The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.6 เสร็จวิ้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฟาตีห๊ะ ยูโซะ, 2023-10-08 10:52:45

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.6 เสร็จวิ้น

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.6 เสร็จวิ้น

แผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รายวิชา ภาษามลายู (Bahasa Melayu) ระดับมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 6 รหัสวิชา ม30203 จัดทำโดย นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ รหัสนักศึกษา 632446005 นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูชั้นปีที่ 4 สาขาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๕


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องฺ BIODATA เวลา 2 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซ กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถนำเสนอประวัติเกี่ยวกับตนเองได้ เช่น แนะนำชื่อ ที่อยู่ อายุ การศึกษา ความชอบ แนะนำประวัติของเพื่อน ครอบครัว ตลอดจนประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ เรื่องราวที่อยู่ รอบตัวและประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ในความสนใจของสังคม การศึกษา สภาพสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบัน มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. พูดและนำเสนอเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่าง ๆ ตามความสนใจ ของตนเองและสถานการณ์ในปัจจุบัน 2. พูดเขียนสรุปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ทั่วไป ในท้องถิ่น สังคมโลก พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ -การทักทายตามช่วงต่าง ๆ: selamat pagi (สวัสดีตอนเช้า), Selamat tengah hari (สวัสดีตอนกลางวัน), Selamat petang (สวัสดีตอนเย็น), Selamat malam (ราตรีสวัสดิ์), Apa khabar (สบายดีไหม) - คำศัพท์และประโยคเกี่ยวกับการแนะนำตนเอง Nama saya………. Nama panggilan saya………. Saya berumur………. Saya berasl dari…… Tarikh lahir………… Alamat rumah………… Warna kegemaran… Makanan kegemaran … Haiwan kesayangan…


Tinggi badan Berat badan… Pekerjaan ibu dan bapa… -Cita-cita… จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (Cognitive Domain) (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจความหมายของประโยคแนะนำตัวได้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (P) 1. นักเรียนสามารถเขียนประโยคประวัติส่วนตัวของตนเองได้ ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) (A ) 1. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องประโยคการแนะนำตนเอง ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 1. อธิบายเรื่องการกล่าวแนะนำตัวเอง การทักทายตามช่วงต่าง ๆ เช่น selamat pagi (สวัสดีตอนเช้า), Selamat tengah hari (สวัสดีตอนกลางวัน), Selamat petang (สวัสดีตอนเย็น), Selamat malam (ราตรีสวัสดิ์), Apa khabar (สบายดีไหม) 2. อธิบายประโยคที่ใช้ในการแนะนำตัวเอง เช่น Nama saya… (ฉันชื่อ...), Nama panggilan saya..., (ชื่อเล่น ...), Saya berumur… tahun (อายุ...ปี), Saya berasl dari… (ฉันมาจาก...), Tarikh lahir… (วันเกิด), Alamat rumah… (ที่อยู่), Hobi saya… (งานอดิเรกของฉันคือ...), Nombor telefon… (เบอร์...) 3. นักเรียนช่วยกันอ่านและแปลความหมายตัวอย่างประโยคข้างต้น ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 4. ครูยกตัวอย่างประโยคนำเสนอตนเองอื่น ๆ ที่เป็นภาษามลายูพร้อมให้นักเรียนช่วยกันอ่านและแปล ความหมายเป็นภาษาไทย เช่น Warna kegemaran, Makanan kegemaran, Haiwan kesayangan, Tinggi badan, Berat badan, Pekerjaan ibu dan bapa, Cita-cita. ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 5. สุ่มนักเรียน 2 คน ให้ออกมานำเสนอประวัติของตัวเองให้เพื่อน ๆ ฟังหน้าชั้นเรียน


6. ให้นักเรียนเขียนประวัติของตัวเองทำเป็นใบงานส่งครูในคาบถัดไป ขั้นที่ 5 สรุป 7. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะนำตนเอง ให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบ ต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่องการแนะนำตนเอง 2. แบบฝึกหัด การวัดผล 1. การสังเกต 2. แบบฝึกหัด การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่าน ใบงาน อ่านและแปลความหมายได้ 7 จาก 10 คำ 2. ด้านทักษะ(P) ทดสอบการเรียงประโยค แบบฝึกหัดการเรียง ประโยค เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


UNIT : 1 BIODATA Sila isi maklumat butir diri ke dalam tempat kosong berikut! Nama Penuh……………………………………………………….. Nama Panggilan…………………………………………………… Tarikh Lahir………………………… Umur…………………….. Nombor Kad Pengenalan…………………………………………. Alamat Rumah……..……………………………………………… Nombor Telefon…………………Tahun Kursus………………... Pekerjaan Bapa……………………………………………………. Pekerjaan Ibu……………………………………………………… Warna Kegemaran…………………...…………………………… Makanan Kesukaan…………………...…………………………... Haiwan Kesayangan……………….……………………………… Lagu Kegemaran………………………………………………….. Tinggi Badan………….………. Berat Badan…………………… Hobi…..……………………………………………………………. Cita-cita…………………………………………………………….


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องฺ BIODATA(ชีวประวัติ) เรื่องฺ Karangan diri saya ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซผู้สอน เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถแนะนำตัวเองและเขียนเรียงความเกี่ยวกับประวัติส่วนตัวของตัวเองได้ ถูกต้องและมีความละเอียดมากยิ่งขึ้น นักเรียนสามารถสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับการซักถามประวัติของตัวเองและคู่ สนทนาได้ นักเรียนสามารถอ่านประวัติหรือของเพื่อนหรือบุคคลอื่นได้แล้วสามารถจับใจความได้ ว่าใคร ทำอะไร ที่ ไหน อย่างไร เพื่อที่จะสามารถมาตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้อย่างที่ถูกต้อง และนักเรียนสามารถเข้าใจประโยค และเรียงประโยคใหม่ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. พูดและนำเสนอเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่าง ๆ ตามความสนใจ ของตนเองและสถานการณ์ในปัจจุบัน 2. พูดเขียนสรุปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ทั่วไปในท้องถิ่น สังคม โลก พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ -บทความชีวประวัติ Karangan tentang diri saya (Keluarga Zara) -ประโยคการบอกประวัติส่วนตัว เช่น Saya belajar di sekolah Srinagarin Yala., Saya sebagai anak yang keempat, Makanan kegemaran saya ialah Nasi goreng telur, Nasi lemak dan Nasi Gulai Ayam., Buku yang saya paling suka ialan cerpen.


จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (Cognitive Domain) (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจความหมายของเรื่องได้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (P) 2. นักเรียนสามารถเรียงประโยคได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง Karangan diri saya ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 2. นักเรียนช่วยกันอ่านเรื่อง Keluarga Zara ตามใบงานที่ครูแจกให้ 3. นักเรียนเขียนคำศัพท์ที่นักเรียนไม่รู้ความหมายในสมุดพร้อมคำแปลเป็นภาษาไทย ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 4. นักเรียนร่วมกันแปลความหมายของประโยคในบทเรื่องพร้อมจับใจความว่า บทความเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับ อะไร ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อรู้แล้วก็สามารถนำมาตอบคำถามที่ครูเตรียมไว้ในท้ายเรื่องได้ 5. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจความถูกต้องและเฉลยคำตอบจากเรื่องดังกล่าว ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 6. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเกี่ยวกับการเรียงประโยค โดยครูเตรียมประโยคที่ผิดมาแล้วให้นักเรียนนำมาเรียง ใหม่ให้ถูกต้อง ขั้นที่ 5 สรุป 7. ตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดการเรียงประโยคแล้วให้คะแนนนักเรียน 8. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะนำตนเองให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบ ต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่อง Kelarga Zara


2. แบบฝึกหัดการเรียงประโยค การวัดผล 1. การสังเกต 2. แบบฝึกหัด การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) โดยการตอบคำถาม ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 12 จาก 15 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) ทดสอบการเรียงประโยค แบบฝึกหัด เรียงประโยคได้ถูกต้อง(ระดับ คุณภาพ 4 จาก 5 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


Karangan tentang diri saya Nama saya ialah Zahara Muhammad. Nama panggilan saya Zara. Umur saya 17 tahun. Saya berasal dari Pattani. Sekarang saya belajar di sekolah Srinagarin Yala. Saya belajar darjah 6. Cita-cita saya ingin menjadi guru kerana saya suka mengajar kanak-kanak. Perkerjaan bapa saya ialah doctor gigi. Perkerjaan ibu pula ialah suri rumah. Saya mempunyai 5 orang adik beradik. Saya mempunyai seorang kakak dua orang abang dan seorang adik lelaki. Saya sebagai anak yang keempat. Saya seorang yang badan tinggi dan kurus. Saya seorang kulit putih dan rambut hitam. Makanan kegemaran saya ialah Nasi Lemak, Nasi goreng dan Nasi Gulai Ayam. Minuman kegemaran saya ialah teh dan jus buah-buahan. Pada waktu petang saya dan kawan-kawan suka pergi ke pasar untuk membeli makanmakanan, buah-buahan dan sayur-sayuran. Hobi saya ialah pergi ke perpustakaan untuk membaca buku. Saya suka membaca buku baebagai-bagai jenis, seperti: buku Bahasa Melayu, surat khabar dan cerpen. Buku yang saya paling suka membaca ialah cerpen.


Latihan A: Jawab Soalan berikut: 1. Karangan ini tentang siapa? 2. Berapakah pelakon dalam karangan ini? Jelaskan? 3. Berapakah umur Zara? 4. Di manakah Zara berasal? 5. Apakah cita-cita Zara? 6. Mengapakah Zara ingin menjadi guru? 7. Apakah pekerjaan ibu dan bapa Zara? 8. Berapakah adik beradik Zara? jelaskan? 9. Bagai manakah bentuk badan Zara? 10. Apakah makanan kegemaran Zara? 11. Apakah minuman kegemaran Zara? 12. Di manakah Zara dan kawan-kawan suka pergi? Latihan B: Susun semula perkataan berikut sepaya menjadi ayat yang senpurna nama = nama panggilan = umur = tahun = berasal = sekarang = belajar = darjah = cita-cita = ingin = menjadi = suka = mengajar = kanak-kanak = perkerjaan = doctor gigi = suri rumah = adik beradik = mempunyai = kakak = abang = adik = lelaki = keempat = Saya seorang yang badan tinggi dan kurus. Saya seorang kulit putih dan rambut hitam. Makanan kegemaran saya ialah Nasi Lemak, Nasi goreng dan Nasi Gulai Ayam. Minuman kegemaran saya ialah teh dan jus buah-buahan. Pada waktu petang saya dan kawan-kawan suka pergi ke pasar untuk membeli makan-makanan, buah-buahan dan sayur-sayuran. Hobi saya ialah pergi ke perpustakaan untuk membaca buku. Saya suka membaca buku baebagai-bagai jenis, seperti: buku Bahasa Melayu, surat khabar dan cerpen. Buku yang saya paling suka membaca ialah cerpen.


1. Srinagarin - belajar - sekolah - di - Yala - Saya. …………………………………………………………….………………. 2. sebagai - Saya - keempat - anak - yang. ………………………………………………………….…………………. 3. saya - Nasi Goreng Telur - kegemaran - ialah - Nasi Lemak, - Makanan dan - Nasi Gulai Ayam. …………………………………………………………………………….. 4. suka - Saya - pasar - kawan-kawan - ke - dan - pergi. ……………………………………………………………………………. 5. paling - Buku - ialah - membaca - saya - suka - yang - cerpen. ……………………………………………………………………………..


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3-4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องฺ BIODATA(ชีวประวัติ) เรื่องฺ การนำเสนอเพลง Teman saja ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซผู้สอน เวลา 4 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถอ่านประโยคในเนื้อเพลง Teman saja (แค่เพื่อน) ได้อย่างถูกต้อง รู้จักคำศัพท์ที่เกี่ยวกับความรูสึกในเนื้อเพลง สามารถเข้าใจและจับใจความสำคัญของเพลง ได้ สามารถแปล ความหมายโดยรวมของเนื้อหาในเพลงได้ รู้จักนำคำศัพท์ที่ได้ในเพลงมาใช้ในการสนทนาได้ มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. พูดและนำเสนอเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่าง ๆ ตามความสนใจ ของตนเองและสถานการณ์ในปัจจุบัน 2. พูดเขียนสรุปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ทั่วไปในท้องถิ่น สังคม โลก พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. นักเรียนมีวินัย 4. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 4. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ -เนื้อเพลง Teman saja (แค่เพื่อน) Kisah cinta, pandang pertama Itu sudah biasa Anak SMP kelas 2, naksir sama kakak SMA Itu juga biasa saja Ini pertama kali, aku jatuh hati Kenapa kisahnya gak biasa gini *Aku suka sama kamu Kamu suka sama dia Dia suka sama temanmu Temanmu suka sama aku Kalau maunya hatiku Suka saja kamu sama aku Tapi kalau-kalau begini Lebih baik kita semua teman saja.


