The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสัตว์น้ำประจำจังหวัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sngsngf, 2022-04-08 04:06:13

คู่มือสัตว์น้ำประจำจังหวัด

คู่มือสัตว์น้ำประจำจังหวัด

คาํ นํา

คูมือสัตวนํ้าประจําจังหวัดฉบับนี้กรมประมงไดรวมกับจังหวัดตางๆ
รวบรวมและเรียบเรียง ช่ือสัตวน้ํา ชื่อวิทยาศาสตร ลักษณะท่ัวไป แหลง
อาศัย และรูปภาพของสตั วน ํ้าประจําจังหวดั ไวพอสังเขป ท้งั ๗๗ จังหวัด
โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ เผยแพร แนะนาํ สง เสรมิ การอนรุ กั ษท รพั ยากรสตั วน า้ํ
ในทองถิ่นใหมีความม่ันคง ย่ังยืนแพรหลายตลอดไป ตลอดจนเปนขอมูล
เบอื้ งตน ในการสบื คน เพอื่ การศกึ ษาใหแ กห นว ยงานและบคุ คลทสี่ นใจตอ ไป

สดุ ทา ยนก้ี รมประมงขอขอบคณุ ผทู เ่ี กยี่ วขอ งทกุ ทา นในการรวบรวม
และรวมจัดทําคูมือสัตวนํ้าประจําจังหวัดเปนอยางสูง หากมีขอผิดพลาด
ประการใดผจู ดั ทําตองขออภัยไวใ นท่ีนด้ี วย

กรมประมง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ

สัตวนํ้าประจาํ จังหวดั I

II สตั วน า้ํ ประจาํ จงั หวดั

รายชอ่ื จังหวดั สารบญั

สตั วนํา้ ประจาํ จังหวัดกรุงเทพมหานคร หนา
สัตวนา้ํ ประจาํ จงั หวดั กระบ่ี
สตั วนา้ํ ประจําจังหวดั กาญจนบุรี 1
สตั วนํา้ ประจาํ จังหวดั กาฬสนิ ธุ 2
สตั วนํ้าประจําจงั หวัดกาํ แพงเพชร 3
สตั วน า้ํ ประจาํ จังหวัดขอนแกน 4
สตั วน า้ํ ประจาํ จงั หวัดจนั ทบรุ ี 5
สตั วนา้ํ ประจําจังหวัดฉะเชิงเทรา 6
สตั วนา้ํ ประจาํ จงั หวัดชลบุรี 7
สตั วน ํ้าประจําจังหวัดชยั นาท 8
สตั วน ํ้าประจาํ จงั หวดั ชัยภูมิ 9
สตั วน ํ้าประจําจงั หวัดชมุ พร 10
สัตวน ํ้าประจําจังหวัดเชียงราย 11
สัตวน ํ้าประจาํ จงั หวัดเชยี งใหม 12
สัตวนํ้าประจําจังหวดั ตรัง 13
สัตวน า้ํ ประจาํ จังหวัดตราด 14
สัตวน ํ้าประจาํ จังหวัดตาก 15
16
17

สตั วนาํ้ ประจาํ จังหวัด III

รายชือ่ จงั หวัด หนา

สัตวน้าํ ประจาํ จังหวัดนครนายก 18
สตั วน ํ้าประจาํ จังหวัดนครปฐม 19
สัตวน ํ้าประจําจังหวัดนครพนม 20
สตั วนา้ํ ประจาํ จังหวัดนครราชสมี า 21
สตั วน า้ํ ประจาํ จังหวัดนครศรีธรรมราช 22
สตั วน ํ้าประจําจังหวดั นครสวรรค 23
สตั วนาํ้ ประจําจังหวดั นนทบรุ ี 24
สตั วน ํ้าประจาํ จังหวัดนราธวิ าส 25
สัตวน ํ้าประจาํ จงั หวัดนาน 26
สัตวน า้ํ ประจําจังหวัดบึงกาฬ 27
สัตวนา้ํ ประจําจังหวดั บรุ ีรัมย 28
สัตวน า้ํ ประจาํ จังหวดั ปทมุ ธานี 29
สัตวนา้ํ ประจําจงั หวัดประจวบคีรีขันธ 30
สัตวน า้ํ ประจาํ จังหวัดปราจนี บุรี 31
สัตวน้าํ ประจําจังหวัดปตตานี 32
สัตวน ํ้าประจําจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 33
สัตวน ํ้าประจาํ จงั หวัดพะเยา 34
สัตวน ํ้าประจําจังหวดั พังงา 35
สัตวนา้ํ ประจําจงั หวัดพัทลงุ 36
สัตวนํา้ ประจาํ จงั หวัดพิจติ ร 37

IV สัตวนํ้าประจาํ จงั หวดั

รายชอ่ื จงั หวดั หนา

สตั วนา้ํ ประจําจังหวดั พิษณโุ ลก 38
สัตวน า้ํ ประจําจงั หวัดเพชรบุรี 39
สตั วน า้ํ ประจาํ จงั หวดั เพชรบรู ณ 40
สตั วนา้ํ ประจาํ จังหวดั แพร 41
สัตวน ํ้าประจาํ จงั หวดั ภเู ก็ต 42
สัตวน ํ้าประจําจงั หวัดมหาสารคาม 43
สตั วนา้ํ ประจําจังหวดั มกุ ดาหาร 44
สตั วนาํ้ ประจาํ จงั หวดั แมฮ องสอน 45
สัตวนา้ํ ประจําจังหวัดยโสธร 46
สัตวน ํ้าประจําจงั หวัดยะลา 47
สตั วนํ้าประจําจงั หวัดรอ ยเอด็ 48
สัตวน า้ํ ประจาํ จังหวดั ระนอง 49
สตั วน ํ้าประจําจังหวดั ระยอง 50
สตั วน ํ้าประจําจงั หวัดราชบรุ ี 51
สตั วน า้ํ ประจาํ จงั หวัดลพบรุ ี 52
สตั วน า้ํ ประจําจังหวัดลาํ ปาง 53
สตั วนา้ํ ประจาํ จังหวัดลําพนู 54
สตั วน ้าํ ประจําจังหวดั เลย 55
สตั วน ํ้าประจาํ จงั หวัดศรีสะเกษ 56
สตั วนํ้าประจําจังหวัดสกลนคร 57

สัตวนาํ้ ประจําจงั หวดั V







สัตวน า้ํ ประจาํ จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร

ชอ่ื สัตวนาํ้ ปลากระโห
ชอื่ สามัญ Siamese giant carp, Giant barb
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Catlocarpio siamensis (Boulenger, 1898)
ชอ่ื ทอŒ งถิ่น ภาษาอีสานจะเรยี ก “ปลาคาบมัน” หรือ “ปลาหวั มัน” ภาษาเหนอื เรยี กวา “ปลากะมัน”
ท่สี ามเหลีย่ มทองคํา อาํ เภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงราย เรียกวา “ปลาสา”

ประวัติความเปšนมา ปลากระโหเปนปลาน้ําจืดไทยที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
ใหกรมประมงเพาะพนั ธปุ ลาท่อี ยูในลาํ นา้ํ ด้ังเดมิ เพ่ืออนรุ กั ษฟนฟู จนผสมเทียมไดส ําเร็จบรเิ วณเข่อื นชยั นาท แตก็ยงั ขาดแคลน
พอแมพันธุ จึงทรงมีพระบรมราชานุญาตใหกรมประมงทดลองใชปลากระโหในสระพระตําหนักจิตรลดารโหฐานมาเพาะพันธุ
และประสบความสาํ เร็จในทส่ี ุด ปลากระโหยังเปนปลานาํ้ จืดขนาดใหญช นิดหนง่ึ จัดเปน ปลาในวงศป ลาตะเพยี น (Cyprinidae)
ทม่ี ขี นาดใหญท ส่ี ดุ อกี ดว ย โดยเฉลย่ี มกั มขี นาดประมาณ 1.5 เมตร แตพ บใหญส ดุ ไดถ งึ 3 เมตร หนกั ไดถ งึ 150 กโิ ลกรมั มลี กั ษณะ
สําคญั คอื สว นหัวโต ปากกวา ง ตาเล็ก ไมม ีหนวด ปลาวัยออ นหัวจะโตมากและลาํ ตวั คอ นไปทางหาง ทาํ ใหแ ลดูคลา ยปลาพกิ าร
ไมสมสวน ขอบฝาปดเหงือกมนกลมและใหญกวาปลาชนิดอื่นๆ ครีบหลังและครีบหางใหญ มีเกล็ดขนาดใหญปกคลุมลําตัว
บนเพดานปากมกี อ นเนอื้ หนา เหงอื กมซี ก่ี รองยาวและถม่ี าก ตวั มสี คี ลา้ํ อมนาํ้ เงนิ หรอื นาํ้ ตาลเขม ครบี มสี แี ดงเรอื่ ๆ ดา นทอ งมสี จี าง

เปนพันธุปลาดงั้ เดิมทม่ี อี ยใู นลํานํ้าเจาพระยา พบเฉพาะในแมน ้ําสายใหญ ตัง้ แตแ มนํา้ แมก ลองถงึ แมนา้ํ โขงแตป จ จุบัน
ตามธรรมชาติมีจํานวนลดลง จึงจําเปนตองประชาสัมพันธใหประชาชนทั่วไปทราบประวัติความเปนมาของปลากระโหและ
ตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั ของการอนรุ กั ษ ปลาวยั ออ นมกั อยรู วมเปน ฝงู ในวงั นาํ้ ลกึ ปจ จบุ นั ลดจาํ นวนลงไปมากเนอื่ งจากปญ หาเรอ่ื ง
สิ่งแวดลอมและการถูกจับเปนจํานวนมาก จัดอยูในสถานภาพเปนปลาใกลสูญพันธุชนิดหนึ่ง ปจจุบัน ปลาชนิดนี้สามารถ
เพาะพันธุไดแลวเปนบางสวนจากการผสมเทียม ในธรรมชาติจะแพรพันธุระหวางเดือนกรกฎาคม-กันยายน ปริมาณไข
จะมีจํานวนมากนับลานๆ ฟอง แตไขสวนใหญและลูกปลาจะถูกปลาอ่ืนจับกินแทบไมมีเหลือ อาหารของปลากระโหคือ
แพลงกตอนและปลาขนาดเล็ก พืชตางๆ เชน สาหรายหรือเมล็ดพืช นอกจากนํามาทําเปนอาหารโดยการปรุงสดแลว
ยังสามารถเล้ียงเปนปลาสวยงามไดอ ีกดว ย ปลากระโหไ ดร บั คัดเลอื กเปน สตั วนา้ํ ประจาํ กรงุ เทพมหานครเม่อื วันที่ 30 มถิ นุ ายน
พ.ศ. 2558

นายวสันต ศรีวฒั นะ นายสพุ ล จติ ราพงษ
ผอู าํ นวยการกองพัฒนาและถา ยทอดเทคโนโลยกี ารประมง ประมงพืน้ ท่ีกรุงเทพมหานคร

สตั วน ํา้ ประจําจังหวดั 1

สัตวนาํ้ ประจาํ จงั หวดั กระบ่ี

ชือ่ สตั วน า้ํ หอยชกั ตนี
ชื่อสามัญ Wing shell
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Strombus canarium (Linnaeus, 1758)
ชื่อทŒองถนิ่ หอยสังขต ีนเดยี ว

ประวัติความเปšนมา ลักษณะของหอยชักตีน มีรูปรางคลายผลสาลี่เปลือกบางเรียบและมีสีขาว เหตุท่ี
เรียกวา “สังข” ก็เพราะมีลักษณะภายนอกคลายหอยสังขที่ใชรดน้ําในงานมงคลสมรส แตหอยชักตีนหรือสังข
มีขนาดเล็กกวา หอยชักตีนกินสาหรายและอินทรียสารตามพื้นทะเล มีความสูงระหวาง 3.5-5.5 ซ.ม. เปนสัตวน้ําท่ีมี
ความสําคัญควบคูกับจังหวัดกระบี่ โดยพบท่ัวไปในบริเวณอําเภอชายทะเลของจังหวัดกระบ่ี แตพบมากบริเวณ
ต.เกาะศรบี อยา อ.เหนอื คลอง จ.กระบ่ี เปน สัตวน า้ํ เศรษฐกจิ ที่มคี วามสําคัญ มีรสชาตดิ ี และมรี าคาแพง ทั้งนี้เน่อื งจาก
เปนที่นิยมบริโภคของนักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยวในจังหวัดกระบี่ โดยจังหวัดกระบ่ีไดเล็งเห็นความสําคัญของ
สัตวน้ําชนิดน้ี พรอมท้ังไดมอบหมายใหหนวยงานราชการ ภาคเอกชนจัดทําโครงการแหลงอนุรักษพอแมพันธุ และ
ปลอยพันธุหอยชักตีนเพื่อเพ่ิมปริมาณผลผลิตในธรรมชาติ นอกจากนี้ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงกระบี่ ไดผลิต
ลูกพันธุหอยชักตีนเพื่อปลอยในแหลงบริเวณพ้ืนท่ีที่มีความเหมาะสมเพ่ือเพ่ิมผลผลิตใหคงความยั่งยืนของสัตวน้ํา
ชนิดนี้ควบคูไปกับจังหวัดกระบ่ีดวย โดยไดทําการคัดเลือกหอยชักตีนเปนสัตวน้ําประจําจังหวัดกระบี่เม่ือวันที่
8 เมษายน พ.ศ. 2558

นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม นายณรงค วุนซ้วิ
ผวู า ราชการจงั หวดั กระบ่ี รองผวู าราชการจังหวัดกระบ่ี

นายวสิ ูตร ศศิวิมล นายไพบลู ย บญุ ลิปตานนท
ประมงจงั หวดั กระบ่ี ผูอํานวยการศูนยว จิ ยั และพัฒนาประมงชายฝงกระบี่

นายกอบศกั ดิ์ เกตเุ หมือน
ผูอาํ นวยการศนู ยศกึ ษาการพัฒนาและอนรุ ักษพนั ธุปู ปาทงุ ทะเลอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริ จงั หวดั กระบ่ี

2 สตั วนาํ้ ประจาํ จังหวดั

สตั วน ํ้าประจาํ จังหวดั กาญจนบุรี

ชอ่ื สัตวนาํ้ ปลายสี่ ก
ชื่อสามญั Seven-striped barb, Julian’s golden carp
ชื่อวทิ ยาศาสตร Probarbus jullieni (Sauvage, 1880)
ชอื่ ทŒองถน่ิ ปลาเอนิ หรอื ปลาเอินคางหมู

