต่อการพัฒนาของเขา
ทําให้บุคลิกของเค้าเร่ิมเปล่ียนไป เห็นได้จากในบันทึกของโรงเรียนในช่วงช้ันปีท่ี 1 และ 2 ท่ีได้ระบุว่า
“เป็นเด็กอ่อนหวาน ข้ีอาย ” และ “ฉลาด อาย แต่กระตือรือร้น ” แต่ในช้ันปีท่ี 3 กับแตกต่างออกไป
โดยระบุว่า “ คลิฟไม่ยอมพู ด ไม่ให้ความร่วมมือ เรียนรู้ช้า ”และตามมาด้วย “ ท่ึม ” “ สติปัญญา
เช่ืองช้า ” และ “ ไอคิวต่ํา ” จนเขาได้กลายเป็นไปตามคําพู ดของคุณครูท่ีเขียนบันทึกไปในท่ีสุด
และสังคมของเพ่ือนๆ ท่ีมาให้เขาได้มีส่วนร่วมในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ หรือแม้แต่การเป็นเพื่อนเขา
สักคน

ดังน้ันในเม่ือข้าพเจ้าได้คิดว่าสาเหตุของปัญหา หรือการเสียชีวิตของ คลิฟ อีแวนส์ น้ันมาจาก
การปล่อยประละเลยและให้ความห่วงใย หรือความสนใจของคนรอบข้าง เม่ือเป็นเช่นน้ัน จึงต้องกล่าว
ว่าบุคคลรอบข้างของ คริฟ อีแวนส์ น้ันมีความเก่ียวข้องกับการใช้ชีวิตของเขา ซ่ึงบุคคลรอบข้าง
ของเขา ประกอบดว้ ย คนในครอบครัว คุณครู และเพื่อนๆร่วมชน้ั เรียน

มมุ มองของท่านทม่ี ีต่อการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาน้ี
สืบเน่ืองมาจากข้าพเจ้าคิดว่าปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเสียชีวิตของ คริฟ อีแวนส์ คือการปล่อยปะ

ละเลยและให้ความห่วงใย หรือความสนใจของคนรอบข้าง ดังน้ันการแก้ไขปัญหาคือคนรอบข้างควร
สนใจ และใส่ใจกันและกัน การท่ีคุณครูน้ันได้ประสบการณ์จากกรณีของคลิฟ และนํามาซ่ึงการใส่ใจใน
ตัวของนักเรียนมากขน้ึ ซง่ึ นับเป็นการปอ้ งกนั ทด่ี ี และควรมกี ารประเมนิ นกั เรยี นในแตล่ ะปี

43

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ลองนําเสนอบทบาทผู้เก่ียวข้องในการทํางานเพื่ อแก้ไขปัญหาและป้องกันปัญหาในกรณีท่ีอ่านใน
บทความ

คุณครูควรใส่ใจเด็กนักเรียนมากข้ึน และสนับสนุนด้านการเรียนและการดําเนินชีวิตของนักเรียน
ไม่ควรใช้ถ้อยคําท่ีบ่ันทอนนักเรียน เม่ือทราบนักเรียนมีพฤติกรรมท่ีเปล่ียนไป หรือนักเรียนมีผลการ
เรียนท่ีต่ําลง มีการพัฒนาท่ีช้า หรือใด ๆ ก็ตาม คุณครูประจําช้ันควรปรึกษาและหาทางออกกับทาง
คณะกรรมการของโรงเรียน รวมถึงผู้บริหาร เพ่ือเพิ่มศักยภาพของนักเรียน และผู้ปกครองควรให้
ความสนใจแกบ่ ตุ รหลาน

44


Click to View FlipBook Version