The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสัตว์น้ำประจำจังหวัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sngsngf, 2022-04-08 04:06:13

คู่มือสัตว์น้ำประจำจังหวัด

คู่มือสัตว์น้ำประจำจังหวัด

สัตวน้ําประจําจงั หวัดเพชรบุรี

ชอ่ื สัตวน ้ํา ปลาเวยี น
ชอื่ สามัญ Greater brook carp, Thai mahseer
ช่ือวทิ ยาศาสตร Tor tambroides (Bleeker, 1854)
ชื่อทอŒ งถิน่ -

ประวตั คิ วามเปนš มา เปน ปลานาํ้ จดื ทอี่ ยใู นวงศป ลาตะเพยี น รปู ทรงคลา ยคลงึ กบั ปลาตะเพยี น แตล าํ ตวั ยาวกวา
มีสสี ันสะดุดตากวา ลาํ ตวั มสี ฟี าอมเขียว บรเิ วณสวนหลงั เขยี วเขม เกล็ดโต แตล ะเกลด็ จะมจี ดุ สีน้ําเงนิ เล็กๆ เรียงกนั เปน
วงดูคลายเปนรางแหอยูทั่วตัว ทุกครีบมีสีน้ําเงินเขม หัวมีขนาดคอนขางเล็ก เมื่อเทียบกับลําตัว มีหนวดยาวอยู 2 คู
ตรงบริเวณจะงอยปากและมุมปาก โดยที่หนวดตรงมุมปากจะยาวกวา ริมฝปากหนา นัยนตาคอนขางจะเล็ก ปลาเวียน
เปนปลาที่มีลักษณะคลายปลาพลวงซ่ึงมองดูลักษณะจะเหมือนกันมาก แตปลาเวียนจะแตกตางจากปลาพลวงคือ จะมี
แผนปดอยูใตคาง (Medien lobe) แตปลาพลวงจะไมมี ซ่ึงจะเปนอวัยวะที่ใชจําแนกตระกูลปลาเวียนและปลาพลวง
ปลาเวยี นเปน ปลานา้ํ จดื ของไทยอกี ชนดิ หนง่ึ ทหี่ ายากใกลส ญู พนั ธุ มขี นาด 40 - 50 เซนตเิ มตร เนอ้ื ของปลาชนดิ นนี้ มุ ละเอยี ด
รสชาตอิ รอ ยเตม็ ไปดว ยไขมนั อกี ทง้ั ยงั สามารถจดั ปลาชนดิ นเ้ี ปน ปลาสวยงามทห่ี ายากอกี ชนดิ หนง่ึ ทม่ี รี าคาแพง นอกจากนี้
ปลาเวยี นยงั ไดร บั การกลา วขานวา เปน ปลาประจาํ จงั หวดั เพชรบรุ ี ในปจ จบุ นั พบวา ปลาชนดิ นมี้ จี าํ นวนลดนอ ยลงอยา งมาก
ปลาเวียนไดร บั การประกาศเปนสตั วน้ําประจาํ จงั หวัดเพชรบรุ ี เม่ือวันที่ 30 มกราคม 2558

นายมณเฑียร ทองนิตย นายไกร บญุ บันดาล
ผูวา ราชการจังหวดั เพชรบุรี รองผวู าราชการจังหวัดเพชรบรุ ี

นายจติ จรญู ตนั ตวิ าลา นายโยธิน เทอดวงศวรกุล
ประมงจังหวัดเพชรบุรี ผอู ํานวยการศนู ยว ิจัยและพฒั นาประมงนํา้ จดื เพชรบุรี

นางสาวศิริ วัดสวา ง
หวั หนา หนวยบริหารจดั การประมงนํ้าจดื เข่ือนแกง กระจาน เพชรบรุ ี

สัตวน้าํ ประจาํ จงั หวัด 39

สัตวน า้ํ ประจําจังหวดั เพชรบรู ณ

ชอ่ื สตั วนาํ้ แมงกะพรุนนํ้าจดื
ช่อื สามัญ Freshwater jellyfish
ช่ือวทิ ยาศาสตร Craspedacusta sowerbyi (Lankester,1880)
ช่ือทŒองถนิ่ แมงยุมแยะ แมงยุมวะ

ประวตั คิ วามเปนš มา เปน แมงกะพรนุ นาํ้ จดื สายพนั ธนุ า้ํ ไหลบนภเู ขา เปน สายพนั ธดุ กึ ดาํ บรรพท มี่ แี หง เดยี วในประเทศไทย
พบเมอ่ื ป 2544 บรเิ วณแกง บางระจนั และแกง วงั นาํ้ เยน็ ของลาํ นาํ้ เขก็ นบั เปน แหลง ท่ี 5 ของโลก หลงั จากพบทอี่ งั กฤษ สหรฐั อเมรกิ า
รสั เซีย และญปี่ ุน มลี าํ ตัวขนาดเล็กมาก สีขาวใสโปรง แสง เสน ผาศนู ยกลางลําตวั 1-2 เซนติเมตร เมอื่ จบั ขน้ึ มาพน นํ้าจะมองคลาย
คอนแทคเลนส ขอบรา งกายมีหนวดเล็กๆ ท่มี ผี ิวเปน ปุมเลก็ ๆ จํานวนมาก ซง่ึ เปนเข็มพิษ เมื่อสมั ผัสเกดิ อาการคัน หรือปวดแสบ
ปวดรอ นได กลางลาํ ตวั มปี ากทยี่ น่ื ยาวคลา ยแตรทขี่ ยายออกบรเิ วณชอ งเปด ดา นลา ง บรเิ วณขอบลกั ษณะเปน รอยหยกั 3 แฉก ปาก
ดังกลาวจะเช่ือมตอถึงกระเพาะอาหารโดยตรง ดานในของรางกายมีลักษณะคลายรม มีเนื้อเยื่อบางๆทอดผานไปบริเวณขอบใน
แนวรศั มี 4 สวนเทา ๆ กัน โดยแนวเหลานจี้ ะมีอวัยวะสรา งเซลลส บื พันธุท ีม่ ีลักษณะสขี าวขุน หรือสีสม พาดไปในแนวรศั มีเชนกัน
บรเิ วณขอบดา นในของรา งกายที่มลี ักษณะคลา ยรม มกี ลา มเนื้อบางๆ เรยี งตวั ในแนววงแหวนโดยรอบ วา ยนํา้ ไดโ ดยการกระพือ
ขอบรมเปนจงั หวะ จะปรากฏตวั ใหเ หน็ บนผวิ น้ําในชวงกลางวนั แดดจดั ตงั้ แตเวลา 10.00-16.00 น. แมงกะพรุนนา้ํ จืดมคี วาม
เปราะบาง และออนไหวตอสภาพแวดลอม จึงเปนดัชนีชี้วัดความสมบูรณของระบบนิเวศลําน้ําเข็กไดเปนอยางดี สามารถพบได
ที่อุทยานแหงชาติทุงแสลงหลวง แกงบางระจัน ต.หนองแมนา อ.เขาคอ จ.เพชรบูรณ ในชวงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม เทาน้ัน
ซ่งึ จงั หวัดเพชรบรู ณไ ดประกาศใหแมงกะพรนุ นํ้าจืด เปน สัตวนา้ํ ประจาํ จังหวัดเพชรบูรณ เม่ือวนั ที่ 30 มกราคม 2558

นายบัณฑิตย เทวีทิวารักษ นายฉัตรพร ราษฎรดุษดี
ผูวา ราชการจังหวัดเพชรบูรณ รองผูว าราชการจงั หวดั เพชรบูรณ

นายสุชาติ เตชนราวงศ นายวัฒนา ร้ิวทอง
ประมงจงั หวัดเพชรบูรณ ผอู ํานวยการศนู ยวจิ ยั และพฒั นาประมงน้าํ จดื เพชรบูรณ

นายประพล อิสโร
หวั หนาหนว ยบรหิ ารจดั การประมงนา้ํ จดื เขื่อนปา สกั ชลสทิ ธิ์ สระบรุ ี

40 สัตวน ้าํ ประจําจงั หวดั

สตั วน้ําประจาํ จังหวัดแพร‹

ชอ่ื สตั วนํ้า ปลากาดํา
ชื่อสามัญ Black sharkminnow
ชื่อวิทยาศาสตร Labeo chrysophekadion (Bleeker, 1849)
ชอ่ื ทอŒ งถ่ิน ปลาเพี้ย อีตู หรือ อกี าํ่

ประวัติความเปšนมา ปลากาดํา เปนปลานํ้าจืดท่ีมีเกล็ดสีดําสนิท ลักษณะรูปรางคลายปลาตะเพียน อยูใน
วงศ ปลาตะเพียน Cyprindae วงศยอย Cyprinidae - Labeonini มีรูปรางปอม แตหลังปองออก ครีบหลังสูง ไมมี
กานครีบแข็ง มีหนวดคอนขางยาว 2 คูและมีติ่งเล็กๆ เปนชายครุยอยูรอบบริเวณริมฝปาก เกล็ดเล็กมีสีแดงแซมอยูใน
แตละเกล็ด ครีบหางเวาลึก ลําตัวสีดําหรือสีนํ้าตาลเขม อันเปนที่มาของชื่อ ในปลาวัยออนบริเวณโคนหางมีจุดดําเดน
เม่อื โตข้นึ มาจะจางหาย มีขนาดโตเตม็ ทปี่ ระมาณ 60 ซ.ม. มักหากินตามพื้นทองน้าํ โดยการแทะเล็มตะไครห รอื สาหรา ย
พบในแมน้ําขนาดใหญและแหลงน้ํานิ่งตางๆ ท่ัวประเทศ ในภาคเหนือ พบในแมน้ําสายหลักสําคัญ เชน แมนํ้าปง วัง
ยม นาน และเขื่อนสําคัญ เชน เช่ือนสิริกิติ์ เขื่อนกิ่วลม เปนตน ปลากาดํามีรสชาติดี ประชาชนในจังหวัดภาคเหนือ
นิยมนํามาประกอบอาหารประเภทลาบ ในป พ.ศ. 2533 ศูนยวจิ ัยและพัฒนาประมงน้ําจดื แพร ไดท ําการศกึ ษาทดลอง
เพาะขยายพันธุปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ เพ่ือฟนฟูพันธุปลาไทยมิใหสูญพันธุ รวมท้ังจําหนายใหเกษตรกรนําไป
เพาะเล้ียงเปนอาหาร จนปลากาดําไดแพรหลายในแหลงน้ําธรรมชาติตางๆ ของจังหวัดแพรจนถึงปจจุบัน และไดรับ
การประกาศใหเปนสัตวน ํา้ ประจาํ จังหวดั แพร เมื่อวนั ท่ี 30 มกราคม 2558

นายศกั ดิ์ สมบุญโต นายธนากร อ้งึ จิตไพศาล
ผูวา ราชการจงั หวดั แพร รองผวู า ราชการจังหวดั แพร

นายเจรญิ อสิ ระเสรี นายนิพนธ อปุ การตั น
เจาพนักงานประมงอาวุโส รักษาราชการแทน ผอู ํานวยการศูนยวิจัยและพฒั นาประมงนํา้ จดื แพร

ประมงจังหวัดแพร

สตั วน ํา้ ประจาํ จงั หวัด 41

สตั วนา้ํ ประจําจงั หวัดภเู กต็

ช่ือสัตวน ้ํา หอยมกุ จาน
ชอื่ สามัญ Pearl shell, Pearl oyster
ชอ่ื วิทยาศาสตร Pinctada maxima (Jameson, 1901)
ชือ่ ทอŒ งถ่ิน หอยมกุ ขอบทอง มุกเซาทซ ี

ประวัติความเปšนมา หอยมุกเปนสัตวน้ําท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจมากเพราะเปนแหลงกําเนิดของ
อัญมณี มีคาชนิดหน่ึงของโลกท่ีรูจักกันในนามของ “ไขมุก” จังหวัดภูเก็ตเปนจังหวัดแรกๆของประเทศไทยที่เริ่มมีการ
เลี้ยงหอยมุกเมื่อประมาณ 30 ปที่ผานมา หอยมุกจาน เปนหนึ่งในชนิดของสัตวนํ้าของจังหวัดภูเก็ตท่ีมีลักษณะโดดเดน
เปนหอยขนาดใหญ เปลือกมีลักษณะแบน ดานหลังตรง ซึ่งเปนสวนที่เปนบานพับ ดานทองจะโคงเปนรูปครึ่งวงกลม
ขนาดใหญสุดมีความยาวประมาณ 25 – 30 ซม. นิยมนําสว นของเปลือกมาทําเปนเครอ่ื งประดบั สว นเน้ือนาํ ไปประกอบ
อาหาร นอกจากนย้ี งั นยิ มนํามาทาํ การเล้ียงเพือ่ ผลิตมกุ ชนิดเมด็ สาํ หรบั ทาํ เปน เครื่องประดบั เนื่องจากเปนมุกที่มคี ุณภาพ
ดที ี่สดุ ซ่งึ แหลงทน่ี ยิ มเลย้ี งและผลิตมกุ พบมากที่ อาวยน อาวสะปา เกาะรงั ใหญ อาํ เภอเมืองภเู กต็ และเกาะนาคา อาํ เภอ
ถลาง จงั หวดั ภเู ก็ต ซึง่ จังหวดั ภูเก็ตไดช อ่ื วาเปนแหลงผลติ มกุ ทดี่ ีทส่ี ดุ ในประเทศไทย และเมอ่ื ป พ.ศ. 2550 จังหวดั ภูเกต็
ไดจัดสงคําขอขึ้นทะเบียนสิ่งบงช้ีทางภูมิศาสตร “มุกภูเก็ต” ไปยังกรมทรัพยสินทางปญญา ประกอบกับคําขวัญประจํา
จังหวัดภูเกต็ ท่ีมีคําวา “ไขม กุ อนั ดามัน สวรรคเ มืองใต...” สง ผลใหค ณะกรรมการคัดเลอื กปลาหรอื สตั วน าํ้ ประจาํ จังหวัด
ภูเก็ต ไดม ีมตเิ มอ่ื วันท่ี 17 มิถนุ ายน 2558 ประกาศให หอยมกุ จาน เปน สัตวน ้ําประจําจังหวดั ภเู ก็ต

นายนิสติ จนั ทรสมวงศ นายพลั ลภ สงิ หเสนี
ผวู าราชการจงั หวัดภเู ก็ต รองผูว า ราชการจังหวดั ภเู กต็

นายพิษณุ นาอนนั ต นายธวัช ศรีวรี ะชยั
ประมงจังหวัดภูเก็ต ผูอํานวยการศูนยว จิ ยั และพฒั นาประมงชายฝงภูเกต็

นายสชุ าติ แสงจันทร นายธรี ะพงษ อภัยภักดี
ผูอาํ นวยการศนู ยวจิ ัยและพฒั นาประมงทะเลฝง อนั ดามัน หัวหนากลุม พฒั นาและสง เสริมอาชพี การประมง