ประวัติความเปšนมา ปลาย่ีสกเปนปลานํ้าจืดชนิดหนึ่งกินพืชในน้ําเปนอาหารหลัก และอาจกินสัตวหนาดิน
ลูกกุง ลูกปู และไรน้ําดวย มีลักษณะเดนคือ สีของลําตัวเปนสีเหลืองนวล ลําตัวคอนขางกลมและยาว บริเวณดานขาง
มีแถบสีดาํ ขา งละ 7 แถบ พาดไปตามความยาวของลําตวั ลายตามลําตวั เหลานจ้ี ะปรากฏเมอ่ื ลกู ปลามคี วามยาว 3-5 นวิ้
บริเวณหัวมีสีเหลืองแกมเขียว ริมปากบนมีหนวดสั้นๆ 1 คู มีฟนที่คอหอยเพียงแถวเดียว จํานวน 4 ซี่ เวลากินอาหาร
ทําปากยืดหดได เยื่อมานตาเปนสีแดงเร่ือๆ ครีบหลัง ครีบหู ครีบกน มีสีชมพูแทรกอยูกับพื้นครีบ ซึ่งเปนสีเทาออน
หางคอนขางใหญและเวาลึก ปลายี่สกเปนปลาขนาดใหญชนิดหนึ่งในจํานวนปลาน้ําจืดดวยกัน พบในจังหวัดกาญจนบุรี
ขนาดใหญทส่ี ดุ ยาว 1.35 เมตร นาํ้ หนัก 40 กโิ ลกรัม จังหวดั กาญจนบุรจี งึ ใหปลายีส่ กเปน สัตวน าํ้ ประจาํ จงั หวัดกาญจนบุรี
เมอ่ื วนั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2558

นายวนั ชัย โอสุคนธทพิ ย นายบุญญะพัฒน จันทรอุไร
ผูวาราชการจังหวัดกาญจนบุรี รองผูว า ราชการจังหวดั กาญจนบรุ ี

นายศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ วิบลู สุข นายองอาจ คําประเสริฐ
ประมงจังหวดั กาญจนบรุ ี ผูอ าํ นวยการศูนยว จิ ัยและพฒั นาประมงนํ้าจืดกาญจนบรุ ี
นายประทีป เจริญทรพั ย
หัวหนา ศูนยบ ริหารจดั การประมงนาํ้ จดื นายสนุ ิทย ปท ถาพงษ
ภาคตะวันตกเข่อื นศรีนครนิ ทร หัวหนา หนว ยบริหารจดั การประมงน้าํ จืดเขอ่ื นวชิราลงกรณ

สตั วนา้ํ ประจาํ จงั หวัด 3

สัตวน ํ้าประจําจังหวัดกาฬสนิ ธุ

ช่ือสัตวน ํ้า ปลาสรอ ยเกลด็ ถี่
ช่อื สามัญ White lady carp
ชอ่ื วิทยาศาสตร Thynnichthys thynnoides (Bleeker,1852)
ช่ือทอŒ งถน่ิ ปลากุม ปลานางเกลด็

ประวัติความเปšนมา ปลาสรอยเกล็ดถี่จัดอยูในวงศปลาตะเพียน (Cyprinidae) ลักษณะคลายปลาสรอย
แตเกล็ดถี่และเล็กกวา เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียดมาก มีสีเงินแวววาวเมื่อถูกแสงและเกล็ดหลุดรวงไดงาย ท่ีบริเวณ
เสนขางลาํ ตัวมปี ระมาณ 58-65 เกล็ด หวั โต ตากลมโต ลําตัวเพรียวแบนขา งเล็กนอย ไมมหี นวด ครีบหลงั ไมม ีกานครีบ
แข็ง ขอหางคอด ปลายครีบหางเวาลึก ครีบทุกครีบสีจางใส ที่ฝาปดแผนเหงือกมีจุดสีคล้ํา สวนทองสีขาวจาง มีขนาด
ความยาวเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบกระจายพันธุชุกชุมอยูท่ัวไป เปนปลาที่นิยมบริโภคกันในทองถ่ินในจังหวัด
กาฬสินธุ ตามคําพญาคํากลอน โบราณ ที่กลาวถึงความอุดมสมบูรณของทรัพยากรพันธุสัตวนํ้าในจังหวัดกาฬสินธุ
ในอดีตเกี่ยวกับ ปลาสรอยเกล็ดถี่ ไววา “......กาฬสินธุน้ี ดินดํา นํ้าสุม ปลากุมบอน คือแขแกงหาง ปลานางบอน
คือขางฟาล่ัน จักจั่นฮอง คือฟาลวงบน แตกจนจน คนปบโฮแซว เมืองนี้มีสูแนว แอนระบํารําฟอน” “...ปลากุมบอน
คือแขแกงหาง...” หมายถึง ปลาสรอยเกล็ดถี่มีมากมายวายเปนฝูงข้ึนฮุบอากาศเปรียบเทียบเหมือนจระเข (แข)
แกวงหาง “...ปลานางบอน คือขางฟาลั่น...” หมายถึง ปลาสรอยเกล็ดถ่ี (ปลานางเกล็ด) วายนํ้าเปนฝูงขึ้นฮุบอากาศ
เปรียบเทียบเสียงดังมากเหมือนเสียง ฟารอง ปลาสรอยเกล็ดถี่ไดรับประกาศใหเปนสัตวนํ้าประจําจังหวัดกาฬสินธุ
เมือ่ วันท่ี 19 กุมภาพันธ 2558

นายภุชงค โพธิกุฎสยั นายสรุ พจน รชั ชศุ ิริ
ผวู า ราชการจังหวดั กาฬสินธุ รองผวู าราชการจงั หวัดกาฬสินธุ
นายนิตพิ ัฒน เตยี นพลกรงั
นายสมพงษ การเพิม่
ประมงจังหวดั กาฬสนิ ธุ ผูอาํ นวยการศนู ยวิจัยและพัฒนาประมงนาํ้ จืดกาฬสนิ ธุ

4 สัตวน้าํ ประจาํ จังหวดั

สตั วน ํ้าประจาํ จังหวดั กาํ แพงเพชร

ชอื่ สัตวน ํา้ ปลาตะพาก
ชื่ออังกฤษ Golden Belly Barb
ชอ่ื วิทยาศาสตร Hypsibabus wetmorei (Smith, 1931)
ชอื่ ทอŒ งถนิ่ ปลาปากทองเหลือง,ปลาปก,ปลาปากดาํ
ประวตั ิความเปšนมา ปลาตะพาก เปนปลาพ้นื เมืองทส่ี ามารถพบไดในแมนา้ํ ปง ซ่งึ เปนแมนาํ้ สายหลกั ไหลผา น
ตวั เมอื งกาํ แพงเพชร แมน าํ้ สายอนื่ ๆทพ่ี บ เชน แมน า้ํ นา น แมน า้ํ เจา พระยา และแมน า้ํ โขง ปลาตะพากเปน ปลาทป่ี ระชาชน
นิยมบริโภค ในจังหวัดกําแพงเพชรมีการจําหนายอยูในตลาดตนโพธิ์ และตลาดสดตางๆ ราคาจําหนาย ขนาดปลา
1-2 กโิ ลกรมั กิโลกรมั ละ 60 บาท ปลาตะพากเปนปลาท่มี รี สชาติดี จึงเปน ทนี่ ิยมของผูบ รโิ ภค มีคณุ คา ทางโภชนาการ
ประกอบดวยโปรตนี ประมาณ 20% และไขมนั ประมาณ 9%

ปลาตะพากถูกจัดใหอยูในวงศปลาตะเพียน (Cyprinidae) ลักษณะท่ัวไปมีรูปรางคลายปลาตะเพียนขาว
แตม ขี นาดใหญก วา บรเิ วณสวนทองมสี เี หลอื งทอง บรเิ วณสวนหลงั มสี เี ขม เปนนาํ้ เงนิ อมเขียว ครีบหลงั และครบี หางสีสม
แกมเขียว ครีบทองสีสมหรือสีเหลืองอาศัยอยูรวมกันเปนฝูง เปนปลาที่วายนํ้าไดเร็ว และวายนํ้าเคล่ือนไหวตลอดเวลา
ขนาดปลาทั่วไปมีความยาวโดยประมาณ 20-30 เซนติเมตร ขนาดโตเต็มท่ียาวประมาณ 60 เซนติเมตร เคยพบปลา
ขนาดใหญท่สี ดุ มคี วามยาว 66 เซนติเมตร น้าํ หนกั 8 กโิ ลกรมั นสิ ยั การกนิ อาหารไดห ลากหลาย มพี ฤตกิ รรมการผสมพันธุ
เปนหมู ฤดูวางไขอยูในชวงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน และเดือนตุลาคม-ธันวาคม ไขเปนแบบครึ่งจมครึ่งลอย โดยปลา
เพศเมียขนาดความยาวเฉล่ยี 36 เซนติเมตร นา้ํ หนกั เฉลยี่ 763 กรัม มจี าํ นวนไขเ ฉล่ยี 87,533 ฟอง

การนํามาปรุงอาหาร นิยมบริโภคโดยการปรุงสด รมควัน ตมเค็ม และนํามาแปรรูปผลิตภัณฑปลาตะพากสม
โดยสํานักงานประมงจังหวัดกําแพงเพชรไดสงเสริมใหกับกลุมวิสาหกิจเลี้ยงปลาในจังหวัด อีกทั้งยังเปนการสรางมูลคา
เพ่ิมโดยนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงามอีกดวย ในการน้ีจังหวัดฯ ประกาศใหเปนสัตวนํ้าประจําจังหวัดกําแพงเพชร เมื่อวันท่ี
23 มกราคม 2558

นายสรุ พล วาณิชเสนี นายนลนิ ตง้ั ประสทิ ธิ์
ผูว า ราชการจงั หวดั กําแพงเพชร รองผูวาราชการจังหวัดกาํ แพงเพชร

นายสนั่น ปานบานแพว นายวรญั ู ขุนเจรญิ รกั ษ
ประมงจงั หวดั กําแพงเพชร ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื กาํ แพงเพชร

สตั วน้าํ ประจาํ จงั หวัด 5

สตั วน ้ําประจําจงั หวดั ขอนแกน‹

ชอ่ื สัตวน าํ้ ปลาพรม
ชอ่ื สามัญ Greater bony, lipped barb
ชอ่ื วิทยาศาสตร Osteochilus melanopleurus (Bleeker,1854)
ชือ่ ทŒองถนิ่ ปลานกเขา หรือ ปลาตาแดง

ประวัติความเปšนมา เปนปลานํ้าจืดมีเกล็ดขนาดใหญอยูในครอบครัวเดยี วกบั ปลาสรอ ยนกเขา ลกั ษณะลําตวั
คอนขางยาว หัวทู ปากอยูต่ํา รอบปากมีติ่งเนื้อขนาดเล็กเปนกระจุก ลําตัวมีสีเขียวอมเทา บริเวณขางลําตัวใตครีบหู
มีจุดประเปนแถบสีดําตามแนวขวางหน่ึงแถบ ในบางทองถิ่นเรียกวา ปลาพรมหัวเหม็นเนื่องมาจากปลาตัวนี้มีกลิ่นคาว
เหม็นเขียวโดยเฉพาะที่หัว พบอยูที่ในแหลงนํ้านิ่งและนํ้าไหลรวมทั้งในแมน้ําลําคลอง หนองบึง และอางเก็บนํ้าทั่วไป
และพบมากในบริเวณเขื่อนอุบลรัตน จังหวัดขอนแกน เดิมเปนปลาที่มีความชุกชุมในเขื่อนอุบลรัตน ตั้งแตป 2538
เปนตนมาไมพบวาชาวประมงจับปลาพรมไดอีกเลย หนวยงานสังกัดกรมประมงในจังหวัดขอนแกน รวมกับการไฟฟา
เขอ่ื นอบุ ลรตั นแ ละชมุ ชนชาวประมง ไดร ว มกนั จัดทาํ เขตอนรุ กั ษท รพั ยากรสตั วน าํ้ ในเขอ่ื นอบุ ลรัตน ตง้ั แตป  2551 เปน ตน
มา โดยเฉพาะศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื ขอนแกน ไดท าํ การเพาะพนั ธปุ ลาพรมปลอ ยคนื ลงอา งเกบ็ นาํ้ เขอื่ นอบุ ลรตั น
ตั้งแตป 2552 โดยอีกหนึ่งปตอมาชาวประมงไดจับปลาพรมไดจากเขื่อน สรางความดีใจใหชาวประมง รวมทั้งไดสราง
ความตระหนักใหชุมชนชาวประมงเห็นความสําคัญในการสรางเขตอนุรักษ ปลาพรมนอกจากจะมีประโยชนในดาน
การเลย้ี งเปน ปลาสวยงาม และยงั มีการนาํ ปลาชนดิ นม้ี าทาํ เปนอาหารไดอีกหลายอยา ง และไดรับประกาศใหเปนสตั วนํ้า
ประจําจังหวัดขอนแกน เม่อื วนั ท่ี 15 มกราคม 2558

นายกําธร ถาวรสถิต นายศิวาโรจน มุง หมายผล
ผูวาราชการจงั หวัดขอนแกน รองผวู า ราชการจงั หวัดขอนแกน

วา ที่รอยตรี นวรัตน จิตรภ ิรมยศ รี นายเดชา รอดระรงั
ประมงจังหวัดขอนแกน ผอู าํ นวยการศนู ยวจิ ยั และพัฒนาประมงนํา้ จดื ขอนแกน

นายไพบูลย วงชยั ยา
หวั หนา หนว ยบรหิ ารจดั การประมงนํา้ จดื เขอ่ื นอบุ ลรตั น ขอนแกน

6 สัตวน าํ้ ประจาํ จังหวัด

สัตวนํา้ ประจาํ จงั หวดั จันทบรุ ี

ชื่อสัตวน า้ํ ปลาบมู หิดล
ช่อื สามัญ -
ช่ือวิทยาศาสตร Mahidolia mystacina (Valenciennes, 1837)
ช่อื ทอŒ งถนิ่ -

ประวัติความเปนš มา ปลาบูมหดิ ลพบในประเทศไทยเปน คร้ังแรก ทอ่ี าํ เภอแหลมสิงห จังหวดั จนั ทบุรี เมื่อ พ.ศ. 2469
โดย ดร. ฮิว แมคคอรมิค สมิธ ที่ปรึกษาแผนกสัตวน้ําของรัฐบาลสยาม และตอมาดํารงตําแหนงอธิบดีกรมประมงคนแรก และ
ไดตั้งช่ือวิทยาศาสตรตามพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เพ่ือเปนการเทิดพระเกียรติ
และสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค ในฐานะที่ไดทรงอุปถัมภ และพระราชทานทุนสําหรับสงนักเรียนไปศึกษาตอดาน
การประมงในตา งประเทศ และทรงไดรบั ถวายสมัญญานามวา “พระประทีปแหง การอนรุ ักษทรพั ยากรสตั วน ้าํ ของไทย“

ปลาบูมหิดลมีลักษณะเดน คือ มีหัวและลําตัวรวมกันยาวรวมกันไมเกิน 8 เซนติเมตร (ขนาดประมาณน้ิวกอย)
หัวแบนขาง ตาโต โปน ลําตัวกลม ขากรรไกรยาวมากยื่นไปทางขางเลยขอบหลังตา ทําใหปากมีลักษณะกวาง ฟนมีขนาดเล็ก
แถวเดยี วทข่ี ากรรไกรบน แตม หี ลายแถวทขี่ ากรรไกรลา ง ไมม เี กลด็ บนหวั และบนฝาเหงอื กมเี กลด็ คอ นขา งใหญ มจี ดุ กระจายทว่ั ลาํ ตวั
มีแถบสเี ขม 5-6 แนว (พาดจากหลังทแยงลงไปดานหนา เกอื บถงึ สันทอง) กระโดงหลังมีจุดสฟี า