Kisah cinta, teman tapi manja Mesra tapi biasa saja Kisah cinta tanpa restu orang tua Banyak di drama Korea Ini pertama kali aku jatuh hati Kenapa kisahnya gak biasa gini -คำศัพท์ในเนื้อเพลง เช่น suka, sama, teman, kisah, kalau, mau, biasa, hati, cinta, pertama, baik, tanpa, kelas jatuh จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเนื้อเพลงได้ ด้านทักษะพิสัย (P) 2. นักเรียนสามารถนำเสนอได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การนำเสนอบทเพลง Teman saja ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ครูเปิดเพลง Teman saja (แค่เพื่อน) ให้นักเรียนฟัง 3 รอบ 3. นักเรียนช่วยกันตอบว่าได้ยินคำศัพท์อะไรบ้างในเนื้อเพลงพร้อมบอกความหมาย 4. ครูแจกบทเพลง Teman saja ให้นักเรียนร่วมกันอ่าน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 5. นักเรียนแปลความหมายของเนื้อเพลง Teman saja *Aku suka sama kamu Kamu suka sama dia Dia suka sama temanmu. Temanmu suka sama aku Kalau maunya hatiku Suka saja kamu sama aku Tapi kalau-kalau begini Lebih baik kita semua teman saja. 6. ครูตรวจความถูกต้องของประโยคที่นักเรียนแปล


ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 7. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเกี่ยวกับการจับใจความสำคัญของบทเพลงว่ามีเนื้อหา หรือความรู้สึกเกี่ยวกับอะไร ให้นักเรียนออกมานำเสนอเป็นรายกลุ่ม ขั้นที่ 5 สรุป 8. ให้คะแนนการนำเสนอของนักเรียนตามเกณฑ์ 9. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะนำตนเองให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบ ต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. บทเพลง Teman saja การวัดผล 1. การสังเกต 2. การนำเสนอ การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบอ่านและเข้าใจ เพลง ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 7 จาก 10 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอบทเพลงเป็นราย กลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ Kebudayaan วัฒนธรรมประเพณี ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซผู้สอน เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย สามารถจับใจความ สำคัญเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ สามารถบอกความแตกต่างของวัฒนธรรมของประเทศมาเลเซียและไทยได้ ทั้งในเรื่อง ของารแต่งกาย อาหาร การพูด การใช้ภาษา การกล่าวทักทาย การกล่าวลา การกล่าวขอบคุณ การกล่าวตอบรับ การกล่าวแสดงความดีใจและการกล่าวแสดงความเสียใจ ประโยคเหล่านี้ต้องมีการกล่าวอย่างไรถึงจะเหมาะสมการ สถานการณ์ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ 2. อธิบายความเหมือนละความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. นักเรียนมีวินัย 4. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 5. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ - -ใบความรู้ เรื่อง Kebudayaan Malaysia - Malaysia merupakan sebuah negara yang terdiri daripada lebih 200 kumpulan etnik. Antaranya ialah Melayu, Cina, India dan lain-lain. - Malaysia mempunyai pelbagaian budaya, agama dan bahasa dalam kalangan rakyat di negara ini. Budaya Pakain Tradisional - Pakaian tradisional perempuan Melayu memakai baju kurung.


- Pakaian tradisional lelaki Melayu adalah sama bagi setiap negeri iaitu baju melayu teluk belanga, di luar oleh samping dan memakai songkok. จุดประสงค์การเรียนรู้วัฒนธรรมมาเลเซีย ด้านพุทธพิสัย (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องวัฒนธรรมได้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (P) 2. นักเรียนสามารถนำเสนอได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5. ความสามารถในการอ่าน 6. ความสามารถในการใช้ภาษา 7. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง Kebudayaan Malaysia ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับวัฒนธรรมมาเลเซีย นักเรียนร่วมกันตอบ 3. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง Kebudayaan Malaysia ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 4. นักเรียนร่วมกันอ่านเนื้อเรื่องในใบความรู้ ต่อไปนี้ Malaysia merupakan sebuah negara yang terdiri daripada lebih 200 kumpulan etnik. Antaranya ialah Melayu, Cina, India dan lain-lain. Malaysia mempunyai pelbagaian budaya, agama dan bahasa dalam kalangan rakyat di negara ini. Budaya Pakain Tradisional Pakaian tradisional perempuan Melayu memakai baju kurung. Pakaian tradisional lelaki Melayu adalah sama bagi setiap negeri iaitu baju melayu teluk belanga, di luar oleh samping dan memakai songkok. 5. นักเรียนร่วมกันแปลความหมายและเรื่องการแต่งกายวัฒนธรรมมาเลเซีย


ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 6. นักเรียนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ครูแจกกระดาษสร้างแบบ ปากกาเคมี ปากกาสี ให้นักเรียนในแต่ละกลุ่ม 7. นักเรียนในกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความแตกต่างของการแต่งกายในประเทศไทยและมาเลเซีย ชุด ทางการคือชุดใด ลักษณะอย่างไร แล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่อน ๆ ฟัง ขั้นที่ 5 สรุป 8. ให้คะแนนการนำเสนอของนักเรียนตามเกณฑ์ ครูอธิบายเรื่องการแต่งกายเพิ่มเติม 9. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะนำตนเองให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบ ต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่อง Kebudayaan Malaysia 2. กระดาษสร้างแบบ 3. ปากกาเคมี ปากกาสี การวัดผล 1. การสังเกต 2. การนำเสนอ การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอเนื้อหาเป็นราย กลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


UNIT: 2 KEBUDAYAAN MALAYSIA - Malaysia merupakan sebuah negara yang terdiri daripada lebih 200 kumpulan etnik. Antaranya ialah Melayu, Cina, India dan lain-lain. - Malaysia mempunyai pelbagaian budaya, agama dan bahasa dalam kalangan rakyat di negara ini. Budaya Pakain Tradisional - Pakaian tradisional perempuan Melayu memakai baju kurung. - Pakaian tradisional lelaki Melayu adalah sama bagi setiap negeri iaitu baju melayu teluk belanga, di luar oleh samping dan memakai songkok. Makanan Tradisional Orang Melayu .......................................... ........................................ ........................................... .................................................... ....................................................