42 สตั วนํ้าประจาํ จงั หวดั

สัตวน ํา้ ประจาํ จงั หวดั มหาสารคาม

ชอ่ื สัตวนํ้า ปทู ูลกระหมอม
ชอ่ื สามัญ Mealy crab
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Thaipotamon chulabhorn (Naiyanetr, 1993)
ชอื่ ทŒองถ่นิ ปแู ปง

ประวัติความเปšนมา ปูทูลกระหมอมหรือเดิมที่ชาวบานเรียกกันวา “ปูแปง” เปนปูน้ําจืดที่มีสีสันสวยงาม
พบท่ัวไปในปาดูนลําพนั บรเิ วณรอบๆหนองดูน ปูทลู กระหมอ มไดีรบั การตรวจสอบทางวิชาการครั้งแรกเม่ือป พ.ศ. 2536
โดยศาสตราจารยไพบูลย นัยเนตร ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับผูเช่ียวชาญ
จากพิพธิ ภัณฑประวตั ิศาสตรทางธรรมชาติ ( National Museum of Natural History, Leiden, The Netherlands)
ประเทศเนเธอรแลนด พบวาเปนปูนํ้าจืดชนิดใหมของโลกอยูในกลุมปูปา มีสีสันสวยงาม กระดองสีมวงเปลือกมังคุด
ขอบเบาตา ขอบกระดอง ขาเดินท้ัง 4 คูและกามหนีบท้ัง 2 ขาง มีสีเหลืองสม ปลายขาขอสุดทายและปลายกามหนีบ
มีสีขาวงาชาง ท่ีมาของช่ือ “ปูทูลกระหมอม” สืบเนื่องมาจากในป พ.ศ. 2536 เปนปที่สมเด็จพระเจาลูกยาเธอเจาฟา
จุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในฐานะท่ีพระองคทรงเปนผูนําและมีพระปรีชา
สามารถในงานดานวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจึงไดกราบทูลขอพระราชทานพระอนุญาต อัญเชิญพระนาม
ของพระองคมาเปนนามของปูนํ้าจืดชนิดนี้และไดรับพระราชทานอนุญาตใหเรียกช่ือปูชนิดนี้วา “ปูทูลกระหมอม”
โดยมีช่ือวิทยาศาสตรวา Thaipotamon chulabhorn เพื่อเปนเกียรติประวัติแกวงการดานอนุกรมวิธานดานปู
ของไทยซง่ึ ถอื เปน เกยี รตปิ ระวตั ขิ องประเทศไทยทมี่ ปี ซู ง่ึ มคี วามสวยงามชนดิ ใหมแ ละพบเพยี งแหง เดยี วทเ่ี ขตหา มลา สตั วป า
ดนู ลําพนั เทานั้น และไดรับคัดเลอื กใหเ ปน สตั วน า้ํ ประจําจังหวดั มหาสารคามเมอื่ วันท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2558

นายชยาวุธ จันทร นายไกรสร กองฉลาด
ผูว า ราชการจังหวดั มหาสารคาม รองผวู าราชการจงั หวัดมหาสารคาม

นายชโนวาท ประจกั ษว งศ นายมารุต ทรพั ยสขุ สาํ ราญ
ประมงจงั หวดั มหาสารคาม ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนา้ํ จดื มหาสารคาม

สตั วนาํ้ ประจําจังหวัด 43

สตั วน ํ้าประจาํ จงั หวดั มุกดาหาร

ช่อื สตั วน้าํ ปลาคัง
ช่อื สามญั Asian redtail catfish
ชื่อวทิ ยาศาสตร Hemibagrus wyckioides (Fang & Chaux, 1949)
ชอ่ื ทอŒ งถน่ิ ปลากดแกว, ปลากดเขี้ยว

ประวัตคิ วามเปนš มา เปนปลานาํ้ จืดชนิดหน่ึง อยูในวงศปลากด (Bagridae) ทม่ี ขี นาดโตเตม็ ท่ีราว 1.5 เมตร
หนกั ไดถ งึ 100 กโิ ลกรมั แตท พ่ี บโดยเฉลย่ี จะมขี นาดประมาณ 50 - 60 เซนตเิ มตร ลาํ ตวั มสี เี ทาออ นอมฟา หรอื เขยี วมะกอก
ทองสีจาง ครีบหางและครีบอ่ืนๆ มีสีแดงสดหรือสีสมสด ไมมีแถบขาวบนขอบครีบหางสวนบนเหมือนปลากดชนิดอื่นๆ
พบในแมนํ้าของไทยทุกภาค และในแหลงน้ํานิ่งขนาดใหญ นิยมนํามาบริโภคโดยการปรุงสด ลวก จ้ิม หรือยํา มีราคา
คอนขางแพง มีการเลี้ยงในกระชังในแมน้ํา และยังเล้ียงเปนปลาสวยงามไดอีกไดรับการประกาศใหเปนสัตวน้ําประจํา
จงั หวดั มกุ ดาหาร เมื่อวันที่ 16 มนี าคม 2558

นายสกลสฤษฏ บญุ ประดิษฐ นายสรสิทธิ์ ฤทธส์ิ รไกร
ผูว าราชการจงั หวัดมุกดาหาร รองผวู าราชการจังหวัดมุกดาหาร

นายสุรพงษ ศิรเิ วช นายเฉลมิ พล เพช็ รรัตน
ประมงจังหวัดมกุ ดาหาร ผอู าํ นวยการศูนยวจิ ัยและพัฒนาประมงน้าํ จืดมุกดาหาร

นายบญุ สง พานชยั ภูมิ
หวั หนาดานตรวจสัตวนาํ้ จงั หวดั มกุ ดาหาร

44 สตั วน้ําประจําจงั หวัด

สตั วน า้ํ ประจําจังหวดั แมฮ‹ อ‹ งสอน

ชื่อสตั วนํ้า กบภูเขา หรอื เขียดแลว
ชอ่ื สามัญ Wild mountain frog, Giant asian river frog
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Rana blythii (Boulenger, 1920)
ช่อื ทอŒ งถนิ่ กบทูต (ภาคใต) เขียดแลว (ภาคเหนือ)

ประวัติความเปšนมา เขียดแลว หรือ กบทูต เปนกบภูเขาชนิดหน่ึงท่ีมีขนาดใหญเปนอันดับสองของโลก
พบตามบริเวณภูเขาสูงในประเทศไทยแถบภาคเหนือ ภาคกลาง บริเวณลําธารภูเขาที่มีปาชุมช้ืน มีอากาศเย็น
ความช้ืน สัมพัทธสูง และมีหมอกมาก สวนภาคใตจะพบตามแถบปาสวนยางและปาชุมช้ืนที่มีแหลงนํ้าลําธาร
ปจจุบัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดประกาศใหเขียดแลวเปนสัตวปาคุมครองตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 4 (2537)
ลงวนั ที่ 10 พฤศจกิ ายน 2537 ตามความในพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ ครองสตั วป า พ.ศ. 2535 กรมประมง ไดเ รมิ่ ดาํ เนนิ
การศึกษาวิจัยเขียดแลวและประสบความสําเร็จในการเพาะขยายพันธุท่ี สถานีประมงน้ําจืดจังหวัดแมฮองสอน มาต้ังแต
ป 2530 ปจจบุ นั สามารถผลิตลกู เขียดแลวไดในปรมิ าณ 50,000 ตวั ตอ ป และไดนาํ ลูกเขยี ดแลวทีเ่ พาะพันธไุ ดใ นแตล ะป
ปลอยลงในแหลง ธรรมชาตเิ พ่ืออนุรักษพ ันธแุ ละไดขยายผลดงั แนวทางตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัว
ทที่ รงพระราชทานใหก รมประมง เม่อื วนั ที่ 19 มีนาคม พุทธศักราช 2534 ณ พระตําหนกั ภพู งิ คราชนเิ วศน คอื “ใหกรม
ประมงดําเนินการเพาะขยายพันธุปลาในแมน้ําปาย และพันธุเขียดแลว เพื่อปลอยคืนสูธรรมชาติและศึกษาทดลองเพื่อ
ขยายผล ไปสูราษฎรตอ ไป โดยไดร ับคัดเลือกเปนสตั วน ้าํ ประจําจงั หวดั แมฮ องสอน เม่อื วนั ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558

นายสรุ พล พนสั อาํ พล นายสุวพงศ กิติภทั ยพบิ ูรย
ผวู าราชการจงั หวัดแมฮอ งสอน รองผูวาราชการจังหวัดแมฮ องสอน

นายณัฐพล ฤกษสงั เกตุ นายพงษพันธ สุนทรวภิ าต
ประมงจงั หวัดแมฮองสอน ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื แมฮ อ งสอน

สตั วน า้ํ ประจาํ จังหวดั 45

สัตวนํ้าประจาํ จงั หวดั ยโสธร

ชอ่ื สตั วน ํ้า ปลาชะโอน
ชอ่ื สามัญ Butter catfish
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Ompok bimaculatus (Bloch, 1794)
ชอ่ื ทŒองถิน่ ปลาเซียม สยมุ พร เนื้อออ น

ประวตั คิ วามเปนš มา ปลาชะโอน เปน ปลานาํ้ จดื ไมม เี กลด็ เปน ปลาในตระกลู ปลาเนอ้ื ออ นทปี่ ระกอบดว ยปลาแดง
ปลาน้ําเงิน ปลาปกไก ฯลฯ เปนปลาพื้นเมืองของไทย เปนปลาที่อาศัยอยูในแมนํ้าลําคลองที่มีกระแสน้ําไหลเบาๆ หรือ
นํา้ นง่ิ อาศัยอยรู วมกันเปนฝูง กนิ ลูกปลาขนาดเลก็ เปน อาหาร ขนาดโตทสี่ ุดทพ่ี บในธรรมชาตมิ คี วามยาวประมาณ 50 ซม.
และจังหวัดยโสธร ก็มีปลาเซียมชุกชุมต้ังแตในอดีต จะเห็นไดจากการนํามาเปนกลอนรําเซิ้งวา “ยโสธร ถิ่นน้ี ดินกะดํา
นํ้ากะซุม ปลากุมเลนน้ําบุน หมุนปานวาแขแกงหางปลาเซียมเลนน้ําบอน ออนซอนปานเสียงฟาผา จักจ่ันเสียงล่ันปา
ปานกับวาฟาทัณฑบน” (พงษเทพ เพียรทํา, 2558) ในอดีตพบปลาเซียมมากในลํานํ้าสาขา ของลําน้ําชี และลําเซบาย
ที่มีกระแสนํ้าไหลเบาๆ หรือน้ําน่ิง แตปจจุบันปลาเซียมลดจํานวนลงเปนจํานวนมาก จนกระท่ังบัญชีแดงของสหภาพ
เพื่อการอนุรักษธรรมชาติ (IUCN Red ListStatus) ไดจัดปลาเซียมใหอยูในบัญชีสถานะการอนุรักษวาอยูระดับความ
เสี่ยงข้นั อันตรายตอ สญู พันธุ ในอนาคตอนั ใกล (NT; Near Threatened) ปลาชะโอนไดรบั การประกาศเปนปลาประจาํ
จงั หวดั ยโสธร เมอื่ วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2558

นายประวัติ ถีถะแกว นายจรรยา สุคนคนั ธชาติ
ผวู าราชการจงั หวดั ยโสธร รองผูวาราชการจังหวดั ยโสธร

นายเดชา รอดระรัง นายศุภกติ ติ์ ใสกระจา ง
ประมงจังหวดั ยโสธร ผอู ํานวยการศูนยว จิ ัยและพฒั นาประมงน้าํ จืดยโสธร

46 สตั วน้าํ ประจาํ จังหวดั

สตั วนํ้าประจาํ จงั หวัดยะลา

ช่อื สัตวน้าํ ปลาพลวงชมพู
ชื่อสามัญ Khela mahseer, Semah mahseer, River carp
ชื่อวิทยาศาสตร Tor douronensis (Valenciennes, 1842)
ชื่อทอŒ งถน่ิ ปลากอื เลาะห

ประวัติความเปšนมา เปนปลานํ้าจืดชนิดหน่ึงอยูในวงศปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปรางคลายปลาเวียน
(T.tambroides) ซงึ่ เปน ปลาในสกลุ เดยี วกนั แตล าํ ตวั เพรียวและเปน ทรงกระบอกมากกวา สวนหวั คอ นขา งมน รมิ ฝปาก
หนา ปากกวางเล็กนอย ใตคางมีต่ิงเนื้อสั้นๆ มีหนวด 2 คูเห็นชัดเจน ตาอยูคอนไปทางดานบนหัว เกล็ดมีขนาดใหญ
ครีบหลังมีกานแข็ง 1 อัน ครีบหางเวาลึก ครีบกนส้ัน ลําตัวดานบนมีสีคล้ําอมน้ําตาล ดานขางลําตัวสีเงินเหลือบชมพู
หรอื ทอง ครบี สีคลํา้ ดา นทองสขี าว มีขนาดความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร ในประเทศไทยพบเฉพาะภาคใตตอนลา ง
ตงั้ แตแ มน าํ้ ตาปไ ปจนถงึ ประเทศมาเลเซยี โดยอาศยั อยใู นลาํ ธารหรอื แมน า้ํ ทม่ี ฝี ง เปน ปา รม ครม้ึ รวมถงึ บรเิ วณนาํ้ ตก พบมาก
โดยเฉพาะในนํ้าตกฮาลา-บาลา ภายในอุทยานแหงชาติฮาลา-บาลา จังหวัดยะลาเปนปลาท่ีมีรสชาติดี เปนที่ขึ้นช่ือโดย
เฉพาะอยา งยงิ่ ในจงั หวดั ยะลา มรี าคาสงู และไดร บั การประกาศใหเ ปน ปลาประจาํ จงั หวดั ยะลาเมอื่ วนั ท่ี 19 มกราคม 2558

นายสามารถ วราดศิ ัย นายอุดร นอ ยทบั ทิม
ผูวาราชการจงั หวัดยะลา รองผูวาราชการจงั หวัดยะลา

นายบนั เทงิ โชตพิ วง นายนภดล จนิ ดาพนั ธ
ประมงจังหวดั ยะลา ผูอาํ นวยการศูนยว ิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดยะลา

นายนิธวิ ฒั น วงศว ิวฒั น
หวั หนาหนวยบรหิ ารจัดการประมงน้าํ จืดเขอื่ นบางลางยะลา

สตั วน ้าํ ประจาํ จงั หวัด 47

สัตวน้ําประจําจงั หวัดรŒอยเอด็

ชอื่ สัตวน ํ้า ปลาหลดจุด
ช่อื สามญั Peacock eel
ช่อื วทิ ยาศาสตร Macrognathus siamensis (Günther, 1861)
ช่อื ทŒองถ่ิน ปลาหลดจดุ