ปลาบูมหิดลชอบอาศัยบริเวณปากแมน้ํา และปาชายเลนท่ีมีลักษณะเปนอาว พ้ืนทะเลเปนโคลนปนทราย มักพบ
มีพฤติกรรมอาศัยอยูกับกุงดีดขัน (กุงกะเตาะในภาษาทองถิ่น) โดยกุงจะสรางรูเปนท่ีอาศัย สวนปลาบูมหิดลเปนผูทํา
ความสะอาดภายในรู ในลกั ษณะพงึ่ พาซง่ึ กนั และกนั ไดร บั การประกาศเปน สตั วน า้ํ ประจาํ จงั หวดั จนั ทบรุ ี เมอ่ื วนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ 2558

นายสามารถ ลอยฟา นายกลา ณรงค พงษเจรญิ
ผูวาราชการจงั หวัดจันทบุรี รองผูวา ราชการจงั หวดั จันทบุรี

นายบญั ชา สุขแกว นางกลุ วรา แสงรุงเรอื ง
ประมงจังหวัดจนั ทบุรี ผอู ํานวยการศูนยวิจัยและพฒั นาประมงชายฝง จนั ทบุรี

นายประจวบ ลรี ักษาเกียรติ
ผอู าํ นวยการศนู ยศ กึ ษาการพัฒนาอาวคงุ กระเบน อนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ

สตั วนา้ํ ประจาํ จงั หวดั 7

สตั วนา้ํ ประจาํ จังหวดั ฉะเชิงเทรา

ชอื่ สตั วนา้ํ ปลากะพงขาว
ชอื่ สามญั Barramundi, White perch
ช่อื วทิ ยาศาสตร Lates calcarifer (Bloch, 1790)
ชื่อทอŒ งถ่นิ ปลากะพงขาว ยงั มชี ่อื เรียกอกี ชื่อหนง่ึ วา “ปลากะพงนํา้ จดื ”
ขณะทีช่ ื่อทองถน่ิ ในลุมแมน ้ําบางปะกงเรียก “ปลาโจโ ล“

ประวัตคิ วามเปนš มา เปนปลาน้าํ กรอ ยที่มีรูปรางยาว ลาํ ตวั หนาและดา นขา งแบน หัวโต จะงอยปากคอ นขา ง
ยาวและแหลม นยั นตาโต ปากกวางยดื หดได มุมปากอยูเลยไปทางหลังนัยนต า ฟน เปน ฟนเขี้ยวอยบู นขากรรไกรบนและ
ลา ง ขอบกระดูกแกมเปน หนามแหลม ขอบกระดกู กระพุงเหงือกแข็งและคม คอดหางมขี นาดใหญและแข็งแรง เกลด็ ใหญ
มีขอบหยักเปนหนามเมื่อลูบจะสากมือ ครีบหลังอันแรกมีกานครีบเปน หนามแข็ง ปลายแหลม อันที่สองเปนครีบออน
มขี นาดใกลเ คียงกนั ครีบใหญป ลายกลมมน พ้ืนลําตัวสขี าวเงนิ ปนนํา้ ตาล แนวสันทองสขี าวเงิน

ขอมูลจากพงศาวดารอยุธยา บันทึกวาพระเจาตาก นํากําลังผูคนหนีจากอยุธยาผานมาทางดงศรีมหาโพธ์ิ แลว
มาพักทัพท่ีบริเวณปากนํ้าเจาโล เพ่ือหลบกองทัพอังวะ (ปากน้ําเจาโลปจจุบันอยูบริเวณคลองทาลาด อําเภอบางคลา
จงั หวัดฉะเชงิ เทรา และพืน้ ทค่ี ลองทาลาดติดตอกับแมน ้าํ บางปะกง ซึ่งเปนแมน ้าํ สายหลักของจังหวัดฉะเชิงเทรา) เจาโล
เพี้ยนมาจากคําจีนแตจิ๋ววา จอโล แปลวาปลากะพงขาว แสดงวาปลากะพงขาวมีอยูชุกชุมในถิ่นฉะเชิงเทรามาตั้งแต
ครง้ั อดตี กาล จงึ คดั เลือกปลากะพงขาวเปนสตั วน ้ําประจําจังหวดั ฉะเชงิ เทราเม่อื วันท่ี 6 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2558

นายอนุกูล ตังคณานกุ ูลชัย นายเดชา ใจยะ
ผวู า ราชการจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา รองผูวาราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา

วา ที่ ร.ต. สรุ ตั น เกดิ มะลิ นายวิเชียร วรสายณั ห
ประมงจังหวัดฉะเชงิ เทรา ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงชายฝง ฉะเชงิ เทรา

นายวริ ะ จติ รสวุ รรณ
หวั หนา ศูนยบรหิ ารจัดการประมงทะเลอา วไทยตอนใน สมุทรปราการ

8 สัตวนาํ้ ประจาํ จังหวัด

สัตวน้ําประจําจงั หวัดชลบุรี

ชอื่ สตั วนํ้า ฉลามกบ
ชื่อสามญั Brownbanded bamboo shark
ช่อื วทิ ยาศาสตร Chiloscyllium punctatum (Müller & Henle, 1838)
ชอ่ื ทŒองถน่ิ ฉลามแมว

ประวัติความเปšนมา เปนปลาฉลามขนาดเล็ก มีลําตัวและหางเรียวยาว จะงอยปากกวางอยูบริเวณดานหนา
ของตาท้ัง 2 ขาง ตามีขนาดเล็ก ครีบหางแฉกบนโคงเรียวยาวกวาแฉกลาง ในลูกปลาวัยออนจะมีลายเปนแถบสีขาว
สลับดําคาดตามขวางลําตัว และจะคอยๆ จางลงเมื่อโตข้ึนและกลายเปนสีน้ําตาลแทน และมีอวัยวะคลายหนวดบริเวณ
สวนหนาดวย จึงไดอีกช่ือเรียกหน่ึงวา “ปลาฉลามแมว” ขนาดโตเต็มที่มีความยาวที่เคยพบสูงสุด คือ 121 เซนติเมตร
พบทั่วไปตามพ้ืนทรายแนวปะการังในฝงอาวไทยและอันดามัน ชอบหากินอยูบริเวณหนาดิน มีพฤติกรรมชอบอยูนิ่งๆ
กนิ แตพ ชื และสตั วน า้ํ ขนาดเลก็ เปน อาหาร ออกลกู เปน ไข โดยทต่ี วั เมยี จะวางไขอ ยบู รเิ วณแนวปะการงั ทมี่ สี าหรา ยลอ มรอบ
อยู และสรางเปลอื กไขทแี่ ข็งแรงเพื่อปกปองตวั ออ น จดั เปน ปลาทะเลอีกชนิดหนึง่ ทนี่ ยิ มเลี้ยงเปนปลาสวยงาม เนื่องจาก
เปน ปลาขนาดเล็กและมีสีสนั ท่สี วยงาม ไดร ับการประกาศเปนสัตวน้าํ ประจาํ จงั หวดั ชลบรุ ี เม่ือวันที่ 30 มกราคม 2558

นายคมสัน เอกชยั นายธรี วฒุ ิ ศริ วิ รรณ
ผูวา ราชการจังหวดั ชลบุรี รองผวู า ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี

นายสงกรานต แสงจันทร นายสกนธ แสงประดับ
ประมงจงั หวัดชลบุรี รกั ษาราชการแทนผอู าํ นวยการสถาบนั วจิ ยั อาหารสตั วน าํ้ ชายฝง

นางศศวิ มิ ล ปตพิ รชัย นายอดุ ม ตดิ ไชย
ผูอํานวยการศนู ยวจิ ยั และพัฒนาประมงนํา้ จืดชลบรุ ี หวั หนาดานตรวจสัตวน้ําจงั หวดั ชลบรุ ี

วาที่ ร.ท.สมศักด์ิ สรุ ัตนมาลย
หัวหนา หนวยบริหารจัดการประมงทะเลอางศิลา ชลบรุ ี

สัตวนํ้าประจําจังหวดั 9

สัตวน า้ํ ประจาํ จังหวดั ชัยนาท

ช่ือสตั วน ํา้ ปลาแดง
ชือ่ สามัญ Whisker sheatfish
ชอื่ วิทยาศาสตร Phalacronotus bleekeri (Günther, 1864)
ชอ่ื ทŒองถิน่ เนอ้ื ออ น นาง หรือ นางแดง

ประวัตคิ วามเปšนมา ลกั ษณะลาํ ตวั แบนขา ง สวนหวั แบนลง ดา นหลังของหัวยกสงู ขึ้นเลก็ นอยแลว คอ ยๆ ลาด
ลงไปถึงบริเวณหาง ลําตัวไมมีเกล็ด สีของลําตัวเปนสีเงินยวง เหลือบดวยสีเขียวปนนํ้าเงินทางดานลางของลําตัวและ
ทองเปนสีชมพู ไมมีครีบหลัง ครีบกนยาวมาก มีหนวดสั้นสองคู คูแรกอยูบนขากรรไกรบนและคูท่ีสองอยูใตคางส้ันมาก
ขนาดที่พบโดยทั่วไปยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตรเปนปลากินเน้ือหากินในระดับกลางนํ้าถึงผิวน้ํา อาหารธรรมชาติ
ไดแก ปลาขนาดเลก็ กงุ และแมลงตา งๆ

ในภาคกลางพบในแมน้ําเจาพระยาและแมนํ้าปาสัก ภาคใตพบในแมนํ้าตาป ท่ีบานดอนจังหวัดสุราษฎรธานี
สวนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบในแมนํ้าสายสําคัญๆ เชน แมนํ้ามูล แมนํ้าสงคราม ลําปาว และในอางเก็บนํ้า
เขอ่ื นอบุ ลรตั น โดยทวั่ ไปอาศยั อยใู นนาํ้ ทมี่ คี วามลกึ ประมาณ 4-6 เมตร และไดป ระกาศใหเ ปน สตั วน าํ้ ประจาํ จงั หวดั ชยั นาท
เมอื่ วันที่ 29 มกราคม 2558

(นายสทุ ธพิ งษ จลุ เจรญิ ) (นายถาวร จริ ะโสภณรกั ษ)
ผวู าราชการจังหวดั ชัยนาท ประมงจงั หวดั ชัยนาท
(นายเฉลิมเกยี รติ วรวฒุ ิพุทธิพงศ)
รองผวู า ราชการจงั หวัดชัยนาท (นายวรวิทย พรหมปากดี)
ผูอาํ นวยการศูนยวจิ ัยและพฒั นาประมงน้าํ จืดชัยนาท

10 สตั วน้าํ ประจําจงั หวดั

สตั วน้าํ ประจาํ จังหวดั ชยั ภูมิ

ชอ่ื สัตวน ํา้ ปลาสลาด
ชื่อสามญั Grey Feather back
ชื่อวิทยาศาสตร Notopterus notopterus (Pallas, 1769)
ชื่อทอŒ งถิ่น ตอง , ฉลาด , ตองนา

ประวัตคิ วามเปนš มา เปน ปลานาํ้ จดื ชนิดหนึง่ ทีม่ รี ูปรา งคลายปลากรายแตม ขี นาดเลก็ กวา มีจุด สีดาํ ท่คี รบี กน
ลําตัวมีสีขาวเงินปนเทา เกล็ดมีลักษณะกลมเรียบและขนาดเล็ก ครีบหลังขนาดเล็กมาก ครีบกนมีขนาดใหญและยาว
เช่ือมติดกบั ครีบหางเปนแผนเดยี วกัน โดยท่ัวไปมขี นาดยาว 15 – 20 เซนตเิ มตร ขนาดใหญท ่ีสดุ ท่พี บมีขนาดความยาวถงึ
30 เซนติเมตร พบในแมนาํ้ และแหลง นํ้าน่ิงท่วั ประเทศไทย มักอยรู วมเปนฝงู อาหารไดแ กล กู กุง ลูกปลา สตั วนาํ้ ขนาดเลก็
เปน ปลาทมี่ คี วามสาํ คญั ทางเศรษฐกจิ ชนดิ หนง่ึ นยิ มนาํ เนอ้ื ไปทาํ ทอดมนั แทนเนอ้ื ปลากรายซง่ึ มรี าคาแพงกวา ได นอกจาก
นั้นยังแปรรูปอาหารอื่นๆ เชน ลูกช้ิน ทอดมัน หรือรมควัน และยังนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงาม โดยเฉพาะปลาท่ีกลายสี
เปน สีเผอื ก ปลาสลาดไดรับคดั เลอื กเปนสตั วน ํ้าประจาํ จงั หวัดชยั ภูมเิ มื่อวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ. 2558

นายวเิ ชียร จันทรโณทัย นางนภา ศกุนตนาค
ผูว าราชการจงั หวดั ชัยภูมิ รองผูวาราชการจงั หวดั ชยั ภมู ิ
นาวาตรีสรรเสรญิ เสรรี ักษ
นายจารึก นาชัยเพิ่ม
ประมงจังหวดั ชัยภมู ิ ผูอ ํานวยการศูนยว ิจยั และพฒั นาประมงน้าํ จืดชยั ภมู ิ

สัตวน้ําประจาํ จังหวัด 11

สตั วน้าํ ประจําจังหวัดชุมพร

ชื่อสตั วน า้ํ ปลาทู (ปลาทูส้ัน)
ชื่อสามัญ
Short-bodied mackerel
ชอ่ื วิทยาศาสตร Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851)
ชื่อทอŒ งถ่นิ ปลาทู (ปลาทูสั้น)

ประวตั คิ วามเปนš มา ปลาทเู กดิ ในอา วไทยเปน ปลาผิวนา้ํ รวมกนั เปน ฝูงบริเวณใกลฝง พบเฉพาะบรเิ วณอุณหภมู ผิ วิ นํา้ ไมตา่ํ กวา
17 องศาเซลเซยี ส ความเค็มของนํ้าไมเ กนิ 32.5 ‰ แตทนความเค็มต่าํ ไดถ ึง 20.4 ‰ จงึ พบในบริเวณนํา้ กรอ ยได ปลาทูวางไขแ บบไข
ลอยนํ้า ไขท ่ีไดรบั การผสมจะลอยน้าํ อยูไ ด ชว งทว่ี างไขค ือกุมภาพันธถงึ มนี าคม ศูนยว ิจยั และพัฒนาชายฝง สมุทรสาคร กรมประมงประสบ
ความสําเรจ็ การในการเพาะขยายพนั ธุปลาทูในระบบปด เปน ครงั้ แรกของโลก ปลาทูมคี วามผูกพันกบั วิถชี ีวติ คนไทยเปนอยา งมาก เนือ่ งจาก
เปนอาหารทะเลหลักของคนไทยมาชานาน สาํ หรับในนา นน้าํ ไทยพบปลาทูไดท ้ังฝงทะเลอาวไทยและอนั ดามนั ซึ่งมีอยู 3 ชนดิ คอื

1. ปลาทูตัวส้ัน หรือ ปลาทูส้ัน (ชื่อสามัญ: Short-bodied mackerel; ช่ือวิทยาศาสตร: Rastrelliger brachysoma)
เปน ชนดิ ทีน่ ยิ มบริโภคมากท่ีสุด