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ Kebudayaan วัฒนธรรมประเพณี ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซผู้สอน เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย สามารถจับใจความ สำคัญเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ สามารถบอกความแตกต่างของวัฒนธรรมของประเทศมาเลเซียและไทยได้ ทั้งในเรื่อง ของารแต่งกาย อาหาร การพูด การใช้ภาษา การกล่าวทักทาย การกล่าวลา การกล่าวขอบคุณ การกล่าวตอบ รับ การกล่าวแสดงความดีใจและการกล่าวแสดงความเสียใจ ประโยคเหล่านี้ต้องมีการกล่าวอย่างไรถึงจะเหมาะสม การสถานการณ์ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 3. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ 4. อธิบายความเหมือนละความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ - ใบความรู้ เรื่อง Kebudayaan Malaysia makanan จุดประสงค์การเรียนรู้วัฒนธรรมมาเลเซีย ด้านพุทธพิสัย (Cognitive Domain) (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องวัฒนธรรมได้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (P) 1. นักเรียนสามารถนำเสนอได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) (A ) 1. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน


1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง วัฒนธรรมมาเลเซีย (อาหาร) ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับอาหารมาเลเซีย นักเรียนร่วมกันตอบ 2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง Kebudayaan Malaysia makanan (อาหาร) ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 3. นักเรียนร่วมกันแปลความหมายของอาหารแต่ละชนิดต่อไปนื้ Nasi lemak, Laksa, Ketupat palas, Tapai dan Dodoi ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 4. นักเรียนแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ครูแจกกระดาษสร้างแบบ ปากกาเคมี ปากกาสี ให้นักเรียนในแต่ละกลุ่ม 5. นักเรียนในกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการอาหารของมาเลเซีย โดยครูแบ่งชนิดของอาหารให้นักเรียนไปหา ข้อมูลว่ามีชื่อเรียกว่าอะไร วิธีการทำอย่างไร กลุ่มละ 1 ชนิด แล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนให้กลุ่มที่เหลือฟัง ขั้นที่ 5 สรุป 7. ให้คะแนนการนำเสนอของนักเรียนตามเกณฑ์ ครูอธิบายเรื่องอาหารเพิ่มเติม 8. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะนำตนเองให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบ ต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่อง Kebudayaan Malaysia makanan 2. กระดาษสร้างแบบ 3. ปากกาเคมี ปากกาสี การวัดผล 1. การสังเกต 2. การนำเสนอ


การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอเนื้อหาเป็นราย กลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


UNIT: 2 KEBUDAYAAN MALAYSIA - Malaysia merupakan sebuah negara yang terdiri daripada lebih 200 kumpulan etnik. Antaranya ialah Melayu, Cina, India dan lain-lain. - Malaysia mempunyai pelbagaian budaya, agama dan bahasa dalam kalangan rakyat di negara ini. Budaya Pakain Tradisional - Pakaian tradisional perempuan Melayu memakai baju kurung. - Pakaian tradisional lelaki Melayu adalah sama bagi setiap negeri iaitu baju melayu teluk belanga, di luar oleh samping dan memakai songkok. Makanan Tradisional Orang Melayu .......................................... ............................................ ........................................ .................................................... ..................................................................


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ Ucapan/sebutan salam ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซผู้สอน เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย สามารถจับใจความ สำคัญเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ สามารถบอกความแตกต่างของวัฒนธรรมของประเทศมาเลเซียและไทยได้ ทั้งในเรื่อง ของารแต่งกาย อาหาร การพูด การใช้ภาษา การกล่าวทักทาย การกล่าวลา การกล่าวขอบคุณ การกล่าวตอบ รับ การกล่าวแสดงความดีใจและการกล่าวแสดงความเสียใจ ประโยคเหล่านี้ต้องมีการกล่าว อย่างไรถึงจะเหมาะสม กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ 2. อธิบายความเหมือนละความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ ประโยคเกี่ยวกับการกล่าวในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น - Selamat Hari jadi. -Selamat hari natal -Selamat hari jadi juga -Selamat hari raya -Selamat Tahun Baru. -Selamat Ulang Tahun. -Selamat tidur. -Selamat jalan. -Selamat bercuti. -Semoga berjaya. -Semoga anda boleh.


จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องการกล่าวคำในโอกาสต่าง ๆ ได้ ด้านทักษะพิสัย (P) 2. นักเรียนสามารถอ่านได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง Ucapan/sebutan salam ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ทดสอบนักเรียนโดยการเล่น Kahoot 3. ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับการกล่าวอวยพร การกล่าวในโอกาสต่าง ๆ แล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบ ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 4. ยกตัวอย่างคำอวยพรที่ใช้กล่าวในโอกาสต่าง ๆ ให้นักเรียนร่วมกันแปลความหมาย เช่น - Selamat Hari jadi. -Selamat hari natal -Selamat hari jadi juga -Selamat hari raya -Selamat Tahun Baru. -Selamat Ulang Tahun. -Selamat tidur. ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 5. นักเรียนแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายในกลุ่มว่า แต่ละประโยคหรือคำกล่าว ในใบงานใช้ใน โอกาสใดบ้าง 6. ทดสอบการอ่านคำกล่าวอวยพรในโอกาสต่าง ๆ ของนักเรียนเป็นรายบุคคล ขั้นที่ 5 สรุป 7. บันทึกข้อมูลผลการอ่านของนักเรียนและให้คะแนนตามเกณฑ์ 8. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะนำตนเองให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบ ต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้


1. ใบงานเรื่อง Ucapan/sebutan salam 2. kahoot การวัดผล 1. การสังเกต 2. การนำเสนอ การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) ทดสอบการอ่าน แบบประเมินการอ่าน เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 7 จาก 10 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