ประวัติความเปนš มา เปน ปลาน้ําจืดอยูใ นวงศปลากระทิง มีรปู รา งคลา ยคลึงกับปลากระทงิ แตปลาหลดมีขนาด
เล็กกวา ลําตัวยาวเรียว ดานขางแบน หัวเล็ก จะงอยปากเรียวแหลมและที่ปลายมีหนวดที่สั้นอยู 1 คู ปากและตาเล็ก
ครีบหลังและครีบกนยาวมีขนาดใกลเคียงกัน ครีบหางมีขนาดเล็กปลายกลมมน ไมมีครีบทอง หลังมีสีนํ้าตาล ทองมีสี
นํ้าตาลออนปนเหลอื ง มีจดุ สีดําทีค่ รบี หลัง 3 - 5 จดุ บางตวั มีจดุ ดาํ ท่ีโคนหางหนึ่งจดุ พบไดใ น นาขาว ในเขตทุง กลุ ารองให
และเปนคําขวัญของอําเภอสุวรรณภูมิ “สุวรรณภูมิ แดนกูพระโกนา ทุงกุลาสดใส ปลาหลดหลากหลาย ผาไหมสดสวย
รวยขาวปลา พัฒนาเยย่ี มยอด ปลอดผูไมรหู นงั สอื ” เปนปลาทีย่ งั พบจํานวนมากในธรรมชาติ ในเขตจังหวัดรอ ยเอ็ด และ
ประชาชนนยิ มบริโภคอกี ดว ย และไดร บั การประกาศ ใหเปนสัตวน้าํ ประจําจงั หวดั รอ ยเอด็ เม่ือวันท่ี 23 ธันวาคม 2557

นายสมศักดิ์ จงั ตระกุล นายพศนิ โกมลวชิ ญ
ผวู า ราชการจงั หวดั รอยเอ็ด รองผูวา ราชการจงั หวัดรอ ยเอ็ด
นายปกรณ อุนประเสรฐิ
นายไชยวฒั น รัตนดาดาษ
ประมงจงั หวดั รอ ยเอด็ ผูอ ํานวยการศูนยว จิ ยั และพฒั นาประมงน้าํ จืดรอ ยเอ็ด

48 สตั วนํา้ ประจาํ จังหวดั

สัตวน้ําประจาํ จังหวัดระนอง

ชอื่ สตั วนํา้ ปูเจา ฟา
ชื่อสามญั Panda crab
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Phricotelphusa sirindhorn (Naiyanetr, 1989)
ชอ่ื ทอŒ งถิ่น ปูเจาฟา หรือ ปูสริ ินธร หรือ ปนู าํ้ ตก

ประวตั คิ วามเปนš มา เปน ปนู า้ํ ตกพบท่ีวนอุทยานนาํ้ ตกหงาว อาํ เภอเมือง จงั หวัดระนอง เม่อื วันท่ี 6 ธนั วาคม
พ.ศ. 2529 เปนปูท่ีมีสีสันสวยงาม กระดองและกามท้ังสองขางเปนสีขาว ขาเดินทั้งสี่คูและเบาตาและบริเวณปาก
เปนสีมวงดํา มีลักษณะปลองทองและอวัยะเพศผูคูที่ 1 ตางจากปูชนิดอ่ืน เม่ือโตเต็มที่ความกวางของกระดองประมาณ
9-25 มิลลิเมตร พบอยูจํากัดบริเวณน้ําตกแถบภาคตะวันตกของไทย เชน นํ้าตกหวยยางอําเภอทับสะแก จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ น้ําตกที่เขาพะเนินทุง อําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เปนตน ไดรับพระราชทานพระราชานุญาต
อัญเชิญพระนามาภิไธยของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เปนชื่อวิทยาศาสตรของปูชนิดนี้
เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสเสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปดพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2531 ปจจุบัน เปนสัตวปาคุมครองในพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา
พทุ ธศกั ราช 2535 ไดร บั คัดเลือกเปน สัตวนํ้าประจาํ จังหวดั ระนองเมื่อวันท่ี 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558

นายสุรยิ นั ต กาญจนศลิ ป นายจตุพจน ปย ัมปตุ ระ
ผูวา ราชการจงั หวดั ระนอง รองผูว า ราชการจังหวัดระนอง
นายธวัชชยั ญาณสมบัติ
นายชัยวฒั น วิชยั วฒั นะ
ประมงจังหวดั ระนอง ผอู าํ นวยการศนู ยวิจยั และพัฒนาประมงชายฝง ระนอง

สตั วนาํ้ ประจําจังหวัด 49

สตั วน า้ํ ประจาํ จังหวดั ระยอง

ชือ่ สัตวน ้าํ ปลาพลวงทอง
ชอ่ื สามัญ Gold soro brook carp
ชื่อวทิ ยาศาสตร Neolissochilus soroides (Duncker, 1904)
ชือ่ ทŒองถิน่ -

ประวตั คิ วามเปนš มา ปลาพลวงทอง เปน ปลานาํ้ จดื ขนาดกลาง ชอบอาศยั บรเิ วณนา้ํ ไหล เมอื่ โตเตม็ ทม่ี คี วามยาว
ประมาณ 50 เซนติเมตร ลําตวั ยาวเรียว แบนขา งเลก็ นอย มเี กล็ดขนาดใหญ เกลด็ บริเวณเสนขา งตัวนอ ยกวา 30 เกลด็
มเี กลด็ รอบคอดหาง 12 เกลด็ เกลด็ อยหู นาครบี หลังมี 9 เกล็ด มหี นวด 4 เสน หนวดที่ขากรรไกรบนยาวกวาเล็กนอ ย และ
พบตุมสิวดานขางของจงอย ปาก ตาและปากมีขนาดเล็ก ริมฝปากบนยื่นยาวกวาริมฝปากลาง ครีบหลังไมพบกานครีบ
ที่มีหยักฟนเลื่อยครีบหลังมีกานครีบแตกแขนง 9 กาน ครีบทุกครีบเปนสีเหลืองปลายครีบมีสีออน ยกเวนครีบหลังที่มี
สีเทา ขอบบนและขอบลางของครีบหางสีเขมสีเกล็ดบริเวณสวนหลังของลําตัวเปนสีน้ําตาลอมเทาและสีเหลือง บริเวณ
ดานทอ งเปน สขี าว ทําใหส ขี องลําตวั แบงออกเปน สองสวนชดั เจนไมม ีแถบสีดําบรเิ วณเสน ขางตวั ซ่งึ สามารถเปนขอ ระบุ
ท่ีแตกตางจากพลวงหิน เนื้อปลาใชเปนอาหารและนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงามซึ่งเปนปลานํ้าจืดที่กําลังทําการเพาะพันธุ
เพ่ิมขึ้น เพราะเปนปลานํ้าจืดท่ีใกลจะสูญพันธุ ในจังหวัดระยองพบท่ีน้ําตกเขาชะเมาและน้ําตกคลองปลาก้ัง ในอุทยาน
แหงชาตเิ ขาวง – เขาชะเมา อาํ เภอเขาชะเมา จงั หวดั ระยอง และไดรบั การประกาศใหเปนสตั วน้าํ ประจาํ จังหวดั ระยอง
เมื่อวันท่ี 16 กมุ ภาพันธ 2558

นายสมศักดิ์ สุวรรณสจุ ริต นายภญิ โญ ประกอบผล
ผวู าราชการจังหวัด รองผวู าราชการจงั หวัด

นางลดาวลั ย วนโกสุม นายชุติพงศ วองสง สาร
ประมงจงั หวดั ผอู ํานวยการศูนยวิจัยและพฒั นาประมงนํ้าจดื ระยอง

นางพรพรรณ ยังเหลอื
หัวหนากลมุ พฒั นาและสงเสริมอาชีพการประมง

50 สตั วนา้ํ ประจําจังหวัด

สัตวน ้าํ ประจาํ จังหวัดราชบรุ ี

ชอื่ สัตวนํา้ ปลายี่สกไทย
ชอื่ สามัญ Julliens s golden carp
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Probarbus jullieni (Sauvage, 1880)
ชอ่ื ทŒองถ่ิน มชี อื่ เรียกปลายีส่ กแตกตา งกนั ออกไปตามถน่ิ ท่ีอยอู าศัย ดงั น้ี
1. “ปลาเอนิ ” หรอื “ปลาเอนิ คางหม”ู อาศยั อยใู นแมน าํ้ โขง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื แถวจงั หวดั หนองคาย
2. “ปลากะสก” “อีสก” หรือ “ปลายส่ี กทอง” ในบางทอ งท่ีบางแหง และภาคกลาง
3. “ปลาชะเอนิ ” อาศัยอยใู นบริเวณแมน ํา้ นาน ทางภาคเหนอื

ประวัติความเปšนมา ปลายี่สกมีลักษณะเดนคือ สีของลําตัวเปนสีเหลืองนวล ลําตัวคอนขางกลมและยาว
บริเวณดานขางมีแถบสีดําขางละ 7 แถบ พาดไปตามความยาวของลําตัว ลายตามตัวเหลาน้ีจะปรากฏในลูกปลาท่ีมี
ขนาด 3-5น้ิว บรเิ วณหัวมีสีเหลืองแกมเขยี ว รมิ ปากบนมีหนวดสัน้ ๆ 1 คู มีฟนทค่ี อหอยเพยี งแถวเดยี ว จาํ นวน 4 ซี่ เวลา
กินอาหารทําปากยืดหดได เย่ือมานตาเปนสีแดงเร่ือๆ ครีบหลัง ครีบหู ครีบทอง ครีบกน มีสีชมพูแทรกอยูกับพ้ืนครีบ
ซ่ึงเปนสเี ทาออน หางคอนขางใหญแ ละเวาลึก

ปลาย่ีสกเปนปลาขนาดใหญชนิดหนึ่งในจํานวนปลาน้ําจืดดวยกันพบในจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรีขนาดใหญ
ทสี่ ดุ ยาว 1.35 เมตร นา้ํ หนัก 40 กิโลกรมั และเปนปลาในคําขวญั ของจงั หวัดราชบุรี

“คนสวยโพธาราม คนงามบานโปง เมืองโอง ลายมงั กร วดั ขนอนหนงั ใหญ

ต่ืนใจถํา้ งาม ตลาดนาํ้ ดาํ เนนิ เพลดิ เพลนิ คา งคาวรอยลา น ยานยีส่ กปลาดี”

ไดร บั การประกาศใหเปน ปลาประจาํ จังหวัดราชบรุ ี เม่ือวนั ที่ 27 มกราคม 2558

นายสรุ พล แสวงศักดิ์ นายพิพัฒน เอกภาพนั ธ
ผูวาราชการจังหวัดราชบรุ ี รองผูว า ราชการจงั หวัดราชบรุ ี
นายชนินทร แสงรุง เรอื ง
นางสาวสุรงั ษี ทัพพะรังสี
ประมงจงั หวัดราชบุรี ผอู ํานวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงน้ําจดื ราชบุรี

สัตวน้าํ ประจําจงั หวัด 51

สัตวนา้ํ ประจาํ จงั หวัดลพบุรี

ชอ่ื สัตวนํา้ ปลาตะเพยี นขาว
ชื่อสามัญ Common silver carb, Thai silver barb, Silver barb, Barb, Tawes
ช่ือวิทยาศาสตร Barbodes gonionotus (Bleeker, 1850)
ชอื่ ทŒองถนิ่ ตะเพยี นขาว

ประวัติความเปšนมา ปลาตะเพียนชนิดน้ีนับเปนปลาน้ําจืดท่ีคนไทยรูจักดี และอยูในวิถีชีวิตความเปนอยูมา
แตโ บราณ เชน ปลาตะเพยี นใบลาน มกี ารเลยี้ งปลาชนดิ นใี้ นประเทศมานานกวา 30 ป และถกู นาํ พนั ธไุ ปเลย้ี งยงั ตา งประเทศ
เชน มาเลเซีย, บอรเนียว, อินโดนีเซีย แมวาในประเทศเหลานี้จะมีปลาชนิดน้ีอยูในธรรมชาติแลวก็ตาม ขนาดโดยเฉล่ีย
36 เซนติเมตร (พบใหญท ่สี ดุ 90 เซนติเมตร นา้ํ หนัก 13 กิโลกรัม ที่มาเลเซีย) พบชุกชมุ ในทกุ แหลงน้าํ ทุกภาคของไทย
อยูกันเปนฝูง ชอบที่นํ้าไหลเปนพิเศษ เปนปลากินพืช, แมลง และสัตวหนาดิน นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงาม
อกี ดวย เปนปลาท่ีมรี าคาถกู หาซอ้ื ไดงาย และมคี วามไวตอ คุณภาพนา้ํ พบมาในแมนํา้ สายสาํ คญั ของจงั หวัดลพบุรี และ
ไดรับการประกาศใหเ ปน สตั วน ํ้าประจําจังหวดั ลพบรุ ี เมือ่ วนั ท่ี 23 ธันวาคม 2557

นายธนาคม จงจริ ะ นายสจุ ินต ไชยชมุ ศกั ด์ิ
ผวู าราชการจังหวดั ลพบรุ ี รองผวู าราชการจังหวัดลพบรุ ี
นายธวชั ชัย ญาณสมบตั ิ
นางสจุ ติ รา สรสทิ ธ์ิ
ประมงจังหวดั ลพบุรี ผอู าํ นวยการศูนยวิจยั และพัฒนาประมงนา้ํ จืดลพบรุ ี

52 สัตวน้าํ ประจาํ จงั หวัด

สตั วน ํ้าประจาํ จงั หวดั ลาํ ปาง

ช่ือสตั วน ้ํา ปลารากกลวย
ชื่อสามัญ Horseface loach
ชื่อวิทยาศาสตร Acantopsis choirorhynchos (Bleeker,1854)
ช่ือทอŒ งถิ่น ปลาซอนทราย

ประวัติความเปšนมา เปนปลาน้ําจืดชนิดหน่ึง มีลําตัวเล็กยาว หัวแหลม ตาเล็ก หางแหลม กลางลําตัวมีเสน
สีเทาจากหัวถึงหางระหวางเสนมีจุดสีดําเปนแนวยาว ครีบหางเวาตื้นมีขนาดลําตัวยาวไมเกิน 30 เซนติเมตร แตท่ีพบ
โดยทัว่ ไปจะยาวเพียงแค 5 - 14 เซนตเิ มตร สามารถมุดทรายไดด เี วลาตกใจหรือซอนตัวจากสตั วน กั ลา จนไดอ กี ชอื่ หน่ึงวา
“ซอ นทราย” นยิ มบรโิ ภคดว ยการรบั ประทานทงั้ ตวั และกา ง เนอื่ งจากเปน ปลาขนาดเลก็ นอกจากนย้ี งั นยิ มเลย้ี งเปน ปลาตู
สวยงาม อกี ทงั้ ยงั ชว ยพรวนทรายใหร ว นอยตู ลอดเวลาดว ย จากความสามารถทส่ี ามารถมดุ ทรายไดเ ปน อยา งดจี งึ มชี อ่ื เรยี ก
ในภาษาอีสานวา “ปลามัน” หรือ “ปลามูด” ในอดีตพบมากในแมนํ้าวัง จังหวัดลําปาง และไดรับการประกาศใหเปน
สตั วน ้ําประจาํ จังหวดั ลําปาง เมือ่ วันท่ี 29 มกราคม 2558