2. ปลาลัง หรือปลาทูโมง (ช่ือสามัญ: Indian mackerel; ชอ่ื วทิ ยาศาสตร: Rastrelliger kanagurta)

3. ปลาทปู ากจิ้งจก (ชอื่ สามญั : Island mackerel; ชือ่ วทิ ยาศาสตร: Rastrelliger faughni)

ซ่ึงจังหวดั ชุมพรไดคดั เลอื กปลาทูส้นั เปน สัตวน า้ํ ประจําจังหวดั ชุมพร เม่อื วนั ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558

นายวงศศ ิริ พรหมชนะ นายมรุ ธาธรี  รักชาติเจริญ
ผูวาราชการจังหวดั ชุมพร รองผูวา ราชการจงั หวัดชุมพร

นายสายนั ต เอี่ยมรอด นายสงา ลีสงา
ประมงจงั หวดั ชมุ พร ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาพนั ธกุ รรมสตั วน าํ้ ชมุ พร

นางสาวรินปวีร เกตมุ ณี นางพัชรี พันธเุ ลง
นกั วิชาการประมงชาํ นาญการ แทน นักวชิ าการประมงชํานาญการ แทน
ผอู าํ นวยการศูนยว จิ ัยและพัฒนาประมงชายฝงชมุ พร ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงทะเลอา วไทยตอนกลาง

12 สัตวนา้ํ ประจาํ จังหวดั

สตั วน้าํ ประจาํ จงั หวัดเชยี งราย

ชอ่ื สัตวนา้ํ ปลาบึก
ชือ่ สามัญ Mekong giant catfish
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Pangasianodon gigas (Chevey, 1930)
ช่อื ทอŒ งถ่ิน ไตรราช

ประวัติความเปšนมา ปลาบึก เปนปลาที่มีความสําคัญตอประชาชนในลุมแมน้ําโขงที่ยาวที่สุดในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต (4,000กิโลเมตร) ตั้งแตตอนลางของมณฑลยูนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน จนถึงทะเลสาบ
Tonle Sap ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนกัมพูชา ตามอนุสัญญาวาดวยการอนุรักษพันธุพืชและ
สัตวปา CONVENTIONAL ON INTERNATIONAL TRADE IN ENDANGERED SPECIES (CITES) OF WILD
FAUNA AND FLORA กาํ หนดใหปลาบกึ เปนปลาท่ีกาํ ลังสญู พันธุ (Endanger Species) และเปน ปลาที่ไมมเี กลด็ ที่มีขนาด
ใหญท สี่ ุดในโลก ขนาดโตเต็มท่ีทเ่ี คยพบยาวประมาณ 3 เมตร นํ้าหนกั มากกวา 250 กิโลกรัม พบเฉพาะในแมนา้ํ โขง และ
แมนํา้ สาขาเทานัน้ ช่ือท่ีรูจักกนั โดยทัว่ ไปคือ Mekong Giant Catfish เปนปลากินพืชเปนอาหาร ไมม ีฟนทงั้ ที่ขากรรไกร
ลา งและเพดานปาก สาํ หรบั แหลง จบั ปลาบกึ ทสี่ าํ คญั ของไทยอยทู บี่ า นหาดไคร ตาํ บลเวยี ง อาํ เภอเชยี งของ จงั หวดั เชยี งราย
ฤดูจับปลาบึกของชาวประมง จะเร่ิมตนประมาณปลายเดือนเมษายน จนถึงเดือนมิถุนายนของทุกปการจับปลาบึก
จากแมน าํ้ โขง ณ บา นหาดไคร อ.เชยี งของ จ.เชียงราย ตง้ั แตป 2526 จาํ นวนปลาทจ่ี ับไดเ พิ่มขนึ้ เรอื่ ยๆ จนสงู สดุ ในป 2533
จบั ไดส งู สุด 65 ตัว พอ แมปลาบกึ บางสว นถูกนาํ มาผสมเทียมโดยกรมประมงตง้ั แตป  2526 และจังหวัดเชียงรายไดป ระกาศ
ใหเ ปนสัตวน้ําประจาํ จงั หวัดเชยี งราย เมือ่ วนั ที่ 12 มกราคม 2558

นายพงษศกั ดิ์ วงั เสมอ นายรชั กฤช สถิรานนท
ผูวา ราชการจังหวดั เชยี งราย รองผูวา ราชการจังหวัดเชยี งราย

นายสุรพงษ วิวัชรโกเศศ นายสุภาพ แกวละเอียด
ประมงจังหวดั เชยี งราย ผูอาํ นวยการศนู ยวจิ ัยและพัฒนาประมงนาํ้ จืดเชียงราย

สตั วน้ําประจาํ จงั หวดั 13

สตั วน าํ้ ประจําจงั หวดั เชียงใหม‹

ชือ่ สตั วน าํ้ ปลากาดํา
ช่ือสามญั Black sharkminnow
ช่ือวิทยาศาสตร Labeo chrysophekadion (Bleeker, 1849)
ชื่อทŒองถนิ่ ปลาเพีย้

ประวตั คิ วามเปนš มา ปลากาดาํ หรอื ปลาเพย้ี เปน ปลานา้ํ จดื ดา นขา งแบนเลก็ นอ ย สนั หลงั โคง สงู สว นทอ งแบน
ปากอยูในแนวเดียวกันกับสันทอง ยืดหดได และมีลักษณะแบบปากดูด ริมฝปากบนและลางเปนหยัก มีต่ิงเน้ือเปนฝอย
ส้นั ๆ อยูรวมกันเปน กระจกุ มหี นวด 2 คู ครบี หลงั มขี นาดใหญแ ละสงู มาก ครบี ทองยาวจดตอนตน ของครบี กน ครบี หาง
เวาลกึ สีของลําตวั มีต้งั แตม วงแกไปจนถงึ ดําเขม เกล็ดทุกเกล็ดมจี ุดสีเหลอื งจางๆ อยูตรงกลาง ครีบสีดําท้งั สน้ิ ขนาดใหญ
ท่ีสุดมีความยาวถึง 60 เซนติเมตรหากินตามพื้นทองนํ้าโดยการแทะเล็มตะไครหรือสาหราย รวมท้ังสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก
พบตามแหลง น้าํ ธรรมชาตใิ นท่ัวทกุ ภาคของประเทศ ในจงั หวดั เชยี งใหมพบมากในแมน าํ้ ปง แพรขยายพนั ธุตามทีร่ าบลมุ
ในฤดูน้ําหลาก ผสมพันธุวางไขที่มีระดับน้ําต้ืนๆ และมีพันธุไมนํ้า ในระหวางเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม
ปลากาดํา มีชื่อท่ีเรียกแตกตางออกไปตามภาษาถ่ิน เชน เพ้ีย ในภาษาเหนือ อีตู หรือ อีก่ํา ในภาษาอีสาน ชาวบาน
นิยมบริโภคโดยการนํามาทําลาบ สวนปลาขนาดเล็กนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงาม ปลากาดําไดรับการประกาศใหเปน
สตั วน้ําประจําจังหวดั เชียงใหม เม่อื วันที่ 16 มกราคม 2558

นายสรุ ยิ ะ ประสาทบณั ฑติ ย นายนาวนิ สนิ ธุสะอาด
ผวู า ราชการจงั หวดั เชยี งใหม รองผูว าราชการจงั หวดั เชยี งใหม

นายบรรจง จาํ นงศติ ธรรม นายวิศนณุพร รัตนต รัยวงศ
ประมงจงั หวัดเชยี งใหม ผอู าํ นวยการศูนยว ิจยั และพัฒนาประมงนํ้าจืดเชยี งใหม

วา ทร่ี อยตรี เดชวัตต์ิ ทับไทร นายเอก โลซา ย
หัวหนา หนวยบรหิ ารจดั การประมงนํ้าจดื เขื่อนภมู พิ ล ตาก หวั หนา หนว ยบรหิ ารจดั การประมงนา้ํ จดื เขอื่ นแมก วง เชยี งใหม

14 สัตวน้ําประจาํ จงั หวดั

สตั วนํา้ ประจําจังหวดั ตรัง

ช่ือสตั วน้าํ พะยูน
ชอ่ื สามญั Sea cow, Dugong
ช่อื วิทยาศาสตร Dugong dugong (Müller, 1776)
ชอ่ื ทŒองถิน่ หมนู าํ้ หมดู ุด ดูหยง เงือก วัวทะเล และดูกอง

ประวัติความเปšนมา เปนสัตวนํ้าที่เล้ียงลูกดวยน้ํานมชนิดเดียวที่จัดเปนสัตวปาสงวน อยูในอันดับ Sirenia
ท่ใี กลชิดกบั ชา ง ใบหนา คลา ยหมแู ตไ มม ีใบหู หัวเล็กไมม ีขนท่หี ัว คอใหญ ตาเลก็ ตัวผูมีฟนหนา เปนงาสน้ั 1 คู มีฟน สาํ หรับ
บดเคี้ยวเอื้องติดกันเปนพืด มีหนวดหรอมแหรม ตามตัวมีขนประปรายในตัวเกิดใหม ริมฝปากบนเปนแผนเน้ือหนาใหญ
และเหล่ียมทูๆ มีชองจมูกอยูสูงข้ึนมา ขาคูหนาส้ันเปลี่ยนแปลงไปคลายครีบ ดูเผินๆ มีลักษณะมือหอย ไมมีขาคูหลัง
เพราะไมไ ดใ ช ในตัวเมียมีนมขนาดเทา นวิ้ กอ ยยาวประมาณ 20 ซม. อยู 2 เตาอยถู ัดลงมาจากขาคหู นา สําหรับเลีย้ งลกู
ออน มีลําตัวและหางคลายโลมา สีสันของตัวดานหลังเปนสีเทาดําและเขียวคล้ํา สวนทองสีดํานวลจนถึงเทาปนขาว
ครีบหางและขาคหู นาสีเทาปนดํา หนวดสีขาวขนทล่ี าํ ตวั สีเทาดํามคี วามสมบรู ณเพศอายุ 9 - 10 ป และมอี ายุยืนถงึ 70 ป
มีสถานภาพใกลจะสูญพันธุ พบเปนฝูงเฉพาะที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง พบนอยมากในอาวไทยและทะเลอันดามัน อาหาร
กินหญาทะเลตางๆ ขนาด ความยาวประมาณ 2 – 3 เมตร พยูนไดรับการประกาศใหเปนสัตวนํ้าประจําจังหวัดตรัง
เมือ่ วนั ท่ี 1 เมษายน 2558

นายสมศักด์ิ ปะรสิ ทุ โธ เหมทานนท นายนกิ ร สุกใส
ผวู าราชการจงั หวัดตรัง รองผูวาราชการจงั หวัดตรัง

นายสพุ ล ตั่นสวุ รรณ
ประมงจังหวัดตรงั

นายอนันต สห่ี ริ ัญวงศ นายโกวิทย เกา เอ้ียน
ผูอํานวยการศนู ยว จิ ัยและพัฒนาประมงนา้ํ จืดตรงั ผูอาํ นวยการศูนยว จิ ยั และพฒั นาประมงชายฝง ตรงั

สตั วน าํ้ ประจาํ จงั หวัด 15



สตั วนํ้าประจําจังหวัดตาก

ช่ือสัตวน า้ํ ปลาจาด
ชอื่ สามัญ
Goldfin tinfoil barb
ชือ่ วิทยาศาสตร Hypsibarbus malcolmi (Smith, 1945)
ชื่อทอŒ งถิ่น จาด, ปากหนวด (อสี าน)

ประวตั คิ วามเปšนมา เปนปลานํา้ จดื ชนิดหนึ่ง ลักษณะท่ัวไปคลา ยปลาตะเพียนขาว แตล ําตัวเรยี วกวา มีหนวด
คอนขางยาวที่มุมปาก 2 คู เกล็ดใหญ ลําตัวมีสีเงินเทา ครีบสีสมและมีขอบสีแดงเร่ือหรือชมพู ครีบกนมีลักษณะโคง
เหมือนเคยี ว พบในแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต เชน มาเลเซยี เวยี ดนาม และกัมพชู า สําหรับในประเทศไทยมรี ายงาน
พบปลาชนิดนี้ในแมน้ําโขง แมน้ําเจาพระยา แมน้ําตาป แมน้ําแมกลอง แมนํ้าเพชรบุรี แมนํ้าปง และในอางเก็บน้ํา
บางแหง ไดแก อางเก็บน้ําเขื่อนภูมิพล อางเก็บนํ้าแกงกระจาน เปนตน กินพืชนํ้าและแมลงเปนอาหาร พฤติกรรม
อยูใ นระดบั กลางนํา้ ถงึ ใกลพ นื้ ทองนํ้า มกี ารยา ยถ่ินขน้ึ ตนนํ้าในฤดวู างไข

ในจังหวัดตาก พบปลาจาดในแหลงนํ้าบริเวณเข่ือนแมปงตอนลาง ซึ่งเปนสวนหนึ่งของอางเก็บน้ําเข่ือนภูมิพล
ปลาจาดขนาดใหญต้ังแต 700-1,500 กรมั จะเดนิ ทางมารวมกันเปนฝงู ใหญเ พอ่ื ผสมพนั ธวุ างไข โดยจะวายรวมฝูงเขาไป
บริเวณลําธารนํ้าไหลซ่ึงมีสภาพเปนขั้นบันได โดยมีนํ้าไหลหลากหลังจากฝนตกลงมาแลวประมาณ 2-3 วัน จากการ
สาํ รวจ พบวาปลาจะขึ้นมาบรเิ วณดังกลาว 1-2 วนั กอนวนั แรม 8 คํา่ เดือน 6 และเร่มิ ผสมพันธุวางไขใ นวนั พระตอ เนือ่ ง
กันราว 2-3 วัน โดยบริเวณที่วางไขจะมีนํ้าไหลหลาก ระดับนํ้าประมาณ 15-30 เซนติเมตร มีโขดหินเรียงรายสลับกัน
เปนแนวชะลอการไหลของนํ้า อีกท้ังมีวัชพืชเปนกลุมหญาไซและกก โดยปลาจะวายผสมพันธุกันตลอดเวลา ทิ้งไข
ใหเกลื่อนไปท่ัว โดยไขบางสวนติดกับโขดหิน กรวดใตนํ้า หญาชายตล่ิงและรากกก หลังจากน้ันปลาจะอพยพกลับลงไป
ในแมน้ําปง ท้ิงไขใหฟกเปนตัว ใชระยะเวลารวมฝูงและผสมพันธุราว 4-5 วัน ปลาจาดไดรับการคัดเลือกใหเปนสัตวนํ้า
ประจําจงั หวัดตาก เม่ือวันท่ี 17 กมุ ภาพันธ 2558

นายสมชัย หทยะตันยติ
ผวู าราชการจังหวดั ตาก

นายเกยี รติศกั ด์ิ เกษมพนั ธก ลุ นายเอกพจน เจรญิ ศริ ิวงศธนา
ประมงจังหวดั ตาก ผอู ํานวยการศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงน้ําจดื ตาก