Bahasa Melayu Bahasa Thai Selamat Hari jadi. Selamat Hari Natal. Selamat Hari jadi juga. Selamat Hari Raya. Selamat Tahun Baru. Selamat Ulang Tahun. Selamat tidur. Selamat bercuti. Selamat jalan. Selamat hari kanak-kanak. Selamat pengantin baru, semoga dapat kebahagiaan. Semoga berjaya. Semoga anda boleh. Ucapan /Sebutan Salam


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ Ucapan perpisahan ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซผู้สอน เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย สามารถจับใจความ สำคัญเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ สามารถบอกความแตกต่างของวัฒนธรรมของประเทศมาเลเซียและไทยได้ ทั้งในเรื่อง ของารแต่งกาย อาหาร การพูด การใช้ภาษา การกล่าวทักทาย การกล่าวลา การกล่าวขอบคุณ การกล่าวตอบ รับ การกล่าวแสดงความดีใจและการกล่าวแสดงความเสียใจ ประโยคเหล่านี้ต้องมีการกล่าว อย่างไรถึงจะเหมาะสม กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ 2. อธิบายความเหมือนละความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ ประโยคเกี่ยวกับการกล่าวลาในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น - Semoga berjaya. - Selamat tinggal. - Semoga bahagia. - Selamat malam. - Semoga berjaya. -Selamat Ulang Tahun. - Selamat jalan. -Sampai berjumpa lagi. - Saya gembira kamu telah datang. -Saya mesti pergi sekarang. - Baik-bik sajalah. - Sampai kita bertemu lagi. - Baik-bik sajalah. - Terima kasih atas kedatangan anda.


จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องการกล่าวลาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ด้านทักษะพิสัย (P) 2. นักเรียนสามารถนำเสนอบทสนทนาได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง Ucapan berpisahan ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับการกล่าวลา นักเรียนร่วมกันตอบ ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 3. ยกตัวอย่างคำที่ใช้กล่าวในโอกาสต่าง ๆ ให้นักเรียนร่วมกันแปลความหมาย เช่น - Semoga berjaya. - Selamat tinggal. - Semoga bahagia. - Selamat malam. - Semoga berjaya. -Selamat Ulang Tahun. - Selamat jalan. -Sampai berjumpa lagi. - Saya gembira kamu telah datang. -Saya mesti pergi sekarang. - Baik-bik sajalah. - Sampai kita bertemu lagi. -Baik-bik sajalah. - Terima kasih atas kedatangan anda. ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 4. ให้นักเรียนจับคู่สนทนาประโยคต่อไปนี้หน้าชั้นเรียน A: Selamat pagi Suhaila. B: Selamat pagi Nurul. A: Kamu mau pergi ke mana? B: Saya mau pergi ke stesyen kereta api sekarang! A: Selamat jalan. B: Terimakasih. Sampai berjumpa lagi. ขั้นที่ 5 สรุป 5. ให้คะแนนการนำเสนอของนักเรียนตามเกณฑ์ ครูอธิบายเรื่องการกล่าวลาเพิ่มเติม 6. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการกล่าวลาให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบต่อไป


สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงานเรื่อง Ucapan berpisahan การวัดผล 1. การสังเกต 2. การนำเสนอ การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอเนื้อหาเป็นราย กลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


Bahasa Melayu Bahasa Thai Semoga berjaya. Selamat tinggal. Semoga bahagia. Selamat malam. Semoga berjaya. Selamat jalan. Saya gembira kamu telah datang. Sampai berjumpa lagi. Saya mesti pergi sekarang. Saya berharap dapat bertemu lagi. Sampai kita bertemu lagi. Baik-bik sajalah. Terima kasih atas kedatangan anda. Ucapan Perpisahan


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ Ucapan Terima Kasih ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซผู้สอน เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย สามารถจับใจความ สำคัญเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ สามารถบอกความแตกต่างของวัฒนธรรมของประเทศมาเลเซียและไทยได้ ทั้งในเรื่อง ของารแต่งกาย อาหาร การพูด การใช้ภาษา การกล่าวทักทาย การกล่าวลา การกล่าวขอบคุณ การกล่าวตอบ รับ การกล่าวแสดงความดีใจและการกล่าวแสดงความเสียใจ ประโยคเหล่านี้ต้องมีการกล่าว อย่างไรถึงจะเหมาะสม กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ 2. อธิบายความเหมือนละความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ ประโยคเกี่ยวกับการกล่าวขอบคุณในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น **Contoh Ucapan Terima Kasih: •Terima kasih kerana sudi membantu saya. •Terima kasih kerana tolong jaga kucing saya. •Terima kasih kerana belanja makan kepada saya. •Terima kasih untuk hadiah. •Terima kasih kerana memberi izin saya pergi.


จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องการกล่าวขอบคุณในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ด้านทักษะพิสัย (P) 2. นักเรียนสามารถนำเสนอบทสนทนาได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง Ucapan terima kasih ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับการกล่าวขอบคุณ นักเรียนร่วมกันตอบ ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 3. ยกตัวอย่างคำที่ใช้กล่าวขอบคุณในโอกาสต่าง ๆ ให้นักเรียนร่วมกันอ่านและแปลความหมาย เช่น •Terima kasih kerana sudi membantu saya. •Terima kasih kerana tolong jaga kucing saya. •Terima kasih kerana belanja makan kepada saya. •Terima kasih untuk hadiah. •Terima kasih kerana memberi izin saya pergi. ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 4. ให้นักเรียนจับคู่สนทนาประโยคต่อไปนี้หน้าชั้นเรียน Contoh Perbualan 1: A: Ini hadiah untuk anda. B: Terima kasih untuk hadiah. A: Sama-sama. Contoh Perbualan 2: A: Saya izin kamu semua pergi ke luar negara. B: Terima kasih kerana memberi izin kami semua pergi ke luar negara. A: Sama-sama.