นายธานินทร สภุ าแสน นายฤทธพิ งศ เตชะพนั ธุ
ผูวาราชการจังหวดั รองผูว าราชการจังหวดั
นายประโยชน บญุ ประเสริฐ นายสมโภชน เตม็ เปย ม
ผอู าํ นวยการศูนยว จิ ัยและพฒั นาประมงน้ําจดื ลาํ ปาง
ประมงจงั หวัด

นายชนนวัช อุตสาสาร
หวั หนาศูนยบ รหิ ารจดั การประมงน้ําจดื ภาคเหนอื ตอนบน ลําปาง

สตั วน ํา้ ประจาํ จังหวดั 53

สตั วน าํ้ ประจาํ จงั หวดั ลาํ พนู

ช่อื สตั วนา้ํ อึง่ เพา
ช่ือสามญั
Blunt-headed Burrowing Frog
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Glyphoglossus molossus (Günther, 1869)
ช่อื ทŒองถนิ่ อึง่ ดาํ อึง่ ปากขวด องึ่ โกก องึ่ กระโดน

ประวตั คิ วามเปนš มา ลกั ษณะทวั่ ไป ลาํ ตัวมสี ดี ําหรอื นา้ํ ตาลอมเทาแผน หลังและขามีแตมสีหรอื จุดสีนาํ้ ตาลกระจาย
อยูท วั่ ไป ทอ งสีขาวและบางสว นมีแตมลายเมฆ เพศผูมีขนาดเล็ก มองเหน็ ลายสสี ม เหลอื งชัดเจน แหลง ทอี่ ยอู าศัยแพรก ระจาย
อยูตามท่ีราบเชิงเขาแถบจังหวัดลําพูน ลําปางและตาก โดยเฉพาะพ้ืนที่ปาเต็งรังลักษณะเปนดินทราย สูงจากระดับนํ้าทะเล
ปานกลาง 500-700 เมตร ชวงเปนลูกออดกินตัวออนแมลง ชวงข้ึนบกกินปลวกและตัวออนของแมลง ชวงฝงตัวอยูในดิน
กนิ ปลวกเปนอาหาร หากนิ เวลากลางคนื ผสมพนั ธแุ ละวางไขในชว งตนฤดูฝน สถานภาพไมไ ดเปนสัตวปาคมุ ครองตามพระราช
บัญญัติสงวนและสัตวปาคุมครองพ.ศ. 2535 สําหรับสถานภาพเพื่อการอนุรักษเปนสัตวปาใกลถูกคุกคามตามเกณฑของ
Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (2005) แตไมม ีสถานภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ
ตามเกณฑของ IUCN (2008) เปนชนิดท่ีถูกชาวบานจับเพื่อบริโภคและเพ่ือคาขายในแตละปเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะ
อึง่ เพศเมยี ท่มี ไี ข ซ่ึงจะออกมาวางไขเ พยี งครง้ั เดยี วทําใหประชากรลดลงอยางรวดเรว็ จงึ ทาํ ใหเสี่ยงตอการสูญพนั ธุ

ผลจากการเพาะอึง่ เพาในเชงิ อนรุ กั ษ ของศนู ยว ิจยั และพฒั นาประมงน้าํ จืดลําพูน ตั้งแตป พ.ศ. 2549 อยา งตอเนอ่ื ง
จนถึงปจจุบัน มีผลทําใหปริมาณอึ่งเพาในธรรมชาติแพรกระจายเพิ่มขึ้นในหลายหมูบาน เชนบานหลายสาย บานดอนชัย
บานหนองยางฟา บานกอลุงบานแมสะปวด บานหนองยางไคล บานหมื่นขาว บานเหมืองลึก บานทาทุงหลวง บานทากาศ
ลาํ หมบู า นจาํ ตาเหนิ อาํ เภอแมท า ทาํ ใหเ กดิ แหลง อาหารดา นโปรตนี และเปน อาชพี เสรมิ สรา งรายได ใหก บั ชาวบา นในเขตอาํ เภอ
แมทา จังหวดั ลาํ พนู อึ่งเพาหรืออ่ึงปากขวด ไดรบั การประกาศใหเ ปนสัตวนํ้าประจาํ จงั หวัดลําพูน เม่ือวันที่ 30 มกราคม 2558

นายณรงค ออ นสะอาด นายเจริญฤทธิ์ สงวนสตั ย
ผวู าราชการจังหวัดลาํ พูน รองผูวา ราชการจังหวัดลําพนู
นางสภุ าพันธ บญุ เจรญิ
นายอนุวตั ิ อุปนันไชย
ประมงจังหวัดลําพนู ผูอาํ นวยการศูนยว ิจัยและพฒั นาประมงนา้ํ จืดลาํ พนู

54 สัตวน ํา้ ประจําจงั หวัด

สตั วนํา้ ประจําจงั หวัดเลย

ชือ่ สตั วนํา้ ปลาเพา
ชอ่ื สามญั -
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Bangana lippus (Fowler, 1936)
ชื่อทŒองถิ่น เพา

ประวัติความเปšนมา ถิ่นอาศัย เปนปลาประจําถ่ิน หายาก ชอบอยูอาศัยในแหลงน้ําไหล หลบซอนตาม
โขดหินพบบรเิ วณลาํ น้าํ สาขาของแมน ํ้าโขง ไดแก แมน าํ้ เหือง แมน ้ําเลย จงั หวดั เลย ราษฎรนยิ มนาํ มาปรุงอาหารประเภท
ลาบ ตม เนื้อมีรสชาติอรอยมาก ใครไดกินถือวามีโชคปจจุบันปริมาณลดลง จึงควรรณรงคใหมีการอนุรักษ และศึกษา
วจิ ัย เพื่อขยายพนั ธุ ปลาเพา ไดร ับคดั เลือกเปน สัตวนา้ํ ประจําจงั หวดั เลย เม่อื วันที่ 20 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2558

นายวโิ รจน จิวะรงั สรรค
ผวู าราชการจงั หวัดเลย

นายรงั สนั ต ไชยบุญทัน นายสุริยันต เสมา
เจา พนักงานประมงอาวโุ ส รกั ษาราชการ ผอู าํ นายการศนู ยว ิจยั และพฒั นาประมงน้ําจดื เลย

ประมงจงั หวัดเลย

สัตวนา้ํ ประจาํ จังหวดั 55

สตั วนํา้ ประจําจงั หวดั ศรีสะเกษ

ช่อื สัตวน ํ้า กบนา
ช่อื สามัญ Common lowland frog
ชือ่ วิทยาศาสตร Rana rugulosa (Wiegmann, 1834)
ชื่อทŒองถน่ิ กบนา

ประวตั คิ วามเปนš มา เปน สตั วครึ่งบกครงึ่ นาํ้ ชนดิ หน่ึง ลกั ษณะลําตวั คอนขา งผอม ขายาวเรยี ว ผวิ หนงั บนหลัง
มสี เี ขยี วจดุ ดาํ มรี อ งเปน สันตามยาวหลายแนว ดา นทอ งเปนสีขาว ตัวเตม็ วัยความยาวตงั้ แตชว งปากถึงกน 6.5 - 8.5 น้วิ
เทาเปนพังผืดติดกันคลายเปด ตากลมโตปูดออกมานอกผิวหนัง แหลงอาศัย ตามทองนาและแหลงท่ีมีน้ําขังท่ัวไป
หวย หนอง คู คลอง บึง รวมทั้งบริเวณริมฝงแมน้ํา ในชวงฤดูแลงจะจําศีลอยูในรู สําหรับในประเทศไทยพบไดทุกภาค
กนิ แมลงและตวั ออ นของแมลง รวมทง้ั สตั วน ํ้าขนาดเลก็ ๆ

กบนาเนื้อมีรสชาติดีเปนที่นิยมบริโภคกันอยางแพรหลายมาชานาน ซึ่งชาวอีสานมีวิถีการดําเนินชีวิตที่เรียบงาย
รับประทานสัตวนํ้าไดทุกขนาดปจจุบันกบนามีการเพาะขยายพันธุเปนสัตวเศรษฐกิจและสงเสริมการเลี้ยงหลายรูปแบบ
ใหสอดคลอ งกบั สภาพของพ้นื ที่ โดยเฉพาะภาคอสี านท่ีมีปญ หาเร่อื งนํา้ ในฤดูแลง กบนาไดร บั คัดเลือกเปนสัตวน ้าํ ประจาํ
จงั หวัดศรีสะเกษเม่ือวนั ท่ี 6 มีนาคม พ.ศ. 2558

นายยทุ ธนา วริ ิยะกติ ติ นายสนทิ ขาวสอาด
ผูวาราชการจงั หวดั ศรสี ะเกษ รองผวู า ราชการจงั หวดั ศรีสะเกษ

นายสุริยันต วรรณวงษ นางทพิ ยส ุดา ตางประโคน
หัวหนา กลมุ บรหิ ารจัดการดานการประมง ผอู ํานวยการศูนยวจิ ัยและพัฒนาประมงนํ้าจืดศรีสะเกษ
รักษาราชการแทน ประมงจงั หวัดศรีสะเกษ

56 สตั วน าํ้ ประจําจงั หวดั

สตั วน้าํ ประจําจังหวดั สกลนคร

ชอื่ สัตวน ํา้ ปลากาดาํ
ชื่อสามญั Sailfin shark carp, Black shark minnow
ชอ่ื วิทยาศาสตร Labeo chrysophekadion (Bleeker, 1849)
ชื่อทอŒ งถน่ิ ปลาอีก่ํา

ประวัติความเปšนมา เปนปลาน้ําจืดชนิดหนึ่ง รูปรางปอมแตหลังปองออก ครีบหลังสูง ไมมีกานครีบแข็ง
มีหนวดคอนขางยาว 2 คู และมีตง่ิ เล็กๆ เปน ชายครุยอยูรอบบรเิ วณริมฝปาก เกล็ดเล็กมสี ีแดงแซมอยแู ตละเกลด็ ครบี หาง
เวา ลกึ ลาํ ตัวสดี ําหรือสนี า้ํ ตาลเขม อันเปนท่มี าของช่อื ในปลาวัยออ นบริเวณโคนหางมีจดุ ดาํ เดน เมื่อโตข้นึ มาจะจางหาย
มีขนาดโตเต็มท่ีประมาณ 90 เซนติเมตร ปลากาดําเปนปลาท่ีรักษาสภาพนิเวศวิทยาในแหลงน้ํา เปนปลาที่มีรสชาติดี
ใชใ นการทาํ ลาบปลา น้ํายาปลากาดํา และปลารา หรอื สามารถเลีย้ งเปน ปลาสวยงามก็ได พบในแมน ้ําขนาดใหญ แหลง นาํ้
ตา งๆ เชน แมน้าํ โขง แมน า้ํ สงคราม เขอ่ื นนํา้ อนู เขือ่ นนา้ํ พุง ลาํ น้ําก่ํา และหนองหาร ปลากาดาํ ขนาด 5 - 7 เซนตเิ มตร
สามารถมาทาํ เปน “สปาปลา” ปลากาดาํ จะมาดดู ผวิ หนงั สว นเทา ทาํ ความสะอาดเปน การผอ นคลายและไดร บั การประกาศ
ใหเปน สตั วน้าํ ประจาํ จงั หวัดสกลนคร เม่ือวันท่ี 30 มกราคม 2558

นายบญุ สง เตชะมณสี ถติ ย นายพณั ณเ ดชน ศรจี ันทร
ผวู า ราชการจงั หวดั สกลนคร รองผูว า ราชการจังหวดั สกลนคร

นายคุณชัย สวุ รรณ นายธนวัฒน ชชั วาลธาตรี
ประมงจงั หวัดสกลนคร ผอู าํ นวยการศนู ยว ิจยั และพฒั นาประมงนํ้าจดื สกลนคร

นายสรุ ชัย เสรมิ สุข
หวั หนา หนว ยบรหิ ารจดั การประมงนํา้ จดื เข่ือนนํ้าอูนสกลนคร

สตั วน าํ้ ประจาํ จงั หวดั 57

สัตวน ํา้ ประจําจงั หวดั สงขลา

ชื่อสัตวน้ํา ปลาตะกรบั
ชอ่ื สามญั Spotted scat, Green scat
ชอื่ วิทยาศาสตร Scatophagus argus (Linnaeus, 1766)
ชอ่ื ทŒองถิ่น ปลาขีต้ ัง

ประวัตคิ วามเปนš มา ปลาตะกรบั หรือปลาขตี้ งั เปนปลานา้ํ เค็มชนดิ หนง่ึ ในวงศปลาตะกรับ (Scatophagidae)
มีรูปรางสั้น แบนขางและกวางมาก หัวทู ปากเล็ก หางมน เกล็ดเล็ก เปนแบบสาก สีพ้ืนลําตัวมีสีแตกตางกันมากอาจ
เปนสีเขียว สีเทาหรือสีนํ้าตาล ครึ่งบนของลําตัวสีเขมกวาและมีแถบสีเทาเขมหรือดําพาดขวางหลายแนวและแตกเปน
จดุ ทด่ี า นลา งหรอื เปน แตม เปน จดุ ทวั่ ตวั ดคู ลา ยเสอื ดาว ครบี ตา งๆ มสี เี หลอื งออ นอมเทา ปลาตะกรบั เปน ปลาทะเลทสี่ ามารถ
ปรบั ตวั ใหอ าศยั อยไู ดใ นนา้ํ กรอ ยหรอื นา้ํ จดื โดยปกตจิ ะอาศยั อยตู ามชายฝง ทะเลใกลป ากแมน าํ้ พบมากในทะเลสาบสงขลา
เปนปลาทอี่ าศัยอยูเปน กลมุ กินอาหารไดทง้ั พืชน้ํา และสัตวน ้ําขนาดเล็ก ขนาดเมือ่ โตเตม็ ท่ยี าวไดถึง 38 เซนตเิ มตร นิยม
บรโิ ภคอยางมากในภาคใต โดยจะนําไปปรุงเปน แกงสม นอกจากนี้ยงั นยิ มเล้ียงเปนปลาตสู วยงามอกี ดว ย ซงึ่ ปลาตะกรับ
หรือปลาขี้ตังชนิดนี้ กรมประมงโดยสถาบันวิจัยการเพาะเล้ียงสัตวน้ําชายฝง ไดทําการเพาะพันธุไดสําเร็จเปนครั้งแรก
เมอื่ วันท่ี 7 กันยายน 2550 โดยวธิ กี ารผสมเทยี ม ซึง่ สามารถผลติ ลูกพันธไ ดปละประมาณ 100,000 - 200,000 ตัว เพ่ือ
ปลอยลงสูธรรมชาติ และจําหนายพันธุใหแกเกษตรกรที่สนใจนําไปเพาะเล้ียง ไดรับคัดเลือกเปนสัตวน้ําประจําจังหวัด
สงขลาเมือ่ วนั ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558