สัตวน า้ํ ประจาํ จงั หวัด 17

สตั วน ํา้ ประจําจังหวดั นครนายก

ช่อื สตั วนาํ้ ปลาตะเพยี นทอง
ชื่อสามัญ Red – tailed, Tinfoil Barb
ชื่อวิทยาศาสตร Barbonymus altus (Gunther,1868)
ช่อื ทอŒ งถิ่น ตะเพียนหางแดง

ประวัติความเปšนมา เปนปลานํ้าจืดขนาดกลางมคี วามยาวประมาณ 3 - 8 น้ิว สีสันสวยงาม ลําตัวปอ มแบนขา ง
พื้นลําตัวมีสีเงินหรือทอง หัวและปากคอนขางเล็ก มีหนวด 2 คู อยูที่ขากรรไกรบนและลาง ครีบหลังสูงมีสีเทาและ
สวนยอดของครีบเปนสดี าํ ครบี หางเปนสีเหลือง ขอบหางเปนสเี ทาจางๆ ครีบทองและครบี กน เปนสเี หลืองสมสลับแดง
มคี วามวองไวและปราดเปรียว อยรู วมกันเปนฝงู หากนิ และวนเวียนอยตู ามผวิ นาํ้ มอี ยทู ่วั ไปในนา นน้าํ จดื มีชกุ ชมุ มากใน
ภาคกลาง ภาคเหนือเรียกวา ปลาโมงคา ภาคอีสานเรียกวา ปลาปาก ภาคใตเรียกวา ปลาตะเพียนทอง ขนาดโตเต็มท่ี
ประมาณไมเกิน 30 เซนติเมตร จัดเปนปลาชนิดหนึ่งท่ีนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงาม มีรูปรางคลายปลากระแห แตมีเกล็ด
ขนาดใหญก วา และครบี หลงั ครบี หางไมม แี ถบสดี าํ พบมากในแมน า้ํ นครนายก บรเิ วณหนา วดั ตา งๆ และไดค ดั เลอื กเปน สตั วน า้ํ
ประจําจงั หวดั นครนายก เม่อื วันที่ 23 มกราคม 2558

นายทวี นริสศิรกิ ลุ นายสุขวฒั น สุขสวัสด์ิ
ผูวา ราชการจังหวัดนครนายก รองผูวา ราชการจงั หวัดนครนายก

นางพจนีย รักกลิน่
ประมงจังหวัดนครนายก

18 สตั วนํา้ ประจาํ จงั หวัด

สตั วนํา้ ประจาํ จังหวดั นครปฐม

ช่ือสตั วน้ํา กงุ กา มกราม
ชื่อสามัญ Giant freshwater prawn
ชอื่ วิทยาศาสตร Macrobrachium roesenbergii (De man, 1879)
ชือ่ ทอŒ งถน่ิ กงุ แมนํา้ กงุ หลวง

ประวัติความเปšนมา เปนกุงน้ําจืดท่ีมีขนาดใหญมากชนิดหน่ึง สวนของหัวและอกอยูรวมกันมีขนาดใหญและ
นํ้าหนักมากกวาลําตัว ลักษณะสําคัญของกุงชนิดน้ีคือ บนเปลือกกุงบริเวณหัวสวนหนาใกลกับเบานัยนตา มีหนามเล็กๆ
ดานละ 2 อัน กรีคอนขางยาว แบนดานขาง ตรงกลางโคงแอนลง สวนปลายงอนขึ้นมีหนามคลายฟนเลื่อย
ท้ังดานบนและลาง กุงกามกราม มีลักษณะพิเศษตามชื่อของมัน คือ เพศผูน้ันจะมีขาเดินคูที่ 2 ขนาดใหญและ
ยาวกวาคอู ่นื ๆ มาก ซง่ึ เราเรียกวา กาม มีขนาดความยาวตลอดลาํ ตัวประมาณ 13 - 31 ซม. แหลงท่พี บโดยธรรมชาติ
จะอยูในแมนํ้าลาํ คลองแทบทกุ จังหวดั ในภาคกลางและภาคใต ท้ังในนํา้ จดื และน้ํากรอ ย ปจจบุ ันมีการเพาะเลยี้ งกนั อยา ง
แพรหลายในจงั หวดั ตางๆ แถบภาคกลางของประเทศไทย เชน สุพรรณบุรี นครปฐม ฉะเชงิ เทรา และไดรบั การประกาศ
ใหเปน สัตวนํา้ ประจาํ จังหวัดนครปฐม เม่ือวันที่ 26 มกราคม 2558

นายชาติชาย อทุ ยั พันธ นายกําธร ตุงสวัสดิ์
ผูวา ราชการจงั หวัดนครปฐม รองผูวาราชการจงั หวดั นครปฐม

นายอมร พทุ ธสัมมา
ประมงจังหวดั นครปฐม

สัตวน า้ํ ประจําจงั หวดั 19



สัตวน ํ้าประจําจังหวดั นครราชสีมา

ชอื่ สตั วน ํ้า ปลาบา
ชือ่ สามญั Mad carp, Sultan fish
ชอื่ วทิ ยาศาสตร Leptobarbus hoevenii (Bleeker, 1851)
ช่ือทŒองถ่นิ ปลาไอบา ปลาพวง ปลาโพง ปลาสุลตา น

ประวัติความเปšนมา ปลาบาหรือปลาพวง เปนปลาที่หนวยงานในสังกัดกรมประมง ของจังหวัดนครราชสีมา
ไดเริ่มดําเนินการฟนฟูต้ังแต ป 2551 เปนตนมา เปนปลาท่ีหายไปจากลํานํ้ามูลตอนบน (พ้ืนท่ีจังหวัดนครราชสีมา)
เปน เวลาไมตาํ่ กวา 45 ป เดิมเคยมีชกุ ชมุ ในลําน้ํามูลตอนบน แตเนื่องจากสภาพแวดลอมเปลย่ี นแปลงไป ลํานา้ํ แหลง นาํ้
ตื้นเขิน น้ําเสียจากชุมชนและโรงงาน ไหลลงสูแหลงน้ํา ประกอบกับปลาบา โดยอุปนิสัยมีการอพยพไปเปนกลุม ทําให
ถูกจบั ไดง า ย จงึ เปน สาเหตุทาํ ใหปลาบา ไมพ บในลาํ นํา้ มลู ตอนบนมากวา 45 ป หนว ยงานในสังกัดกรมประมง ของจงั หวัด
นครราชสีมา จึงไดก ําหนดแนวทางรวมกันวา เพ่ือเปน การอนุรกั ษแ ละฟน ฟูพนั ธปุ ลาบาหรือปลาพวง ใหก ลับมาคงความ
อดุ มสมบรู ณใ นลาํ นา้ํ มลู ตอนบนและแหลง นา้ํ ตา งๆ ของจงั หวดั นครราชสมี า อกี ครง้ั หนงึ่ จงึ ไดน าํ เสนอจงั หวดั นครราชสมี า
ประกาศใหปลาบาหรือปลาพวง เปน สตั วนาํ้ ประจําจงั หวดั นครราชสมี า เมื่อวันท่ี 13 มกราคม 2558

นายธงชยั ลืออดุลย นายบญุ ยืน คําหงษ
ผวู า ราชการจงั หวดั นครราชสีมา รองผูวา ราชการจังหวัดนครราชสีมา

วาท่ี ร.ท. สมพร กลุ บุญ นายเจริญ อดุ มการณ
ประมงจงั หวัดนครราชสมี า ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื นครราชสมี า

นายวบิ ูลย บุตตะพรม
หวั หนาศนู ยบ ริหารจัดการประมงน้าํ จืด ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนลา ง นครราชสมี า

สตั วน าํ้ ประจาํ จงั หวดั 21

สัตวน ้ําประจําจังหวัดนครศรธี รรมราช

ชือ่ สัตวน ํ้า ปลาหมอ
ชอื่ สามญั Climbing perch
ชื่อวทิ ยาศาสตร Anabas testudineus (Bloch, 1792)
ช่อื ทŒองถิ่น ปลาหมอ อีแกปูยู

ประวัตคิ วามเปšนมา ปลาหมอเปน ปลานา้ํ จืด ลกั ษณะภายนอก ลําตัวคอ นขา งแบน บรเิ วณหนาคอนขางกลม
สวนหางแบนขาง มีความยาวประมาณ 2.5 – 3.0 เทาของความลึกลําตัว ปากสั้นกลมมน ปากอยูปลายสุด และเฉียง
ขึ้นบนเล็กนอย ตาโต ลําตัวมีสีนํ้าตาลปนดํา ลักษณะสีเขม สวนทองมีลักษณะสีจางกวาสวนหลัง ตามลําตัวมีเกล็ดเปน
ชนิดขอบมีหนาม ท่ีกระดูกกระพุงแกมตอนปลายมีลักษณะเปนหนามหยักแหลมคมมาก ลักษณะหางเปนแบบมนกลม
เล็กนอย ท่ีโคนหางมีจุดสีดํากลม 1 จุด ตามลําตัวมีแถบสีดํา 7 - 8 แถบ ปลาหมอเพศเมียจะมีขนาดโตและนํ้าหนัก
มากกวา เพศผู ปลาหมอจะวางไขใ นฤดฝู น ตง้ั แตเ ดอื นพฤษภาคมถงึ ตลุ าคม พบอาศยั อยใู นแหลง นาํ้ จดื ทว่ั ๆ ไป ทง้ั แหลง นาํ้
นงิ่ และนา้ํ ไหล สามารถปรบั ตัวเจรญิ เติบโตเขา กบั สภาพแวดลอ มท่ีเปน นา้ํ กรอยไดด ี พบมากในพื้นท่ลี มุ นํ้าปากพนัง ตัง้ แต
บริเวณพ้ืนท่ีลุมดินเค็มชายฝงทะเล จนถึงพ้ืนที่นํ้าคอนขางเปนกรดจัด เชน ปาพรุควนเคร็ง สามารถฝงหรือหมกตัวใน
โคลนตมไดเปนระยะเวลานานๆ โดยเฉพาะในฤดูแลง มีความทนทานตอสภาพแวดลอม เน่ืองจากมีอวัยวะพิเศษที่ชวย
หายใจ ปลาหมอเปน ปลากนิ เนอื้ มนี สิ ยั กนิ สตั วน าํ้ ทม่ี ขี นาดเลก็ กวา และชอบกนิ อาหารทผี่ วิ นาํ้ และกลางนา้ํ ดงั นน้ั ประชาชน
ในจงั หวดั นครศรธี รรมราชจงึ นยิ มเลยี้ งเปน อาชพี และนาํ ไปประกอบอาหารทมี่ ชี อื่ เสยี งหลายรายการ เชน แกงสม ลกู เถาคนั
ปลาหมอฉฉู ่ี เปนตน จึงประกาศใหปลาหมอเปนสัตวนา้ํ ประจําจังหวดั นครศรธี รรมราช เมื่อวนั ที่ 3 มนี าคม 2558

นายพีระ หินเมอื งเกา นายสมาน แสงสอาด
ผูวา ราชการจงั หวัดนครศรีธรรมราช รองผวู า ราชการจงั หวดั นครศรีธรรมราช

นายสุกิจ รัตนวินจิ กลุ นางสวุ มิ ล สหี่ ริ ญั วงศ
ประมงจงั หวัดนครศรธี รรมราช ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนา้ํ จดื นครศรธี รรมราช

นายวีระ เจริญพกั ตร นายธนาวฒุ ิ กุลจิตติชนก
ผอู ํานวยการศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝง นครศรีธรรมราช ผอู ํานวยการศนู ยพ ฒั นาประมงพนื้ ทีล่ มุ นํา้ ปากพนงั

22 สัตวน ้าํ ประจาํ จงั หวดั

สัตวนํ้าประจําจังหวัดนครสวรรค

ช่ือสัตวน ้าํ ปลาสวาย
ชื่อสามัญ Striped catfish
ชื่อวิทยาศาสตร Pangasianodon hypophthalmus (Sauvage, 1878)
ชื่อทŒองถ่นิ ปลาสวาย

ประวัติความเปšนมา ปลาสวาย เปนปลาพื้นเมืองของจังหวัดนครสวรรคเม่ือป พ.ศ 2509 ไดดําเนินการ
เพาะพันธุปลาสวายดวยวิธีการฉีดฮอรโมน เพ่ือเรงใหปลาวางไขและผสมเทียมสําเร็จเปนคร้ังแรกของโลกท่ีสถานีประมง
บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค ปจจุบันคือ ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดนครสวรรค และความสําเร็จครั้งน้ีเปน
พ้ืนฐานของการศึกษาเก่ียวกับการผสมเทียมปลาท่ีสําคัญอีกหลายชนิดของไทย ปลาสวายจึงเปนปลายุคแรกๆ ท่ีมี
บทบาททางดา นการประมง เม่อื กลาวถงึ ปลาสวาย คงเปน ทท่ี ราบกนั ดีวา รสชาตดิ ี เนื้อมปี รมิ าณมาก เปน แหลง โปรตีน
ท่ีสําคัญจึงจัดเปน ปลาเศรษฐกจิ ท่ีมคี วามสําคัญ และสรางรายไดใ หก ับประเทศปล ะหลายลานบาท และไดร ับการประกาศ
ใหเปน สัตวนํา้ ประจําจังหวัดนครสวรรค เม่อื วนั ท่ี 13 มกราคม 2558

นายชยพล ธิติศกั ดิ์ นายพนิ จิ เธียรธวชั
ผูวา ราชการจังหวดั นครสวรรค รองผวู า ราชการจังหวัดนครสวรรค

นายบญุ ยืน พฤกษโชค นายสุพัตร ศรีพัฒน
ประมงจงั หวัดนครสวรรค ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื นครสวรรค

นายรวรี  ฤทธิชยั นายรงั สรรค ถริ อปั สรกลุ
หวั หนา หนวยบรหิ ารจัดการประมงนา้ํ จืด หวั หนา งานขุดลอกและกําจัดวชั พืช
บึงบอระเพด็ จังหวดั นครสวรรค
บึงบอระเพ็ด นครสวรรค

สตั วนํ้าประจําจงั หวัด 23

สัตวน า้ํ ประจาํ จังหวดั นนทบุรี

ชือ่ สัตวน ้าํ ปลาเทพา
ชอ่ื สามัญ Chao Phraya giant catfish
ชื่อวิทยาศาสตร Pangasius sanitwongsei (Smith, 1931)
ช่อื ทŒองถ่ิน -