ขั้นที่ 5 สรุป 5. ให้คะแนนการนำเสนอของนักเรียนตามเกณฑ์ ครูอธิบายเรื่องการกล่าวขอบคุณเพิ่มเติม 6. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการกล่าวขอบคุณให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบ ต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงานเรื่อง Ucapan terima kasih การวัดผล 1. การสังเกต 2. การนำเสนอ การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอเนื้อหาเป็นรายกลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการทำ กิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


Ucapan Terima Kasih - Ucapan “terima kasih” digunakan ketika ada orang membantu kita. - Ucapan “terima kasih” merupakan salah satu budi bahasa yang sangat baik dan perlu dilakukan sehingga menjadi kebiasaan. ❖ Contoh Ucapan Terima Kasih: • Terima kasih kerana sudi membantu saya. • Terima kasih kerana tolong jaga kucing saya. • Terima kasih kerana belanja makan kepada saya. • Terima kasih kerana memberi izin saya pergi. • Terima kasih untuk hadiah. ❖ Ucapan balas ketika diterima kasih ialah perkataan “sama-sama” ❖ Contoh Perbualan 1: A: Ini hadiah untuk anda. B: Terima kasih untuk hadiah. A: Sama-sama. ❖ Contoh Perbualan 2: A: Saya izin kamu semua pergi ke luar negara. B: Terima kasih kerana memberi izin kami semua pergi ke luar negara. A: Sama-sama. Ucapan Terima Kasih, Tahniah dan Takziah


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ Ucapan Tahniah ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซผู้สอน เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย สามารถจับใจความ สำคัญเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ สามารถบอกความแตกต่างของวัฒนธรรมของประเทศมาเลเซียและไทยได้ ทั้งในเรื่อง ของารแต่งกาย อาหาร การพูด การใช้ภาษา การกล่าวทักทาย การกล่าวลา การกล่าวขอบคุณ การกล่าวตอบ รับ การกล่าวแสดงความดีใจและการกล่าวแสดงความเสียใจ ประโยคเหล่านี้ต้องมีการกล่าว อย่างไรถึงจะเหมาะสม กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ 2. อธิบายความเหมือนละความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ ความหมายและประโยคเกี่ยวกับการกล่าวแสดงความยินดีในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น Ucapan Tahniah Ucapan tahniah diucapkan ketika seseorang mendapat sesuatu yang baik, mencapai sesuatu cita-cita, dianugerah pangkat, menang dan lain-lain. Contoh Ucapan Tahniah: •Tahniah kerana di naik pangkat. •Tahniah kerana anda menang bermain bola. •Tahniah kerana diberi jawatan baru yang lebih tinggi.


•Tahniah kerana diizin cuti Panjang. •Tahniah kerana anda menang hadiah pertama. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องการกล่าวแสดงความยินดีในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ด้านทักษะพิสัย (P) 2. นักเรียนสามารถนำเสนอบทสนทนาได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง Ucapan tahniah ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับการกล่าวแสดงความยินดี นักเรียนร่วมกันตอบ ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 3. ครูยกตัวอย่างคำที่ใช้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสต่าง ๆ ให้นักเรียนร่วมกันอ่านและแปลความหมาย เช่น Contoh Ucapan Tahniah: •Tahniah kerana di naik pangkat. •Tahniah kerana anda menang bermain bola. •Tahniah kerana diberi jawatan baru yang lebih tinggi. •Tahniah kerana diizin cuti Panjang. •Tahniah kerana anda menang hadiah pertama. ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 4. ให้นักเรียนจับคู่สนทนาประโยคต่อไปนี้หน้าชั้นเรียน Anis: Selamat petang, Cik Suhaila. Suhai: Selamat petang, Cik Anis. Anis: Apa khabar? Suhai: Baik-baik. Tahniah kerana kamu menang hadiah pertama. Anis: Terima kasih. Suhai: Sama-sama.


ขั้นที่ 5 สรุป 5. ให้คะแนนการนำเสนอของนักเรียนตามเกณฑ์ ครูอธิบายเรื่องการกล่าวแสดงความยินดีเพิ่มเติม 6. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการกล่าวแสดงความยินดีให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนใน คาบต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงานเรื่อง Ucapan tahniah การวัดผล 1. การสังเกต 2. การนำเสนอ การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอเนื้อหาเป็นราย กลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


Ucapan Tahniah Ucapan tahniah diucapkan ketika seseorang mendapat sesuatu yang baik, mencapai sesuatu cita-cita, dianugerah pangkat, menang dan lain-lain. ❖ Contoh Ucapan Tahniah: • Tahniah kerana di naik pangkat. • Tahniah kerana diberi jawatan baru yang lebih tinggi. • Tahniah kerana diizin cuti Panjang. • Tahniah kerana anda menang hadiah pertama. • Tahniah kerana anda menang bermain bola. Ucapan Takziah Ucapan tahniah digunakan apabila ingin memperlihatkan simpati terhadap seseorang terutama kepada orang yang kehilangan/kematian ahli keluarga atau saudaranya. Ada juga di gunakan untuk menyatakan kesedihan. ❖ Contoh Ucapan Takziah: • Takziah atas kehilangan ibu Zahara. • Takziah atas kematian ibu Zahman. • Takziah kerana anak encik meninggal dunia (kerana kemalangan jalan raya itu).


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ Ucapan Takziah ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซ เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย สามารถจับใจความ สำคัญเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ สามารถบอกความแตกต่างของวัฒนธรรมของประเทศมาเลเซียและไทยได้ ทั้งในเรื่อง ของารแต่งกาย อาหาร การพูด การใช้ภาษา การกล่าวทักทาย การกล่าวลา การกล่าวขอบคุณ การกล่าวตอบ รับ การกล่าวแสดงความดีใจและการกล่าวแสดงความเสียใจ ประโยคเหล่านี้ต้องมีการกล่าว อย่างไรถึงจะเหมาะสม กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ 2. อธิบายความเหมือนละความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ ความหมายและประโยคเกี่ยวกับการกล่าวแสดงความเสียจในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น Ucapan Takziah Ucapan tahniah digunakan apabila ingin memperlihatkan simpati terhadap seseorang terutama kepada orang yang kehilangan/kematian ahli keluarga atau saudaranya. Ada juga di gunakan untuk menyatakan kesedihan. Contoh Ucapan Takziah: •Takziah atas kehilangan ibu Zahara. •Takziah atas kematian ibu Zahman. •Takziah kerana anak encik meninggal dunia (kerana kemalangan jalan raya itu).


จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องการกล่าวแสดงความเสียใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ด้านทักษะพิสัย (P) 2. นักเรียนสามารถนำเสนอบทสนทนาได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3.ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง Ucapan takziah ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับการกล่าวแสดงความเสียใจ นักเรียนร่วมกันตอบ ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 3. ครูยกตัวอย่างคำที่ใช้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสต่าง ๆ ให้นักเรียนร่วมกันอ่านและแปลความหมาย เช่น Contoh Ucapan takziah •Takziah atas kehilangan ibu Zahara. •Takziah atas kematian ibu Zahman. •Takziah kerana anak encik meninggal dunia (kerana kemalangan jalan raya itu). ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 4. ให้นักเรียนจับคู่สนทนาประโยคต่อไปนี้หน้าชั้นเรียน Contoh Perbualan Tentang Menggunakan Ucapan Terima Kasih, Tahniah dan Takziah: Anis: Selamat petang, Cik Suhaila. Suhai: Selamat petang, Cik Anis. Anis: Apa khabar? Suhai: Baik-baik. Tahniah kerana kamu menang hadiah pertama. Anis: Terima kasih. Suhai: Sama-sama. Anis: Takziah atas kematian ibumu. Suhai: Terima kasih. Anis: Sama-sama. Minta diri dahulu. Jumpa lagi. Suhai: Jumpa lagi. ขั้นที่ 5 สรุป


5. ให้คะแนนการนำเสนอของนักเรียนตามเกณฑ์ ครูอธิบายเรื่องการกล่าวแสดงความเสียใจเพิ่มเติม 1. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับการกล่าวแสดงความเสียใจให้นักเรียนฟังอีกครั้งและชี้แจงเนื้อหาที่จะสอน ในคาบต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงานเรื่อง Ucapan takziah การวัดผล 1. การสังเกต 2. การนำเสนอ การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอเนื้อหาเป็นราย กลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


Ucapan Tahniah Ucapan tahniah diucapkan ketika seseorang mendapat sesuatu yang baik, mencapai sesuatu cita-cita, dianugerah pangkat, menang dan lain-lain. ❖ Contoh Ucapan Tahniah: • Tahniah kerana di naik pangkat. • Tahniah kerana diberi jawatan baru yang lebih tinggi. • Tahniah kerana diizin cuti Panjang. • Tahniah kerana anda menang hadiah pertama. • Tahniah kerana anda menang bermain bola. Ucapan Takziah Ucapan tahniah digunakan apabila ingin memperlihatkan simpati terhadap seseorang terutama kepada orang yang kehilangan/kematian ahli keluarga atau saudaranya. Ada juga di gunakan untuk menyatakan kesedihan. ❖ Contoh Ucapan Takziah: • Takziah atas kehilangan ibu Zahara. • Takziah atas kematian ibu Zahman. • Takziah kerana anak encik meninggal dunia (kerana kemalangan jalan raya itu). ❖ Contoh Perbualan Tentang Menggunakan Ucapan Terima Kasih, Tahniah dan Takziah: Anis: Selamat petang, Cik Suhaila.


Suhai: Selamat petang, Cik Anis. Anis: Apa khabar? Suhai: Baik-baik. Tahniah kerana kamu menang hadiah pertama. Anis: Terima kasih. Suhai: Sama-sama. Anis: Takziah atas kematian ibumu. Suhai: Terima kasih. Anis: Sama-sama. Minta diri dahulu. Jumpa lagi. Suhai: Jumpa lagi.


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซ เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถรู้และเข้าใจถึงความหมายของคำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Kata Adjektif perasaan) เช่น takut, mahu, benci, rindu, ingin, marah, senang, sayang, gembira, hendak, geram, sedih, cinta, suka, malu, sakit, kecewa, ceria ว่า แต่ละคำแปลว่าอะไร และใช้ในสถานการณ์ใด ตลอดจนรู้จักประโยคเกี่ยวกับการบอกหรือแสดงความรู้สึก ภาษาที่ใช้ ในการแสดงความรู้สึก สามารถแปลประโยค แต่งประโยคบอกวามรู้สึกตนเอง ผู้อื่นแปลเพลงเกี่ยวกับการบอก ความรู้สึก และสามารถนำประโยคเหล่านั้นไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ 2. พูดและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม 3. พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์และข่าว/เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ - ความหมายของคำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) ในภาษามลายู - เพลงที่มีเนื้อหาการบอกความรู้สึก เพลง Teman saja - คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) เช่น takut, mahu, benci, rindu, ingin, marah, senang, saying, gembira, hendak, geram, sedih, cinta, suka, malu, sakit, kecewa, ceria


จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องการกล่าวแสดงความเสียใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ด้านทักษะพิสัย (P) 2.นักเรียนสามารถนำเสนอบทสนทนาได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องคำคุณศัพท์บอกความรู้สึก(Adjektif perasaan) ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ 2. ให้นักเรียนจดเนื้อเพลงและร่วมกันร้องเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความรู้สึก ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูตั้งคำถามเรื่อง คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) จากเพลงให้นักเรียนช่วยกันตอบ 4. อธิบายเนื้อหาตามใบความรู้ ให้นักเรียนจดความหมายเป็นภาษาไทย 5. นักเรียนช่วยกันอ่านและแปลความหมายตัวอย่างประโยคในใบความรู้ 6. อธิบายเรื่องโครงสร้างประโยค พร้อมยกตัวอย่างประโยคอื่น ๆ เพิ่มเติม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 7. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างประโยคอื่น ๆ พร้อมให้ช่วยกันอ่านและแปลความหมายเป็นภาษาไทย ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 8. สุ่มนักเรียน 5 คน ให้ออกมาเล่นเกมทาย แสดงความรู้สึกจากคำที่ครูกำหนดให้หน้าชั้นเรียน ขั้นที่ 5 สรุป 9. ครูบันทึกผลและให้คะแนนการทำกิจกรรมของนักเรียน 10. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับคำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) ให้นักเรียนฟังอีกครั้ง สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่อง คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) 2. แบบฝึกหัด


การวัดผล 1. การสังเกต 2. แบบฝึกหัด 3. เพลง การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอเนื้อหาเป็นราย กลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