นายธํารงค เจริญกลุ นายชัยวัฒน ศิรินุพงศ
ผวู า ราชการจังหวัดสงขลา รองผูวา ราชการจงั หวดั สงขลา
นายยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร
นายกอเกยี รติ กลู แกว ผอู ํานวยการสถาบนั วจิ ยั การเพาะเลี้ยงสตั วน าํ้ ชายฝง
ประมงจงั หวดั สงขลา
นายวรรณนฑั หริ ัญชุฬหะ นายเสรี เพชรฤทธ์ิ
ผอู าํ นวยการศูนยว ิจยั และพฒั นาประมงน้ําจดื สงขลา หัวหนาศนู ยบริหารจัดการประมงทะเลภาคใตตอนลาง

58 สตั วนาํ้ ประจําจังหวัด

สตั วนา้ํ ประจาํ จังหวดั สตูล

ชอ่ื สัตวน ้าํ ปลาการตนู สมขาว
ชื่อสามัญ Ocellaris clownfish, Clown Anemonefish, Clownfish, False percula clownfish,
ชื่อวิทยาศาสตร Amphiprion ocellaris (Cuvier, 1830)
ชือ่ ทŒองถน่ิ -

ประวัตคิ วามเปšนมา เปนปลาการตนู ชนดิ หน่งึ ทล่ี าํ ตัวตัวมีสีสม เขม มแี ถบสขี าว 3 แถบ พาดบริเวณสวนหวั
ลําตัวและบริเวณหาง ขอบของแถบสีขาวเปนสีดํา ขอบนอกของครีบเปนสีขาวและขอบในเปนสีดํา อาศัยในท่ีลึกตั้งแต
1 - 15 เมตร ขนาดตัวโตที่สุดประมาณ 10 เซนติเมตร อาศัยอยูกับดอกไมทะเลชนิด Heteractis magnifica และ
Stichodactyla gigantea เปนตน ในดอกไมทะเลแตละกออาจพบอยูดวยกัน 6 - 8 ตัว มีการกระจายพันธุในแถบ
อินโด-แปซิฟก, มหาสมุทรอินเดีย, หมูเกาะอันดามันและนิโคบาร, ฟลิปปน, อินโดนีเซีย ประเทศไทยพบไดในฝง
ทะเลอันดามนั โดยเฉพาะจังหวัดสตูล สามารถพบไดโดยทัว่ ไปตามแนวปะการงั และเปน ทสี่ นใจของนักทองเทีย่ ว

ปลาการต นู สม ขาวนบั เปน ปลาการต นู ชนดิ ทรี่ จู กั กนั ดแี ละคนุ เคยเปน อยา งดี และถอื เปน ตวั ละครเอกในภาพยนตร
การตูนเรอื่ ง Finding Nemo ของพิกซาร ในป ค.ศ. 2003 จนไดรบั การเรยี กขานเลน ๆ วา “ปลานีโม” เปนปลาทไ่ี ดร ับ
ความนิยมเปน อยางยิง่ ในการเล้ียงเปนปลาสวยงาม ซ่ึงในปจจุบนั สามารถเพาะขยายพนั ธุไดแ ลว หลายแหงในประเทศไทย
ในจังหวดั สตูล ศนู ยว ิจยั และพฒั นาประมงชายฝง สตลู อาํ เภอละงู จังหวดั สตลู สามารถเพาะขยายพันธุไดใ นเชงิ พาณชิ ย
ปลาการต ูนสมขาวไดรับคัดเลือกเปน สัตวนาํ้ ประจําจงั หวดั สตลู เมื่อวันท่ี 9 มีนาคม พ.ศ. 2558

นายประพันธ ลีปายะคณุ นายนิมิต นลิ วัตร
ประมงจังหวดั สตูล รองผูวาราชการจงั หวัดสตลู

นายเดชรฐั สิมศิริ
ผวู าราชการจังหวดั สตูล

สตั วน้ําประจาํ จังหวัด 59

สัตวน า้ํ ประจาํ จงั หวัดสมุทรปราการ

ช่อื สตั วน ้ํา ปลาสลิด
ชื่อสามญั Snake – skinned Gourami
ช่ือวิทยาศาสตร Trichopodus pectoralis (Regan, 1910)
ช่อื ทอŒ งถน่ิ ปลาใบไม

ประวัติความเปนš มา เปน ปลานาํ้ จืดชนดิ หนึ่ง ทม่ี ีรูปรา งลาํ ตวั คลา ยใบไม ครบี หลงั และครบี กนยาว ครีบอกใหญ
ตาโต ปากเล็กอยูสุดปลายจะงอยปาก ครีบหางเวาตื้นปลายมน ลําตัวมีสีเขียวมะกอกหรือสีนํ้าตาลคล้ํา มีแถบยาวพาด
ลาํ ตวั สดี าํ และมแี ถบเฉยี งสคี ลาํ้ ตลอดแนวลาํ ตวั ดา นขา ง มขี นาดโดยเฉลย่ี 10 – 16 เซนตเิ มตร ชอบอาศยั อยใู นแหลง นาํ้ นง่ิ
ทมี่ พี ชื นา้ํ และหญา รกตามรมิ ตลง่ิ และเปน ปลาทอ งถน่ิ ทมี่ คี วามสาํ คญั ทางเศรษฐกจิ นยิ มเลย้ี งมากในพนื้ ทอ่ี าํ เภอบางบอ และ
อาํ เภอบางพลี ของจงั หวดั สมุทรปราการ เนอื่ งจากมีรสชาติดี เนอื้ อรอ ย และมกี ล่นิ หอม นอกจากนยี้ งั เปนปลาทมี่ ชี ่ือเสียง
มาชา นาน โดยเปน ทร่ี จู กั กนั ดใี นชอ่ื วา “ปลาสลดิ บางบอ ” และไดร บั การประกาศใหเ ปน สตั วน า้ํ ประจาํ จงั หวดั สมทุ รปราการ
เม่ือวันท่ี 29 ธนั วาคม 2557

นายพินิจ หาญพาณชิ ย นายพรชัย สงั วรเจต
ผูวา ราชการจังหวดั สมุทรปราการ รองผวู าราชการจังหวัดสมทุ รปราการ

นายอํานาจ หนทู อง นายบุรฉตั ร จันทกานนท
ประมงจังหวดั สมทุ รปราการ ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนา้ํ จดื สมทุ รปราการ

นายบัณฑติ กลุ ละวณชิ ย
หัวหนาดานตรวจสัตวน ้าํ ทา อากาศยานสุวรรณภูมิ

60 สัตวน ้าํ ประจาํ จงั หวัด

สตั วน าํ้ ประจําจังหวัดสมุทรสงคราม

ชือ่ สตั วนํา้ หอยหลอด
ชื่อสามัญ Rozer clam
ชื่อวิทยาศาสตร Solen regularis (Dunker. 1861)
ชอื่ ทŒองถ่ิน หอยหลอด (กรมประมง พ.ศ. 2545)

ประวัติความเปšนมา หอยหลอดเปนหอยสองฝาชนิดหน่ึงท่ีมีการแพรกระจายบริเวณปากแมน้ํา ทั้งทาง
ดานชายฝงทะเลอันดามัน และชายฝงทะเลอาวไทยในบริเวณพ้ืนที่ท่ีเปนดินปนทราย หอยหลอดประกอบดวยเปลือกท่ี
หอหุมลําตัว เปนรูปทรงกระบอกสีขาวอมเหลือง หรือสีเหลืองออน ลักษณะเหมือนหลอดกาแฟ สวนปลายของเปลือก
ท้ังสองดา นมชี อ งเปดดานหนึ่งเปนเทา และอกี ดานหน่ึงเปนทอน้าํ สาํ หรับกรองอาหารยน่ื ออกมา หอยหลอดจะชอบฝงตัว
อยใู นดนิ อยลู กึ จากผวิ ดนิ ประมาณ 1-2 นว้ิ โดยจะขดุ เปน ทอ ขนาดเทา ลาํ ตวั และวางตวั อยใู นทอ ในแนวตง้ั หรอื เอยี งประมาณ
30 องศา โดยตัวหอยจะเคลอ่ื นทขี่ ึ้นลง อยูใ นทอหรอื รนู ้ี ปกติหอยจะขน้ึ มาอยูบนผิวหนาของดิน โดยยน่ื ลําตวั เหนือผวิ ดนิ
ประมาณ 1/3 ของลําตัวหอยหรืออาจจะอยูบริเวณผิวดิน และเปดชองเพื่อกรองอาหาร น้ําผานเขาไปในตัว ไดรับ
การประกาศใหเปน สตั วน าํ้ ประจําจังหวดั สมทุ รสงคราม เมอ่ื วนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2558

นายปญ ญา งามเลิศ นายเจน รัตนพิเชฏฐชยั
ผวู า ราชการจังหวดั รองผูวาราชการจงั หวดั
นายอทุ ยั สิงโตทอง นายกอบศกั ด์ิ เกตเุ หมือน
ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงชายฝง สมทุ รสงคราม
ประมงจังหวดั

นายวิระ จติ รสวุ รรณ
หัวหนาศูนยบ ริหารจดั การประมงอา วไทยตอนใน สมทุ รปราการ

สัตวนํา้ ประจําจังหวัด 61

สัตวน ํา้ ประจาํ จงั หวดั สมทุ รสาคร

ชอื่ สัตวน้ํา ปลาทู
ชอ่ื สามญั Short-bodied mackerel
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851)
ช่ือทอŒ งถิ่น ปลาทูสนั้

ประวัติความเปšนมา ปลาทู เปนปลาที่อาศัยอยูรวมกันเปนฝูงบริเวณกลางนํ้าถึงผิวนํ้าในทะเลเขตรอน
ตั้งแตบรเิ วณนาํ้ ตน้ื ใกลช ายฝงจนถงึ ทะเลลึก โดยประเทศไทย พบมากบริเวณอาวไทย และฝงอนั ดามัน มลี ําตัวแปนยาว
เพรยี ว ตาโต ปากกวา ง จะงอยปากจะแหลม เกลด็ เลก็ ละเอยี ด มมี า นตาเปน เยอื่ ไขมนั บนขากรรไกรมฟี น ซเ่ี ลก็ ๆ มซี เี่ หงอื ก
แผเต็มคลา ยพขู นนก มีครบี หลงั 2 อนั ครีบหลังอันแรกมีกา นแขง็ สวนอนั หลงั กา นครบี ออน ครีบทองมกี า นครบี แขง็ 1 อัน
ครบี อกมีฐานครบี กวา ง แตป ลายเรยี ว สีตัวพ้นื ทองสีขาวเงนิ บรเิ วณทช่ี ิดโคนครีบหลงั ตอนแรกมีจดุ สดี าํ 3 - 6 จดุ เรียง
อยู 1 แถว ผิวดานบนหลงั มีสนี า้ํ เงนิ แกมเขียว ชวยในการพรางตัวใหพน จากศตั รู มคี วามยาวประมาณ 14 - 20 เซนตเิ มตร
อีกท้ังยังมีผลทางสถิติระบุวา จังหวัดสมุทรสาครมีผลการจับปลาทูไดมากท่ีสุดของประเทศโดยในป พ.ศ. 2556 มีการ
จบั ปลาทู 15,961,997 กโิ ลกรมั คิดเปนมลู คา 985,254,730 บาท มเี รือประมงอวนลอมจับปลาทู เพ่ือใชในการจบั ปลาทู
จาํ นวนมากทสี่ ดุ ในประเทศไทย และศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงชายฝง สมทุ รสาคร สามารถเพาะพนั ธปุ ลาทไู ดใ นระบบปด
ครั้งแรกของโลก เม่อื วันที่ 11 กันยายน 2554 ไดร บั คัดเลือกใหเปนสัตวน ้าํ ประจําจงั หวดั เมอื่ วันที่ 12 พฤษภาคม 2558

รอ ยตํารวจโทอาทิตย บุญญะโสภตั นายวนิ ิตย ปยะเมธาง
ผวู า ราชการจงั หวัดสมุทรสาคร รองผูว าราชการจังหวัดสมทุ รสาคร
นายอรณุ ชยั พุทธเจริญ
ประมงจงั หวัดสมุทรสาคร นายสุทธิชยั ฤทธธิ รรม
ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงชายฝง สมทุ รสาคร

62 สตั วนํ้าประจาํ จงั หวดั

สตั วน ํ้าประจําจงั หวัดสระแกŒว

ชือ่ สตั วน ํ้า ปลาบา ปลาพวง
ชือ่ สามญั Pink-tailed barb
ชอ่ื วิทยาศาสตร Leptobarbus hoevenii (Bleeker,1851)
ชื่อทอŒ งถน่ิ ปลาพวง,โพง

ประวตั คิ วามเปนš มา เปน ปลานา้ํ จดื ชนดิ หนง่ึ ชอบอยกู นั เปน ฝงู ขนาดใหญ อยใู นวงศป ลาตะเพยี น (Cyprinidae)
จัดเปนปลาท่ีมีขนาดใหญ รูปรางอวนทรงกระบอก สวนหัวเรียวเล็กนอย ตาโตปากเล็กอยูตอนปลายสุดของจะงอยปาก
มหี นวดขนาดเลก็ เสน ๆ 2 คู เกลด็ มขี นาดใหญ ครบี เลก็ ครบี หางเวา ตวั และหวั ดา นบนมสี คี ลาํ้ ดา นขา งลาํ ตวั มสี เี หลอื งออ น
นํ้าตาลออนเหลือบเงิน ครีบสีชมพูเรื่อขอบสีคล้ํา ในปากขนาดเล็กมีสีเงินวาวและมีแถบสีคล้ําพาดตามยาวกลางลําตัว
และมคี รบี แดง ความยาวประมาณ 20-30 เซนติเมตรพบใหญสุดถงึ 80 เซนตเิ มตร อาหารไดแก แมลง สัตวน ํา้ ขนาดเล็ก
กินเมล็ดพืชและผลไมปาชนิดตางๆ โดยเฉพาะลูกกระเบา เมื่อปลากินเมล็ดกระเบาเขาไปแลวจะสะสมพิษในลําไส
กระเพาะ พุง เมื่อนําปลามาประกอบอาหารหากรับประทานในสวนดังกลาว จะทําใหเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ คลื่นไส
อาเจียน จนเปนท่ีมาท่เี รียกกันวา “ปลาบา” ในอดีตพบมากในบริเวณคลองพระสทงึ ตาํ บลเขาฉกรรจ อําเภอเขาฉกรรจ
จังหวดั สระแกว และไดรบั ประกาศใหเ ปน สัตวน าํ้ ประจําจังหวดั สระแกว เมือ่ วันท่ี 12 พฤษภาคม 2558

นายภัครธรณ เทยี นไชย นายชัยภทั ร หริ ณั ยเลขา
ผูวาราชการจังหวดั สระแกว รองผวู าราชการจงั หวัดสระแกว
นายยอดรักษ ปลอดออน
นายการณุ อไุ รประสทิ ธ์ิ
ประมงจังหวดั สระแกว ผูอํานวยการศูนยวจิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื สระแกว