ประวัติความเปšนมา เปนปลานํ้าจืดชนิดหนึ่ง อยูในวงศปลาสวาย (Pangasiidae) มีสวนหัวและปากกวาง
กวาปลาในสกุลเดียวกัน มีฟนแหลมคม รูปรางปอม ลําตัวลึก สวนหลังยกสูงปลายครีบหลัง ครีบอก ครีบทองยื่นเปน
เสนยาว ครีบหางเวาลึก เม่ือวายน้ําจะตั้งช้ันเหมือนปลาฉลาม ปลาวัยออนมีสีเทาคลํ้า ขางลําตัวมีแถบสีคล้ําแนวเฉียง
ทองสีจาง ครบี มีแตมสดี าํ ปลาตวั เตม็ วยั มีลาํ ตวั สเี ทาคล้ํา ทอ งสีจาง ครบี สคี ลํ้า ครีบกนตอนหนามแี ถบสีคลา้ํ ตามแนวยาว
ครีบหางมีแถบสีจางตามแนวยาวทั้ง 2 แฉก มีขนาด ใหญสุดพบยาวไดถึง 3 เมตร พบเฉพาะในแมน้ําเจาพระยาและ
แมน้ําโขงเทาน้ัน ปลาวัยออนกินปลาเล็กเปนอาหาร ปลาวัยโตกินซากสัตวอื่น และปลาเล็ก นอกนี้แลวยังนิยมเลี้ยง
เปนปลาสวยงาม โดยเฉพาะอยางย่ิงกับปลาพิการท่ีลําตัวส้ันกวาปกติมีราคาสูงมาก ชื่อวิทยาศาสตรของปลาเทพานั้น
ต้ังข้ึนโดย ดร.ฮิว แมคคอรมิค สมิธ อธิบดีกรมประมงคนแรก เพื่อเปนเกียรติแด ม.ร.ว.สุวพันธุ สนิทวงศ ในฐานะเปน
ผูผลักดันและบุกเบิกใหมีหนวยงานทางดานการศึกษาและจัดการสัตวน้ําในประเทศ ซึ่งก็คือกรมประมงในปจจุบัน ไดรับ
การคัดเลอื กใหเ ปน สตั วน ้าํ ประจําจังหวัดนนทบุรี เมอื่ วันที่ 24 มีนาคม 2558

นายชนมชน่ื บญุ ญานสุ าสน นายภานุ แยม ศรี
ผวู าราชการจงั หวดั นนทบรุ ี รองผวู าราชการจังหวัดนนทบรุ ี

นายเฉลิมชยั สวุ รรณรกั ษ นายวินัย จน่ั ทับทมิ
ประมงจงั หวัดนนทบุรี สถาบันวิจัยการเพาะเลยี้ งสัตวน า้ํ จดื

นายบญุ รวม ศรีอําพรรณ
ศนู ยบริหารจัดการประมงนาํ้ จดื ภาคกลาง พระนครศรอี ยธุ ยา

24 สัตวน ํ้าประจําจังหวดั



สัตวน้าํ ประจําจังหวดั นา‹ น

ชอื่ สัตวนาํ้ ปลาปกแดง
ชือ่ สามัญ Golden Belly Barb
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Hypsibarbus vernayi (Norman, 1925)
ชอื่ ทŒองถ่นิ ปลาปก

ประวตั คิ วามเปšนมา ปลาปก แดง เปน ปลาขนาดกลาง เมอื่ โตเตม็ ทีม่ ีขนาดประมาณ 700-1,000 กรมั มีรูปราง
คอ นขางยาวเหมือนปลาตะเพยี นขาว ลาํ ตวั แบนขา ง ปากเล็ก มีหนวด 2 คอู ยูบ นขากรรไกรบนและลาง ลําตัวมสี เี งินวาว
เหลอื บสีเหลืองออน เกล็ดเปน แบบขอบเกล็ดเรียบ ขอบเกล็ดมีสคี ลา้ํ ครีบทุกครีบมีสสี มออกแดง ครบี หางเปน แบบสอม
มีสีเหลอื งออนมขี อบสีแดงเรอื่ ๆ ครีบกนยาวแตไ มถึงโคนหาง มีเสนขา งลําตวั สมบูรณอ ยใู นแนวกลางลาํ ตัว ลกั ษณะทว่ั ไป
เหมือนปลาตะเพียนปากหนวด ตางกันตรงที่ปลาตะเพียนปากหนวดเปนปลาท่ีมีไขแบบครึ่งจมครึ่งลอย แตปลาปกแดง
มีลักษณะไขเปนไขจม เปนปลาที่กินพืช เชน สาหราย และตะไครน้ํา เปนอาหาร พบกระจายอยูทั่วไปตามลํานํ้านาน
และลําน้ําสาขา บริเวณกระแสน้ําไหล ลักษณะพื้นทองนํ้าเปนกรวดหินปนดินทราย สวนใหญจะอาศัยอยูรวมเปนกลุม
ตามวังหรือแองท่ีมีระดับน้ําคอนขางลึก โดยเฉพาะบริเวณแหลงอนุรักษพันธุปลาของชุมชน ซึ่งทําใหเกิดปรากฏการณ
ทม่ี ปี ลาปก แดงนบั พนั นบั หมนื่ ตวั มารวมตวั กนั ในบรเิ วณดงั กลา ว เพอื่ ผสมพนั ธวุ างไขต ามธรรมชาตใิ นหว งเดอื นพฤศจกิ ายน
ถึงเดือนเมษายนของทุกป หรือท่ีเรียกปรากฏการณน้ีวา “ปลากอง” ซ่ึงนับวาเปนเอกลักษณหนึ่งเดียวของเมืองนาน
และหาดไู ดยากในปจจบุ ัน ไดรบั การประกาศใหเ ปนสัตวนาํ้ ประจําจังหวัดเม่อื วนั ที่ 18 มีนาคม 2558

นายอุกรชิ พ่งึ โสภา นายชยั รัตน ธาราสันตสิ ขุ
ผวู า ราชการจงั หวัดนา น รองผูวา ราชการจงั หวัดนาน
นายธรรมนูญ ศรวี ุฒิ
นักวชิ าการประมงชํานาญการ นายสมชาติ ธรรมขนั ธา
รักษาราชการแทนประมงจังหวดั นา น ผูอํานวยการศนู ยวจิ ัยและพัฒนาประมงนํ้าจดื นาน

26 สตั วน ้าํ ประจําจังหวัด

สตั วน ํา้ ประจําจงั หวัดบึงกาฬ

ช่อื สตั วนํา้ ปลาบกู ุดทิง
ชอ่ื สามัญ Golden Sleeper
ชื่อวทิ ยาศาสตร Neodontobutis aurarmus (Vidthayanon, 1995)
ช่อื ทอŒ งถ่นิ -

ประวัติความเปšนมา เปนปลาบูสกุลหน่ึงที่มีขนาดเล็ก ลําตัวมีลักษณะปอมส้ัน หัวกลม กวาปลาบูในสกุลอื่น
ขนาดโตเต็มวัยจะมีลําตัวยาว 5.5 เซนติเมตร ปลาเพศผูเมื่อถึงฤดูผสมพันธุจะมีลําตัวสีดําเขม กินสัตวขนาดเล็ก เชน
ลกู กงุ และลกู ปลาเปน อาหาร อาศยั ในแหลง นาํ้ นงิ่ ทมี่ พี ชื นา้ํ ขนึ้ หนาแนน พบมากทางตอนบนของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ในเขตจังหวัดบึงกาฬ โดยเฉพาะพื้นท่ีชุมน้ําหนองกุดทิงและบึงโขงหลง มักถูกจับปนมากับกุงฝอย เปนปลาเฉพาะถิ่น
ในพ้นื ทจี่ งั หวัดบึงกาฬ คนพบโดย ดร.ชวลติ วทิ ยานนท เมื่อป พ.ศ. 2538 และไดรับคัดเลือกใหเ ปน สตั วน า้ํ ประจําจังหวัด
บึงกาฬ เมือ่ วันท่ี 30 มกราคม 2558

นายพงษศักด์ิ ปรชี าวทิ ย นายเทวัญ สรรคน ิกร
ผวู าราชการจงั หวัดบงึ กาฬ รองผวู า ราชการจังหวัดบงึ กาฬ

นายนิพนธ คนขยนั นายธรี ะชยั แสนภูวา
นายกองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั บึงกาฬ ทองถน่ิ จงั หวัดบึงกาฬ
นายสทุ ศั น เผือกจนี
นายยอดรกั ษ ปลอดออน ผอู าํ นวยการศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้าํ จืดหนองคาย
ประมงจงั หวดั บึงกาฬ

สัตวน ํ้าประจาํ จังหวัด 27

สัตวน ้าํ ประจาํ จังหวดั บุรีรัมย

ชอ่ื สัตวน ํ้า กุง ฝอยนาํ้ จืด
ชอ่ื สามญั Freshwater prawn
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Macrobrachium lanchesteri (De man, 1911)
ชอื่ ทอŒ งถนิ่ กงุ ฝอย, กงุ นา, เตร็ยกอง (ภาษาเขมรถนิ่ ไทย)
ประวัติความเปšนมา กุงฝอยนํ้าจืดเปนสัตวนํ้าในสกุลเดียวกับกุงกามกราม กุงท้ังสองชนิดที่มีขนาดเทากันผูที่ไมคุนเคยอาจแยกชนิดไมได
ในแหลงน้ําจืดสามารถพบกุงฝอยไดตลอดฤดูกาล เนื่องจากกุงฝอยอายุประมาณ 15 วัน สามารถขยายพันธุได การเส่ือมโทรมตามสภาพธรรมชาติและ
กจิ กรรมของมนษุ ยในการดํารงชีพทไ่ี มค าํ นงึ ถงึ นิเวศวิทยาแหลง นํ้าหรือแหลงเพาะขยายพนั ธุสัตวน้ําในแหลงนํ้าธรรมชาติ ทําใหทัง้ ชนิดและปริมาณกุงฝอยนํา้
จืดลดลงอยา งรวดเร็ว มีรายงานการวจิ ัยการจาํ แนกชนดิ กุงนาํ้ จดื ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบกงุ สกุล Macrobrachium จํานวน 14 ชนดิ (จฑุ ามาศ, 2552)
ซึ่งกงุ ฝอยน้าํ จดื Macrobrachium lanchesteri (De Man, 1911) พบไดใ นจงั หวดั บุรรี ัมยเ ชน กัน

กุงจอมประโคนชัย เปนภูมิปญญาทองถิ่นดานการถนอมอาหารสัตวน้ํา โดยนําทรัพยากรทองถิ่นรวมกับการประยุกตใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
สรา งอาชีพ สรา งรายได และสรา งมลู คาเพม่ิ ผลผลิตและผลิตภณั ฑประมงใหก บั ชมุ ชน จากเดมิ นน้ั ใชปลารากกลว ยเปน วัตถุดิบหลกั ในการทาํ ปลาจอม ตอมา
ปลารากกลว ยหาไดย าก จงึ มผี คู ดิ คน ประยกุ ตใ ชก งุ ฝอยนา้ํ จดื และใชน าํ้ ปลาแทนเกลอื ทาํ ใหไ ดร สชาตเิ ปน ทพี่ งึ พอใจของผบู รโิ ภค ไดก ารรบั รองมาตรฐานผลติ ภณั ฑ
ชมุ ชน (มผช. 147) สามารถผลติ จาํ หนา ยเปน สนิ คา หนงึ่ ตาํ บลหนึง่ ผลติ ภณั ฑ (OTOP) ของจังหวดั บรุ ีรัมย สรางรายไดป ล ะหลายลา นบาท

จากความตองการสินคาของผูบริโภคสูงขึ้น ทําใหวัตถุดิบหลักคือกุงฝอยน้ําจืดมีปริมาณไมเพียงพอ มีการนําเขาจากตางจังหวัดและตางประเทศ
(กัมพูชา) ดังน้ันเพ่ือเปนการสงเสริมการตลาด การประชาสัมพันธสินคา การกระตุนใหมีการวิจัยและพัฒนาการเพาะเล้ียงและบริหารจัดการกุงฝอยนํ้าจืด
และกรมประมงมีนโยบายดํารงความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity) จงั หวดั บรุ ีรัมยไดประกาศให “กุง ฝอยน้ําจดื Macrobrachium lanchesteri”
เปน สัตวน า้ํ ประจําจังหวดั บุรีรมั ยเมอ่ื วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558

นายเสรี ศรหี ะไตร นายวิทยา จันทรฉ ลอง
ผูวาราชการจังหวัดบรุ รี มั ย รองผูวา ราชการจังหวัดบุรรี มั ย

นายสมศักดิ์ รงุ ทองใบสรุ ีย นายปรชี า งอกนาวงั
ผูอาํ นวยการศนู ยวิจัยและพัฒนาพนั ธกุ รรมสัตวน้ําบุรรี มั ย หวั หนา หนว ยบรหิ ารจดั การประมงนา้ํ จดื เขอ่ื นลาํ นางรอง

นายเฉลยี ว เทียนวรรณ
ประมงจังหวัดบุรีรมั ย

28 สัตวนาํ้ ประจาํ จงั หวดั

สตั วนํา้ ประจาํ จงั หวดั ปทุมธานี

ชอ่ื สัตวน ํา้ ปลาบูทราย
ชอื่ สามัญ Sand Goby, Marbled Sleeper
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Oxyeleotris marmorata (Bleeker, 1852)
ชอื่ ทŒองถ่ิน ปลาบทู ราย

ประวัติความเปšนมา เปนปลาท่ีมีในแมนํ้าสายหลัก แหลงนํ้าน่ิง และแมนํ้าทั่วทุกภาค เปนท่ีนิยมบริโภค
โดยสงเปนสินคาออกไปยังประเทศฮองกง สิงคโปรและมาเลเซีย ซึ่งผูบริโภคเชื่อวามีคุณคาทางอาหารสูง ทําใหรางกาย
แข็งแรงและเพ่ิมพลัง ในสมัยกอนนั้นมีการเล้ียงปลาบูในกระชังมาก เชน จังหวัดนครสวรรค อุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี
อา งทอง พระนครศรีอยธุ ยา และปทมุ ธานี เนอื่ งจากสภาพแวดลอ มเปล่ยี นไป ทาํ ใหพนั ธปุ ลาหายาก ศูนยว ิจัยและพฒั นา
ประมงน้ําจืดปทุมธานี ทําการทดลองเพาะขยายพันธุจนประสบความสําเร็จ ต้ังแตป พ.ศ. 2528 เปนตนมา และ
ไดรับการรับรองจากกรมประมงเปนสัตวน้ําประจําจังหวัดปทุมธนานี ประจําศูนยวิจัยและพัฒนาประมงนํ้าจืดปทุมธานี
จังหวดั ปทมุ ธานี เม่ือป พ.ศ. 2554

ปลาบทู รายมลี าํ ตวั คอ นขา งกลม หางแบน ปากกวา งเฉยี งขนึ้ เลก็ นอ ยขากรรไกรลา งยาวกวา ขากรรไกรบนเลก็ นอ ย
ตาเล็กตั้งอยูดานบนของหัว นัยนตาเล็ก รูจมูกคูหนาเปนหลอดยื่นข้ึนมาชิดกับรองเหนือริมปาก ครีบอกไมติดกัน
ครีบหลังมีสองอัน ครีบหางกลมมน มีเกล็ดเล็กละเอียด คลุมตัวต้ังแตขางแกมถึงทั่วตัว ตัวมีสีน้ําตาล อมแดง หรือ
อมเหลืองคล้ํา มีแถบลายเปนรูปไมแนนอนตลอดตัว ท่ีโคนหางมีลายเปนรูปตัววี ครีบใสมีลายประสีคล้ําตลอด
ครีบหางมีแถบสีคล้ํา 3-5 แถบ ดานทองสีจาง เคล่ือนไหวชาในระดับกลางนํ้า แตจะปราดเปรียวเม่ืออยูบนพ้ืนทองนํ้า
และสามารถหยุดการเคลอื่ นไหวไดอ ยางกะทนั หนั ขนาด : ความยาว 20 ซม. ซึ่งตัวท่ีใหญส ดุ ยาวถงึ 70 ซม.ปลาบทู ราย
ไดร ับคดั เลอื กเปนสตั วน ํา้ ประจาํ จังหวัดปทมุ ธานีเมื่อวนั ที่ 11 มนี าคม พ.ศ. 2558