- Adjektif perasaan ialah kata yang berfungsi untuk menerangkan perasaan atau imosi. Contoh kata: takut mahu benci rindu ingin marah senang sayang gembira hendak geram sedih cinta suka malu sakit kecewa ceria Contoh dalam ayat: 1. Teerarat takut pergi bersendirian. 2. Aseesee suka minum susu coklat. 3. Samree berasa kecewa kerana gagal dalam peperiksaan. 4. Apisit ingin melancong ke luar negara. 5. Furkon sangat gembira melihat rakannya datang ke rumah. 6. Nenek berasa sangat marah jika cucu-cucunya cakap bohong. Latihan: Binakan ayat-ayat dari kata adjektif perasaan di bawah ini: 1. malu 2. sakit 3. suka 4. gembira 5. sayang Adjektif Perasaan


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ภาษามลายู รหัสวิชา ม 30203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องฺ คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก ผู้สอน นางสาวฟาตีห๊ะ ยูโซะ ครูพี่เลี้ยง นางสาวเจ๊ะรูฮาณี เบ็ญอับดุลอาซีซ เวลา 2 ชั่วโมง กำหนดการสอนวันที่……เดือน……….พ.ศ…….…. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนสามารถรู้และเข้าใจถึงความหมายของคำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Kata Adjektif perasaan) เช่น takut, mahu, benci, rindu, ingin, marah, senang, sayang, gembira, hendak, geram, sedih, cinta, suka, malu, sakit, kecewa, ceria ว่าแต่ ละคำแปลว่าอะไร และใช้ในสถานการณ์ใด ตลอดจนรู้จักประโยคเกี่ยวกับการบอกหรือแสดงความรู้สึก ภาษาที่ใช้ใน การแสดงความรู้สึก สามารถแปลประโยค แต่งประโยคบอกวามรู้สึกตนเอง ผู้อื่นแปลเพลงเกี่ยวกับการบอก ความรู้สึก และสามารถนำประโยคเหล่านั้นไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 1. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ 2. พูดและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม 3. พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์และข่าว/เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. นักเรียนมีวินัย 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน สาระการเรียนรู้ - ความหมายของคำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) ในภาษามลายู - คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) เช่น takut, mahu, benci, rindu, ingin, marah, senang, sayang, gembira, hendak, geram, sedih, cinta, suka, malu, sakit, kecewa, ceria - เพลงที่มีเนื้อหาการบอกความรู้สึก เพลง Teman saja - ประโยคที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก เช่น Apisit ingin melancong ke luar negara. Saya suka minum susu coklat.


จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านพุทธพิสัย (Cognitive Domain) (K) 1. นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องการกล่าวแสดงความเสียใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (P) 2. นักเรียนสามารถนำเสนอบทสนทนาได้อย่างถูกต้อง ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) (A ) 3. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีความกล้าแสดงออก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการอ่าน 3. ความสามารถในการใช้ภาษา 4. ความสามารถในการสื่อสาร กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องคำคุณศัพท์บอกความรู้สึก(Adjektif perasaan) ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำกิจกรรมสันทนาการเรียกสมาธิ 2. ให้นักเรียนร่วมกันร้องเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความรู้สึก ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูตั้งคำถามเรื่อง คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) ในเพลงให้นักเรียนช่วยกันตอบ 4. นักเรียนร่วมกันแปลคำศัพท์ที่ใช้ในการบอกความรู้สึกตามชีตและยกตัวอย่างคำศัพท์อื่น ๆ เพิ่มเติม 5. อธิบายเนื้อหาตามใบความรู้ ให้นักเรียนจดความหมายเป็นภาษาไทย 6. นักเรียนช่วยกันอ่านและแปลความหมายตัวอย่างประโยคในใบความรู้ 7. อธิบายเรื่องโครงสร้างประโยค พร้อมยกตัวอย่างประโยคอื่น ๆ เพิ่มเติม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 8. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างประโยคอื่น ๆ พร้อมให้ช่วยกันอ่านและแปลความหมายเป็น ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 9. สุ่มนักเรียน 5 คน ให้ออกมาเล่นเกมทาย แสดงความรู้สึกจากคำที่ครูกำหนดให้หน้าชั้นเรียน 10. ให้นักเรียนแข่งกันตอบ โดยการให้นักเรียนยกมือตอบแต่ละคน 11. พร้อมให้นักเรียนแต่งประโยคให้ถูกต้องตามคำศัพท์ที่นักเรียนตอบ 12. นักเรียนจับคู่มาสนทนาเกี่ยวกับประโยคบอกความรู้สึกหน้าชั้นเรียน


ขั้นที่ 5 สรุป 13. ครูบันทึกผลและให้คะแนนการทำกิจกรรมของนักเรียน 14. นักเรียนหาคำศัพท์เกี่ยวกับการบอกความรู้สึกนอกเนื้อจากที่ครูให้ในใบความรู้ มาคนละ 10 คำ ส่งครูใน คาบถัดไป 15. นักเรียนสร้างประโยคแบบฝึกหัดตามที่ครูให้ในใบความรู้พร้อมกลับไปแปลความหมายของประโยค ส่งให้ครู ตรวจในคาบถัดไป 16. สรุปและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับคำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) ให้นักเรียนฟังอีกครั้งและ ชี้แจงเนื้อหาที่จะสอนในคาบต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่อง คำคุณศัพท์บอกความรู้สึก (Adjektif perasaan) 2. แบบฝึกหัด การวัดผล 1. การสังเกต 2. แบบฝึกหัด 3. เพลง การวัดและการประเมินผล สิ่งที่วัดผล(K,P,A) วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ ประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ด้านความรู้(K) ทดสอบการอ่านและเข้าใจ เนื้อหาในบความรู้ ใบงาน ตอบคำถามถูกต้อง (ระดับ คุณภาพ 3 จาก 5 ข้อ) 2. ด้านทักษะ(P) นำเสนอเนื้อหาเป็นรายกลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 10 จาก 15 คะแนน) 3. ด้านเจตคติ(A) สังเกตพฤติกรรมจากการทำ กิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมจาก การทำกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล(ระดับ คุณภาพ 8 จาก 10 คะแนน)


Click to View FlipBook Version