นายประเสรฐิ ปานปารมี
หวั หนาดา นตรวจสตั วนาํ้ จงั หวดั สระแกว

สตั วน้ําประจาํ จังหวัด 63

สัตวนํ้าประจําจงั หวดั สระบุรี

ชอื่ สัตวนา้ํ ปูน้าํ ตกสระบุรี
ชอ่ื สามญั Waterfall crab
ช่ือวทิ ยาศาสตร Larnaudia larnaudii (A. Milne Edwards, 1869)
ชื่อทŒองถิน่ ปูหิน

ประวัติความเปšนมา เปนสัตวน้ําจืดชนิดหน่ึง ท่ีมีกระดองเปนเปลือกแข็งหุมลําตัว มีขารวม 5 คู คูแรก
เรียกวา กามปู ขาคูที่สองถึงคูท่ีหา เรียกวาขาเดินหรือขาวายน้ํา ขาแตละขางประกอบเปนปลองตอกันรวม 7 ปลอง
สวนทองมีระบบขับถาย ระบบประสาท และระบบสืบพันธุอยูภายในและมีกระดองปกคลุมอยู รับออกซิเจนที่อยูในน้ํา
ผานเหงือกท่ีมักเรียกวา นมปู กินอาหารประเภทซากพืชและซากสัตว ปูนํ้าตกสระบุรีเปนสัตวประจําถ่ินที่พบเฉพาะ
ตามลําธารที่ไหลจากเทือกเขาหินปูนในเขตจังหวัดสระบุรีเทาน้ัน และไดรับการประกาศใหเปนสัตวนํ้าประจําจังหวัด
สระบุรี เม่ือวันท่ี 3 กมุ ภาพันธ 2558

นายวเิ ชยี ร พุฒิวิญู นายภคั พงศ ทวิพฒั น
ผวู าราชการจงั หวดั รองผูว า ราชการจงั หวัด
นายธรี ทัศน ศิริแดง นางสาวจินตนา โตธนะโภคา
ผูอ าํ นวยการศนู ยวิจัยและพฒั นาประมงนํา้ จดื สระบุรี
ประมงจังหวัด

นายประพล อสิ โร
หวั หนา ฝา ยปองกนั และปราบปรามการประมงน้าํ จดื
ปฎิบตั ิหนาทีห่ วั หนา หนวยบริหารจัดการประมงน้ําจืดเข่อื นปา สกั ชลสทิ ธ์ิ สระบรุ ี

64 สตั วนา้ํ ประจาํ จังหวดั

สัตวน ํ้าประจาํ จงั หวัดสงิ หบุรี

ชอ่ื สัตวนาํ้ ปลาชอน (แมลา)
ชื่อสามัญ Striped snake-head fish
ช่ือวทิ ยาศาสตร Channa striata (Bloch,1793)
ชอ่ื ทอŒ งถ่ิน ปลาคอ (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ), ปลาหลมิ (ภาคเหนอื )

ประวัติความเปšนมา ปลาชอนแมลา คือปลาชอนที่จับจากลําน้ําแมลา ซ่ึงเปนลําน้ําขนาดกลาง ความยาวประมาณ
18 กิโลเมตรอยูในเขตพื้นท่ี 3 อําเภอของจังหวัดสิงหบุรี คือ อ.อินทรบุรี อ.บางระจัน และ อ.เมือง ในชวงฤดูนํ้าลด
นาํ้ ทเ่ี คยเจงิ่ นองตามทอ งทงุ แหง ลง ปลานานาชนดิ จะเคลอ่ื นยา ยมารวมอยใู นลาํ นาํ้ แมล า ประกอบกบั ดนิ ทอ งนาํ้ ของลาํ นา้ํ
แมลามลี กั ษณะเปนดนิ โคลนสดี ํามีธาตอุ าหารอินทรียวตั ถุท่สี ําคญั อยมู ากมาย เปน ทเ่ี กิดลูกพนั ธสุ ัตวน ํ้าตางๆ จํานวนมาก
ซึ่งเปนอาหารธรรมชาติชั้นดีของปลาชอนในลํานํ้าแมลา ทําใหเนื้อของปลาชอนจากลํานํ้าแหงน้ี มีความเหนียว นุม มัน
และอรอยนา รับประทานมากกวา ปลาจากแหลง น้าํ อ่นื ๆ ซ่ึงจากการวิจัยคณุ คา ทางโภชนาการของนักวชิ าการจากกรมประมง
ใน พ.ศ. 2523 พบวา ปลาชอ นจากลาํ นา้ํ แมล ามสี ว นประกอบของไขมนั แทรกอยใู นเนอ้ื ปลามากกวา ปลาชอ นทวั่ ไปประมาณ
หน่ึงเทาตัว น่ีคือสาเหตุแหงความอรอยของปลาชอนแมลาท่ีสรางช่ือเสียงใหกับจังหวัดสิงหบุรีมาเปนเวลาชานาน และ
เปน ท่ีมาของการคัดเลือกปลาชอนเปนสัตวนํา้ ประจาํ จงั หวดั สงิ หบรุ ี เม่ือวนั ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2558

นายชโลธร ผาโครต นายอรรษษิ ฐ สัมพนั ธรัตน
ผูว า ราชการจงั หวดั สิงหบ รุ ี รองผวู าราชการจงั หวดั สิงหบรุ ี
นายเกียรตคิ ณุ เจรญิ สวรรค
นายวรวทิ ย พรหมปากดี
ประมงจังหวัด ผอู าํ นวยการศูนยว ิจยั และพัฒนาประมงนา้ํ จืดสงิ หบรุ ี

สัตวนํา้ ประจาํ จังหวัด 65

สตั วนํา้ ประจําจังหวดั สโุ ขทัย

ช่อื สตั วนํา้ ปลากา งพระรว ง
ชื่อสามญั Glass catfish, Ghost catfish
ชื่อวทิ ยาศาสตร Kryptopterus bicirrhis (Valenciennes, 1840)
ชอื่ ทอŒ งถิ่น “ผ”ี , “กาง”, “กระจก”

ประวัติความเปšนมา และลักษณะรูปร‹าง ปลากางพระรวงเปนปลาน้ําจืดชนิดหนึ่ง อยูในวงศปลาเน้ือออน
(Siluridae) มีลักษณะลําตัวเพรียวยาวและแบนขางมาก ตัวโปรงใสสามารถมองเห็นอวัยวะภายในไดชัดเจน อาจกลาว
ไดวาเปน “ปลาที่ตัวใสท่ีสุดในโลก” ก็วาไดมีหนวดคู 2 คูอยูท่ีขากรรไกรบนและลาง โดยหนวดคูบนจะยาวกวาคูลาง
ครีบหลังมีขนาดเล็กและสั้นมากจนแทบมองไมเห็นครีบทวารเปนแนวยาวจรดโคนหางหางมีลักษณะเวาลึกโดยปลา
ท่ีพบในแมนํ้าลําคลองตัวจะมีสีขุนกวาที่พบในแหลงน้ําบริเวณเชิงเขาเชื่อวาสาเหตุเพราะปลาตองปรับตัวใหกลมกลืน
กบั สภาพแวดลอ มเพือ่ หลกี เล่ียงศัตรู ขนาดโดยเฉลย่ี ประมาณ 10 เซนตเิ มตรพบใหญที่สดุ ราว 15 เซนติเมตร

ปลากางพระรวง เปนปลาเนื้อออนท่ีนิยมเล้ียงเปนปลาสวยงามมากกวาจะนํามาบริโภค และขึ้นช่ือมานาน
โดยเปนปลาสงออกดวย มีนิทานปรัมปราเลากันวา พระรวงไดเสวยปลาชนิดนี้จนเหลือแตกาง จึงทิ้งลงน้ําและกลาว
วาจาสัจวาขอใหปลาตัวนี้ฟนคืนชีพขึ้นมา จึงไดชื่อวา “กางพระรวง” นับแตน้ันมา และไดรับการประกาศใหเปน
สัตวน ้าํ ประจําจังหวัดสโุ ขทัย เม่ือวันที่ 17 มีนาคม 2558

นายปติ แกว สลับสี นายรณชยั จติ รวเิ ศษ
ผูวา ราชการจังหวัดสโุ ขทยั รองผูวา ราชการจงั หวัดสโุ ขทัย
นายธวชั ชยั ปานพรหมมนิ ทร
นายสมโภชน เต็มเปย ม
ประมงจังหวัดสโุ ขทัย ผอู าํ นวยการศูนยว จิ ัยและพัฒนาประมงน้ําจดื สุโขทยั

นายไพศาล สขุ ปณุ พนั ธุ
หัวหนาศนู ยบ รหิ ารจัดการประมงนํ้าจดื ภาคเหนอื ตอนลาง พิษณโุ ลก

66 สตั วน า้ํ ประจาํ จงั หวัด

สตั วน ้ําประจําจงั หวดั สุพรรณบุรี

ช่ือสตั วน้ํา ปลามา
ชอื่ สามัญ Sodier croaker
ชอื่ วทิ ยาศาสตร Boesemania microlepis (Bleeker, 1858)
ชอ่ื ทอŒ งถน่ิ ปลากวาง

ประวัติความเปšนมา เปนปลานํ้าเค็มที่เขามาอยูในน้ําจืดเปนครั้งคราว มีรูปรางเรียวยาว ลําตัวดานขางแบน
หางซ่ึงเปน บริเวณตั้งแตรูกนไปถงึ ปลายหางเรยี วยาว หวั คอ นขา งเลก็ หนา งอนขนึ้ เลก็ นอ ย จะงอยปากสัน้ ทู ปากเลก็ และ
อยูคลอ ยไปทางใตส วนหัว นยั นต าคอนขา งเลก็ มเี กล็ดขนาดเล็กท่หี วั และลาํ ตัว ครีบหลังยาว สวนปลายครีบจรดโคนหาง
ครีบหูเล็กปลายแหลม ครีบทองอยูใกลอกมีกานแข็งยืดยาวออกมาเปนปลายแหลม ครีบหางยาวปลายแหลม พ้ืนลําตัว
สีนํ้าตาลปนเทาหรือเขียวออนหลังสีเทาปนดํา ทองสีขาวเงิน ครีบตางๆ สีน้ําตาลหรือเหลืองออน ถุงลมของปลามา
ทําใหเกิดเสียงได ขนาดความยาวประมาณ 17 – 60 เซนตเิ มตร กินอาหารพวกกุง ปู แหลงนาํ้ จดื พบมากในแมนาํ้ ทาจีน
จังหวัดสุพรรณบุรี แมนํ้าเจาพระยา ตั้งแตจังหวัดนนทบุรีจนถึงชัยนาท ภาคอีสานจับไดนอย จากแมน้ําโขงเรียกวา
“ปลากวาง” เน้ือใชปรุงอาหารไดดี นํามาปรุงอาหารประเภทตมยํา น่ึง หรือทอด ถุงลมนําไปตากแหงสําหรับทอด
หรือตมตุนเปนอาหาร ที่เราเรียกกันวา กระเพาะปลา และทําเปนกาวที่เรียกวา ไอซิงกลาส ไดรับการประกาศ
ใหเ ปน สตั วนาํ้ ประจําจงั หวดั สุพรรณบุรี เม่ือวันท่ี 22 มกราคม 2558

นายพภิ พ บุญธรรม
รองผวู าราชการจงั หวัด

นายสรุ เชษฐ สนุ ทรศาสตร นายกฤษฎา ดอี ินทร
ประมงจังหวัด ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื สพุ รรณบรุ ี

นายวีระศักด์ิ กอ งรัตนโกศล
หวั หนาหนว ยบริหารจดั การประมงนา้ํ จดื เขอ่ื นกระเสียว สพุ รรณบุรี

สัตวนํ้าประจําจงั หวดั 67

สัตวน ้ําประจําจังหวัดสุราษฎรธ านี

ชอ่ื สตั วนํ้า ปลาตะพัด
ชือ่ สามญั Malayan bonytongue fish, Asian arowana
ช่อื วิทยาศาสตร Scleropages formosus (Müller & Schlegel, 1844)
ช่อื ทอŒ งถน่ิ ปลาหางเข

ประวตั คิ วามเปšนมา เปน ปลานา้ํ จืด ลาํ ตวั ยาว ดานขา งแบน เกลด็ มขี นาดใหญ เรยี งเปนระเบียบอยา งสวยงาม
เกลด็ บนลาํ ตวั มสี เี งนิ ตาโต ปากใหญเ ฉยี งขนึ้ ดา นบน ฟน แหลม ครบี หลงั และครบี กน ยาวไปใกลบ รเิ วณครบี หาง สนั ทอ งคม
มหี นวด 1 คอู ยใู ตค าง ปลาตะพดั ขนาดโตเตม็ ทไี่ ดย าวไดร าว 90 เซนตเิ มตร นา้ํ หนกั หนกั ไดถ งึ 7 กโิ ลกรมั มกั จะวา ยบรเิ วณ
ริมผิวน้ํา ปลาตะพัดที่โตเต็มวัยสามารถโดดงับอาหารไดสูงถึง 1 เมตร ปลามีนิสัยคอนขางดุ กาวราว ขี้ตกใจ มักอาศัย
อยูลําพังตัวเดียวหรือเปนคู ถาอยูเปนฝูง ก็จะอยูเปนฝูงเล็กๆ ไมเกิน 3-5 ตัว ปจจุบันในประเทศไทย เชื่อวาเหลือ
เพียงบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาคลองแสง และเขตรักษาพันธุสัตวปาคลองยัน ซ่ึงเปนตนแมนํ้าตาป บริเวณเข่ือน
รชั ชประภา และไดร ับการประกาศใหเ ปนสัตวน้าํ ประจําจงั หวดั สุราษฎรธ านี เม่อื วันที่ 9 กุมภาพนั ธ 2558

หมายเหตุ : จดั เปน สัตวป า คุมครองตามพระราชบญั ญตั ิสงวนและคมุ ครองสัตวปา พุทธศกั ราช 2535

นายฉตั รปอง ฉัตรภตู ิ นายศภุ วชั ร ศักดา
ผวู า ราชการจังหวดั สรุ าษฎรธ านี รองผูว า ราชการจงั หวดั สุราษฎรธานี

นายพรศักดิ์ ศกั ดิธ์ านี นายกฤตพล ยงั วนิชเศรษฐ
ประมงจงั หวัดสรุ าษฎรธ านี ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงชายฝง สรุ าษฎรธ านี

นายเจริญ โอมณี นางสาวสวุ ีณา บานเยน็
หวั หนา ศนู ยบริหารจัดการประมงนํ้าจืดภาคใต ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนา้ํ จดื สรุ าษฎรธ านี