นายพงศธร สัจจชลพันธ นายวนิ ชยั อยุ างกูร
ผวู า ราชการจงั หวดั ปทุมธานี รองผวู า ราชการจงั หวัดปทุมธานี

นายทะนง ทแกลว ทศพล นายเกรยี งไกร สหัสสานนท
ประมงจงั หวดั ปทมุ ธานี ผอู ํานวยการศนู ยว ิจยั และพฒั นาประมงนา้ํ จืดปทุมธานี

สัตวน าํ้ ประจาํ จังหวดั 29

สตั วนา้ํ ประจําจงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ

ช่ือสัตวนํา้ ปลานวลจนั ทรท ะเล
ชื่อสามัญ Milkfish
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Chanos chanos (Forsskal, 1775)
ชอ่ื ทŒองถ่นิ “ปลาดอกไม” หรือ “ปลาชะลิน” หรอื “ปลาทนู า้ํ จดื “

ประวัติความเปšนมา ปลานวลจันทรทะเลเปนปลาผิวนํ้า รูปรางเพรียวยาว วายน้ําไดเร็ว อยูรวมกันเปนกลุม
เกลด็ สีเงิน ขนาดโตเต็มท่มี คี วามยาวกวา 1 เมตร น้ําหนักประมาณ 15 กโิ ลกรัม กินอาหารไดหลากหลาย เชน ตะไครน้าํ
ไรน้ํา รํา รวมท้ังอินทรียสารตามพ้ืนบอและผิวน้ําหรือสามารถเล้ียงโดยการใหอาหารสําเร็จรูปในการเลี้ยงแบบหนาแนน
พบอาศยั อยใู นทะเลเขตบรเิ วณทมี่ อี ณุ หภมู สิ งู กวา 20 องศาเซลเซยี ส หรอื ทม่ี กี ระแสนาํ้ อนุ ไหลผา น ปลาโตเตม็ วยั จะอาศยั
อยนู อกเขตชายฝง ใกลห มเู กาะ หรอื ไหลท วปี สว นลกู ปลาวยั ออ นจะเขา มาอาศยั หากนิ ในบรเิ วณชายฝง พบเปน จาํ นวนมาก
ในชวงระหวางเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมและพบอีกชวงประมาณเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายนของทุกปประเทศไทย
มีการสํารวจพบลูกปลานวลจันทรเปนครั้งแรกท่ีบริเวณชายฝงทะเลคลองวาฬตําบลคลองวาฬ อําเภอเมือง จังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธต งั้ แตป พ ทุ ธศกั ราช 2493 และเปน ชนดิ สตั วน า้ํ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงมคี วามสนพระราชหฤทยั
ในการเล้ียงปลานวลจันทรทะเลและมีพระราชดําริในการสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเล้ียงปลานวลจันทรทะเล เพ่ือ
ใหพสกนกิ รไดใชเปนอาหารและเพิ่มรายไดในการยังชีพต้งั แตปพุทธศักราช 2508 ท้ังน้ี ไดรบั การประกาศใหเ ปนสัตวน้ํา
ประจาํ จังหวัดประจวบครี ีขนั ธเมอื่ วนั ท่ี 30 มกราคม 2558

นายวรี ะ ศรวี ฒั นตระกูล นางสาวณุวรรณา อนันตกิจไพศาล
ผูว า ราชการจงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ รองผูวา ราชการจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ

นายมนญู ตันตกิ ุล นายธเนศ พุม ทอง
ประมงจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงชายฝง ประจวบครี ขี นั ธ

นายสมพงษ พนั ธบตุ ร
หัวหนา หนวยบริหารจดั การดา นการประมงทะเลอาวนอย

30 สตั วน ้ําประจําจังหวัด

สตั วนํ้าประจําจงั หวัดปราจีนบุรี

ชือ่ สตั วนํ้า ปลาตะโกก
ชื่อสามัญ Soldier river barb
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Cyclocheilichthys enoplus (Bleeker, 1850)
ชอื่ ทŒองถิ่น ปลาโจก (ภาษาอีสาน) , ปลาถลน หรือ ปลาสลุน (ในแถบแมน าํ้ ตาป)

ประวัติความเปšนมา เปนปลานํ้าจืดชนิดหน่ึงมีรูปรางเพรียวยาว หัวเล็ก หางคอด มีหนวด 2 คูอยูริมฝปาก
เกล็ดมีขนาดใหญสีเงิน ครีบหลังยกสูง ครีบหางเวาลึก เปนปลาท่ีมีความปราดเปรียววองไวมาก มักหากินตามพื้น
ทองน้ําอาหารปลาตะโกกสวนใหญเปนพวกหอยสองฝา มีพฤติกรรมชอบอาศัยอยูในแหลงน้ําเชี่ยวและขุนขน ขนาดโต
เต็มท่ีประมาณ 60 เซนติเมตรเปนปลาเศรษฐกิจที่มีความสําคัญชนิดหนึ่ง เนื่องจากเปนปลาขนาดใหญ เน้ืออรอย จึงมี
ราคาคอ นขา งสงู นยิ มบรโิ ภคโดยการปรงุ สด สามารถพบการแพรก ระจายไดใ นประเทศแถบเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ไดแ ก
ไทย เวียดนาม ลาว กัมพชู า สมุ าตรา ชวา และบอรเ นยี ว สาํ หรบั ประเทศไทย สามารถพบไดในลมุ แมน ้าํ ใหญใ นภาคกลาง
และภาคอีสาน เชน แมนํ้าเจาพระยา แมนํ้าแมกลอง แมนํ้าทาจีน แมนํ้าโขงและสาขา รวมท้ังแหลงนํ้าขนาดใหญ
เชน บึงบอระเพ็ดดวยจากการศึกษาของผูเช่ียวชาญในกรมประมง และจากการสอบถามขอมูลจากชาวบานท่ีอาศัย
หากินในลุมแมน้ําปราจีนบุรี พบวาในอดีตจะพบปลาตะโกกมีอยูชุกชุมในลุมน้ําน้ี และไดรับการประกาศใหเปนสัตวน้ํา
ประจําจังหวัดปราจนี บรุ ี เมื่อวนั ท่ี 11 มกราคม 2558

นางสาวจิตรา พรหมชตุ ิมา นายชมุ พล ทรพั ยว โรดม
ผวู าราชการจงั หวัดปราจีนบรุ ี ประมงจงั หวัดปราจีนบรุ ี

นายการุณ อไุ รประสิทธ์ิ
ผูอํานวยการศนู ยวจิ ยั และพฒั นาประมงนํ้าจืดจงั หวัดปราจนี บรุ ี

นายสนธยา ศตรฆุ ทาวุธ
หวั หนา หนวยบรหิ ารจดั การประมงนา้ํ จดื เขอ่ื นขนุ ดานปราการชล นครนายก

สตั วนํ้าประจาํ จังหวดั 31

สัตวน า้ํ ประจาํ จงั หวัดป˜ตตานี

ชื่อสตั วน้าํ ปลาสลิด
ชอื่ สามญั Snake Skin Gourami
ช่อื วิทยาศาสตร Trichogaster pectoralis (Regan, 1910)
ชอื่ ทŒองถ่ิน ปลาสลดิ ดอนนา ปลาใบไม
ประวัติความเปšนมา เปนปลานํ้าจืดท่ีมีลําตัวมีลักษณะหนา และยาวคลายใบไม ในปลาเพศผูครีบหลังมีสวนปลาย
ย่ืนยาว เชนเดียวกับครบี กน ครบี อกมีขนาดใหญ ตาโต ปากเล็กอยูสดุ ปลายจะงอยปาก ครีบหางเวา ต้นื ปลายมน ตัวมสี เี ขยี วมะกอก
หรือสีน้ําตาลคลํ้า มีแถบสีดํายาวตามลําตัวตั้งแตขางแกมจนถึงกลางลําตัว มีแถบเฉียงสีคลํ้าตลอดแนวลําตัวดานขางและหัว ครีบ
มีสีคลํ้า ความยาวลําตัวโดยเฉล่ีย 10 – 16 เซนติเมตร พบขนาดใหญสุดมีความยาวลําตัวถึง 25 เซนติเมตร นับเปนปลาในสกุล
Trichopodus ที่มีขนาดใหญท่ีสุด อาศัยในแหลงน้ําน่ิงท่ีมีพืชน้ําและหญาปกคลุม ระดับนํ้าไมลึกมากนัก มีชื่อเรียกในราชาศัพท
วา “ปลาใบไม” ทั้งนี้เน่ืองจากคําวา “สลิด” เพ้ียนมาจากคําวา “จริต” พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4
จงึ ไดทรงแนะนําใหเ รียกปลาสลดิ ในหมูข าราชบริพารวา “ปลาใบไม” เพราะทรงเหน็ วา มีรูปรา งเหมอื นใบไม สําหรับในพื้นท่จี งั หวัด
ปตตานี ปลาสลิดเริ่มเปนท่ีรูจักกันอยางแพรหลาย เม่ือคราวที่สมเด็จพระเจาลูกเธอเจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี
ไดเ สด็จฯ ออกหนวยแพทยพระราชทาน ณ โรงเรียนวังกะพอ เมือ่ วนั ท่ี 14 ธันวาคม 2536 ทรงมีพระราชดาํ ริใหจ ังหวดั ปตตานรี วม
กบั กรมประมง และหนว ยบญั ชาการนาวกิ โยธนิ ดาํ เนนิ การทดลองเลย้ี งปลาสลดิ ในโครงการจฬุ าภรณพ ฒั นา 6 พน้ื ทปี่ า สงวนแหง ชาติ
ปาดอนนา บานดอนนา ตําบลบางเขา อาํ เภอหนองจกิ จงั หวัดปต ตานี ซ่งึ เปน พื้นที่ดนิ พรุ และเปรย้ี วจัด เพือ่ ศกึ ษาวิจยั และพฒั นา
การเพาะเลี้ยงปลาสลิดอยางเปนระบบ ใหไดรูปแบบการเล้ียงที่เหมาะสม สอดคลองกับสภาพพ้ืนที่ท้ังในเชิงเศรษฐกิจและสังคม
เปนจุดสาธิตและถายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลาสลิด ทําใหสามารถขยายผลการใชประโยชนจากพ้ืนท่ีดินพรุ และนําไปสู
การสรางอาชีพการเลี้ยงปลาใหแกราษฎร และไดพระราชทานช่ือปลาสลิดโครงการจุฬาภรณพัฒนา 6 วา “ปลาสลิดดอนนา”
จงั หวดั ปต ตานีจึงประกาศให “ปลาสลิด” เปน สัตวนา้ํ ประจําจงั หวัดปตตานี เมอ่ื วันที่ 2 กุมภาพันธ 2558

นายวีรพงค แกว สวุ รรณ วาท่ี ร.ต. สมโภชน สวุ รรณรตั น
ผวู าราชการจังหวดั ปต ตานี รองผูว าราชการจงั หวดั ปตตานี

นายวชั รนิ ทร รกั ษยอดจิตร นายพรพนม พรหมแกว นายโสภณ ออนคง
ประมงจังหวดั ปตตานี ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และ ผอู าํ นวยการศูนยว ิจยั และ
พัฒนาประมงนาํ้ จดื ปต ตานี พฒั นาประมงชายฝงปต ตานี

32 สัตวนํ้าประจาํ จังหวดั

สัตวนาํ้ ประจาํ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

ชือ่ สตั วนํา้ กงุ กามกราม
ชื่อสามัญ Giant fershwater prawn
ชื่อวิทยาศาสตร Macrobrachium rosenbergii (De man, 1879)
ชื่อทอŒ งถน่ิ กงุ แมน ํา้ , กุงหลวง

ประวัติความเปšนมา กุงกามกราม เปนกุงน้ําจืดขนาดใหญ แหลงท่ีอยูอาศัยในแหลงน้ําจืดคนไทยทุกคนรูจัก
กันดี โดยเฉพาะในแมนํ้าเจาพระยาจะพบมากที่สุด ในอดีตเน่ืองจากแมนํ้าเจาพระยามีกระแสน้ําท่ีไหลอยูตลอดเวลา
และไหลลงสูทะเลท่ีอาวไทย วงจรชีวิตของกุงกามกรามจะเจริญเติบโตในนํ้าจืดและมีการขยายพันธุบริเวณปากแมนํ้า
ท่ีเรียกวา นํ้ากรอ ย

จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาเปน จงั หวดั ทม่ี แี มน า้ํ 4 สาย คอื แมน าํ้ เจา พระยา แมน า้ํ ปา สกั แมน าํ้ นอ ย และแมน า้ํ ลพบรุ ี
ไหลมารวมกนั ที่เกาะเมืองพระนครศรอี ยธุ ยา ทําใหบรเิ วณแหลง นา้ํ รอบเกาะเมอื งพระนครศรีอยธุ ยามีกงุ กามกรามชกุ ชมุ
และมีตัวโต เพราะมอี าหารอดุ มสมบรู ณจ ากแมน้าํ ท้งั 4 สาย ทาํ ใหจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยามีช่ือเสยี งเรือ่ งกุง กา มกราม
ท่ีมีขนาดใหญและมีรสชาติ เมื่อนํามาทําเปนอาหารโดยเฉพาะกุงแมนํ้าเผา หรือตมยํากุง และเมนูอ่ืนๆ เปนท่ีรูจักของ
ผูมาอยุธยาตองมากินกุงแมนํ้าเปนเมนูแรก และกุงกามกรามไดรับการประกาศใหเปนสัตวน้ําประจําจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา เม่อื วันท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ 2558

นายอภชิ าติ โตดลิ กเวชช นายวีรร ยทุ ธ ปตุ ระเศรณี
ผวู า ราชการจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา รองผวู าราชการจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

นายประมวล มแี ปน นายวนิ ัย จนั่ ทับทมิ
ประมงจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ผูอํานวยการสถาบันวจิ ยั การเพาะเลย้ี งสัตวน ํ้าจืด

นายบุญรวม ศรอี ําพัน
หวั หนา ศนู ยบ รหิ ารจดั การประมงนํ้าจืดภาคกลาง พระนครศรอี ยธุ ยา

สตั วน ํา้ ประจําจงั หวดั 33

สตั วนํ้าประจําจังหวดั พะเยา

ช่ือสตั วนํา้ ปลาบึก
ชอ่ื สามัญ Mekong giant catfish
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Pangasianodon gigas (Chevy, 1930)
ชือ่ ทอŒ งถน่ิ ปลาบกึ