สรุ าษฎรธ านี

68 สตั วน ํ้าประจาํ จงั หวัด

สตั วน ้าํ ประจาํ จงั หวดั สุรนิ ทร

ชอ่ื สตั วน ้ํา ปลานวลจันทรน า้ํ จืด
ชอ่ื สามัญ Small scale mud carp
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Cirrhinus microlepis (Sauvage, 1878)
ชือ่ ทŒองถ่นิ ภาคอสี านเรยี ก “พอน” ภาษาพืน้ เมืองสรุ นิ ทรเรียก “แตร็ยนูนจัน” จงั หวดั อบุ ลราชธานี
เรยี กปลาตัวน้ีวา “ปลานกเขา” สว นชื่อ“นวลจนั ทร” หรอื “นวลจนั ทรน้าํ จดื ”
เปน ชื่อเรยี กทีใ่ ชเรยี กกันในภาคกลาง

ประวัติความเปšนมา ปลานวลจันทรน้ําจืดมีรูปรางเพรียวบาง ลําตัวคอนขางกลม ปากเล็ก เกล็ดเล็ก สีของ
ลําตัวมีต้ังแตสีสมปนเทาจนถึงสีน้ําตาลปนสีขาวเงิน ทองสีขาว ครีบหลัง ครีบหางสีนํ้าตาลปนเทา ปลายครีบ สีชมพู
ความยาวประมาณ 50 - 60 ซม. เปน ปลานาํ้ จดื ทอ่ี ยใู นวงศป ลาตะเพยี น มพี ฤตกิ รรมวางไขในแหลงน้าํ หลาก และเลยี้ ง
ตัวออนจนนํ้าลดลงจึงอพยพลงสูแมนํ้า อาศัยอยูตามแมน้ําใหญ เชน แมน้ําเจาพระยาตั้งแตอยุธยาขึ้นไปถึงนครสวรรค
จนถึงบึงบอระเพ็ด ปจจุบันไมพบแลวในแมนํ้าเจาพระยา ทางภาคอีสานพบมากใน ลําน้ําโขง และทะเลสาบเขมร เปน
ปลาทกี่ นิ อาหารไมเ ลอื ก กนิ ไดท งั้ พชื กงุ แมลงและตวั ออ นของแมลงเนอื้ ปลามรี สชาตอิ รอ ย นาํ มาปรงุ อาหารไดห ลากหลาย
ความนิยมในตลาดดีมาก เน้ือทําปลาขูด ปลาลูกช้ิน แตนิยมนําไปทําปลาสมมากที่สุด ซึ่งปลานวลจันทรนํ้าจืดนี้
ไดร ับคัดเลือกเปน สตั วนาํ้ ประจําจังหวดั สรุ ินทรเ ม่ือวนั ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2558

นายนริ นั ดร กัลยาณมติ ร นายถาวร กลุ โชติ
ผวู าราชการจงั หวดั สรุ นิ ทร รองผูวา ราชการจังหวดั สรุ นิ ทร
นายสมชาย เจียรทพิ ยว ิไล
นางสุวรรณี สกุลทอง
ประมงจังหวัดสรุ ินทร ผูอ าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพัฒนาประมงนาํ้ จดื สรุ นิ ทร

สตั วนํ้าประจาํ จังหวัด 69

สัตวน้ําประจาํ จังหวัดหนองคาย

ช่ือสัตวน ้ํา ปลาย่ีสก
ชื่อสามัญ Seven-Striped barb, Julian’s golden carp
ชอื่ วทิ ยาศาสตร Probarbus jullieni (Sauvage, 1880)
ช่อื ทŒองถ่นิ ปลาเอนิ หรอื ปลาเอนิ คางหมู ปลายส่ี กทอง กระสก หรือ อสี ก
ประวตั คิ วามเปšนมา เปน ปลานาํ้ จดื ขนาดใหญ หวั คอ นขา งโต มหี นวดสั้น 1 คู อยูมมุ ปากบน ปากเลก็ ยดื หดได อยคู ลอย
ลงมาใตส ว นหวั สีของลาํ ตัวเหลือง มีแถบสดี ํา 7 แถบ พาดไปตามความยาวของ ลําตัว แถบสดี ําเหลาน้จี ะพาดอยรู ะหวางรอยตอ
ของเกล็ด ตาสีแดง ครีบทุกครีบสีชมพู อยูตามแมนํ้าที่พื้นท่ีเปนกรวด หินหรือทราย กินพืชในนํ้าเปนอาหารหลัก และอาจกิน
สัตวหนาดิน ลูกกุง ลูกปู หอย ตัวออนแมลงน้ําท่ีอยูบริเวณพื้นดิน และไรนํ้าดวย ขนาดใหญที่สุดเทาที่พบมีความยาว 1 เมตร
และมีนํ้าหนักถึง 40 กิโลกรัม ในฤดูผสมพันธุปลาตัวผูจะเปล่ียนสีลําตัวเปนสีคล้ําอมมวง และมีตุมสิวข้ึนบริเวณขางแกมและครีบ
อก มักวางไขใ นฤดูหนาว คือ ประมาณปลายเดอื นมกราคมถงึ เดอื นพฤษภาคม โดยจะอยูรวมกันเปนฝูงใหญๆ ฝูงละ 30 - 40 ตวั
บริเวณท่วี างไขอยูทา ยเกาะกลางนา้ํ เมื่อนา้ํ เร่มิ มรี ะดับสูงข้นึ แหลงวางไขแ หลงสุดทายทม่ี คี วามเหมาะสมในลุม นํ้าโขง ในปจจบุ นั พบ
ไดท่ีเดยี ว คอื ทอ่ี ําเภอสังคม จังหวดั หนองคาย เทานัน้

เมื่อป พ.ศ. 2517 สถานีประมงนํ้าจืดหนองคาย ประสบผลสําเร็จในการผสมเทียมปลายี่สก โดยใชพอแมพันธุท่ีรวบรวม
จากแมนํ้าโขงเปน ครง้ั แรก และเมือ่ เดอื นมกราคม 2533 สถานีประมงนํ้าจดื หนองคาย สามารถใชพ อ แมพ นั ธุปลาย่สี กท่เี ล้ยี งในบอ
ดนิ มาทาํ การเพาะพนั ธปุ ระสบผลสําเรจ็ ไดเปนคร้ังแรก ไดล ูกปลาย่ีสก ปละประมาณ 500,000 ตวั จึงไดป ลอยกลับคนื สธู รรมชาติ
และยังสนับสนุนสงเสริมใหเกษตรกรเล้ียงเปนปลาเศรษฐกิจ และเล้ียงเปนปลาสวยงามอีกดวย และไดรับการประกาศใหเปน
สตั วน ํา้ ประจําจงั หวดั หนองคาย เมือ่ วนั ท่ี 28 มกราคม 2558

นายสุชาติ นพวรรณ นายประสงค คงเคารพธรรม
ผวู า ราชการจงั หวดั หนองคาย รองผูวา ราชการจังหวดั หนองคาย

นายเฉลียว เทียนวรรณ นายสทุ ศั น เผอื กจีน
ประมงจังหวดั หนองคาย ผอู าํ นวยการศูนยว ิจัยและพัฒนาประมงนํ้าจืดหนองคาย

นายกิตตวิ ฒั น อินทรวิชยั
หวั หนาดา นตรวจสตั วนา้ํ จังหวดั หนองคาย

70 สัตวน ํ้าประจําจงั หวดั

สตั วน า้ํ ประจําจงั หวัดหนองบัวลาํ ภู

ชือ่ สัตวน าํ้ ปลาสรอยขาว (ปลาสรอย หรอื ปลาสรอ ยหวั กลม)
ช่อื สามัญ Siamese mud carp
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Henicorhynchus siamensis (DeBeaufort, 1927)
ชอ่ื ทอŒ งถ่นิ ปลาขาวสรอย

ประวัติความเปšนมา ปลาน้ําจืดขนาดเล็กชนิดหน่ึง อยูในวงศปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะลําตัว
เพรยี วรปู ทรงกระสวย แบนขา ง ตาเลก็ แผน ใตก ระดกู ตาแคบ ปากเลก็ อยเู กอื บปลายสดุ ของจงอยปาก กง่ึ กลางของรมิ ฝป าก
มีปุมกระดกู ยนื่ ออกมา ลักษณะเดนของปลาในตระกลู น้ี คือไมม หี นวด เกลด็ มีขนาดใหญ ลําตวั สเี งนิ อมเทา เหนอื ครบี อก
มจี ุดสคี ลา้ํ ครบี หลงั เล็ก ครบี หางเวาลกึ และมีจุดประสีคลํ้า โคนครีบหางมีจุดสจี าง มขี นาดโตเตม็ ท่ีประมาณ 15 เซนตเิ มตร
พบใหญสุด 20 เซนติเมตร พบอยูรวมกันเปนฝูง มีการยายถิ่นข้ึนตนนํ้า หรือบริเวณน้ําหลากในฤดูผสมพันธุวางไข คือ
ประมาณเดอื นมิถนุ ายน - กันยายน ไขเ ปนแบบครึ่งลอยครง่ึ จม สามารถพบไดท่ัวไปในแหลงนํา้ หลาก หนองบึง และแมน า้ํ
ขนาดใหญในภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออก และภาคอสี านของไทย ในจงั หวัดหนองบวั ลาํ ภู พบกระจายชกุ ชุมอยใู น
แหลงนา้ํ ท่ัวไปโดยเฉพาะอยางย่งิ ในเข่อื นอุบลรัตน และลุมนา้ํ ลําหว ยพะเนยี ง ซง่ึ เปนแหลงนา้ํ สายหลกั ของจังหวดั นับเปน
แหลงอาหารโปรตีนจากสัตวนํ้าของชุมชน ซ่ึงนิยมนํามาประกอบอาหารหลายอยาง รวมถึงการนํามาแปรรูปเปนปลา
แดดเดียว และปลารา สามารถสรางรายไดใหแกชุมชนในทองถิ่นมาโดยตลอดจวบจนถึงปจจุบัน ไดรับการประกาศ
ใหเ ปนสัตวน ํา้ ประจําจังหวดั หนองบวั ลาํ ภู เมอ่ื วันท่ี 13 กุมภาพนั ธ 2558

นายอาํ นวย ต้งั เจรญิ ชยั นายสมบูรณ โอฬารกิจเจรญิ
ผวู าราชการจงั หวดั หนองบัวลาํ ภู รองผูว า ราชการจงั หวดั หนองบวั ลําภู

นางนิตยา ทกั ษญิ
ประมงจงั หวดั หนองบวั ลําภู

สตั วนํา้ ประจาํ จงั หวดั 71

สตั วน ้ําประจําจงั หวัดอา‹ งทอง

ชื่อสัตวน ํ้า ปลาตะเพียนทอง
ชื่อสามญั Red tail tinfoil barb
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Barbonymus altus (Gunther, 1868)
ชอื่ ทอŒ งถ่นิ “ตะเพียนหางแดง” หรือ “ลาํ ปา ” หรอื “เลียนไฟ” ในภาษาใต ซงึ่ ซํ้ากับปลากระแห

ประวตั ิความเปนš มา อยใู นวงศปลาตะเพยี น (Cyprinidae) มรี ูปรางคลายปลากระแห (B. schwanenfeldi)
ซ่ึงอยูในสกุลเดียวกัน คือ มีเกล็ดตามลําตัวแวววาวสีเหลืองทองเหลือบแดงหรือสม ครีบหางเปนสีสมหรือสีแดงสด แต
ปลาตะเพยี นทองมเี กลด็ ขนาดใหญก วา และครบี หลงั ครบี หางไมม แี ถบสดี าํ มขี นาดโตเตม็ ทป่ี ระมาณไมเ กนิ 30 เซนตเิ มตร
ปลาตะเพียนทอง เปนปลาท่ีคนไทยรูจักกันดี มีถ่ินกําเนิดในนานนํ้าจืด พบชุกชุมในเขตพ้ืนที่จังหวัดอางทอง ในลําน้ํา
เจาพระยาและลํานํ้านอย โดยเฉพาะแหลงปลาหนาวัดทุกแหงในเขตจังหวัดอางทอง และใชสานเปนปลาตะเพียนทอง
ใบลาน เชื่อวาเปนปลามงคลตั้งแตครั้งอดีตถึงปจจุบัน อีกทั้งยังเปนปลาในวรรณคดีไทยแตโบราณกาล ดังกาพยแหเรือ
ตอนแหชมปลา พระนิพนธในเจาฟาธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ หรือเจาฟากุง กวีเอกแหงกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย
“ตะเพียนทองงามด่งั ทอง ไมเหมือนนองหม ตาดพราย” จดั เปนปลาชนดิ หน่งึ ที่นยิ มเล้ียงเปนปลาสวยงามและทสี่ ําคญั ยังมีช่ือ
พอ งกับจงั หวดั อา งทอง คือคาํ วา “ทอง” และไดป ระกาศใหเ ปน สัตวนํา้ ประจําจังหวัดอา งทอง เมื่อวนั ที่ 22 มกราคม 2558

นายปวณิ ชาํ นิประศาสน นายวีระศักด์ิ ประภาวัฒนเวช
ผูวา ราชการจงั หวดั อา งทอง รองผวู าราชการจังหวดั อา งทอง

นายสพุ ล หอ ยมาลา นายณฐั พงค วรรณพฒั น
เจาพนกั งานประมงอาวุโส ผูอํานวยการศนู ยวิจัยและพัฒนาประมงนํ้าจืดอางทอง
รกั ษาราชการแทนประมงจังหวดั อา งทอง

72 สตั วน้ําประจําจังหวดั

สัตวน ํ้าประจาํ จังหวดั อํานาจเจริญ

ช่อื สตั วน้าํ ปลาสรอ ยขาว
ชือ่ สามญั Siamese mud carp
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Henicorhynchus siamensis (Sauvage, 1881)
ชื่อทŒองถ่นิ สรอยหัวกลม

ประวัติความเปšนมา ปลาสรอยขาว เปนปลานํ้าจืดขนาดเล็กชนิดหน่ึง มีลักษณะลําตัวเพรียวยาว หัวโตและ
กลมมน ปากเล็กอยูเกือบจะสุดจะงอยปาก กึ่งกลางของริมฝปากมีปุมกระดูกยื่นออกมา ไมมีหนวด เกล็ดมีขนาดใหญ
ลําตัว สีเงินอมเทา เหนือครีบอกมีจุดสีคลํ้า ครีบหลังเล็ก ครีบหางเวาลึกและมีจุดประสีคลํ้า โคนครีบหางมีจุดสีจาง
มขี นาดโตเต็มท่ีประมาณ 15 เซนติเมตร พบใหญสดุ 20 เซนตเิ มตร

ปลาสรอ ยขาวมพี ฤตกิ รรมอยรู วมเปน ฝงู ใหญ และในฤดฝู นจะมกี ารอพยพยา ยถนิ่ ขน้ึ สตู น นา้ํ หรอื บรเิ วณทน่ี า้ํ หลาก
เพ่ือวางไขและหากนิ พบในแหลง น้าํ หลาก หนองบงึ และแมน้าํ ขนาดใหญใน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออก และ
ภาคอีสานของไทย เปนปลาเศรษฐกิจที่สําคัญอยางยิ่งของภาคอีสาน โดยนิยมนํามาทําปลารา ปลาสมและทํานํ้าปลา
เปนที่มาของน้ําปลารสชาติดี คือ “น้ําปลาปลาสรอย“นอกจากน้ียังนิยมเล้ียงเปนปลาสวยงามอีกดวยปลาสรอยขาวมีชื่อ
เรียกอื่นในภาษาทอ งถน่ิ ตางๆ เชน สรอยหัวกลม ในภาษาอีสานหรือ กระบอก ในภาษาเหนือ ปลาสรอยขาวพบโดยท่ัวไป
ทุกลํานํ้าในจังหวัดอํานาจเจริญ ลําเซบก ลําเซบาย หวยละโอง หวยจันลัน หวยปลาแดก หวยพระเหลา หวยตาเทียว
อา งเกบ็ นาํ้ พทุ ธอทุ ยาน อา งเกบ็ นา้ํ หว ยโพธิ์ และอา งเกบ็ นา้ํ หว ยสโี ท ปลาสรอ ยขาวไดร บั การประกาศใหเ ปน สตั วน าํ้ ประจาํ
จงั หวัดอํานาจเจริญ เม่อื วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2558

นายสุทธินันท บุญมี นายสมโภชน จงจัดกลาง
ผวู าราชการจงั หวดั อาํ นาจเจรญิ ประมงจงั หวดั อํานาจเจริญ

นายณฐั วรรธน เตี๋ยสุวรรณ
นักวชิ าการประมงปฏิบัติการ รักษาการในตาํ แหนง
ผูอ ํานวยการศนู ยว จิ ยั และพัฒนาประมงนํา้ จืดอาํ นาจเจริญ

สัตวน ้ําประจําจงั หวัด 73

สตั วน ํา้ ประจําจังหวดั อุดรธานี

ชือ่ สัตวน้ํา ปลาซา
ชอ่ื สามญั Long fin barb
ชอ่ื วิทยาศาสตร Labiobarbus siamensis (Sauvage, 1881)
ชื่อทŒองถน่ิ ปลาคยุ ลาม

ประวตั คิ วามเปนš มา ปลาซา มลี กั ษณะลาํ ตวั เพรยี วยาว ขนาดโตเตม็ ท่ี 10 - 18 ซม. หวั เลก็ และหางคอด ปากเลก็
มหี นวดยาวท่มี ุมปาก 2 คู เกล็ดเลก็ ลาํ ตัวสเี งนิ วาว มแี ถบสีคลา้ํ พาดตามยาว 5 - 6 แถบ ขา งลาํ ตัวตอนเหนือครีบอก
มีแถบสีคลํ้าตาแนวต้ัง ครีบสีจาง หรือเหลืองออน ครีบหลังยาวมาก และมีขอบสีคลํ้า ครีบหางเวาลึกสีแดงเรื่อ
กนิ แพลงกต อนพืช ตะไครนํา้ และไรนํา้ เปน อาหาร พฤตกิ รรมชอบอยรู วมเปน ฝูงใหญ มักพบรวมกับปลาสรอ ยอนื่ ๆ พบใน
แมนํ้าสายหลัก และสาขา รวมถึงแหลงนํ้าหลาก อยูชุกชุมในแหลงน้ําพ้ืนท่ีจังหวัดอุดรธานี ไดรับการประกาศใหเปน
สัตวน้าํ ประจําจังหวัดเม่ือวนั ท่ี 30 มกราคม 2558

นายนพวตั ร สิงหศ ักดา นายณรงค พลละเอยี ด
ผูวา ราชการจังหวัดอุดรธานี รองผูวา ราชการจังหวัดอดุ รธานี

นายกําจดั ราชคํา นางสาวเรณู สริ ิมงคลถาวร
ประมงจงั หวัดอดุ รธานี ผอู าํ นวยการศูนยว ิจัยและพัฒนาประมงน้าํ จืดอดุ รธานี

74 สัตวน ้าํ ประจาํ จงั หวัด

สัตวน ้าํ ประจําจังหวดั อตุ รดติ ถ

ช่อื สัตวนาํ้ ปลาตะโกก
ช่ือสามัญ
Soldier river barb
ชอ่ื วิทยาศาสตร Cyclocheilichthys enoplus (Bleeker, 1850)
ช่อื ทอŒ งถนิ่ ปลาโจก

ประวตั ิความเปนš มา ปลาตะโกก จดั อยใู นวงศข องปลาตะเพียน มีลําตวั แบนขา ง รปู รา งเพรยี ว ลาํ ตัวมสี นี ้ําเงนิ อมฟา
ดานใตล ําตัวมีสเี งินอมขาว ครบี หลงั และครีบทอ งมจี ุดประสีดาํ บางๆ สวนครีบอ่ืนๆ มสี เี ทาจาง สวนหลงั โคงเลก็ นอ ยจากบริเวณ
หลังตา สวนใตลําตัวโคงนอยกวา มีเย่ือปดตา ปากอยูตรงปลายคอนมาทางดานลาง มีหนวด 2 คู จุดเดนอยูท่ีครีบหลังโคง
กา นครบี ใหญ แขง็ แรงและเปน ซฟี่ น อยดู า นหลงั ของกา นครบี เสน ขา งตวั ตรงและลดตาํ่ ลงเลก็ นอ ยทางดา นหลงั พบไดท ว่ั ไปในเขต
เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ในประเทศไทยพบมากในแมน า้ํ และอา งเกบ็ นาํ้ ในภาคอสี าน ภาคเหนอื และภาคกลาง ปลาตะโกกกนิ อาหาร
จาํ พวกหอยสองฝา เศษพชื แพลงคต อนสตั ว สาหรา ยสเี ขยี ว และสาหรา ยสนี าํ้ ตาล เปน ตน นสิ ยั ของปลาชนดิ นเี้ ปน ปลาทอ่ี าศยั อยใู น
นํ้าไหลหรือแหลงน้ําขนาดใหญ เครื่องมือท่ีนิยมใชจับปลาตะโกก รอยละ 65 เปนการใชเบ็ด (เบ็ดฝรั่งและเบ็ดกระตุก) และ
อีกรอ ยละ 35 เปน การใชขา ย การเลยี้ งปลาตะโกกเพอ่ื เปนพอ แมพ ันธทุ ่ดี ี ตองมีอายปุ ระมาณ 3 ป น้ําหนกั ประมาณ 750 กรมั
จะสามารถนาํ ข้ึนมาเพาะพันธุได ชว งท่ีมีความสมบรณู เ พศจะอยรู ะหวา งเดือนกรกฎาคม-ตนเดอื นกันยายน

ปลาตะโกก เปนปลาท่ีเคยมีมากในแมนํ้านาน หลังจากมีการสรางเข่ือนสิริกิติ์ แมนํ้านานในเขตตอนเหนือเขื่อน
กลายเปน ทะเลสาบนาํ้ จดื ขนาดใหญ ทม่ี คี วามชกุ ชมุ และความหลากหลายของสตั วน าํ้ ทงั้ ชนดิ และปรมิ าณ โดยเฉพาะปลาตะโกก
จนเปนที่กลาวขานวา มาเที่ยวเข่ือนสิริกิต์ิ ตองไดกินปลาตะโกก ไมเชนน้ันเหมือนมาไมถึงเข่ือนสิริกิต์ิ จวบจนถึงปจจุบัน
ปลาตะโกกเปนปลาที่มีความสําคัญมากโดยเฉพาะในแวดวงกีฬาตกปลา จังหวัดอุตรดิตถจึงเห็นวาปลาชนิดน้ีมีความเหมาะสม
ทจ่ี ะเปนปลาประจําถนิ่ และเปน ปลาทเ่ี ปน สญั ลักษณข องจงั หวัดอุตรดิตถ เมือ่ วนั ที่ 3 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2558

นายชัช กิตตินภดล นายสมชัย กมลเทพเทวินทร
ผวู าราชการจังหวัดอุตรดิตถ รองผวู า ราชการจังหวดั อุตรดิตถ

นายฐปกรณ สาสนุ ีย วา ที่ ร.ต. สมนกึ คงทรัตน
ประมงจังหวัดอุตรดิตถ ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาพนั ธกุ รรมสตั วน า้ํ อตุ รดติ ถ

สตั วน ํ้าประจาํ จังหวัด 75

สัตวน า้ํ ประจาํ จงั หวดั อุทัยธานี

ชือ่ สัตวนํา้ ปลาแรด
ชอื่ สามัญ Giant gourami
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Osphronemus goramy (Lacepède, 1801)
ชื่อทอŒ งถ่ิน เมน มิน

ประวตั ิความเปšนมา ปลาแรดมชี ่ืออีกอยางหนึ่งวา “ปลาเมน ” มถี ่นิ กาํ เนิดในประเทศอนิ โดนเี ซียแถบหมูเ กาะ
สุมาตรา ชวา บอรเนียว และหมูเกาะอินเดียตะวันออก ในประเทศไทยภาคกลางพบตามแมนํ้าลําคลอง ตั้งแตจังหวัด
นครสวรรคถึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภาคใตที่จังหวัดพัทลุงและแมนํ้าตาปจังหวัดสุราษฎรธานี มีลําตัวปอมและ
แบนขาง เกล็ดสากมือเปนรูปหยักมีกานครีบทองคูแรกเปนเสนเรียวยาวคลายหนวดไวสําหรับสัมผัส ปลายหางมนกลม
ปากแหลมริมฝปากหนา ภายในปากมีฟนซี่เล็กๆแหลมคม สวนหัวเล็กและปาน โดยเฉพาะปลาตัวผูจะมีโหนกนูนคลาย
นอแรด ปลาขนาดใหญที่พบมีนาํ้ หนัก 6 - 7 กิโลกรมั ความยาว 65 เซนติเมตร ในอดีตทีจ่ ังหวดั อุทัยธานพี บปลาแรดมาก
ในลุมนํ้าสะแกกรัง มลี กั ษณะเกล็ดหนา หนา งุม เนื้อนุมแนน เปน เสน ใย มีรสหวานไมม กี ลิ่นโคลนสาบ และไดร ับการประกาศ
ใหเปนสัตวนํ้าประจาํ จังหวดั อุทัยธานี เมื่อวันที่ 10 มนี าคม 2558

นายสมชาย เลิศพงศภ ากรณ นายวิศษิ ฐ คูรตั นเวช
ผูวาราชการจังหวัดอทุ ัยธานี รองผูวา ราชการจงั หวัดอทุ ัยธานี

นายอนนั ต เหลาแชม นางสจุ ติ รา สรสทิ ธิ์
ประมงจังหวัดอทุ ยั ธานี ผูอาํ นวยการศนู ยว จิ ัยและพฒั นาประมงนาํ้ จดื อุทัยธานี

76 สตั วน ํ้าประจาํ จังหวัด

สัตวน าํ้ ประจาํ จังหวดั อุบลราชธานี

ชือ่ สัตวนํา้ ปลาเทโพ
ชือ่ สามญั Black ear catfish
ช่ือวิทยาศาสตร Pangasius larnaudii (Bocourt, 1866)
ชื่อทอŒ งถิน่ ปลาปง (ภาคอสี านตอนลางแถบแมน าํ้ โขง - แมนา้ํ มูล)
ปลาหหู มาด (ภาษาอีสานตอนบนแถบแมนํ้าโขง)
เตาะ (ภาคเหนือแถบแมนํ้าโขง - ยม)

ประวัติความเปšนมา ปลาเทโพ เปนปลาไมมีเกล็ดขนาดใหญ รูปรางคลายกับปลาสวายตามีหัวโต หนาส้ันทูกวา
ปลาสวาย ลําตวั ยาว และดา นขางแบน ตากลมโต และอยูเหนอื มมุ ปาก ปากกวา ง มีฟน ซ่เี ล็กแหลมคมอยูบนขากรรไกร
ทั้งสองขาง มีหนวดเล็ก และส้ันอยูที่ริมฝปากบน และมุมปากแหงละ 1 คู กระโดงสันหลังสูง และมีกานครีบเดี่ยวอัน
แรกเปน หนามแข็ง ครบี หมู ีเหง่ยี งแหลมแข็งขางละอัน มคี รีบไขมันอยูใกลกับโคนครีบหาง ครีบหางมีขนาดใหญปลาเปน
แฉกลึก ลําตัวบริเวณหลังมีสีดําคลํ้าหรือสีนํ้าเงินปนเทา หัวสีเขียวออน ทองสีขาวเงิน ปลาครีบหลัง ครีบทอง ครีบอก
และครีบกน ยื่นเปนเสนยาวเรียว ครบี กนมแี ถบสคี ลาํ้ ตามความยาว ครีบหางแถบสคี ลํ้าท้งั ตอนบนและตอนลา ง ลักษณะ
เดนท่ีเห็นไดชัดแตกตางจากปลาในสกุลปลาสวายชนิดอ่ืนๆ คือ มีจุดสีดําขนาดใหญบริเวณเหนือครีบหู โดยท่ัวไปขนาด
ที่พบเห็นตามปกติประมาณ 50 เซนติเมตร แตสามารถพบขนาดใหญที่สุด มีความยาวถึง 1.50 เมตร ในอดีตพบมาก
ในแมน้ําโขง - แมน้ํามูล อีกทั้งประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดอุบลราชธานีไดนําปลาเทโพมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหาร
“เค็มบกั นัด” ซึง่ เปน ผลิตภณั ฑที่ข้ึนช่ือของจงั หวดั สบื มาจนถึงปจ จุบัน และไดร บั การประกาศใหเ ปน สัตวน ้าํ ประจาํ จงั หวดั
อบุ ลราชธานี เมื่อวนั ท่ี 19 มกราคม 2558

นายเสริม ไชยณรงค นายสรุ พนั ธ ดิสสะมาน
ผวู าราชการจงั หวดั อบุ ลราชธานี รองผูวาราชการจังหวัดอุบลราชธานี

นายดรุณศกั ดิ์ ใจเก้อื นายธีระชยั พงศจรรยากุล
เจาพนักงานประมงอาวุโส รักษาราชการแทน นักวิชาการประมงชํานาญการพิเศษ รักษาราชการแทน
ผอู าํ นวยการศนู ยว จิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื อบุ ลราชธานี
ประมงจังหวัดอุบลราชธานี
สตั วนาํ้ ประจําจงั หวัด 77

คณะผŒูจดั ทํา

นายสมโภชน กริบกระโทก ผูŒตรวจราชการกรม
นายสุธรรม ลม่ิ พานิช หัวหนŒากลมุ‹ ตดิ ตาม
และประเมินผลการตรวจราชการ
นางสาวอรวรรณ ประเสริฐสขุ นกั วชิ าการประมง (พนกั งานราชการ)
นางสาววลั ยล ดา ธนประโยชนศักดิ์ นักวชิ าการประมง (พนกั งานราชการ)
นายสถาพร ชน่ื ใจ นักวชิ าการประมง
โดย
กลม‹ุ ติดตามและประเมินผลการตรวจราชการ
กองตรวจราชการ

78 สัตวน ํา้ ประจาํ จงั หวัด




Click to View FlipBook Version