ประวัติความเปšนมา ปลาบึกเปนปลาน้ําจืดประเภทปลาหนัง (catfish) หรือปลาชนิดไมมีเกล็ดที่มีขนาดใหญ
ท่ีสดุ ในโลก ซงึ่ นายเสนห ผลประสทิ ธ์ิ หัวหนาสถานีประมงน้ําจืดพะเยา (ศูนยว จิ ัยและพฒั นาประมงนํ้าจดื พะเยา) และ
คณะสามารถทําการเพาะพันธุปลาบึกที่จับไดจากธรรมชาติในแมนํ้าโขงโดยวิธีผสมเทียมไดสําเร็จเปนคร้ังแรกของโลก
ทบ่ี า นหาดไคร อําเภอเชยี งของ จงั หวดั เชยี งราย เมอ่ื ป พ.ศ. 2526 จนทําใหเปนทีร่ จู กั ไปทว่ั โลก ตอมาในป พ.ศ. 2544
นายยงยุทธ คุณากรสวัสดิ์ ผูอํานวยการศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพะเยา และคณะสามารถทําการเพาะพันธุ
ปลาบกึ จากพอ -แมพ นั ธปุ ลาทเ่ี ลย้ี งไวใ นบอ ดนิ โดยวธิ ผี สมเทยี มไดส าํ เรจ็ เปน ครงั้ แรกของโลก ทศี่ นู ยว จิ ยั และพฒั นาประมง
นํ้าจืดพะเยา สามารถชวยอนุรักษพันธุปลาบึกไวไมใหสูญพันธุ และสงผลใหเกิดการเพาะเลี้ยงปลาบึกในเชิงพาณิชย
นอกจากนี้ในจังหวัดพะเยายังมีมีพิพิธภัณฑปลาบึกซ่ึงจัดแสดงท่ีสถานแสดงพันธุปลานํ้าจืด ภายในศูนยวิจัยและพัฒนา
ประมงน้ําจืดพะเยา เปนแหลงเผยแพรความรูเก่ียวกับการทําการประมงปลาบึกและการเพาะขยายพันธุปลาบึกใหแก
ประชาชน และนกั ทอ งเทย่ี วทเี่ ดนิ ทางมาเยอื นจงั หวดั พะเยา จงั หวดั พะเยาจงึ ประกาศใหป ลาบกึ เปน สตั วน า้ํ ประจาํ จงั หวดั
ตงั้ แตวันท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2558

นายชูชาติ กฬี าแปง นายนิมิต วนั ไชยธนวงศ
ผวู าราชการจังหวดั พะเยา รองผูว าราชการจังหวัดพะเยา
นางสภุ าพนั ธ บุญเจรญิ
นายวิวฒั น ปรารมภ
ประมงจงั หวดั พะเยา ผอู ํานวยการศนู ยว จิ ัยและพัฒนาประมงนาํ้ จดื พะเยา

34 สตั วนํา้ ประจําจังหวัด

สตั วน ํ้าประจาํ จังหวดั พงั งา

ชอื่ สตั วน ้ํา เตา ตนุ
ช่ือสามญั Green turtle
ชอื่ วิทยาศาสตร Chelonia mydas (Linnaeus,1758)
ช่ือทŒองถิ่น เตาแสงอาทติ ย

ประวตั ิความเปนš มา เปน เตาทะเลท่ีมขี นาดคอ นขางใหญแ ละมนี า้ํ หนกั มากเชอื่ วาอายุยืนถงึ 80 ป โดยมคี วามยาว
ตัง้ แตหวั จรดหางประมาณ 1 เมตร น้าํ หนกั ราว 130 กิโลกรมั หวั ปอมส้ัน ปากสั้น เกลด็ เรียงตอกนั โดยไมซอนกัน กระดองหลงั
โคง นนู เลก็ นอ ย ขาทั้ง 4 ลักษณะเปน ใบพาย สีของกระดองดเู ผินๆ มีเพยี งสีนา้ํ ตาลแดงแตถาพจิ ารณาใหล ะเอียด จะพบวา
เกลด็ แตล ะเกลด็ ของกระดองหลงั มสี นี า้ํ ตาลแดงหรอื นาํ้ ตาลอมเขยี ว ขอบเกลด็ มสี อี อ นเปน รอยดา งและมลี ายเปน เสน กระจาย
ออกจากจุดสีแดงปนน้ําตาล คลายกับแสงของพระอาทิตยท่ีลอดออกจากเมฆ จึงมีชื่อเรียกอีกช่ือหนึ่งวา “เตาแสงอาทิตย”
สําหรับในนานน้ําไทย พบเตาชนิดน้ีข้ึนวางไขมากที่เกาะครามและเกาะกระในอาวไทย และทางฝงทะเลอันดามันท่ีอุทยาน
แหงชาติตะรุเตา บนชายหาดและเกาะหลายแหงในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ฤดูวางไขในบริเวณอาวไทยเดือนมิถุนายน
จนถึงเดือนกันยายน และฝงทะเลอันดามันเดือนกันยายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ จํานวนไขตอคร้ังมีต้ังแต 70-150 ฟอง
เตาตนุขนาดโตเต็มท่ีจะวายนํ้าหากินไปเร่ือยๆ แตจะกลับมาวางไขบนชายหาดที่ถือกําเนิด เนื่องจากจังหวัดพังงาเปนเมือง
แหงเตาทะเล จงึ ประกาศใหเปน สัตวนาํ้ ประจาํ จังหวัดพังงา เมอื่ วันท่ี 22 มกราคม 2558

นายประยูร รตั นเสนยี  นางอําพัน รงุ แจง
ผวู า ราชการจังหวัดพังงา รองผวู า ราชการจังหวัดพังงา

นายจริ พงศ นตุ ะศะรนิ นายสุภาพ ไพรพนาพงศ
ประมงจังหวดั พังงา ผูอ ํานวยการศูนยว ิจยั และพฒั นาประมงชายฝงพงั งา

นายประสาน ศรีงาม นายสมพร คาํ สุวรรณโณ
หวั หนา หนวยบรหิ ารจัดการประมงทะเลเกาะสิมิลัน พงั งา หวั หนา หนว ยบรหิ ารจดั การประมงทะเลเกาะสรุ นิ ทร พงั งา

สัตวน า้ํ ประจําจังหวดั 35

สัตวน ้ําประจําจงั หวัดพทั ลุง

ชื่อสัตวน า้ํ ปลาลาํ ปา
ช่อื สามญั Schwanenfeld’s Tintoil barb
ช่อื วทิ ยาศาสตร Barbodes schwanenfeldi (Bleeker, 1854)
ชื่อทอŒ งถน่ิ ปลาลําปา เลยี นไฟ กระแหทอง ตะเพียนหางแดง

ประวตั ิความเปนš มา ปลาลาํ ปา เปนปลาน้ําจดื มเี กลด็ อยใู นวงศปลาตะเพียน รปู รา งปอมสั้น ลําตัวแบน ขางหวั
มขี นาดเลก็ จะงอยปากส้ันทู นยั ตาเล็ก ปากเล็กและอยปู ลายสดุ เกล็ดมขี นาดใหญ สีพ้นื ของลําตัว เปน สีขาวเงิน หรอื
สเี หลอื งปนแดง กระโดงหลงั สแี ดง และมแี ถบดาํ ทป่ี ลายกระโดงขอบบนและลา งของครบี หางมแี ถบสดี าํ ขา งละแถบ จดั เปน
ปลาพ้ืนเมอื งของไทย พบมีการแพรก ระจายในแมน ้ําลาํ คลอง หนองบึง ท่วั ทกุ ภาค ทาํ ใหมชี ือ่ เรยี กแตกตา งกนั ตามภาษา
ทองถิ่น เชน พบภาคกลาง เรียกกระแห ตะเพียนหางแดง หรือกระแหทอง ภาคใตเรียกวา ลําปา ภาคอีสานเรียกวา
ปลาเลียนไฟ ปลาลําปากนิ พชื พันธไุ มน ํา้ ตัวออนแมลงน้ํา ซากสตั วแ ละพืช ที่เนา เปอ ย ขนาดความยาวตง้ั แต 15 – 35 ซม.
ในอดตี ปลาลาํ ปา จะมชี กุ ชมุ ในทะเลสาบสงขลาเขตอาํ เภอเมอื งพทั ลงุ ผคู นจงึ เอาชอ่ื ปลาชนดิ นมี้ าตงั้ ชอ่ื บา นวา “บา นลาํ ปา ”
ปจ จุบันเปน ตําบลลาํ ปา อยใู นเขตเทศบาล เมืองพัทลงุ จงั หวัดพทั ลุง และตัง้ ชือ่ บริเวณปากนา้ํ คลองลําปา ติดกบั ทะเลสาบ
วา “หาดแสนสุขลําปา” ขณะน้ีศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพัทลุง ไดเพาะพันธุปลาลําปา เพื่อปลอยในแหลงน้ํา
ธรรมชาตแิ ละใหเ กษตรกรนาํ ไปเลย้ี งในบอ ทกุ อาํ เภอของจงั หวดั พทั ลงุ จงั หวดั พทั ลงุ จงึ ไดก าํ หนดประกาศให “ปลาลาํ ปา ”
เปนสัตวน ํา้ ประจาํ จังหวดั พัทลุง เมอ่ื วันท่ี 18 กมุ ภาพนั ธ 2558

นายวินัย บวั ประดษิ ฐ นายสมเกียรติ สุวรรณนมิ ติ ร
ผวู าราชการจงั หวดั พทั ลุง รองผวู า ราชการจังหวัดพทั ลุง
นายสทิ ธิสาร ศรีชุมพวง
นายวิชยั วัฒนกลุ
ประมงจังหวัดพัทลุง ผูอาํ นวยการศนู ยว จิ ัยและพฒั นาประมงนาํ้ จดื พทั ลุง

นายสิทธพิ ล เมอื งสง
หวั หนา หนว ยบรหิ ารจดั การดานการประมงจงั หวดั พทั ลุง

36 สตั วน้าํ ประจาํ จงั หวัด

สตั วนา้ํ ประจําจังหวดั พิจติ ร

ชอ่ื สัตวน้ํา จระเขนํา้ จดื
ชื่อสามัญ Siamese crocodile
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Crocodylus siamensis (Schneider, 1801)
ช่ือทŒองถน่ิ จระเขบ ึง จระเขน า้ํ จืดสายพนั ธุไทย

ประวัติความเปšนมา จระเขนํ้าจืด ลักษณะท่ัวไป รูปรางลําตัวปอมสั้น ปากคอนขางทู มีเกล็ดตรงบริเวณ
ทายทอย 4 เกล็ด ขนาดความยาวประมาณ 2.00-3.60 เมตร เปนสัตวประเภทกินเน้ือเปนอาหาร ไดแก สัตวน้ําและ
สตั วบ กทล่ี งไปหากนิ บรเิ วณชายนาํ้ โดยในอดตี ถนิ่ อาศยั สามารถพบทว่ั ไปตามแหลง นาํ้ จดื สนทิ ในแมน า้ํ ลาํ คลอง หนองบงึ
ในแมนา้ํ ทา จนี แมน ํา้ เจาพระยา ตัง้ แตอ ยุธยา ชยั นาท นครสวรรค พิจิตรข้ึนไปจนถงึ อตุ รดิตถ และจงั หวัดพจิ ติ รมตี ํานาน
ท่ีของเก่ียวกับจระเขน้ําจืดจนเปนที่เลื่องลือ คือตํานานเมืองชาละวัน ซึ่งตรงกับพระราชนิพนธ บทละครนอกของ
รัชกาลท่ี 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เรื่องไกรทอง จังหวัดพิจิตรจึงไดช่ือวามีความเกี่ยวของกับ
จระเขน้ําจืด หลายคนรูจักจังหวัดพิจิตรเนื่องจากเปนเมืองพญาชาละวัน ดังนั้นจึงไดกําหนดประกาศใหสัตวนํ้าชนิดน้ี
เปนสตั วนํ้า ประจําจังหวดั พจิ ติ ร เมอ่ื วนั ท่ี 29 มกราคม 2558

นายสุรชยั ขันอาสา นายสทุ ธา สายวาณิชย
ผูวา ราชการจงั หวดั พิจิตร รองผูว าราชการจังหวัดพจิ ติ ร
นายณรงค เกษสวุ รรณ
นายประวทิ ย ละออบุตร
ประมงจงั หวดั พจิ ิตร ผอู ํานวยการศูนยวจิ ัยและพฒั นาประมงน้าํ จืดพิจติ ร
นายนกิ ร กนั คมุ
นายไพศาล สุขปุณพันธุ
หัวหนา ศูนยจ ักรกลประมงพิจติ ร หวั หนาศนู ยบริหารจดั การประมงนาํ้ จดื

ภาคเหนอื ตอนลาง พิษณโุ ลก

สัตวนํา้ ประจําจังหวัด 37

สัตวน ้ําประจาํ จังหวดั พษิ ณโุ ลก

ชือ่ สัตวน้ํา ปลากดแกว
ชื่อสามัญ Red tail Mystus
ชื่อวิทยาศาสตร Hemibagrus wyckioides (Fang & Chaux, 1949)
ชอื่ ทŒองถน่ิ ปลากดคงั ปลากดหางแดง ปลากดขา งหมอ ปลากดเขี้ยว

ประวตั ิความเปšนมา ปลาแกว หรอื กดคงั เปน ปลาทม่ี ีรูปราง ยาวเพรยี ว สวนหวั แบนกวาง ดา นบนของหวั เรียบ
ลําตวั ดานบน มสี ีมวง-เทาปนดาํ สวนทองขาว ปากกวาง จะงอยปากทู ตาํ แหนงของปากอยตู ่าํ ฟนคม ตาไมมเี ยือ่ หุมและ
อยูระดับเดียวกับมุมปาก มีหนวด 4 คู ครีบหูมีสีเทาดํา ครีบหางเวาลึกแฉกบนยาวกวาแฉกลาง ครีบหางมีสีแดงเขม
มากกวาครีบอน่ื ๆ ปลากดคงั จดั เปน ปลาขนาดใหญ ในธรรมชาตพิ บปลาขนาดต้งั แต 1 - 3 กก. ความยาว 30 - 50 ซม.
ขนาดใหญทสี่ ดุ ทีเ่ คยพบ ความยาว 150 ซม. นํ้าหนัก 30 กก. เปน ปลาท่ีมีถิ่นอาศยั ในแมน ้าํ สายหลกั ของจงั หวัดพษิ ณโุ ลก
คือ แมน าํ้ นา น แมน้ํายม แมน าํ้ แควนอ ย และแมนํ้าวังทอง และไดรบั การประกาศใหเ ปนสัตวน้ําประจาํ จงั หวัดพิษณโุ ลก
เมื่อวันท่ี 9 มกราคม 2558

นายจักรนิ เปล่ียนวงษ นายวทิ ูรัช ศรนี าม
ผูวาราชการจงั หวดั พิษณโุ ลก รองผวู าราชการจงั หวดั พิษณโุ ลก

นางนติ ยา ทักษญิ นายอุดมชัย อาภากลุ อนุ
ประมงจังหวดั พิษณุโลก ผูอ าํ นวยการศูนยว ิจยั และพัฒนาประมงน้าํ จืดพษิ ณุโลก

นายไพศาล สขุ ปณุ พนั ธุ
หัวหนา ศูนยบ ริหารจดั การประมงนา้ํ จืดภาคเหนือตอนลาง พษิ ณุโลก

38 สัตวน ํ้าประจาํ จังหวดั


Click to View FlipBook Version